รื่นเริงเพลงรําวง โดย ครูแพรวไพลนิ นนทะสี
รูปแบบ ความเรียง เป็ นงานเขียนท่ีเน้นในเรื่องของการแสดงความ คิดเห็น เป็ นงานเขียนร้ อยแก้วท่ีไม่ยาวนัก เป็ นงานท่ีสื่อ ความคดิ ของผู้เขียนเป็ นสําคัญ จงึ เป็ นงานที่ให้คุณค่าด้านแง่คิด ในเชิงปรัชญาเกย่ี วกบั โลกและชีวติ
การอธิบาย คอื การเขยี นเพอ่ื อธิบายความหมายให้กระจ่าง หรือขยายความให้มีรายละเอียดชัดเจนขึน้ หรือชี้แจงส่ิงต่างๆ ให้แจ่มแจ้งขึ้น ซ่ึงผู้เขียนสามารถนําถ้อยคํามาเรียบเรียงได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสละสลวย เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจส่ิง ต่างๆ ได้ตรงตามทผี่ ู้เขียนต้องการ
เนือ้ เร่ือง
เพลงลอยกระทง วนั เพญ็ เดอื นสิบสอง นํา้ กน็ องเตม็ ตลง่ิ เราท้งั หลายชายหญิง สนุกกนั จริงวนั ลอยกระทง ลอย ลอย กระทง (ซํ้า) ลอยกระทงกนั แล้ว ขอเชิญน้องแก้วมาเล่นรําวง รําวงวนั ลอยกระทง (ซํ้า) บุญจะส่งให้เราสุขใจ (ซํ้า)
บทเพลงสําหรับรําวง ซึ่งเป็ นการละเล่นพนื้ บ้านท่นี ิยมเล่น ทั่วทุกภาคในประเทศไทย ในสมัยจอมพล ป. (แปลก) พิบูล สงคราม เป็ นนายกรัฐมนตรี ได้มอบหมายให้กรมศิลปกร ปรับปรุงท่ารําให้เป็ นรําวงมาตรฐาน
รําวงพฒั นามาจากการละเล่นพนื้ บ้านทเ่ี รียกว่า รําโทน แต่ ยงั ไม่มหี ลกั ฐานว่ารําโทนมมี าต้งั แต่เมอื่ ใด การรําวงผู้รําจะต้อง รําเป็ นวง มเี พลงร้องและใช้เคร่ืองดนตรีตใี ห้จงั หวะประกอบ เช่น โทนรํามะนา นิยมเล่นเวลากลางคนื ช่วงตรุษสงกรานต์ บริเวณลานวดั หรือลานในหมู่บ้าน เน้นความสนุกสนาน และ เปิ ดโอกาสให้หนุ่มสาวได้จบั คู่รําวงเป็ นคู่ๆ
คุณค่าของเร่ือง
๑. สะท้อนให้เห็นว่าบ้านเมอื งร่มเยน็ เป็ นสุข เพลงรําวง เป็ นการละเล่นของไทยทเี่ น้นความสนุกสนาน ๒. ทาํ ให้ได้เรียนรู้ถงึ ความเป็ นไปของบ้านเมอื ง ความคดิ และค่านิยมของคนในยุคสมยั น้ัน ๓. ภาษาของเพลงรําวงแสดงถึงเอกลกั ษณ์ของภาษาไทย
คาํ ศัพท์เกย่ี วกบั การละเล่น
รํา เป็ นการแสดงทผ่ี ู้แสดงเคลอ่ื นไหวมอื แขน ขา และ ลาํ ตวั ให้อยู่ในอริ ิยาบถทอ่ี ่อนช้อยงดงามเข้ากบั จงั หวะเพลงและ ดนตรี ระบํา เป็ นการรําทม่ี ีจาํ นวนผู้รํามากกว่า ๒ คน มลี ลี าท่ี สวยงาม ฟ้ อน เป็ นการร่ายรําด้วยท่าทางทก่ี รีดกราย และยงั ใช้เรียก การแสดงพนื้ เมอื ง เช่น ฟ้ อนเงยี้ ว ฟ้ อนเลบ็
เซิ้ง เป็ นการร่ายรําตามจงั หวะดนตรีพนื้ เมอื งของภาค อสี าน เช่น เซิ้งกระตบิ๊ เซิ้งกะหยงั การเล่น หมายถึง การกระทาํ สิ่งที่ทาํ ให้เกดิ ความ สนุกสนาน เพลดิ เพลนิ และผ่อนคลายอารมณ์ เช่น การเล่น กฬี า การเล่นดนตรี การละเล่น หมายถึง มหรสพหรือการแสดงต่างๆ ทม่ี ี จุดมุ่งหมายเพอ่ื ความสนุกสนาน เช่น ลเิ ก ลาํ ตดั
เพลงรําวง
เพลงลอยกระทง วนั เพญ็ เดอื นสิบสอง นํา้ กน็ องเตม็ ตลง่ิ เราท้งั หลายชายหญิง สนุกกนั จริงวนั ลอยกระทง ลอย ลอย กระทง (ซํ้า) ลอยกระทงกนั แล้ว ขอเชิญน้องแก้วมาเล่นรําวง รําวงวนั ลอยกระทง (ซํ้า) บุญจะส่งให้เราสุขใจ (ซํ้า)
เพลงงามแสงเดอื น งามแสงเดอื นมาเยอื นส่องหล้า งามใบหน้ามาอยู่วงรํา (ซํ้า) เราเล่นกนั เพอ่ื สนุก เปลอื้ งทกุ ข์คลายระกาํ ขอให้เล่นฟ้ อนรําเพอ่ื สามคั คเี อย
เพลงชาวไทย ชาวไทยเจ้าเอ๋ย ขออย่าละเลยในการทาํ หน้าท่ี การทเี่ ราได้เล่นสนุก เปลอื้ งทกุ ข์สบายอย่างนี้ เพราะชาตเิ ราได้เสรี มเี อกราชสมบูรณ์ เราจงึ ควรช่วยชูชาติ ให้เก่งกาจเจดิ จาํ รูญ เพอ่ื ความสุขเพม่ิ พูน ของชาวไทยเราเอย
เพลงช่อมาลี ช่อมาลี คนดขี องพกี่ ม็ า สวยจริงหนาเวลาคาํ่ คนื (ซํ้า) โอ้จนั ทร์ไปไหน ทาํ ไมจงึ ไม่ส่องแสง เดอื นมาแฝงแสงสว่าง เมฆน้อยลอยมาบัง (ซํ้า) แสงสว่างกจ็ างหายไป
รําวงมาตรฐาน
ความรู้ทางภาษา
คาํ กริยา คํากริยา คือ คําท่ีแสดงกิริยาอาการกระทําของนามหรือ สรรพนาม คํากริยาเม่ือทําหน้าท่ีเป็ นหน่วยประโยค เรียกว่า กริยาวลี กริยาเป็ นส่วนสําคัญท่ีสุดของกริยาวลี คํากริยามี ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. คาํ กริยาทม่ี หี น่วยกรรม ๒. คาํ กริยาทไี่ ม่มหี น่วยกรรม
กริยาทม่ี หี น่วยกรรม ๑. คาํ กริยาสกรรม คอื คาํ กริยาทม่ี นี ามวลตี ามหลงั นามวลี น้ันทาํ หน้าทเี่ ป็ นหน่วยกรรม เช่น นน้อ้องงฟฟังังเพเพลลงง แมแ่ตมแี ่ตมแีวมว
๒. คาํ กริยาทวกิ รรม คอื คาํ กริยาทม่ี นี ามวลี ๒ นามวลี ตามหลงั ทาํ หน้าทก่ี รรมตรงและกรรมรอง เช่น ววทิ ทิ ยยาาใใหห้ข้ขนนมมเพเพอื่ อ่ื นนๆๆ คครรูสูสออนนภภาาษษาาอองั งักกฤฤษษนนักักเรเรียียนน
คาํ กริยาทไ่ี ม่มหี น่วยกรรม ๑. คาํ กริยาอกรรม คอื คาํ กริยาทไ่ี ม่ต้องมนี ามวลที าํ หน้าท่ี เป็ นหน่วยกรรม หน่วยเตมิ เตม็ หรือหน่วยเสริมความตามหลงั เช่น พพรระะออาทาทติ ติยย์ต์ตกก ลมลมพพดั ดั
๒. คาํ กริยาคุณศัพท์ คอื คาํ กริยาทแ่ี สดงคณุ สมบัตหิ รือ สภาพของคาํ นามหรือคาํ บุรุษสรรพนาม โดยไม่ต้องมนี ามวลที ํา หน้าทเี่ ป็ นหน่วยกรรม หน่วยเตมิ เตม็ หรือหน่วยเสริมความ ตามหลงั เช่น โสโสภภาสาสววยย
๓. คาํ กริยาต้องเตมิ เตม็ คอื คาํ กริยาทต่ี ้องมนี ามวลที าํ หน้าทเ่ี ป็ นหน่วยเตมิ เตม็ ตามหลงั เสมอ ได้แก่ เป็ น เหมอื น มี เกดิ เช่น เขเขาาเปเป็ น็ นททหหาารร กระเป๋ าของเธอเหมอื นกระเป๋ าของฉัน
๔. คาํ กริยานํา คอื คาํ กริยาทป่ี รากฏอยู่หน้าคาํ กริยาอน่ื เสมอ ได้แก่ พยายาม อยาก ช่วย กรุณา เช่น ฉันอยากอาบนํา้ มาก คคุณุณแแมม่พ่พยยาายยาามมหห้า้ามมเเธธออแแลล้ว้ว
๕. คาํ กริยาตาม คอื คาํ กริยาทป่ี รากฏตามหลงั คาํ กริยาอนื่ เสมอ เช่น ไไฟฟมมออดดลลงงแแลล้ว้ว คคววนั นั ไไฟฟสสีดีดาํ าํคค่อ่อยยๆๆลลออยยขขึน้ นึ้
คาํ วเิ ศษณ์ คาํ วเิ ศษณ์ คอื คาํ ทท่ี าํ หน้าทข่ี ยายกริยาและใช้เป็ นส่วน หลกั ของวเิ ศษณ์วลี คาํ วเิ ศษณ์จะปรากฏตามหลงั กริยาวลี คาํ วเิ ศษณ์มี ๔ ประเภท ๑. คาํ วเิ ศษณ์สามญั ๒. คาํ วเิ ศษณ์แสดงคาํ ถาม ๓. คาํ วเิ ศษณ์บอกเวลา ๔. คาํ วเิ ศษณ์ขยายเฉพาะ
๑. คาํ วเิ ศษณ์สามญั คอื คาํ วเิ ศษณ์ทข่ี ยายคาํ กริยาทวั่ ไป เช่น รระะววงั งั หหนน่อ่อยย หิวหจิวงั จงั คคงงไไปปกกรระะมมงั งั ๒. คาํ วเิ ศษณ์แสดงคาํ ถาม คอื คาํ วเิ ศษณ์ทใี่ ช้แสดง คาํ ถาม เช่น ททาํ ไาํ ไมมททาํ าเํ ชเช่น่นนนี้ ี้ เพราะเหตุใดเธอจงึ ขายบ้าน
๓.คาํ วเิ ศษณ์บอกเวลา คอื คาํ วเิ ศษณ์ทบี่ ่งบอกเวลา เช่น พพรรุ่งุ่งนนีฉ้ ีฉ้ ันันจจะะไไปปสสุโุโขขททยั ยั เขเขาชาชออบบกกลลบั บั บ้าน้านคคา่ํ ๆาํ่ ๆ ๔. คาํ วเิ ศษณ์ขยายเฉพาะ คอื คาํ วเิ ศษณ์ทข่ี ยายคาํ กริยา คาํ ใดคาํ หนึ่งโดยเฉพาะ เช่น มมดี ดี เลเล่ม่มนนีค้ ีค้ มมกกรริบิบ ววทิ ทิ ยยาากกดั ดั ฟฟันันกกรรออดดๆๆ
วลแี ละกริยาวลี วลี คอื หน่วยของภาษาซ่ึงเป็ นองค์ประกอบของประโยค องค์ประกอบของประโยคโดยปกตปิ ระกอบด้วยภาคประธานกบั ภาคแสดง ภาคประธานมนี ามวลเี ป็ นองค์ประกอบสําคญั ภาค แสดงมกี ริยาวลเี ป็ นองค์ประกอบสําคญั ประโยคทกุ ประโยค จะต้องมกี ริยาวลอี ยู่ด้วยเสมอ
กริยาวลี คอื วลที ปี่ ระกอบด้วยคาํ กริยาอย่างน้อย ๑ คาํ หรือประกอบด้วยคาํ กริยาทใ่ี ช้เป็ นส่วนหลกั ของกริยาวลกี บั คาํ อน่ื ๆ กริยาวลใี ช้แสดงอาการ แสดงสถานะ แสดงภาพ หรือ ความรู้สึกของคาํ นามทท่ี ําหน้าทเี่ ป็ นประธานของประโยค
ประโยค นามวลี กริยาวลี ๑.แม่บ้าน ไปซื้อกบั ข้าว ๒.ขโมย วง่ิ หนีไปแล้ว ๓.รําวง พฒั นามาจากการละเล่นพนื้ บ้าน ๔.คุณแม่ของโสภา น่ังจ้องมองดูแหวนเพชร ๕.นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒ แสดงความคดิ เห็นได้อย่างมเี หตผุ ล
แบบทดสอบ ๑. การรําวงจะเน้นสิ่งใดเป็ นสําคญั ก. การปลกุ ใจ ข. ความสามคั คี คค. . ความสนุกสนาน ง. การบูชาสิ่งศักด์สิ ิทธ์ิ
๒.ในสมยั ใดมกี ารปรับปรุงท่ารําให้เป็ นรําวงมาตรฐาน ก.ก. จอมพล แปลก พบิ ูลสงคราม ข. จอมพล ปอ พบิ ูลสงคราม ค. จอมพล ถนอม กติ ตขิ จร ง. จอมพล ประภาส จารุเสถยี ร
๓.เนือ้ หาเพลงรําวงข้อใดสะท้อนให้เห็นความเชื่อทางศาสนา ก. วนั เพญ็ เดือนสิบสอง ข. นํ้ากน็ องเตม็ ตลง่ิ ค. สนุกกนั จริงวนั ลอยกระทง ง.ง. บุญจะส่งให้เราสุขใจ
๔.เชื่อว่ารําวงพฒั นามาจากการละเล่นพนื้ บ้านประเภทใด ก. โขน ขข.. รําโทน ค. ระบาํ ง. กระบ่กี ระบอง
๕.การรําวงจะใช้อวยั วะใดเป็ นหลกั ก. มอื ข. แขน ค. หน้า งง. . ข้อ ๑ และข้อ ๒
๖. “สอดสร้อยมาลา” เป็ นชื่อของส่ิงใด กก. . ท่ารํา ข. เพลงรําวง ค. การละเล่นของเดก็ ง. เพลงพนื้ บ้าน
๗.เพลงรําวงในสมยั จอมพล ป. (แปลก) พบิ ูลสงคราม สะท้อนให้เห็นความต้องการใดของรัฐบาล ก. การต่อต้านการปกครอง ข. การโน้มน้าวใจให้รักชาติ คค. . การปลอบขวญั ประชาชน ง. การให้ความรู้แก่ประชาชน
๘.แต่เดมิ การเล่นรําวงมกั เล่นในเวลากลางคนื ในช่วงใด ก. ช่วงการเกยี่ วข้าว ข. ช่วงมงี านวดั คค.. ช่วงตรุษสงกรานต์ ง. ช่วงวนั ลอยกระทง
๙. “วนั เพญ็ เดอื นสิบสอง นํา้ กน็ องเตม็ ตลงิ่ เราท้งั หลาย ชายหญงิ สนุกกนั จริงวนั ลอยกระทง ลอย ลอย กระทง (ซํ้า)” เนือ้ หาของเพลงนีไ้ ม่ได้สะท้อนให้เห็นสิ่งใด ก. สภาพธรรมชาติ ข. กจิ กรรมทปี่ ฏบิ ัติ ค. อารมณ์ความรู้สึก งง. . ความเช่ือในสิ่งศักด์สิ ิทธ์ิ
๑๐.ข้ อใดเป็ นกริยาวลี ก. วนั หยดุ สดุ สปั ดาห์ ข. สีสนั วนั หยดุ คค. . จบั ค่เู ต้นรํากนั ง. ญาตสิ นิทมติ รสหาย
วนั จันทร์ท่ี ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ รามเกยี รต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทก
Search