1. เท้าศรีจุฬาลักษณ์หรอื นางนพมาศ ตำรบั ทำ้ วศรีจฬุ ำลกั ษณห์ รอื นำงนพมำศหรอื เรวดีนพมำศเป็นวรรณคดีทเ่ี ดิมเชอื่ กนั ว่ำแตง่ ข้นึ ในสมัย สโุ ขทยั ผูแ้ ต่งคือนำงนพมำศหรือท้ำวศรีจุฬำลักษณ์แตห่ นงั สอื อำจชำรุดเสียหำยแตแ่ ละได้มกี ำรแต่งข้ึนใหมใ่ น สมัยรตั นโกสินทรว์ รรณคดเี รอ่ื งนี้เพ่ิงมีกำรชำระและตพี มิ พเ์ ผยแพร่เป็นคร้งั แรกเม่อื พ.ศ.๒๔๕๗ ดงั ที่สมเด็จฯ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพทรงพระนพิ นธไ์ ว้ในคำนำเก่ยี วกบั เรื่องสำนวนโวหำรทีป่ รำกฏในเร่ืองควำมว่ำ “หนงั สอื เลม่ น้ีสังเกตไดว้ ่ำแต่งในรำวสมยั รชั กำลที่ ๒ ถงึ สมัยรัชกำลที่ ๓ เพรำะถ้ำเทยี บสำนวนกับหนงั สือรุ่น สุโขทยั อยำ่ งไตรภูมพิ ระร่วงหรือหนังสือด้วยอยุธยำซ่ึงเห็นชดั วำ่ หนังสือนำงนพมำศใหมค่ วำยอย่ำงแนน่ อนและ ยังมีทจ่ี บั ผิดในส่วนของเนือ้ หำท่กี ล่ำวถงึ ชำตฝิ รงั่ ต่ำงๆโดยเฉพำะอเมริกันซง่ึ เพง่ิ เกิดใหม่” ทง้ั นี้รัชกำลท่ี ๕ กท็ รงเหน็ ดว้ ยแตม่ นี ักปรำชญ์สมัยรชั กำลท่ี ๔ คอื กรมหลวงวงศำธริ ำชสนิทเชอ่ื ว่ำน่ำจะมีตวั ฉบับเดิมที่เก่ำแกแ่ ต่ตน้ ฉบับอำจชำรดุ ขำดไปมำถงึ สมัยรตั นโกสนิ ทรจ์ ึงมีกำรแก้ไขเพิ่มเตมิ ให้สมบรู ณ์และเชือ่ กนั ว่ำรชั กำลท่ี ๓ ไดท้ รงพระรำชนิพนธ์แทรกไว้ตอนหนึ่งคอื ตอนที่วำ่ ดว้ ย “พระศรีมโหสถลองปัญญำนำงนพ มำศ” และเนอื้ หำตอน ”นำงเรวดีใหโ้ อวำทของนพมำศ” มีเน้ือหำประมำณหนึง่ ในสำมของเรื่อง ๑.ผแู้ ต่งและสมยั ท่ีแต่ง พระบำทสมเด็จพระน่ังเกลำ้ เจ้ำอยู่หัว ๒.จุดมุ่งหมายในการแต่ง แต่งขนึ้ สำหรบั สอนสตรแี ละบนั ทึกขนบธรรมเนยี มประเพณี ๓.รูปแบบคาประพนั ธ์ แตง่ ด้วยรปู แบบคำประพนั ธ์ประเภทรอ้ ยแก้วและมรี ปู แบบคำประพนั ธป์ ระเภทร้อย กรองแทรก ๔.เนอ้ื หาโดยสังเขป นำงนพมำศเป็นธิดำของพระศรีมโหสถตอ่ มำเมอ่ื นำงนพมำศเจริญวยั พระศรีมโหสถได้นำนำงไปถวำย พระร่วงกษัตรยิ ส์ ุโขทัยนำงนพมำศไดเ้ ป็นนำงพำกำนันและได้ปฎบิ ตั ิหนำ้ ทีต่ ำ่ งๆจนได้รับสถำปนำเป็นทำ้ วศรี จุฬำลักษณ์ตำแหน่งพระสนมของพระรว่ งนอกจำกนใี้ นเร่ืองยงั ไดส้ อดแทรกนทิ ำนสอนสตรชี ำววงั เช่น เรื่องนำง นกกระต้อยตีวดิ เรือ่ งนำงชำ้ ง เรอ่ื งนำงนกกระเรยี น และกล่ำวถึงพระรำชพิธตี ่ำงๆท้ัง สบิ สองเดอื นไว้ดว้ ย ๕..คณุ ค่า ตำรับทำ้ วศรีจฬุ ำลกั ษณห์ รอื นำงนพมำศมคี ุณค่ำดังตอ่ ไปน้ี ๑.)ดา้ นปญั ญาความรู้ วรรณคดีเรือ่ งนม้ี ีคณุ ค่ำในด้ำนคำสอนเน่อื งจำกเนอื้ หำของวรรณคดีกลำ่ วถงึ คณุ ลกั ษณะของสตรแี ละภรรยำที่ดีซึ่งสำมำรถนำไปปรับใช้ในชวี ติ ได้ ๒.)ดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม ตำรบั ท้ำวศรีจฬุ ำลักษณห์ รือนำงนพมำศเป็นวรรณคดที เ่ี น้นในดำ้ นกำร สอนสตรีสอนควำมประพฤติของสตรีโดยเฉพำะสตรีชำววงั เปน็ วรรณคดที ่ีมี จุดมุง่ หมำยสำหรับกำรสอน ๓.) ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี บันทกึ เรอื่ งรำวท่ีเกีย่ วกบั ขนบธรรมเนียมในวงั และพระรำชำพิธสี บิ สองเดือนในสมยั รตั นโกสินทรต์ อนตน้ (รชั กำลท่ี ๑-รชั กำลที่๓) ไวอ้ ยำ่ งละเอียดมีประโยชนใ์ นกำรค้นควำ้ เกีย่ วกับรำชประเพณีขนบธรรมเนยี มตำ่ งๆในรำชสำนักตลอดจนกำรปฏิบัตติ นขอหญงิ ชำววัง ๔.) ด้านประวัติศาสตร์ มีควำมสำคญั ในฐำนะเปน็ บันทกึ ทำงประวตั ศิ ำสตร์เกี่ยวกบั รำชประเพณี รวมถึงขนบธรรมเนียมต่ำงๆในรำชสำนกั รวมถงึ เนอ้ื หำสะท้อนควำมคิดเก่ยี วกับกำรมองโลกที่เปล่ยี นไปของคน ไทยซึง่ แตเ่ ดิมคนไทยมีวธิ กี ำรมองโลกโดยยดึ พระพทุ ธศำสนำเป็นแกนกลำงตำมควำมคิดของไตรภูมิ เปลีย่ นแปลงเปน็ กำรมองโลกตำมสภำพที่จรงิ มำกขึน้ สะทอ้ นควำมเปลยี่ นแปลงทำงควำมคิดและสังคม วัฒนธรรมในสมยั ต้นรัตนโกสินทรไ์ ด้เป็นอย่ำงดี ๕.) ดา้ นอทิ ธพิ ลต่อกวีรุ่นหลงั ตำรบั ทำ้ วศรจี ุฬำลกั ษณ์หรือนำงนพมำศเปน็ หนงั สอื ทม่ี ปี ระโยชน์ อยำ่ งยงิ่ ในกำรสบื ค้นรำชประเพณขี นบธรรมเนียมตำ่ งๆในรำชสำนกั เม่ือพระบำทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้ำ เจ้ำอยู่หัว ทรงพระรำชนพิ นธห์ นงั สือพระรำชพิธีสบิ สองเดือนก็ทรงสอบใช้หนังสือเล่มนเ้ี ปน็ แหล่งอำ้ งอิงอีก เรอ่ื งหน่ึง
2. โคลงนริ าศนรินทร์ โคลงนริ ำศนรินทรเ์ ป็นตัวอยำ่ งของวรรคดีโคลงนิรำศทไี่ ด้รับกำรยกย่อง มีควำมไพเรำะโดดเดน่ ทั้งใน ดำ้ นรสคำ รสควำม และโวหำรเปรยี บเทยี บที่ลึกซง้ึ กินใจ ถอื เป็นแบบฉบับในกำรประพันธ์โคลงทม่ี ีเนอ้ื หำ พรรณนำอำรมณ์ ควำมรกั โดนธรรมชำติเป็นสอื่ เปรยี บเทียบได้เป็นอย่ำงดี ๑.ผู้เเต่งและสมยั ทแ่ี ตง่ นำยนรนิ ทร์ธิเบศร์ (อิน) แตง่ เมอื่ ครำวตำมเสด็จสมเด็จพระบวรรำชเจำ้ มหำเสนำนุ รกั ษ์ เสด็จยกกองทพั ไปปรำบพมำ่ ซึง่ ยกทพั มำตเี มืองถลำงและเมอื งชมุ พร ในปมี ะเส็ง พ.ศ.๒๓๕๒ ๒.จดุ มุ่งหมายในการแตง่ แตง่ ข้นึ สำหรบั อำ่ นเพ่ือควำมบันเทงิ ๓.รูปแบบคาประพนั ธ์ แตง่ ด้วยรปู แบบคำประพันธป์ ระเภทโคลงนริ ำศ มีร่ำยรำ ๑ บท และต่อด้วยโคลงสี่ สุภำพ ๑๔๓ บท ๔.เนือ้ หาโดยสังเขป เร่ิมตน้ ยอพระเกียรติพระมหำกษัตริย์ และชมควำมงำมของบำ้ นเมือง จำกนั้นกล่ำวถงึ กำรจำกนำงและกำรเดินทำง โดยใช้สถำนทแี่ ละธรรมชำติทเี่ ดินทำงผ่ำนกล่ำวเปรยี บเทยี บครำ่ ครวญถึงนำง กำรเดนิ ทำงเรมิ่ ตน้ จำกกรงุ เทพมหำนคร ต้องเดนิ ทำงตำมแม่นำ้ เจ้ำพระยำ เขำ้ คลองบำงหลวง ตดั เข้ำคลอง ด่ำนผ่ำนวดั นำงนอง จอมทอง วัดไทร ตดั มำออกคลองมหำชยั จำกน้ันจงึ ข้ำมแมน่ ้ำทำ่ จีนไปเข้ำคลองสุนัขหอน ลอ่ งไปจนถึงแมน่ ำ้ กลอง จำกนัน้ เดนิ ทำงไปเพชรบรุ ี ถึงสะพำน (จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์) จนถงึ ตะนำวศรี ๕.คุณคา่ โคลงนิรำศนรนิ ทร์มีคุณคำ่ ดังต่อไปน้ี ๑.ดา้ นประวัตศิ าสตร์ ทำให้คนรจู้ กั เส้นทำงกำรเดินทำงระหวำ่ งกรงุ เทพฯ ไปยังบำงสะพำนและ ตะนำวศรีในสมัยรตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ ๒.ด้านวรรณศลิ ป์ เป็นวรรณคดที ม่ี ีควำมไพเรำะของเสียง ไมว่ ่ำจะเป็นเสยี งสัมผัส และกำรเลน่ คำ โวหำรในกำรประพันธ์ดีเยี่ยม โดยเฉพำะโวหำรภำพพจนใ์ นกำรเปรียบเทียบควำมรกั ด้วยกำรใชภ้ ำพพจนแ์ บบ อตพิ จน์หรอื กำรกลำ่ วเกนิ จริง รวมถงึ กำรใชภ้ ำพพจนแ์ บบบคุ คลวัต โดยกวีสมมติสงิ่ ต่ำงๆ ทม่ี ิใชม่ นษุ ยใ์ ห้ กระทำกริ ิยำอำกำรเชน่ เดยี วกบั มนษุ ย์ เมื่อนำมำใช้ในกำรแตง่ บทประพันธส์ ำมำรถพรรณนำอำรมณ์ควำมรูส้ กึ ของกวไี ด้อย่ำงเขม้ ขน้ และชัดเจน บทประพนั ธด์ งั กลำ่ วจงึ มคี วำมสมดุลท้ังในด้ำนเสยี งและควำมหมำย ถกื เป็น ผลงำนทีไ่ ดร้ ับกำรยกยอ่ งใหเ้ ปน็ แบบอย่ำงในกำรแตง่ โคลงนิรำศ จึงได้รบั ยกย่องจำกวรรณคดสี โมสรใหเ้ ปน็ ยอดของโคลงนิรำศ ตัวอยา่ ง โคลงนิราศนรนิ ทร์ จำใจจำกแม่เปล้อื ง ปลอิ ก อรเอย เยียวว่ำเเดเดียวยก แยกได้ สองซีกแลว้ ทรวง แตกภำค ออกแม่ ภำคพี่ไปหน่งึ ไว้ แนบเนอื้ นวลถนอม ฯ
3. เสภาเรอ่ื งขุนชา้ งขุนแผน เสภำเร่ืองขนุ ชำ้ งขนุ แผนเป็นวรรณคดีท่ีได้รัยกำรยกย่องจำกวรรณคดสี โมสรในสมยั รัชกำลท่ี ๖ ว่ำ เป็นยอดของกลอนเสภำเนอ่ื งจำกยอมรบั ของนกั วรรณคดที ั่วไปวำ่ เปน็ เลศิ ในด้ำนเนื้อเรื่องและกระบวนกลอน เนื่องจำกเนื้อหำกลำ่ วถงึ ชวี ิตของคนธรรมดำสำมัญ เนอื้ เรอ่ื งมีควำมสนุกสนำน บรรยำกำศและพฤตกิ รรมของ ตัวละครสำมำรถสร้ำงควำมประทบั ใจได้ รวมถงึ สำมำรถสะทอ้ นสงั คมไทยในสมัยอยธุ ยำและสมัยรัตนโกสนิ ทร์ ตอนตน้ ได้เป็นอยำ่ งดี ๑.ผแู้ ต่งและสมยั ที่แตง่ กวสี มัยรตั นโกสินทร์ตอนตน้ และพระองค์หลำยคน เท่ำทพ่ี บหลักฐำนประกอบดว้ ยกวีสำคญั เชน่ พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหลำ้ นภำลยั ทรงพระรำชนิพนธ์ ตอนพลำยแก้มเป็นชูก้ บั นำงพิม ตอนขนุ แผนขึ้น เรือขนุ ชำ้ ง ตอนขนุ แผนเขำ้ หอ้ งนำงแก้วกริ ยิ ำ ตอนขนุ แผนพำนำงวนั ทองหนี พระบำทสมเดจ็ พระน่ังเกล้ำเจำ้ อยูห่ ัวทรงพระรำชนิพนธต์ อนขนุ ชำ้ งขอนำงพิม และตอนขนุ ชำ้ งตำม นำงวันทอง ๒.จดุ ม่งุ หมายในการแต่ง แต่งขนึ้ สำหรบั เปน็ บทเสภำ ๓.รูปแบบคาประพนั ธ์ แตง่ ด้วยรูปแบบคำประพันธป์ ระเภทกลอนเสภำ ๔.เน้ือหาโดยสังเขป ขุนชำ้ ง ขุนแผน(พลำยแกว้ ) และนำงพิม(นำงวนั ทอง) เปน็ ชำวเมอื งสพุ รรณบุรี เคยเลน่ กันมำตง้ั แตย่ ัง เดก็ ต่อขุนไกลพอ่ ของขนุ แผนถกู ประหำรชีวิต มำรดำจึงพำพลำยแกว้ ไปอยเู่ มืองกำญจนบรุ ีเม่ือพลำยแก้วโตขึน้ จงึ บวชเป็นสำมเณรเพ่อื เรยี นวิชำและไดพ้ บนำงพมิ ก็เกดิ ควำมรกั พลำยแก้วจึงขอใหม้ ำรดำไปสู่ขอและได้ แต่งงำนกบั นำงพิม ตอ่ มำเกดิ สงครำม พลำยแกว้ ถูกเกณฑ์ไปทัพเมืองเชียงใหม่ ขนุ ช้ำงจึงทำบำยวำ่ พลำยแกม้ ตำยแลว้ สู่ขอนำงพมิ จำกมำรดำของนำงพิม มำรดำนำงพมิ ซ่ึงเวลำนนั้ เปลีย่ นช่ือเป็นนำงวนั ทองก็ยกให้ แตน่ ำง วันทองยงั ไมย่ อมเขำ้ หอกบั ขนุ ชำ้ ง จนพลำยแกว้ กลบั มำจำกสงครำมได้ตำแหน่งเป็นขนุ แผนสะท้ำนและไดน้ ำง ลำวทองมำดว้ ย เมอ่ื กลับมำได้ทะเลำะกับนำงวันทอง ขุนแผนจึงพำนำงลำวทองไปจงั หวัดกำญจนบุรี และนำง วนั ทองไดต้ กเป็นภรรยำของขนุ ช้ำง ต่อมำขุนแผนได้ลักนำงวันทองจำกเรอื นขุนชำ้ ง แล้วพำไปอยู่ในปำ่ จนนำง ต้งั ครรภ์ ขุนแผนจงึ เขำ้ มำลุแก่โทษ ขุนช้ำงจงึ นำนำงวันทองทคี่ รรภไ์ ปบำ้ นของตนจนคลอดพลำยงำน ส่วน ขุนแผนตดิ คุกเมื่อพลำยงำมโตขน้ึ ได้เรียนวชิ ำอำสำสมเด็จพระพันวษำไปศึกเมอื งเชียงใหม่ โดยขอขุนแผนไป ด้วย ขุนแผนและพลำยงำมได้เอำชนะเมืองเชียงใหม่ได้ ขนุ แผนจงึ ได้เป็นพระสุรินทรฤๅไชยเจำ้ เมืองกำญจนบรุ ี ส่วนพลำยงำมได้เป็นจมน่ื ไวยวรนำถ พลำยงำมคดิ ถึงแมจ่ ึงพำมำอยู่ท่ีบ้ำนตนขุนช้ำงได้ถวำยฏีกำ แต่เมือ่ นำง วนั ทองไม่สำมำรถตดั สินใจได้วำ่ จะอยกู่ ับใคร สมเดจ็ พระพันวษำจึงใหป้ ระหำรชวี ติ นำงวันทอง ตอ่ มำนำงสร้อย ฟ้ำกับนำงศรมี ำลำภรรยำของพลำยงำมทะเลำะหงึ หวงกนั นำงสรอ้ ยฟ้ำจึงใหเ้ ถรขวำดทำเสนห่ ใ์ สพ่ ลำยงำม ไดม้ ี กำรพิสูจนด์ ้วยกำรลุยไฟ นำงสรอ้ ยฟำ้ แพจ้ ึงถกู เนรเทศกลบั ไปเชียงใหม่ เถรขวำดยังมีควำมอำฆำตแค้นจงึ แปลงกลำยเป็นจระเขอ้ ำรขวำดทอี่ ยธุ ยำ พลำยชุมพลผู้เป็นนอ้ งชำยของพำยงำมจึงอำสำปรำบจระเข้เถรขวำด ได้สำเร็จ และไดร้ บั แต่งต้ังเป็นหลวงนำยฤทธ์ิ เรอื่ งขนุ ช้ำงขนุ แผนยงั มีภำคปลำยต่อเน่อื งไปอกี แตเ่ ปน็ เหตู กำรณ์ทีเ่ กีย่ วกับบุตรหลำนของขุนแผน สมเดจ็ ฯกรมพระยำดำรงรำชำนุภำพจึงชำระไว้เพียงเทำ่ น้ี ๕.คุณคา่ เ สภำเรือ่ งขุนชำ้ งขนุ แผนมคี ณุ ค่ำ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑.ด้านวรรณศิลป์ เสภำเร่ืองขุนชำ้ งขุนแผนนเ้ี ปน็ วรรณคดีท่ีมีควำมไพเรำะในดำ้ นวรรณศลิ ป์ ไดร้ บั กำรยกย่องจำกวรรณคดีสโมสรให้เปน็ ยอดของกลอนสภุ ำพ ๒.ด้ำนสังคมและวฒั นธรรม เปน็ วรรณคดีท่สี อดแทรกวถิ ชี วี ติ ของคนไทยในสมยั ตน้ รัตนโกสินทร์ ไดอ้ ยำ่ ง ชัดเจน ไม่วำ่ จะเปน็ เร่ืองกำรศกึ ษำเลำ่ เรยี น กำรบวช กำรแต่งงำน รวมถึงขนบธรรมเนยี มในรำชกำรตำ่ งๆ
ตวั อยา่ ง เสภาเร่ืองขนุ ช้างขุนแผน ไดท้ ีก็ประนมกม้ เกศำ ครำนน้ั เจ้ำพระยำจักรี อันชีวำอยูใ่ ต้บำทบงส์ุ กรำบทลู ขน้ึ พลนั มทิ นั ชำ้ มอบใหน้ ำยดำ่ นท่ำเกวียนสง่ บดั สเี ชียงใหมม่ รี ำชสำสน์ ใหพ้ น้ มโนจำนงน้นั ถอื มำ พระยำเกษตรสงครำมมรณรงค์ เชยี งใหมจ่ บั จำยงั ไม่ฆ่ำ เรอื่ งรำวกลำ่ วดว้ ยพระทำ้ ยนำ้ กโ็ กรธำกลุ้มกลดั ขัดพระทัย ไดท้ รงฟงั ยงั มิทันอ่ำนสำรตรำ
4. บทละครเร่ืองอิเหนา พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั บทละครเรอื่ ง อิเหนำ พระรำชนพิ นธใ์ นพระบำทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้ำนภำลยั เปน็ บทละครที่ทรง พระรำชนิพนธ์ใหมต่ ลอดทั้งเรอ่ื ง ถอื เปน็ บทละครเรื่อง อเิ หนำ ฉบบั สมบรู ณ์ท่ีสุด นยิ มใชใ้ นกำรเลน่ ละคร มำกกวำ่ ฉบับบทพระรำชนิพนธ์ใรรัชกำลท่ี ๑ เนอื่ งจำกมคี วำมดีเด่นด้ำนวรรณศิลป์และมกี ำรแตง่ ท่ีถึงพรอ้ ม ดว้ ยควำมงำมท่กี ลมกลนื กับศิลปะแขนงต่ำงๆ ทง้ั กำรรอ้ งและกำรร่ำยรำ ๑.ผู้แตง่ และสมยั ทแ่ี ต่ง พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลยั แต่เป็นพระรำชนพิ นธร์ ชั กำลที่ ๒ ถงึ ตอนสึก ซีเทำ่ น้นั พมิ พ์คร้ังแรกเม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๗ ต่อมำเม่ือสมเด็จฯ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพและกรมหมน่ื กวพี จน์สุ ปรีชำทรงชำระแลว้ จดั พมิ พ์ข้ึนเมือ่ พ.ศ. ๒๔๖๔ ๒.จุดมุ่งหมายในการแตง่ เพ่อื ใชเ้ ปน็ บทละครใน ๓.รูปแบบคาประพนั ธ์ แตง่ ดว้ ยบทกลอนกลอน ๔.เนือ้ หาโดยสังเขป เร่มิ เร่อื งต้ังแต่ตอนตงั้ วงศ์เทวำอเิ หนำเป็นโอรสของทำ้ วกเุ รปัน พระบดิ ำได้หม้ันไว้กบั นำง บษุ บำธิดำของท้ำวดำหำ อยั ยกิ ำของอเิ หนำทเ่ี มอื งหมนั หยำสิน้ พระชนม์ อเิ หนำจึงเสดจ็ ไปในงำนพระเมรุและ เกิดหลงรักนำงจินตะหรำธิดำท้ำวหมันหยำ เมอื่ ใกลอ้ ภเิ ษกกับบษุ บำ อเิ หนำจงึ ทูลลำพระบดิ ำไปประพำสปำ่ แล้วปลอมองคเ์ ปน็ ปันหยี ระตหู ลำยเมอื งได้ถวำยธดิ ำให้ คอื มำหยำรัศมีและสักกำระวำตี รวมถึงถวำยโอรส คือสังคำมำระตำ อเิ หนำรอบเข้ำหำนำงจินตะหรำอเิ หนำบอกปัดกำรอภิเษกทำให้ท้ำวดำหำโกรธมำกจึง ประกำศจะยกบุษบำใหก้ ับใครก็ได้ท่ีมำขอ ระตูจรกำจึงไปสูข่ อบุษบำ เขำรอหำกย็ อมยกบษุ บำให้ตำมคำขอ ต่อมำทำ้ วกะหมงั กุหนิงสง่ ทตู มำขอบษุ บำใหว้ ิหยำสะกำ แตท่ ้ำวดำหำปฏเิ สธเปน็ เหตุให้เกดิ ศกึ ทำ้ วกุเรปนั มี คำสงั่ ให้อิเหนำไปช่วยลบเมือ่ ชนะศึกแลว้ อเิ หนำก็ไดเ้ ข้ำเฝำ้ ท้ำวดำหำและได้พบรกั บุษบำและพยำยำมหำ โอกำสใกล้ชิดบุษบำเม่ือ ท้ำวดำหำจะจดั พิธอี ภเิ ษกระหว่ำงบษุ บำกบั ระตูจรกำอิเหนำกไ็ ดใ้ ช้อบุ ำยเผำเมอื งแลว้ รอบพำนำงบษุ บำหนอี อกจำกเมอื งองคท์ รงพโิ รธจงึ ดลบันดำลใหล้ มหอบนำงบษุ บำทงั้ คอู่ อกตำมหำกันและกนั สว่ นบุษบำนน้ั ไดแ้ ปลงตัวเป็นชำยตำระกำอบจำรึกพระนำมว่ำนิสำอณุ ำกัน ท้งั ค่จู ำตอ้ งพลัดพรำกจำกกันและ เดินทำงจนได้พบกันอีกคร้งั ๕.คณุ ค่าบทละครเรื่องอเิ หนา มคี ุณคำ่ ดงั ต่อไปนี้ ๑.ด้านวรรณศิลป์ บทละครเรื่องอิเหนำเปน็ วรรณคดบี ทละครเรือ่ งสำคัญ เนือ่ งจำกบทละครเร่อื ง อิเหนำสำนวนน้ีทรงพระรำชนิพนธ์เพ่อื ใช้ในกำรแสดงละครบทกลอนจงึ มคี วำมพถิ ีพถิ ันสอดคล้องกบั กำรร่ำย รำ เนอ่ื งจำกเม่อื ทรงพระรำชนิพนธแ์ ล้วโปรดเกล้ำฯ ให้กรมหลวงพิพิธมนตรรี งนำไปประดษิ ฐ์ท่ำรำ ืดังนนั้ บท ละครเรอื่ งอิเหนำจึงสำมำรถนำไปแสดงไดอ้ ย่ำงงดงำมมกี ระบวนกลอนไพเรำะใชถ้ ้อยคำเหมำะสมกับตวั ละคร เชน่ กำรใชค้ ำเหมำะกับลำดับศกั ดิ์ของตวั ละครบทชมธรรมชำติมคี วำมไพเรำะจบั ใจ พร้อมให้ภำพพจน์ท่เี ขม้ ข้น ชดั เจนกอ่ ใหเ้ กิดอำรมณ์สะเทือนใจมรี สวรรณคดีครบทุกรสทุกท้ังบทรกั กลำ้ หำญ บทหงึ หวง ซึง่ ถำ่ ยทอดผ่ำน ตัวละครไดอ้ ย่ำงเหมำะสมทุกบทบำท จึงได้รับกำรยกยอ่ งจำกวรรณคดสี โมสรในสมัยรัชกำลที่ ๖ ว่ำเป็นยอด ของบทละครรำ ๒. ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม วรรณคดีเร่ืองนใี้ หค้ วำมรู้เกยี่ วกับวิถชี ีวติ สภำพสังคมไทยสมยั รัตนโกสินทรเ์ ช่นกำรศกึ สงครำมกำรแตง่ กำยวิถีชีวิตควำมเป็นอยรู่ วมถึงรำชพิธตี ำ่ งๆเชน่ กำรสมโภชลูกหลวง งำนพิธีพระเมรุ พิธแี หส่ นำน พธิ โี สกันต์พธิ เี บิกโขนทวำร เปน็ ต้น ๓.ด้านคตธิ รรมและคุณธรรม สอดแทรกคตธิ รรมและข้อคิดต่ำงๆ เชน่ กำรรจู้ ักระงบั ควำมตอ้ งกำร ของตนเอง ไมท่ ำตำมใจตนเองหรือกำรใช้กำลังในกำรแก้ไขปัญหำ โดยไม่ยั้งคดิ ในกำรตดั สนิ ใจจะทำเร่อื งตำ่ งๆ ที่อำจส่งผลให้เกิดควำมรนุ แรง กำรยึดถือขนั ตมิ ำนะของตนโดยไมค่ ำนงึ ถึงควำมเสียหำยท่ีจะเกิดขึ้นกับผู้อนื่ เช่นเดียวกับกรณีที่กอ่ ใหเ้ กดิ สงครำมในเรอ่ื ง
๔.ดา้ นศิลปะการละคร บทละครเรอ่ื งอิเหนำเปน็ ยอดของละครรำ เพรำะใช้คำประณตี ไพเรำะ เคร่ือง แตง่ ตวั ละครงดงำม ทำ่ รำงำม บทเพลงขบั ร้องและเพลงหนำ้ พำทยก์ ลมกลนื กับเน้อื เรอื่ งและทำ่ รำ จงึ ถอื ว่ำ ดีเดน่ ในศิลปะกำรแสดงละครรำไดเ้ ป็นอย่ำงดี รวมถึงคุณค่ำดำ้ นกำรขบั ร้องและดนตรวี งดนตรี ไทยนยิ มนำ กลอนจำกวรรณคดเี รอ่ื งอิเหนำไปขับร้องกนั มำก เช่น ตอนบษุ บำเสยี่ งเทียนและตอนประสนั ตำต่อนก เปน็ ตน้ ตัวอยำ่ ง บทละครเรื่องอิเหนำ รชั กำลที่ ๒ แล้วว่ำอนิจจำควำมรัก พง่ึ ประจกั ษด์ ง่ั สำยนำ้ ไหล ตง้ั แตจ่ ะเช่ียวเปน็ เกลียวไป ทไ่ี หนเลยจะไหลคนื มำ สตรีใดในพภิ พจบแดน ไม่มีใครได้แค้นเหมอื นอกข้ำ ดว้ ยใผร่ กั เกินพักตรำ จะมเี วทนำเป็นเมืองนิตย์
5. ลลิ ิตตะเลงพา่ ย สมเดจ็ พระมหำสมณเจ้ำกรมพระปรมำนชุ ติ ชิโนรส ทรงนพิ นธข์ น้ึ โดยอำศัยเค้ำเรือ่ งพระรำช พงศำวดำรกรงุ ศรอี ยธุ ยำฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วดั พระเชตุพนฯ เมอื่ สมเด็จพระนเรศวรมหำรำชทรงกระทำ ยุตธหัตถีกบั สมเด็จพระมหำอุปรำชำแหง่ หงสำวดี ทรงนพิ นธว์ รรณคดีเร่อื งน้ใี น พ.ศ. ๒๓๗๔ เพ่ือเปน็ กำรฉลอง วัดพระเชตุพนฯ เปน็ กำรเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนเรศวรมหำรำชและพระบำทสมเด็จพระนั่งเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั ในลักษณะเดยี วกับลิลิตยวนพำ่ ย ซ่ึงแต่งข้ึนเพือ่ เฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนำถ ๑. ผแู้ ต่งและสมัยทีแ่ ต่ง สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำนชุ ติ ชโิ นรส ๒. จดุ ม่งุ หมายในการแตง่ แตง่ ขน้ึ เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเด็จพระนเรศวรมหำรำช ๓. รูปแบบคาประพนั ธ์ แต่งดว้ ยรูปแบบคำประพันธป์ ระเภทลลิ ติ ประกอบดว้ ยโครงและร่ำย ๔. เนื้อหาโดยสังเขป เร่ิมตน้ ดว้ ยกำรพรรณนำถึงกรุงรัตนโกสินทร์จำกน้นั จึงกลำ่ วถึงเหตกุ ำรณ์ในพระรำช พงศำวดำร ตงั้ แต่สมเด็จพระนเรศวรมหำรำชจะยกทพั ไปตีเมืองละแวก แต่ทรำบข่ำวว่ำพระเจำ้ หงสำวดีนนั ท บเุ รงให้พระมหำอปุ รำชำยกทัพมำตกี รงุ ศรีอยธุ ยำ จึงเสดจ็ ไปรับศกึ หงสำวดแี ทน โดยเสด็จไปตระพังตรุและไดท้ ำสงครำมยตุ ธหัตถกี ับพระมหำอุปรำชำ จนพระ มหำอุปรำชำขำดคอช้ำง พระนเรศวรจงึ เสดจ็ กลับและปรึกษำโทษนำยทัพนำยกองท่ีตำมเสด็จกำรพระรำช สงครำมไม่ทนั จำกนัน้ สมเดจ็ พระวันรตั น์ วัดป่ำแกว้ จึงมำขออภัยโทษให้แก่แม่ทพั นำยกอง จำกนัน้ จึงโคลง กลำ่ วถงึ หลกั ธรรมของกษตั ริย์ อันมที ศพิธรำชธรรม เปน็ ตน้ ๕. คณุ ค่า ลิลติ พระพำ่ ยมีคณุ คำ่ ดังตอ่ ไปน้ี ๑. ด้านวรรณศลิ ป์ ลิลติ ตะเลงพำ่ ยเป็นวรรณคดีทีม่ ีควำมไพเรำะดำ้ นวรรณศิลป์ มีควำมไพเรำะใน กำรเลน่ เสยี ง เล่นคำ กอ่ ให้เกิดอำรำมณค์ วำมร้สู ึก มคี วำมดีเดน่ ด้ำนกำรใช้ภำพพจนเ์ ปรยี บเทยี บ สำมำรถ พรรณนำให้เกิดจิตภำพแก่ผูอ้ ำ่ นไดเ้ ป็นอย่ำงดี รวมถงึ บทประพนั ธส์ อดคลอ้ งกบั รสวรรณคดี โดยเฉพำะอย่ำงยงิ่ กำรพรรณนำเนือ้ หำดว้ ยขนบของวรรณคดนี ิรำศสำมำรถสร้ำงอำรมณ์สะเทือนใจให้แกผ่ ้อู ำ่ นได้เปน็ อย่ำงดี นอกจำกน้ี กลวธิ กี ำรสร้ำงตัวละครของวรรณคดเี รื่องนีย้ ังมลี กั ษณะเฉพำะคอื กำรสรำ้ งนกั รบอยำ่ งพระมหำอุป รำชำใหม้ ีควำมเปน็ มนษุ ยม์ ีอำรมณค์ วำมรู้สกึ เปน็ ภำพสะทอ้ นถึงลกั ษณะอนั เป็นสำกลของมนษุ ยไ์ ดเ้ ป็นอย่ำงดี จงึ ถอื ได้ว่ำเป็นวรรณคดแี บบฉบับ ที่สำมำรถประพันธเ์ รอ่ื งรำวทำงประวตั ิศำสตรใ์ ห้เกิดอรรถทำงวรรณคดี ๒. ด้านประติศาสตร์ ลิลติ ตะลพ่ำยเปน็ วรรณคดีที่ให้ควำมรู้เกีย่ วกับประวตั ศิ ำสตร์ในกำรทำสงครำม กำรเดนิ ทัพ ตำรำพชิ ยั สงครำม และพิธีกรรมกอ่ นกำรทำศกึ สงครำม เชน่ พธิ ีตัดไมข้ ่มนำม พิธีเบิกโขลนทวำร เปน็ ตน้ รวมถงึ ประมวลระเบียบประเพณี หลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำ และคณุ ธรรมในกำรปกครอง บ้ำนเมอื งของพระมหำกษัตรยิ ์ เช่น หลกั พระทศพธิ รำชธรรม เป็นตน้ ๓. ดา้ นพธิ ีกรรมและความเช่ือ สะท้อนคตคิ วำมเชือ่ ของสังคมไทยในสมัยรตั นโกสนิ ทรต์ อนต้นไดเ้ ป็น อยำ่ งดี ทง้ั ควำมเช่อื บรรพบรุ ุษ ลำงบอกเหตุ ควำมฝัน กำรทำนำยทำยทักของโหร รวมถงึ แสดงพิธีกรรมในกำร ทำศึกสงครำม เชน่ พิธีเบกิ โขลนทวำร พธิ ีตัดไม้ข่มนำม เป็นตน้ ๔. ด้านวฒั นธรรม สะทอ้ นควำมผูกพนั ของสถำบันกษตั ริย์กับสงั คมวัฒนธรรมในอดตี เน่ืองจำก เน้อื หำของวรรณคดีมีลกั ษณะของวรรณคดียอพระเกยี รติ ๕. ด้านปัญญาความรู้ ใหข้ อ้ คิดในกำรดำเนินชีวิต เช่น กำรรจู้ ักรับผดิ ชอบตอ่ บทบำทหนำ้ ท่ีของ ตนเอง ควำมเมตตำนอบนอ้ ม กำรรูจ้ ักให้อภยั เป็นตน้ โดยสำมำรถพิจำรณำไดจ้ ำกกำรปฏิบตั ิตำมบทบำท หนำ้ ที่ของตวั ละครทงั้ สมเด็จพระนเรศวรมหำรำช และสมเด็จพระมหำอปุ รำชำ ตัวอย่าง อุรำรำนรำ้ วแยก ยลสยบ เอนพระองค์ลงทบ ทำ่ วดิน้ เหนือคอคชซอนซบ สังเวช วำยชวี ำตมส์ ดุ สน้ิ สู่ฟ้ำเสวยสวรรค์ ฯ
6. ลิลติ เพชรมงกฎุ ๑. ผู้แตง่ และสมัยทแ่ี ตง่ เจ้ำพระยำคลงั (หน) แตง่ วรรณคดเี รอื่ งลลิ ิตเพชรมงกุฎเมือ่ ครง้ั ดำลงตำแหนง่ หลวงสรวิชิต (หน) ในสมัยสมเด็จพระเจ้ำตำกสนิ มหำรำช โดยนำนิทำลในเรื่องเวตำลปกรฌมั มำเปน็ โครงเร่อื งตอนเวลำลเลน่ นิทำนปรศิ นำเรอื่ งเจ้ำฟ้ำเพชรมงกฏ ซึง่ เป็นนิทำนซอ้ นนิทำนเร่ืองหน่ึงใน นทิ ำนเรื่องเวตำล ๒. จดุ มงุ่ หมายในการแตง่ เพอ่ื ถวำยพระรำชโอรสของสมเดก็ พระเจ้ำจำกสนิ มหำรำช และเพอื่ แสดง ควำมสำมำรถของกวี จัดเป็นวรรณคดีเพอ่ื กำรอ่ำน ๓. รูปแบบคาประพนั ธ์ แตง่ เป็นกลอนบทละคร ๔. เน้ือหาโดยสังเขป กล่ำวถงึ เทำ้ วิกรมำทิตยเ์ สดจ็ ประพำสปำ่ จับเวตำลมำเปน็ พำหนะเวตำลทลู ขอเล่ำ นิทำนถวำย ถำ้ ทรงตอบไดจ้ ะยอมเป็นข้ำตลอดชีวิตแต่ถ้ำตอบไม่ไดจ้ ะขอพระเศยี ร เวตำลจงึ เริม่ นำ นทิ ำนเรอ่ื งเพชรมงกุฎมำเลำ่ เพชรมงกกุ เป็นโอรสกษัตรยิ ์ไดเ้ สดจ็ ออกประพำสป่ำกบั พเี่ ล้ียงชือ่ พฒุ ศรี พระเพชรมงกุฎกับพฒุ ศรีหลงทำงไปจนถึงเมอื งกรรณบุรี ได้พบนำงประทุมดี นำงประทมุ ดีทำปริศนำ แสดงว่ำพอพระทยั พระเพชรมงกุฏพฒุ ศรีแก้ปรศิ นำไห้ ดพชรมงกฎุ จึงลอบเขำ้ ไปหำและได้นำงเป็น ชำยำ ต่อมำพระศรจี ึงออกอบุ ำยว่ำนำงประทุมดีเป็นยักษ์พระเจำ้ กรงุ กรรณหลงเชือ่ จงึ ขบั ไลน่ ำงออก จำกเมอื ง เพชรมงกฎุ และพุฒศรีจึงพำนำงกลับเมือง เม่อื พระเจำ้ กรุงกรรณทรำบควำมจริงกเ้ สยี พระทัยจนสวรรคต เมื่อเลำ่ จบเวตำลจงึ ถำมทำ้ ววิกรมำทิตย์ พระองค์จึงตอบได้ว่ำบคุ คลท่ีตอ้ งรับบำป คอื พระเจำ้ กรุงกรรณ เวตำลจึงยอมเป็นคำ่ รับใช้ต่อไป ๕. คณุ คา่ ลิลิตเพชรมงกฎุ มคี ุณคำ่ ดังตอ่ ไปน้ี ๑.ด้านวรรณศิลป์ เรื่องลิลติ เพชรมงกุฎนเ้ี ป็นวรรณคดีทม่ี ีคณุ คำ่ ด้ำนควำมงำมควำมไพเรำะ ใช้ ถ้อยคำสละสลวย มีลลี ำกำรแต่งคลำ้ ยกับวรรรคดเี ร่อื ง ลิลิตพระลอ แตไ่ ม่ได้รบั ควำมนิยมแพร่หลำยเทยี บเท่ำ วรรรคดีเร่อื ง ลลิ ิตพระลอ ๒.ด้านวรรณคดี เรอ่ื งลิลติ เพชรมงกฎุ นเ้ี ปน็ นคำประพันธล์ ักษณะร้อยกรองผสม ประกอบด้วยร่ำยกับ โคลงแตง่ ร้อยสมั ผัสกันไป และบัญญัตบิ ทนพิ นธน์ ว้ี ่ำ ลิลิต ข้ึนเป็นครง้ั แรกดังควำมตอนหนง่ึ ในรำ่ ยนำเร่อื งทว่ี ่ำ “…ขอ้ ยจะนอพนธ์ลลิ ิต โดยตำนำนนิตยบรุ ำในปกรณำเวตำล และนทิ ำนเปน็ ประถม...” และเรียกในกำพย์ต่อ โคลงท้ำยเรื่องว่ำ นิพนั ธ์สรรณลิลิต โดยในมิตรจติ ทลู ถวาย ไว้กระวีประชาชาย หลายเลห่ ท์ ชี่ ้ีชาญกลอน ๓.ดา้ นศลี ธรรม คณุ คำ่ ด้ำนเน้ือหำประกำรสำคัญของวรรณคดีเรื่องนี้ คือ เป็นวรรณคดีเรือ่ งแรกท่ีมี เน้ือควำมและคติผิดแผกไปจำกวรรณคดีไทยส่วนไหญท่ ี่ไดอ้ ทิ ธพิ ลจำกอินเดีย ซึ่งส่วนมำกได้เค้ำโครงเร่ืองมำ จำกชำดกทำงพระพุทธศำสนำ วรรณคดีสันสกฤตเรื่องมหำกำพย์รำมำยณะและมหำภำรตะ ส่วนลิลิตเพชร มงกฎุ ไดเ้ คำ้ เรื่องมำจำกเวตำลปญั จวิงศติ หรือเวตำลปกรณมั วรรณคดเี รื่องน้มี แี ง่คดิ และมคี ตสิ อนใจแทรกอยหู่ ลำยตอน โดยเฉพำะอย่ำงยงิ่ หลกั คำสอนเรื่องกำร ระงับกเิ ลสและควำมปรำรถนำของตนเอง
7. นิราศกวางตงุ้ ๑.ผแู้ ต่งและสมยั ท่แี ตง่ พระยำมหำนุภำพ แต่งในรัชสมยั สมเด็จพระเจ้ำตำกสนิ มหำรำช เมอ่ื ครัง้ เดินทำงไปพร้อมกบั คระรำชทูตไปประเทศจีนเพือ่ เจริญสมั พันธไมตรกี ับพระจกั รพรรดเิ ข้ีนหลง (เฉียนหลง) ณ กรงุ ปักกิง่ เมือ่ จ.ศ.๑๑๔๓ หรอื พ.ศ.๒๓๒๔ ๒.จุดม่งุ หมายในการแต่ง เพ่อื เลำ่ เหตูกำรณ์ทไี่ ด้พบเหน็ ระหวำ่ เดินทำง ๓.รูปแบบคาประพนั ธ์ แตง่ ดว้ ยกลอนสภุ ำพ ๔.เนื้อหาโดยสังเขป กล่ำวถึงตั้งแตว่ นั เวลำท่ีเดนิ ทำง กระบวนเรือ เหตุกำรณแ์ ละสง่ิ ท่ีไดพ้ บเหน็ เชน่ พำยุ กำรเซ่นไหวเ้ ทพอำรักษ์ เมืองกวำงต้งุ ตลอดจนห่อเท้ำของหญงิ ชำวจีน และกำรเดนิ ทำงกลับ ๕.คณุ ค่า เร่อื งนิรำศกวำงตงุ้ มคี ณุ คำ่ ดงั ต่อไปนี้ ๑.ด้านประวัติศาสตร์ วรรณดเี ร่ืองนไี้ ห้ควำมรดู้ ำ้ นประวัติศำสตร์ โดยเฉพำะในเรือ่ งกำรเจริญ สมั พันธไมตรกี ับประเทศจีนสมัยธนบรุ ี รวมท้งั ยังไห้ควำมรู้เกยี่ วกับเสน้ ทำงกำรเดินเรือ ตลอดจนกล่ำวถงึ วิถี ชวี ติ ของชำวจีนที่เมืองกวำงตุ้งอีกดว้ ย ๒.ดา้ นวรรณศิลป์ วรรณคดีนริ ำศเรอ่ื งน้ีใชถ้ ้อยคำสำนวนและลีลำของกลอนเรียบๆ เข้ำใจงำ่ ย กระบวนพรรณนำละเอียดลออ รวมถงึ ยงั เปน็ นริ ำสเร่ืองแรกของไทยทใ่ี ช้ฉำกตำ่ งประเทศบรรยำยกำรเดินทำง ทะเลจำกประสบกำรณ์ของกวีเองและไม่เนน้ กำรคร่ำครวญถงึ หญงิ คนรกั ตำมธรรมเนยี มนิรำศทม่ี ีมำใน สมยั ก่อน นอกจำกนีว้ รรณคดเี ร่ืองดังกลำ่ วยังใชข้ นบกำรครำ่ ครวญแบบวรรณคดนี ิรำศ โดยกล่ำวสรรเสริญพระ เกียรติของพระเจ้ำกรุงธรบรุ ใี นขณะเดินทำง วรรณคดีเรอื่ งนจ้ี งึ มลี ักษณะเด่นท่ีเปน็ กำรสรร เสริญพระบำรมี ของพระมหำกษัตริย์ และบนั ทกึ เร่ืองรำวกำรเดนิ ทำงทำไหผ้ ้อู ่ำนได้รบั ควำมรู้เปน็ อย่ำงดี
8. กากีคากลอน หรอื บทมโหรีเรื่องกากี กำกคี ำกลอน หรือบทมโหรีเร่ืองกำกี หรือบำงทเี รียกวำ่ กำกกี ลอนสภุ ำพ มกี ำรนำมำใชเ้ ปน็ บทขบั ร้อง ประกอบวงมโหรีโบรำณ จึงทำใหเ้ ป็นวรรณคดีทมี่ ีควำมนยิ มแพรห่ ลำยเป็นอย่ำงมำก ๑.ผู้แต่งและสมัยท่ีแต่ง เจ้ำพระยำพระคลงั (หน) โดยได้เค้ำโครงเรือ่ งมำจำกกุณำลชำดก สุสันธิชำดกและ กำกำติชำดก ในอรรถกถำนิบำตชำดก ขุททกนิกำย สุตตันตปิฎก ๒.จุดม่งุ หมายในการแตง่ เพือ่ แต่งเปน็ บทร้องในวงมโหรี ๓.รปู แบบคาประพนั ธ์ แตง่ ดว้ ยกลอนสุภำพ ๔.เนือ้ หาโดยสงั เขป กลำ่ วถึงพระเจำ้ พรหมทัต ครองเมอื งพำรำณสี มีมเหสีชื่อนำงกำกี วันหนง่ึ พญำครฑุ แปลง กำยเปน็ มนุษยม์ ำเล่นสกำกับพระเจำ้ พรหมทัต แล้วลอบลักนำงกำกมี เหสขี องพระเจำ้ พรหมทตั ไปสมสู่ที่วิมำน ฉิมพลี นำฏกเุ วรคนธรรพ์พ่เี ล้ยี งพระเจำ้ พรหมทัตอำสำท่ีจะตดิ ตำม จนไดพ้ บและสมสกู่ บั นำง เมอ่ื พญำครฑุ มำ เล่นสกำอีกครัง้ คนธรรพไดด้ ดี พิณร้องเพลงเสียดสี พญำครฑุ จึงพำนำงกำกีมำคืน พระเจ้ำพรหมทัตจึงใหน้ ำนำง ลอยแพไป ๕.คุณค่า กำกีคำกลอน หรอื บทมโหรีเรือ่ งกำกมี คี ณุ คำ่ ดังต่อไปนี้ ๑.ด้านวรรณศิลป์ วรรณคดเี รื่องนี้มีคณุ คำ่ ในด้ำนวรรณศลิ ป์ มขี ้อควำมทกี่ วีเลอื กสรรถอ้ ยคำมำใชอ้ ยำ่ ง ไพเรำะเหมำะสมกับท้องเรื่องโดยเฉพำะถ้อยคำที่กล่ำวถึงบทรักและถอ้ ยคำตัดพ้อ ซ่ึงมกี ำรใชภ้ ำษำอยำ่ คมคำย ๒.ด้านปัญญา วรรณคดีเรอ่ื งน้มี คี ุณคำ่ ในด้ำนคำสอนสตรี เน่อื งจำกเนอ้ื หำของวรรณคดีกลำ่ วถงึ คุณลกั ษณะ ท่ไี ม่เหมำะสมของสตรี ซ่ึงสำมำรถนำไปปรับใชใ้ นชวี ติ ได้ ๓.ด้านสงั คมและวฒั นธรรม วรรณคดีน้เี ปน็ วรรณคดที ีใ่ หค้ ติสอนใจมจี ุดมงุ่ หมำยในกำรสอนควำมประพฤติ ของสตรี วรรณคดเี ร่ืองนีจ้ งึ มอี ิทธิพลทำงควำมคิดตอ่ ควำมประพฤตขิ องคนไทย ๔.ด้านศิลปะ ใช้เป็นบทขับร้องในวงมโหรโี บรำณดว้ ย ตัวอยา่ ง กากคี ากลอน หรอื บทมโหรีเรือ่ งกากี ช้ีบอกยอดเขำพระเมรุมำศ แก้วประหลำดงำมดีเปน็ สอี่ ย่ำง แดงเขยี วขำวเหลืองเรืองนภำงค์ เกำะทวีปใหญ่กว้ำงท้ังสีท่ ิศ ทวีปนอ้ ยสองพนั เป็นบรวิ ำร สัญฐำนดงั จอกลอยกระจิดรดิ มีพฤกษำใหญ่ล้ำประจำทศิ เกดิ สถิตแต่ประถมแผน่ ดนิ ชี้ชมเขำแก้วทงั้ เจ็ดชัน้ มีนำ้ คัน่ หลั่นลดชลำสนิ ธ์ุ หมมู่ หำมจั ฉำแลนำคนิ ทร์ อันอยูใ่ นวำรนิ ทร์สีทนั ดร
9. บทละครเรือ่ งอณุ รทุ พระราชนพิ นธพ์ ระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช บทละครเรอื่ ง อุณรุท พระรำชนพิ นธพ์ ระบำทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟำ้ จุฬำโลกมหำรำชเปน็ วรรณคดี สำคญั เรือ่ งหน่งึ ของไทย และเป็นทรี่ ู้จักกันดมี ำต้ังแตส่ มยั อยธุ ยำตอนต้น ในชื่อว่ำ อนิรทุ คำฉนั ท์ วรรณคดเี รอ่ื ง นไ้ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจำกคัมภีรห์ รวิ งศซ์ ง่ึ เป็นวรรณคดสี ันสกฤต ดว้ ยคุณคำ่ ด้ำนวรรณศลิ ปท์ ี่มคี วำมไพเรำะสละสลวย เพียบพร้อมดว้ ยกลวิธที ำงวรรณศิลปเ์ ปน็ แบบฉบับใหแ้ ก่วรรณคดรี ุน่ หลงั รวมถงึ สะทอ้ นพธิ ีกรรมและคติควำม เช่อื ที่เกย่ี วขอ้ งกบั ศำสตร์พรำหมณ์-ฮินดขู องไทย วรรณคดเี ร่ืองน้ี จงึ นับว่ำเป็นวรรณคดที ่มี อี ิทธพิ ลอย่ำงยิ่งตอ่ สังคมและวฒั นธรรมไทยจนมีกำรแต่งให้มคี วำมสมบูรณย์ ง่ิ ข้ึนในอกี สำนวนหนงึ่ ยุคตอ่ มำ ๑.ผูแ้ ตง่ และสมัยท่แี ตง่ พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟำ้ จฬุ ำโลกมหำรำชทรงพระรำชนพิ นธ์รว่ มกบั กวีอื่นๆ เมอ่ื วนั พธุ เดอื นอำ้ ย ขึ้น ๓ ค่ำ จ.ศ. ๑๑๙๙ หรอื พ.ศ. ๒๓๓๐ ๒.จดุ มุ่งหมายในการแต่ง เพอ่ื ใชเ้ ป็นบทละครสำหรับเล่นละครใน และเพือ่ รวบรวมเรอ่ื งอุณรุทไวใ้ หเ้ ป็นฉบบั ที่ สมบูรณ์สำหรับพระนคร ๓.รูปแบบคาประพนั ธ์ แตง่ ด้วยกลอนบทละคร ๔.เนือ้ หาโดยสงั เขป กล่ำวถงึ พระเจำ้ กรุงพำนครองเมืองรัตนำไดท้ ำอบุ ำยลอบเข้ำชมนำงสจุ ติ รำมเหสีของ พระอนิ ทร์ พระอศิ วรจึงทลู เชญิ พระนำรำยณใ์ ห้อวตำรเปน็ พระบรมจกั รกฤษณ์ ครองเมืองณรงกำ พระบรม จักรกฤษณ์มีโอรสช่อื พระไกรสทุ ตอ่ มำพระไกรสุทมีโอรสชื่อ พระอณุ รทุ พระอิศวรโปรดให้นำงสุจิตรำไปเกิด ในดอกบวั ฤำษีสธุ ำรำชเก็บไปเล้ยี งไว้ตงั้ ชื่อว่ำ นำงอษุ ำ ต่อมำพระอณุ รุทออกประพำสป่ำแลว้ ได้บวงสรวงพระ ไทรพระไทรจึงอมุ้ สมพระอณุ รุทให้ไดก้ ับนำงอษุ ำ ครน้ั นำงอษุ ำตื่นขน้ึ ได้คร่ำครวญหำพระอุณรุท นำงศภุ ลกั ษณ์ พีเ่ ลย้ี งจึงวำดภำพเทพบุตรและพระโอรสเมอื งตำ่ งๆ ให้นำงอษุ ำดู คร้นั ทรำบว่ำเปน็ พระอุณรุท นำงศภุ ลักษณ์ จึงไปเชิญมำ พระอณุ รทุ มำอยกู่ ับนำงอุษำควำมทรำบถงึ พระเจำ้ กรงุ พำนจงึ ใหจ้ ับพระอณุ รทุ มำประจำน เทวดำ จึงไปทูลพระบรมจกั รกฤษณ์ พระบรมจกั รกฤษณ์จงึ เสดจ็ มำปรำบพระเจำ้ กรงุ พำนแล้วรบั พระอุณรทุ กับนำง อษุ ำไปอย่ดู ว้ ยกนั ต่อมำพระอุณรทุ ได้เสด็จออกคล้องชำ้ งเผือกได้นำงกินรแี ลว้ จึงเดินทำงกลับพระนคร ๕.คุณคา่ บทละครเรื่อง อุณรุท พระรำชนพิ นธ์พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจฬุ ำโลกมหำรำช มีคุณค่ำ ดังตอ่ ไปนี้ ๑.ดา้ นวรรณคดี วรรณคดเี รอ่ื งน้ีมคี ณุ ค่ำในด้ำนเน้อื หำ เนอื่ งจำเป็นอรุ รุทฉบับทม่ี ีกำรรวบรวมเรือ่ งรำว ตัง้ แตต่ น้ จนจบได้อยำ่ งสมบูรณ์ ๒.ดา้ นศิลปะการแสดง วรรณคดเี รื่องนเี้ ปน็ บทละครที่ใช้ฝนดำรแสดงในพิธตี ำ่ งๆโยเฉพำะอยำ่ งยงิ่ กำรเล่น ในพธิ สี มโภชนพ์ ระนคร ๓.ดา้ นความเชื่อ แสดงควำมเชื่อที่เกย่ี วขอ้ งกบั พระกฤษณะผเู้ ป็นพระนำรำยณ์อวตำร ซ่งึ แสดงใหเ้ ห็น ควำมสมั พันธ์ระหว่ำงศำสตรพ์ รำมหณ์-ฮินดใู นสังคมและวัฒนธรรมไทย ตวั อย่าง บทละครเรือ่ งอุณรุท บดิ เุ รศจะส้นิ สงั ขำร์ อุส่ำห์จงรักภคั ดี ปำกหนึ่งโอว้ ำ่ ขวญั เนตร สำคัญคิดว่ำเปน็ ทำสี เจำ้ จะรองบำทหลำนจักรำ อย่ำให้เคียงธุลบี ำทมำลย์ ปำกสองวำ่ แมจ่ งเจียมจิต สำหรับกษัตริยม์ หำศำล สิง่ ใดซึง่ ระคำยเปน็ รำคี อย่ำกอ่ กำรหงึ หวงไมค่ วรนกั ปำกสำมอนั ควำมซึ่งสังวำส ประดบั ดว้ ยแสนสนมบรวิ ำร
10. สามก๊ก สำมกก๊ เป็นนยิ ำยอิงประวตั ศิ ำสตร์จนี (ไทยเรยี กวำ่ พงศำวดำรจนี ) ท่ไี ด้รับควำมนิยมอย่ำงสงู แปลเป็น ภำษำต่ำงประเทศหลำยภำษำ เป็นวรรณคดีทมี่ ีเนื้อำกลำ่ วถึงควำมรดู้ ้ำนกำรปกครองและพชิ ยั สงครำมต่ำงๆ พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำชจงึ โปรดให้เจ้ำพระยำพระคลัง (หน) เป็นผอู้ ำนวยกำรแปล วรรณคดเี รอ่ื งน้ขี ึน้ ๑.ผู้แตง่ และสมยั ที่แตง่ สมเด็จฯ กรมพระยำดำรงรำชำนภุ ำพสนั นิษฐำนว่ำเจำ้ พระยำคลงั (หน) เป็น ผอู้ ำนวยกำรแปลจำกภำษำจนี เป็นภำษำไทยเสรจ็ สิน้ ก่อนปี พ.ศ. ๒๓๔๘ ซึ่งเปน็ ปีทเ่ี จ้ำพระยำพระคลงั (หน) ถึงแก่อสญั กรรม ๒.จุดมงุ่ หมายในการแตง่ เพือ่ ใช้เป็นตำรำพิชยั สงครำม ๓.รปู แบบคาประพนั ธ์ แตง่ เป็นร้องแกว้ ๔.เน้อื หาโดยสังเขป กลำ่ วถงึ ต้งั แตพ่ ระเจำ้ เลนเต้ครองรำชยส์ มบตั ิ แตม่ ิได้ตั้งอยใู่ นโบรำณรำชประเพณีและ ไมไ่ ด้คบหำคนสตั ยธ์ รรม เชื่อถือแต่คนอำสัตย์ มีขันที ๑๐ คน ต่อมำเกิดโจนโพกผ้ำเหลือง พระเจ้ำเลนเต้จึงให้ ประกำศหำบุคคลทมี่ ีควำมสำมำรถมำปรำบโจรโพกผ้ำเหลอื ง เม่อื ปรำบโจรโพกผำ้ เหลอื งได้แลว้ พระเจำ้ เลนเต้ สวรรคต ต่อมำต๋งั โต๊ะเข้ำมำตง้ั ตัวเปน็ ใหญก่ อ่ ควำมเดอื นรอ้ น ตอ่ มำตง๋ั โตะ๊ ถกู สงั หำร ได้มกี ำรแย่งชิงอำนำจ ควำมเปน็ ใหญ่ในหมขู่ ุนศึก คือ โจโฉ อว้ นเส้ียว อ้วนสดุ เล่ำปี่ ซนุ กวน คร้นั หลังศกึ โจโฉแตกทพั เรอื แผน่ ดินจึง ค่อยแยกเป็น ๓ กก๊ คอื โจโฉปกครองทำงเหนอื เลำ่ ปี่ปกครองดนิ แดนเสฉวนทำงตะวันตก และซนุ กวน ปกครองทำงดำ้ นตะวนั ออกเฉียงใต้ หลงั จำกน้ันไดม้ กี ำรสู้รบแบ่งชิงอำนำจกนั จ๊กก๊กของเลำ่ เสี้ยนถกู วยุ กก๊ ปรำบปรำมไดก้ อ่ นจนกระทัง่ สมุ ำเอีย้ นแย่งรำชสมบตั ิได้ และตง้ั รำชวงศ์จ้นิ ขึน้ สำมำรถปรำบงอ่ กก๊ สำเร็จ ๕.คุณค่า สำมก๊กมีคณุ คำ่ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑.ดา้ นวรรณศิลป์ วรรณคดเี รือ่ งนี้ไดร้ บั กำรยกย่องว่ำเปน็ สดุ ยอดของควำมเรยี งนิทำน จำกวรรณคดีสโมสร ในสมัยรชั กำลท่ี ๖ และเป็นแบบอย่ำงในกำรเขียนร้อยแก้วที่ดี นอกจำกนี้ ยงั เป็นวรรณคดรี ้อยแก้วที่มลี ลี ำกำร ใช้ภำษำทม่ี ีลักษณะเฉพำะตวั อีกดว้ ย ๒.ด้านปญั ญา วรรณคดเี รื่องนมี้ ีคุณคำ่ ดำ้ นแง่คิดทำงกำรเมืองกำรปกครอง ให้ควำมรูเ้ กีย่ วกับตำรำพิชยั สงครำม แฝงควำมรูเ้ กยี่ วกบั คตธิ รรมชำติของมนุษย์ เชน่ “ยำดกี นิ ขมปำกแตเ่ ปน็ ประโยชน์แกค่ นไข้คนช่อื กลำ่ วคำไม่ไพเรำะหู แต่เปน็ ประโยชน์แก่กำลภำยหนำ้ ” “ภรรยำเปรยี บเหมือนเส้ือผ้ำขำดหรือ หำยไปกห็ ำใหม่ได้ พีน่ อ้ งเหมอื นแขนซ้ำยขวำขำดแลว้ ยำกทจ่ี ะตอ่ ได้” “อันธรรมดำวำ่ สงครำมจะหมำยเอำชนะฝ่ำยเดียวไม่ได้ ย่อมแพ้บำ้ งชนะบำ้ ง” เป็นต้น ๓.ด้านการเมืองการปกครอง เรื่องสำมก๊กแสดงใหเ้ ห็นจรธิ รรมของคนในกำรอยูร่ ่วมกนั ในสังคมหลำย ประกำร เชน่ ควำมซอ่ื สัตย์ในกำรรบั รำชกำร กำรรกั ษำคำพดู เป็นตน้ ๔.ด้านอทิ ธิพลตอ่ กวีรุ่นหลงั เป็นตน้ เคำ้ ของวรรณกรรมเร่ืองสำมกก๊ ฉบบั อ่ืนๆในสมัยหลัง เช่น สำมก๊กฉบบั วณิพก ของยำขอบ โจโฉนำยกตลอดกำล รวมถงึ เรอ่ื ง เบ้งเฮก ของ ม.ร.ว. คกึ ฤทธ์ิ ปรำโมช สำมก๊กฉบับร้ำน กำแฟของ นำยหนหวย สำมก๊กปรทิ ัศน์ ของ เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ อนิ ไซดส์ ำมกก๊ ของ อ.ร.ด. เป็นต้น นอกจำก นีย้ งั ีกำรศกึ ษำว่ำ สุนทรภูไ่ ดแ้ นวคดิ จำกเร่ืองสำมกก๊ นำไปสอดแทรกในวรรณคดีเรือ่ งพระอภัยมณี ตอนนำงวำลี ใช้วำจำจนทำใหอ้ ุศเรนเสยี ชวี ิต ซึ่งไดร้ บั อทิ ธจิ ำกกำรใช้วำจำของขงเบ้งทำให้จิวยเี่ สียชวี ิต ตวั อยา่ ง สามกก๊ แลเมืองตุ้นก้วนมีชำยคนหน่งึ ช่อื เล่ำปี่ เมื่อน้อยช่ือเห้ียนเต๊ก ไมส่ ู้รกั เรียนหนังสือแตม่ ีสตปิ ญั ญำนำ้ ใจนั้นดี ควำมโกรธควำมยินดีมไิ ด้ปรำกฏออกมำภำยนอก ใจนัน้ อำรีมเี พ่อื นฝูงมำก ใจกว้ำงขวำงหมำยเปน็ ใหญก่ วำ่ คน
ทง้ั ปวง กอปรดว้ ยลักษณะรูปใหญส่ มบูรณ์สูงประมำณห้ำศอกเศษ หยู ำนถึงบำ่ มอื ยำวถงึ เข่ำ หนำ้ ขำวดงั สีหยก ฝปี ำกแดงดังชำดแตม้ จักษุชำเลอื งไปถึงห.ู ..ขณะนั้นเลำ่ ป่ีเดินไปเห็นหนังสอื ซงึ่ ปิดไวท้ ีป่ ระตเู มือง เล่ำปคี่ ิดไปมิ ตลอดยืนดหู นังสอื ทอดใจใหญ่อยู่ มีคนยนื ข้ำงหลังเล่ำป่ีแล้ววำ่ เป็นผู้ชำยไมช่ ว่ ยทำนุบำรงุ แผน่ ดนิ แลว้ สมิ ำทอด ใจใหญ่
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: