พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ) เป็ น ผูป้ ระพนั ธ์กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ ำช้ำ โดยนำมำจำกกวี นิพนธ์อังกฤษของ ทอมัส เกรย์ (Thomas Gray) ในเรื่ อง Elegy Writtenin a Country Churchyard โดยแต่งเป็ นกลอนดอกสร้อยจำนวน ๓๓ บท แต่ที่คดั มำใหน้ กั เรียนศึกษำมี ๒๑ บท พระยำอุปกิตศิลปสำร
แผนผงั กลอนดอกสร้อย
คาว่า elegy (บทร้อยกรองกาสรด) เป็ นการราพึง Thomas Gray ถึงค ว า ม ตา ยข องม นุ ษ ย์ ซึ่ ง แส ดงสั จธ รรม ขอ งชี วิ ตว่ า มนุษย์ทุกคน อาจหลกี หนีความตายไปได้ แต่งโดยไดเ้ คำ้ โครงเร่ืองมำจำกโคลงภำษำองั กฤษ ซ่ึงเสถียรโกเศศ ไดแ้ ปลและเรียบเรียงไว้ แลว้ พระยาอุป กิตศิลปสารได้ ประพนั ธ์จำกต้นฉบบั ของเสฐียรโกเศศ โดยแต่งเป็ นกลอนดอกสร้อย
พระยำอปุ กิตศิลปสำรนำคำประพนั ธ์น้ีมำประยกุ ตใ์ หเ้ ขำ้ กบั ควำมเป็นไทย เช่น ต้นไอวี (Ivy) = เถาวลั ย์ ต้นเอล์ม (Elm) = ต้นโพธ์ิ แมลงบีตเทลิ (Beetle) = จงิ้ หรีดเรไร จอห์น แฮมพ์เด็น (John Hampden)= ชาวบ้านบางระจนั ตน้ ไอวที ี่ข้ึนปกคลมุ บำ้ น จอห์น มลิ ตนั (John Milton) = ศรีปราชญ์
กล่ำวถึงบุคคลผหู้ น่ึงนง่ั อยใู่ นป่ ำชำ้ ยำมพลบค่ำ เห็นฝงู ววั ควำยกำลงั เดินกลบั ที่อยู่ ท่ำมกลำงแสงพระจนั ทร์ จึงเห็นท่ีฝังศพชดั เจน ศพเหล่ำน้นั คือศพของชำวนำชำวไร่ และเน่ืองจำกอำกำศหนำว มีเสียงระฆงั เสียงนกแสกร้อง ยงิ่ ทำใหบ้ ุคคลผนู้ ้นั รู้สึกวงั เวงใจ รำพงึ ถึงดวงวิญญำ ไม่วำ่ จะเป็นนกั รบ กวี นกั กำรเมือง ซ่ึงในที่สุดกน็ อนจม กองดินเช่นเดียวกนั ไม่วำ่ ศพไพร่หรือศพผดู้ ีต่ำงกม็ ีจุดจบ เดียวกนั คือควำมตำย แมบ้ ำงคนจะเสียดำยอำลยั ชีวิต ไม่อยำกตำย แตก่ ไ็ ม่มีใครฝืนควำมจริงขอ้ น้ีได้
การแสดงสัจธรรมของชีวิต คือ ความไม่เทย่ี งแท้แน่นอน ทุกคนไม่สามารถหลกี เลยี่ งความ ตายได้ การดาเนินชีวติ จึงควรรู้จกั ปล่อยวาง ไม่ควรยดึ ตดิ กบั สิ่งใด ๆ “ดวงเอ๋ยดวงจิต ลืมสนิทกิจกำรงำนท้งั หลำย เคยเสียดำยเคยวติ กเคยปกครอง ยอ่ มละชีพเคยสุขสนุกสบำย ซ่ึงเคยคิดใฝ่ เฝ้ ำเป็นเจำ้ ของ ละถ่ินที่สำรำญเบิกบำนจิต ไม่ผนิ หลงั เหลียวมองดว้ ยซ้ำเอย” หมดวติ กหมดเสียดำยหมดหมำยปอง
เม่ืออำ่ นกลอนดอกสร้อยรำพงึ ในป่ ำชำ้ จะใหค้ วำมรู้สึกและอำรม ์ คือ อารมณ์สะเทอื นใจเกย่ี วกบั ชีวติ ความตาย วงั เวงใจ บรรยากาศในยามใกล้ค่า ยง่ิ ทาให้เกดิ ความรู้สึกสะเทือนใจมากขนึ้ ซ่ึงนบั วำ่ กวสี ำมำรถทำใหผ้ อู้ ำ่ นเกิดควำมรู้สึกร่วมไปกบั บทกวีไดเ้ ป็นอยำ่ งดี “วงั เอ๋ยวงั เวง หง่างเหง่ง! ยา่ ค่าระฆังขาน ฝูงววั ควายผ้ายลาทิวากาล ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถ่นิ ตน ชาวนาเหนื่อยอ่อนต่างจรกลบั ตะวนั ลบั อบั แสงทุกแห่งหน ทิง้ ทุ่งให้มดื มวั ทั่วมณฑล และทิง้ ตนตูเปล่ยี วอยู่เดียวเอย”
ตวั อยำ่ งบทวเิ ครำะห์กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่ ำ ชำ้ “นกเอ๋ยนกแสก จบั จ้องร้องแจ๊กเพยี งแถกขวญั อยู่บนยอดหอระฆงั บังแสงจันทร์ มีเถาวลั ย์รุงรังถงึ หลงั คา เหมือนมนั ฟ้ องดวงจนั ทร์ให้ผันดู คนมาสู่ซ่องพกั มนั รักษา ถอื เป็ นท่ีรโหฐานนมนานมา ให้เสื่อมผาสุกสันต์ของมนั เอย” กลำ่ วถึงเสียงจิ้งหรีดเรไรร้อง มีเสียงเกรำะแวว่ ๆ เสียงนกแสกร้องบนหอ ระฆงั หลงั คำมีเถำวลั ยร์ ุงรัง นอกจำกทำใหเ้ ห็นภำพแลว้ ยงั สะทอ้ นควำมเงียบ
ตวั อยำ่ งบทกลอนที่มีกำรใชค้ ำเลียนเสียงธรรมชำติ “ยามเอ๋ยยามนี้ ปถพมี ืดมวั ท่วั สถาน อากาศเยน็ เยอื กหนาวคราววิกาล สงัดปานป่ าใหญ่ไร้สาเนียง มกี แ็ ต่จังหรีดกระกรีดกริ่ง! เรไรหริ่ง! ร้องขรมระงมเสียง คอกควายววั รัวเกราะเปาะเปาะ! เพยี ง รู้ว่าเสียงเกราะแว่วแผ่วแผ่วเอย”
๑. ทุกคนตอ้ งตำย และทกุ ส ถ ำน ท ่ียอ่ มเคย มีผเู้ สียชีวติ ๒. เมื่อตำยแลว้ ไมส่ ำมำรถนำ สิ่งใดไปได้ จึงควรละวำงไม่ยดึ ติดกบั
๒. เม่ือยงั มีชีวติ อยคู่ วรใชช้ ีวติ อยกู่ บั ครอบครัว ใหม้ ีควำมสุข และทำแตค่ วำมดี ๑. อยำ่ ลุม่ หลงในสิ่งท่ีมีและอยำ่ ทะเยอทะยำนจนเกินตวั เพรำะสุดทำ้ ยเรำกต็ อ้ งตำยจำกสิ่งเหล่ำน้นั ไป
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: