Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย หลักภาษา ม.2 ตอน4 (1)

ภาษาไทย หลักภาษา ม.2 ตอน4 (1)

Published by chatchaikaka2537, 2020-06-14 22:23:39

Description: ภาษาไทย หลักภาษา ม.2 ตอน4 (1)

Search

Read the Text Version

ภาษาไทย หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ตอนท่ี ๑ ตอนท่ี ๒ ตอนที่ ๓ ตอนที่ ๔ ๑_หลกั สูตรวิชาภาษาไทย ๒_แผนการจัดการเรยี นรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการ ๔สอ_นใบงาน_เฉลย ๕_ขอ้ สอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๖_ข้อสอบ_เฉลย ๗_การวัดและประเมนิ ผล ๘_เสริมสาระ ๙_สื่อเสรมิ การเรียนรู้ บริษทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๔ตอนที่ หลกั การใชภ้ าษา ๑หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี การสรา้ งคาและประโยค จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. สรำ้ งคำในภำษำไทยได้ ๒. วิเครำะหโ์ ครงสร้ำงประโยคสำมัญ ประโยครวม และประโยคซอ้ นได้ ๓. รวบรวมและอธิบำยควำมหมำยของคำภำษำตำ่ งประเทศทีใ่ ช้ในภำษำไทยได้

กำรสร้ำงคำ คามลู หมำยถงึ คำที่มคี วำมหมำยสมบรู ณ์ในตัวเอง ไมส่ ำมำรถแยกศพั ท์ย่อยออกได้ ซึ่งอำจเป็นคำไทยแท้ คำทยี่ มื มำจำกภำษำอื่น จานวนพยางค์ ชำ้ ง ม้ำ ววั ผม ฉนั เขำ กนิ นอน เย็น ลำ่ ง และ โธ่ ตะไคร้ กระทะ ดฉิ นั กระหมอ่ ม สะดุด ชะลูด ระหวำ่ ง ปัดโธ่ คำมลู พยำงค์เดียว กะลำสี นำฬกิ ำ จระเข้ จ้ำละหวั่น บริสุทธิ์ คำมลู สองพยำงค์ โกโรโกโส ตะลีตะลำน คะยั้นคะยอ คำมลู สำมพยำงค์ สำมะเลเทเมำ คำมูลสี่พยำงค์ คำมลู ห้ำพยำงค์

คาประสม หมำยถงึ คำที่สร้ำงจำกคำมูลทม่ี คี วำมหมำยตำ่ งกัน มำรวมกันเป็นคำเดยี ว ซ่ึงอำจยังคงเค้ำควำมหมำยเดมิ หรอื เปล่ียนแปลงไปกไ็ ด้ หน้าที่ ชนดิ ของคาท่นี ามาสรา้ ง เปน็ คำนำม คำสรรพนำม นำม + นำม เชน่ รถรำง น้ำปลำ หูชำ้ ง ลกู ชำ้ ง นำม + กริยำ เชน่ หมหู นั หมอดู ไกช่ น แมพ่ ิมพ์ เป็นคำกริยำ กรยิ ำ + นำม เช่น นอนใจ กนิ แรง วำงตวั ออกหนำ้ เป็นคำวิเศษณ์ กริยำ + วเิ ศษณ์ เช่น ถอื ดี ไปดี นำม + วิเศษณ์ เช่น มือเย็น มือออ่ น มอื หนกั ใจเย็น นำม + นำม เช่น ใจบำป ใจบญุ ใจเพชร ใจยักษ์

คาซ้า หมำยถงึ คำชนดิ หน่ึงที่สร้ำงโดยกำรนำคำเดมิ คำเดยี วมำกลำ่ วซ้ำ โดยใช้ ไมย้ มก (ๆ) กำกบั เชน่ ดๆี สงู ๆ ตำ่ ๆ แดงๆ เป็นตน้ คาซอ้ น หมำยถึง คำท่เี กดิ จำกกำรนำคำท่มี คี วำมหมำยเหมอื นกนั คล้ำยกนั หรือมีควำมหมำยตรงขำ้ มกันมำซ้อนหรอื รวมกนั คาสมาส ดว้ ยเหตทุ ี่ไทยรับวัฒนธรรมทัง้ จำกพระพทุ ธศำสนำและศำสนำพรำหมณ์ - ฮินดู จงึ ไดร้ บั ภำษำบำลีจำกพระพุทธศำสนำและภำษำสนั สกฤตจำกศำสนำพรำหมณ์ - ฮินดู นอกจำกนี้ ยังรับวธิ ีกำรสรำ้ งคำในภำษำบำลีสนั สกฤต ซึ่งเรยี กว่ำ สมำส มำใช้ด้วย

คาสมาส ๑. การสมาสแบบไทย ๑. ต้องเป็นคำที่มำจำกภำษำบำลีและสนั สกฤตเท่ำนั้น ๒. ควำมหมำยหลักของคำท่ีสมำสกนั จะอยทู่ ี่คำหลัง ส่วนควำมหมำยรองจะอยู่ท่ีคำหนำ้ ๓. พยำงคส์ ุดทำ้ ยของคำหนำ้ จะประวสิ รรชนีย์ หรือปรำกฏเคร่ืองหมำยทนั ฑฆำตไม่ได้ ๔. กำรออกเสยี งคำสมำส ตอ้ งออกเสยี งสระที่ท้ำยศัพท์คำแรก ๒. การสมาสแบบมีสนธิ ๑. สระสนธิ คอื กำรนำคำภำษำบำลีและสันสกฤตมำสนธิคำทข่ี ึ้นตน้ ดว้ ยสระ ๒. พยญั ชนะสนธิ คอื กำรนำคำภำษำบำลีและสันสกฤตมำสนธกิ บั พยัญชนะ ๓. นฤคหติ สนธิ คอื กำรนำคำภำษำบำลีและสนั สกฤตสนธกิ ับนฤคหิต

คำภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย ลกั ษณะของคาไทยแท้ • คำไทยแท้มักเป็นคำโดด • คำไทยแทม้ กั มีตวั สะกดตรงตำมมำตรำ • คำไทยแทไ้ มม่ กี ำรเปล่ียนรปู คำเพื่อแสดงลักษณะทำงไวยำกรณ์ • คำไทยแทม้ ีเสียงวรรณยกุ ต์ • คำไทยแทม้ ีลกั ษณนำมใช้ • คำไทยแทไ้ ม่นิยมใชต้ ัวกำรันต์ • คำไทยแทไ้ ม่นยิ มใชพ้ ยัญชนะบำงตัว • กำรใช้ ใอ และ ไอ ในคำไทย

คาท่ียมื มาจากภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย • คำท่ียมื มำจำกภำษำบำลี – สันสกฤต • คำทย่ี มื มำจำกภำษำเขมร • คำทยี่ มื มำจำกภำษำชวำ • คำทย่ี ืมมำจำกภำษำจนี • คำที่ยมื มำจำกภำษำองั กฤษ • คำทย่ี ืมมำจำกภำษำฝร่ังเศส • คำท่ยี มื มำจำกภำษำพมำ่

ประโยคในภำษำไทย ความหมาย ประโยค เกดิ จำกคำหลำยๆ คำ หรอื วลีทีน่ ำมำเรยี งตอ่ กันอยำ่ งเปน็ ระเบยี บ เพ่ือให้แตล่ ะคำ มคี วำมสมั พันธ์กนั มีใจควำมสมบรู ณ์ ประกอบไปดว้ ยนำมวลแี ละกรยิ ำวลี ซึ่งแสดงใหร้ วู้ ่ำใคร ทำอะไร ที่ไหน เม่อื ไร อย่ำงไร สว่ นประกอบของประโยค ภำคประธำน คือ คำหรือกลุ่มคำท่ีทำหน้ำทเี่ ปน็ ผกู้ ระทำหรือผู้แสดง ภำคแสดง คือ คำหรือกลมุ่ คำทีป่ ระกอบดว้ ยบทกรยิ ำ บทกรรม หรอื ส่วนเตมิ เต็ม

ชนิดของประโยคแบง่ ตามโครงสรา้ ง ประโยคสำมญั หรือประโยคพ้ืนฐำน ประโยคสำมัญท่ีมีกริยำวลเี ดียว ประโยคสำมญั ท่ีมีหลำยกรยิ ำวลี ประโยครวม ประโยครวมทเี่ กิดจำกประโยคสำมญั รวมกบั ประโยคสำมัญ ประโยครวมที่เกดิ จำกประโยคสำมัญรวมกบั ประโยคซอ้ น ประโยครวมท่ีเกดิ จำกประโยคซ้อนรวมกับประโยคสำมญั ประโยครวมทเ่ี กดิ จำกประโยคซ้อนและประโยคซอ้ น

ประโยคซ้อน เป็น หมำยถึง ประโยคท่ปี ระกอบด้วยประโยคหลัก (มุขยประโยค) และประโยคยอ่ ย (อนปุ ระโยค) โดยประโยคหลกั ประโยคท่มี อี ีกประโยคหนึง่ มำซอ้ น อำจจะเป็นประธำน เปน็ ส่วนเติมเต็ม หรือเป็นส่วนขยำยกไ็ ด้ • ประโยคซอ้ นท่มี ีนำมำนุประโยค • ประโยคซ้อนท่ีมีคุณำนุประโยค • ประโยคซอ้ นที่มีวิเศษณำนุประโยค

ชนดิ ของประโยคแบง่ ตามเจตนา ประโยคบอกให้ทรำบ ประโยคเสนอแนะ ประโยคคำสัง่ คอื ประโยคทผ่ี ู้พดู ตอ้ งกำรบอกเลำ่ คอื ประโยคที่ผพู้ ูดต้องกำรเสนอแนะ คอื ประโยคท่ีผพู้ ดู ตอ้ งกำรใหผ้ ฟู้ งั หรอื อธิบำยเรอ่ื งรำวตำ่ งๆให้ผฟู้ งั เร่ืองต่ำงๆ ปฏบิ ตั ติ ำม ทรำบ ประโยคห้ำม ประโยคชักชวน ประโยคขอรอ้ ง คือ ประโยคท่ผี ูพ้ ดู ส่งั ห้ำมไมใ่ ห้ คือ ประโยคที่แสดงเจตนำชักชวนให้ คอื ประโยคท่ีผ้พดู ต้องกำรใหผ้ ้ฟู งั กระทำ ผฟู้ ังคลอ้ ยตำม ชว่ ยกระทำ ส่ิงใดส่ิงหนึง่ ให้ ประโยคเงื่อนไข ประโยคคำดคะเน ประโยคถำม คอื ประโยคทีผ่ ู้พูดมีเจตนำชักจงู ให้ คอื ประโยคที่ผพู้ ดู แสดงกำร คือ ประโยคทผี่ พู้ ูดต้องกำรถำมผ้ฟู งั คำดหมำยต่อส่ิงท่ีกำลังจะเกิดข้นึ หรือ ผฟู้ ังทำตำม เกิดขน้ึ แล้ว

๒หน่วยการเรียนรู้ที่ คาราชาศัพท์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ • ใชค้ ำรำชำศพั ทไ์ ด้ถูกตอ้ ง

ทมี่ ำของคำรำชำศัพท์ ความหมาย หมำยถึง “ถอ้ ยคำทใ่ี ชส้ ำหรบั พระรำชำ” ซ่ึงตอ่ มำหมำยรวมถงึ คำที่ใชก้ ับพระภกิ ษสุ งฆ์ ขำ้ รำชกำร และสุภำพชนดว้ ย จำกศลิ ำจำรึกหลกั ที่ ๑ ของพอ่ ขนุ รำมคำแหงมหำรำช ประโยชน์ของกำรเรยี นคำรำชำศัพท์ ชว่ ยสืบทอดและรกั ษำมรดก ชว่ ยใหเ้ ข้ำใจภำษำท่ีปรำกฏ ทำงวัฒนธรรมของชำติ ในส่อื ตำ่ งๆ ช่วยใหใ้ ช้ภำษำในกำรสื่อสำรได้ ชว่ ยเสริมสรำ้ งบุคลิกภำพท่ีดี ถูกตอ้ งเหมำะสม แก่ตนเอง

คำรำชำศัพทส์ ำหรบั บคุ คลต่ำงๆ คาราชาศพั ทส์ าหรบั พระมหากษัตรยิ ์ พระบรมวงศานวุ งศ์ คำนำมรำชำศัพท์ • คำนำมทเ่ี ปน็ สิ่งสำคญั อนั ควรยกย่อง ใชค้ ำวำ่ “พระบรมอรรครำช” “พระบรมมหำรำช” “พระบรมมหำ” “พระบรมรำช” “พระบรม” “พระอคั รรำช” “พระอัคร” “พระมหำ” นำหน้ำ • คำนำมทเ่ี ปน็ ส่งิ สำคัญรองลงมำ หรือที่ประสงคจ์ ะมใิ ห้ปนกบั เจ้ำนำยอืน่ ๆ หรือไมป่ ระสงคจ์ ะให้ร้สู กึ ว่ำ สำคัญดงั ข้อต้น ใหใ้ ชค้ ำวำ่ “พระรำช” ประกอบขำ้ งหน้ำ • คำนำมท่ีเปน็ สิ่งสำมญั ท่ัวไป ไม่ไดแ้ ยกใช้ตำมลำดบั ชั้น ใหใ้ ชค้ ำวำ่ “พระ” นำหน้ำ

คำกริยำรำชำศัพท์ • กรยิ ำทเ่ี ป็นรำชำศัพท์ในตวั เอง ซง่ึ สว่ นมำกเป็นคำท่ยี มื มำจำกภำษำบำลี สนั สกฤตหรอื ภำษำเขมร คำนำมทเ่ี ปน็ ส่งิ สำคัญรองลงมำ หรอื ที่ประสงค์จะมใิ หป้ นกบั เจำ้ นำยอื่นๆ หรือไม่ประสงค์จะใหร้ ู้สึกว่ำ สำคัญดงั ขอ้ ตน้ ใหใ้ ช้คำว่ำ “พระรำช” ประกอบขำ้ งหน้ำ • กำรประสมกริยำขน้ึ เป็นคำรำชำศพั ท์ เชน่ เสด็จพระรำชสมภพ (เกิด) ทรงพระประชวร (ป่วย) • กำรใช้ “เสด็จ” นำหนำ้ คำที่เปน็ กริยำสำมญั หรอื กรยิ ำรำชำศพั ท์ โดยใช้ “เสดจ็ ” นำหน้ำเพื่อทำใหเ้ ปน็ กริยำรำชำศัพท์ • กำรใช้ “ทรง” นำหน้ำคำกริยำสำมัญใหเ้ ป็นกรยิ ำรำชำศัพท์ เชน่ ทรงฟัง ทรงยินดี ทรงชบุ เลย้ี ง เป็น ต้น คำสรรพนำมรำชำศัพท์ • หมวดเคร่อื งรำชกกธุ ภณั ฑ์และเครอ่ื งรำชูปโภค เครือ่ งรำชกกุธภัณฑ์ คือ เครอื่ งประกอบพระบรมรำช อสิ ริยยศของพระมหำกษัตรยิ ์ ส่วนเครื่องเบญจรำชกกธุ ภณั ฑ์ คือ เครอื่ งประกอบพระบรมรำชอสิ ริยยศ ของกษัตรยิ ์ • หมวดขัตติยตระกูล • หมวดอวยั วะ

คาศัพท์เฉพาะสาหรับพระภิกษสุ งฆ์ ๑. คำท่พี ระสงฆ์ใช้ คาสรรพนามบรุ ุษที่ ๑ คาสรรพนามบุรุษท่ี ๒ คาขานรบั อำตมำ: ใช้กบั ฆรำวำสทวั่ ไป มหำบพติ ร: ใช้กบั พระมหำกษตั ริย์ ขอถวำยพระพร: ใช้กบั พระมหำ- กษัตรยิ ์ และพระรำชวงศ์ อำตมำภำพ: ใช้กับพระรำชวงศ์ บพิตร: ใชก้ บั พระรำชวงศ์ เจรญิ พร: ใช้กบั ฆรำวำสท่ัวไป ตั้งแตช่ น้ั หม่อมเจำ้ ข้ึนไป และใน งำนพิธีกำร โยม: ใช้กับบดิ ำ มำรดำ ครับ, ขอรับ: ใช้กับพระภิกษุ ญำตผิ ใู้ หญ่ทีม่ อี ำวโุ สสงู กวำ่ ด้วยกันโดยทวั่ ๆ ไป เกล้ำกระผม: ใช้กับพระภิกษุ ด้วยกนั ที่เปน็ พระอปุ ัชฌำย์ คณุ , เธอ: ใช้กับฆรำวำสทว่ั ไป หรือทดี่ ำรงสมณศกั ดส์ิ ูงกวำ่ ผม, กระผม: ใชก้ ับพระภิกษุ ดว้ ยกนั โดยทั่วๆ ไป

๒. คำทใี่ ช้กับพระสงฆ์ หมวดคำนำม เช่น เรือน หรือตกึ สำหรับพระสงฆ์ใช้อยอู่ ำศยั ผ้ำย้อมฝำด หรือผ้ำเหลืองพระ กฏุ ิ โทษที่เกิดจำกกำรลว่ งละเมดิ ข้อห้ำมแหง่ ภกิ ษุ กำสำวพสั ตร์ อำบตั ิ พดั ใบตำล มีด้ำมยำว สำหรับพระสงฆ์ใช้ในพธิ ีกรรม เชน่ ในเวลำให้ศีล ตำลปัตร ปัจจบุ นั อนโุ ลมพดั ที่ทำด้วยผ้ำวำ่ ตำลปัตรเช่นกนั จานวนพยางค์ ช้ำง ม้ำ วัว ผม ฉัน เขำ กนิ นอน เย็น ล่ำง และ โธ่ ตะไคร้ กระทะ ดฉิ นั กระหม่อม สะดดุ ชะลูด ระหวำ่ ง ปดั โธ่ คำมลู พยำงค์เดยี ว กะลำสี นำฬกิ ำ จระเข้ จ้ำละหวน่ั บรสิ ทุ ธ์ิ คำมลู สองพยำงค์ คำมูลสำมพยำงค์ โกโรโกโส ตะลตี ะลำน คะย้ันคะยอ คำมลู สี่พยำงค์

คาสภุ าพสาหรับบคุ คลท่ัวไป คำศพั ท์สำหรบั บุคคลทวั่ ไปหรือสภุ ำพชนเรียกวำ่ คำสภุ ำพ เป็นคำท่ีใชส้ อื่ สำรเพอ่ื ใหเ้ กิดควำมสภุ ำพ ถกู ตอ้ งตำมกำลเทศะและบคุ คล ไม่ใชค้ ำหยำบ คำผวน และคำคะนอง คาสุภาพ คาสามัญ รบั ประทำน กิน ทรำบ รู้ สวมหมวก ใสห่ มวก คลอดบตุ ร คลอดลูก ต้องกำร อยำก นำมำ เอำมำ จำคกุ ตดิ คกุ

๓หน่วยการเรียนรู้ที่ การแตง่ บทร้อยกรองประเภท กลอน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ • แต่งบทร้อยกรองได้

กลอน เป็นบทรอ้ ยกรองประเภทหนึง่ ทม่ี คี วำมแตกตำ่ งจำกควำมเรยี งรอ้ ยแก้ว เนอื่ งด้วยมกี ำรบงั คับคณะหรือจำนวนบท จำนวนบำท จำนวนคำภำยในวรรค รวมถึงสมั ผัสและเสียงวรรณยกุ ต์ กำรแต่งกลอนสุภำพ ลักษณะบงั คบั ของกลอนสุภาพ คณะ บทหน่งึ มี ๒ คำกลอน หรอื ๔ วรรค วรรคหน่ึงๆ มี ๗ - ๙ คำ ส่วนมำกนยิ มใหม้ ี ๘ คำ (วรรคสดบั บำงตำรำเรียกว่ำวรรคสลับ) (วรรครบั ) (วรรครอง) (วรรคสง่ )

สมั ผสั หมำยถึง คำคล้องจองกนั ซึ่งกำรใช้คำสัมผัสจะช่วยทำให้บทร้อยกรองมที ว่ งทำนองเสยี งท่ีร้อยเรยี ง เกี่ยวเนอ่ื ง สัมผสั แบ่งออกเปน็ สมั ผสั ใน เปน็ สมั ผสั ท่อี ยูภ่ ำยในวรรค ชว่ ยทำให้บทร้อยกรองมคี วำมไพเรำะ แต่ไม่ถือเปน็ ขอ้ บังคบั สัมผัสในมที ั้งสมั ผัสสระและสมั ผัสอักษร สัมผัสนอก เป็นสัมผสั ระหวำ่ งวรรคและระหว่ำงบท โดยคำที่บังคบั จะมสี มั ผัสสระคลอ้ ง จองกัน ถือเปน็ สมั ผสั บังคับ แผนผังและตัวอย่างกลอนสภุ าพ (กลอนแปด)

เสียงวรรณยกุ ต์ วรรคสดบั คำสดุ ท้ำยใช้ไดท้ ุกเสียง ไม่นิยมใช้เสยี งสำมญั เพรำะถือวำ่ เรียบและเบำเกนิ ไป วรรครบั คำสุดทำ้ ยนยิ มใชเ้ สียงจัตวำ ไมน่ ิยมใชเ้ สียงสำมญั และเสียงตรี วรรครอง คำสดุ ท้ำยนยิ มใชเ้ สียงสำมญั และเสียงตรี ไม่นยิ มใชเ้ สยี งเอก เสยี งโท เสียงจัตวำ วรรคส่ง คำสดุ ท้ำยใชไ้ ด้ทุกเสยี ง แต่ไมน่ ยิ มใช้เสยี งจตั วำ

ประเภทของกลอนสภุ าพ

๑. กลอนบทละคร มีลกั ษณะเฉพำะของคำขึน้ ต้นบท โดยข้นึ ตน้ บทด้วยคำว่ำ “มำจะกล่ำวบทไป” “เม่อื นนั้ ” และ “บดั น้นั ” ๒. กลอนเสภำ แตง่ ข้ึนสำหรับขบั เสภำโดยมีกรับขยับเป็นจังหวะ เรยี กว่ำ ขับเสภำ และเมอื่ เร่ิมต้น ข้อควำมใหม่ ใหข้ น้ึ ตน้ ดว้ ยคำว่ำ “ครำนัน้ ” ไวต้ น้ กลอนวรรคแรก

๓. กลอนสักวำ แตเ่ ดิมใชเ้ ล่นเปน็ กลอนสดโต้ตอบกัน สำมำรถเลน่ โต้ตอบกันในเร่อื งใดก็ได้ โดยจำนวนคำในวรรคข้ึนอยกู่ บั เน้อื ควำม ๔. กลอนดอกสรอ้ ย วรรคสดับ ขึน้ ต้นบทจะใช้ ๔ คำ โดยใหค้ ำที่ ๑ และ ๓ เปน็ คำเดยี วกัน แล้วแทรกคำวำ่ “เอย๋ ” ไวต้ รงกลำง เช่น ไกเ่ อย๋ ไกแ่ กว้ เด็กเอ๋ยเดก็ นอ้ ย และจบบำทที่ ๔ ด้วยคำว่ำ “เอย”

๕. กลอนนทิ ำน มวี ิธีขน้ึ ต้น ๒ แบบ คือ ขน้ึ ตน้ ด้วยวรรคสดบั หรอื วรรครบั ก็ได้ เมื่อจบเรอื่ งใช้คำว่ำ “เอย” ในวรรคสง่ ของบทสุดทำ้ ย ๖. กลอนเพลงยำว มกั มีเนอ้ื หำเชิงเก้ยี วพำรำสีรำพึงรำพนั ถงึ ควำมรกั หรอื พลำดรกั

๗. กลอนนริ ำศ กลอนนริ ำศจะเน้นเนื้อหำที่เก่ยี วขอ้ งกับกำรเดนิ ทำง เพรำะนริ ำศ หมำยถึง กำรจำกไป

บทละครเร่ืองรามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook