หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑
หน่วยท่ี ๓ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ ขณะที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั ผนวชอยู่ได้เสด็จธุดงค์ไปทางเหนอื และทรงพบหลักศิลาจารึกท่ีเมืองสุโขทัย ลักษณะของศิลาจารึกหลักน้ีเป็นแท่งศิลา รูปส่ีเหล่ียมยอดแหลมปลายมน สูง ๑ เมตร ๑๑ เซนตเิ มตร พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
หน่วยท่ี ๓ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ ลกั ษณะของศิลาจารึก ทรงสเ่ี หลี่ยม ยอดแหลมปลายมน ปรากฏขอ้ ความจารึกทง้ั ๔ ด้าน ศิลาจารกึ หลกั ที่ ๑ ดา้ นท่ี ๑ และด้านที่ ๒ มจี ารึกดา้ นละ ๓๕ บรรทัด สว่ นด้านท่ี ๓ และดา้ นท่ี ๔ มีจารึกดา้ นละ ๒๗ บรรทัด
หน่วยท่ี ๓ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ การศึกษาศิลาจารึกทาใหไ้ ด้ เรยี นรู้ววิ ฒั นาการของภาษา รูปแบบตัวอักษรที่จารึกในหลักศิลาเป็นอักษรสมัยโบราณเรียกว่า อักษรพ่อขุนรามคาแหง ซึ่งพระองค์ทรงประดิษฐ์อักษรไทยเม่ือ พ.ศ. ๑๘๒๖ ซึ่งบันทึกเป็นร้อยแก้ว ใช้ประโยคส้ันๆ ง่ายๆ ใช้คาไทยโบราณ มีสมั ผัสคลอ้ งจอง
ขอ้ ความในศลิ าจารึกพอ่ ขุนรามคาแหงแบ่งได้ ๓ ตอน หน่วยท่ี ๓ ศิลาจารึก หลกั ที่ ๑ ตอนท่ี ๓ ศลิ าจารกึ ตอนท่ี ๑ หลักที่ ๑ ตอนท่ี ๒
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ ตอนท่ี ๑ ต้งั แต่ด้านที่ ๑ บรรทดั ที่ ๑-๑๘ กล่าวถึง พระราชประวตั ขิ องพ่อขุนรามคาแหง มหาราชในข้อความระบุพระนามของพระราชบดิ า พระราชมารดา และพระเชษฐา จากน้ัน กล่าวถงึ วรี กรรมในการรบของพระองค์ทท่ี าให้พระเกยี รตเิ ลอื่ งลอื ตลอดจนพระราชจริยวตั ร อนั งดงามทที่ รงปฏบิ ัตติ ่อพระราชบิดาตราบจนพระราชบดิ าเสดจ็ สวรรคต จงึ ทรงปฏิบตั ิ ต่อพระเชษฐาด้วยความจงรักภกั ดเี ช่นเดยี วกนั เม่ือพระเชษฐาเสดจ็ สวรรคต พระองค์จงึ เสดจ็ ขนึ้ ครองราชสมบัติ ข้อความตอนน้ีมีผู้สันนิษฐานว่าพ่อขุนรามคาแหง มหาราชทรงพระราชนิพนธ์ด้วยพระองค์เอง เนื่องจากใช้ คาสรรพนามแทนพระองคว์ ่า “กู”
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ ตอนท่ี ๒ ต้ังแต่ด้านท่ี ๑ บรรทัดที่ ๑๘ ถึงด้ านที่ ๓ บรรทัดที่ ๑๐ กล่าวถึงเหตุการณ์บ้านเมือง และความเจริญรุ่งเรืองในสมัยพ่อขุนรามคาแหง มหาราช มีการค้าเสรี กฎหมายมรดก การร้อง ทุกข์โดยตรงต่อพระราชา บรรยายวถิ ชี ีวติ คนไทย วัดมหาธาตุ จ.สโุ ขทัย มรดกโลกอันล้าค่าทสี่ ะท้อน เช่น การถือศีล ทาบุญ ในตอนนี้ไม่ใช้สรรพนาม ความร่งุ เรอื งทัง้ วตั ถุและจิตใจ ของอาณาจกั รสโุ ขทัยในอดีต บุรุ ษที่ ๑ เลย แต่ ออกพระนามว่ า “พ่ อขุน รามคาแหง”
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ ต้งั แต่ด้านที่ ๓ บรรทดั ท่ี ๑๐ ถงึ ด้านที่ ๔ บรรทดั สุดท้าย กล่าวถงึ ตอนที่ ๓ พระราชกรณยี กจิ และพระเกยี รตคิ ุณ ของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พระองค์ โปรดให้ช่างสร้างพระแท่นมนังคศิลาบาตร ประดิษฐานไว้กลางดงตาล ทรงใช้ สาหรับประทับว่า ราชการ และให้พระสงฆ์ใช้เป็ นธรรมาสน์แสดงธรรมแก่ ประชาชนในวันธรรมสวนะ พระองค์ทรงปกครองโดย ธรรม ขยายอาณาเขตกว้างขวางและบ้านเมอื งอุดมสมบูรณ์ กระดง่ิ หนา้ ประตศู าลารอ้ งทุกข์ ของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช (สถานท่ีจาลอง เมืองโบราณ จ. สมุทรปราการ)
หน่วยท่ี ๓ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ คาอ่านศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง ด้านท่ี ๑ บรรทดั ท่ี ๑-๑๘ เฉพาะทเี่ ล่าพระราชประวตั ขิ องพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช โดยแบ่งวรรคตอนใหม่ตามทรรศนะของนักวชิ าการ
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ การใชอ้ ักษรพ่อขนุ รามคาแหง
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ การใชอ้ ักษรพ่อขนุ รามคาแหง
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ พยญั ชนะพอ่ ขนุ รามคาแหง
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ สระและวรรณยกุ ต์พ่อขุนรามคาแหง
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ ตวั เลขพอ่ ขนุ รามคาแหง
หน่วยท่ี ๓ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ เ น้ื อ ห า ใ น ศิ ล า จ า รึ ก ห ลั ก ที่ ๑ ไ ด้ บั น ทึ ก พ ร ะ ร า ช ป ร ะ วั ติ ข อ ง พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ตลอดจนพระเกียรติประวัติในการรบ พระราชจริยวัตร อันงดงามในการปรนนิบัติพระราชบิดา พระราชมารดา คร้ันเมื่อพระราชบิดา เสด็จสวรรคต ก็ทรงปรนนิบัติต่อพระเชษฐาด้วยดีตลอดมา จนกระท่ังเสด็จขึ้น ครองราชย์ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ เป็นหลักฐานสาคัญทางประวัติศาสตร์ท่ีแสดง วัฒนธรรมของชาติและ วิถีการดารงชีวิตของชาวเมืองได้เป็นอย่างดี ทาให้เกิด ความปลืม้ ปีติ และภาคภมู ใิ จในบา้ นเมอื งสุโขทัยสมยั น้นั
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ ตวั อย่างบทวเิ คราะห์ศิลาจารึก หลักที่ ๑ “เม่ือช่ัวพ่อกู กบู าเรอแก่พ่อกู กบู าเรอแก่แม่ก.ู .. กไู ด้หมากส้มหมากหวานอนั ใดกนิ อร่อยกนิ ดี กเู อามาแก่พ่อก.ู .. ได้ป่ัวได้นาง ได้เงือนได้ทอง กเู อามาเวนแก่พ่อกู พ่อกตู ายยงั พกี่ ู กพู ร่าบาเรอแก่พก่ี ดู ั่งบาเรอแก่พ่อก”ู เ ป็ น พ ร ะ ร า ช จ ริ ย วั ต ร ท่ี ง ด ง า ม ข อ ง พ่ อ ขุ น รามคาแหงท่ีได้ทรงดูแลพระราชบิดา พระราชมารดา และ พระเชษฐา ซ่ึงควรนาไปเปน็ แบบอย่างในเรอ่ื งความกตัญญู
หน่วยท่ี ๓ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ ศลิ าจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงตอนทน่ี ักเรยี นศึกษา สะท้อนชวี ิตความเป็นอย่แู ละสภาพ บา้ นเมอื งในสมัยสุโขทัยหลายประการ เช่น ๑. ความอุดมสมบรู ณ์ของธรรมชาติ เห็นได้จากข้อความทว่ี า่ “กไู ด้ตัวเนือ้ ตัวปลา กเู อามาแก่พ่อกู กไู ด้หมากส้มหมากหวานอนั ใดกนิ อร่อยกนิ ดี กเู อามาแก่พ่อก”ู
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. การทาศกึ สงครามเพอ่ื ปกป้องดินแดนและขยายอาณาเขต เหน็ ได้จากขอ้ ความท่วี า่ “เมอ่ื กขู นึ้ ใหญ่ได้สิบเก้าเข้า ขุนสามชนเจ้าเมอื งฉอดมาท่เมืองตาก” “กไู ปท่บ้านท่เมอื งได้ช้างได้งวง ได้ป่ัวได้นาง ได้เงือนได้ทอง...”
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๓. การสบื ราชสันตตวิ งศห์ รือการสืบทอดราชสมบตั ขิ ึ้นเปน็ พระมหากษตั ริย์ จะสบื ทอด จากพอ่ ไปสลู่ ูกหรือจากพ่ไี ปสู่นอ้ งที่เป็นชายเทา่ นน้ั เห็นไดจ้ ากข้อความท่วี ่า “พ่อกตู ายยงั พกี่ ู กพู ร่าบาเรอแก่พก่ี ดู งั่ บาเรอแก่พ่อกู พก่ี ตู ายจง่ึ ได้เมืองแก่กทู ้งั กลม...”
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. การใชค้ าไทยง่าย ๆ มสี มั ผสั คล้องจอง มกี ารซา้ คา และมจี ังหวะของถ้อยคา เชน่ “กไู ด้ตัวเนือ้ ตวั ปลา กเู อามาแก่พ่อก”ู “กไู ปตีหนังวงั ช้างได้ กเู อามาแก่พ่อก”ู “กไู ปท่บ้านท่เมืองได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง กเู อามาเวนแก่พ่อก”ู
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ประโยคในศลิ าจารกึ หลักน้ี มกั เป็นประโยคความเดยี วหรือประโยคสามญั ไม่ซบั ซ้อน เชน่ “พ่อกชู ่ือศรีอนิ ทราทติ ย์” “พ่อกไู ปรบขุนสามชน” “กบู ่หนี” “กตู ่อช้างด้วยขุนสามชน”
หน่วยท่ี ๓ ศิลาจารึก หลกั ที่ ๑ ๓. การใช้ภาษาคาโดดซ่งึ เป็นคาไทยแท้ พอ่ แม่ พี่ กู แพ้ เช่น การใช้ภาษาโบราณ เชน่ อ้าย หมา ก อ้าย หมายถึง คาใช้เรียกลูกชายคนท่ี ๑ ว่าลกู อ้าย หมาก หมายถงึ ผลไม้ แพ้ หมายถงึ ชนะ
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ลูกควรแสดงความ ๓. คนไทยต้องกลา้ หาญ กตญั ญูกตเวทตี อ่ พ่อ และเสยี สละเพอื่ แผน่ ดนิ แม่ และปรนนิบัตดิ ูแล ไทย ตามบทบาทและหน้าที่ ในขณะท่ีทา่ นยงั มชี ีวิต ของตน อยู่ ๒. เราควรเออ้ื อาทร ตอ่ ญาตพิ ่ีนอ้ ง มีน้าใจ ชว่ ยเหลอื แบง่ ปันกัน
หน่วยที่ ๓ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ได้ความร้เู กีย่ วกบั เหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์คือพระราชประวตั ิของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ๒. ไดศ้ ึกษาววิ ัฒนาการของตัวอักษรสมยั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชทแ่ี ตกต่างจากปัจจบุ นั ๓. ไดค้ วามรเู้ ก่ียวกบั การปฏิบตั ิตนและหน้าท่ที ดี่ ีของบตุ รในการปรนนิบตั ิดูแลบุพการี และการเปน็ น้องชายท่ดี ี ปฏิบัติตนดตี ่อพ่ชี าย ๔. ได้ความรู้เกี่ยวกบั สภาพบา้ นเมืองสุโขทยั วา่ ชาวเมืองมคี วามสุขสมบูรณ์ ๕. ไดเ้ หน็ แบบอย่างที่ดที ั้งในด้านครอบครวั และการปกครองบ้านเมือง ของพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: