๔ตอนท่ี หลกั การใชภ้ าษา ๑หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ เสียงในภาษาไทย และการสรา้ งคา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. สามารถอธิบายลักษณะของเสยี งในภาษาไทยได้ ๒. สามารถสรา้ งคาในภาษาไทยได้
การพดู จับใจความสาคัญจากการฟังและดูสื่อ เสยี งในภาษา หมายถึง เสียงของมนษุ ยท์ ่ีเปลง่ ออกมาเพ่ือใช้ในการสอื่ สาร เสียงในภาษาไทย ประกอบด้วย • เสยี งสระ • เสยี งพยัญชนะ • เสยี งวรรณยุกต์ กลอ่ งเสียง เสน้ เสียง โพรงจมกู รมิ ฝีปาก ฟัน ลนิ้ หลอดลม ปอด ภาพแสดงอวยั วะต่างๆ ทใ่ี ชใ้ นการออกเสยี ง
ลักษณะของเสยี งในภาษาไทย เสียงในภาษาไทย มี ๓ ชนดิ คอื เสียงสระ เสยี งพยัญชนะ และเสยี งวรรณยกุ ต์ เสียงสระ เสยี งสระ สระเดี่ยว - อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ สระประสม - เอยี เอือ อวั เสยี งพยัญชนะ เสียงพยญั ชนะ พยญั ชนะตน้ - เดี่ยว ควบกล้า อักษรนา พยัญชนะทา้ ย - กง กน กม เกย เกอว กก กด กบ เสยี งวรรณยกุ ต์ เสียงวรรณยุกต์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
เสยี งในภาษาไทยและรูปตวั อกั ษรแทนเสียง เสียงและรูปสระ • ตาแหนง่ ที่เกิดเสียงสระในภาษาไทย • ลักษณะการออกเสียงสระ • การใช้รูปสระแทนเสียงสระ เสียงและรปู พยัญชนะ • ตาแหน่งทีเ่ กิดของเสียงพยญั ชนะ • ลกั ษณะและประเภทของเสยี งพยญั ชนะ • การใช้อกั ษรแทนเสียงพยัญชนะ พยญั ชนะตน้ เสียง • การใช้พยญั ชนะ พยัญชนะท้ายเสยี ง
เสียงและรูปวรรณยกุ ต์ • หลกั การผนั เสียงวรรณยกุ ต์ วรรณยุกต์เปน็ เคร่ืองหมายแสดงระดบั เสียงสูงตา่ ในภาษา คาทมี่ ีรปู พยญั ชนะและสระเหมอื นกนั ถ้า เสียงวรรณยุกตต์ ่างกนั จะทาใหค้ ามีความหมายต่างกนั เช่น นา นา่ นา้ ปา ป่า ปา้ ป๊า ป๋า ไข ไข่ ไข้ เรอื เร่ือ เรอื้ • ลกั ษณะและประเภทของเสียงวรรณยุกต์ ไตรยางศ์ คือ การจัดพยญั ชนะไทยท้ัง ๔๔ รปู แบ่งเป็นสามหม่เู พอ่ื ให้สะดวกในการผันอักษร ดังนี้ ไตรยางศ์ อกั ษรสงู อักษรกลาง อักษรตา่ ขฃฉฐถผฝศษสห กจฎฏดตบปอ คฅฆชซฌฑฒทธพภ ฟฮงญณนมยรลวฬ คาเปน็ คือ คาท่ีประสมกบั สระเสยี งยาวในแม่ ก กา เช่น พี่ ป้า ไป เรอื และคาที่สะกดในแม่กง กน กม เกย เกอว เช่น ลุง กนิ นม เลย หวิ รวมทั้งคาทป่ี ระสมดว้ ยเสียงอา ไอ ใอ เอา เชน่ นา้ ไม่ ใจ เมา คาตาย คือ คาที่ประสมดว้ ยสระเสียงส้นั ในแม่ ก กา เช่น มะระ เกะกะ เอะอะเลอะเทอะ และคาที่สะกดในแม่กก กด กบ เชน่ นก มด จับ
การออกเสยี งภาษาไทย • ออกเสียงพยัญชนะ และถอ้ ยคาให้คล่องถกู ตอ้ ง ชัดเจน ตามหลักการออกเสียง ภาษาไทยไม่ออกเสียงช้าหรอื เร็วเกินไป เช่น มกราคม ออกเสยี งวา่ มะ-กะ-รา-คม สัปดาห์ ออกเสียงวา่ สบั -ดา หรือ สบั -ปะ-ดา • ออกเสยี งควบกลา้ ให้ชดั เจน เป็นธรรมชาติ ไมด่ ัดเสียงหรอื เนน้ เสยี งเกินไป • ระมัดระวังไมอ่ อกเสยี งเลยี นแบบภาษาตา่ งประเทศ • ไม่ออกเสยี งตดั คา ย่อคา หรอื รวบคา เช่น หย่งั เน้ียะ หยั่งง้ี อยา่ งน้ี ไมอ่ อกเสียงเป็น • เมื่อพูดอยา่ งเปน็ ทางการตอ้ งใชภ้ าษาไทยกลางและต้องออกเสียงให้ชดั เจน • ไมพ่ ูดภาษาไทยปนกับภาษาต่างประเทศ • ระมัดระวังการออกเสยี งวรรณยุกต์ให้ถกู ตอ้ งไม่ออกเสยี งเพี้ยน • อ่านเวน้ วรรคตอนให้ถกู ต้อง
พลงั ของภาษา • พลงั ของภาษา หมายถึง อานาจของภาษา สว่ นภาษา หมายถึง เสยี งพดู ของมนษุ ย์ (วจั นภาษา) และกริ ยิ าท่าทาง (อวัจนภาษา) รวมทัง้ สัญลกั ษณ์ เช่น ตัวอักษรที่ใชแ้ ทนเสียง ภาษามีหนา้ ท่ีในการส่อื สารทาความเข้าใจ ภาษา ภาษา ภาษา สร้างขวญั กาลังใจ ชว่ ยปลอบประโลมใจ ชว่ ยสรา้ งสมั พนั ธไมตรี ภาษา เมื่อยามเจบ็ ปวด ภาษา ชว่ ยสรา้ งความฮึกเหมิ สิน้ หวัง ทอ้ ถอย ใหค้ ติสอนใจ ใหค้ วาม รน่ื รมย์ จรรโลงใจ ภาษา เพือ่ โนม้ นา้ วใจ ใหเ้ ชอื่ ถอื คลอ้ ยตาม • พลงั ของภาษาเชิงลบ เปน็ พลังในทางทาลาย
การสรา้ งคา คามลู เป็นคาดั้งเดิมท่ีมีใช้ในภาษาไทย มคี วามหมายสมบูรณ์ชดั เจนในตัวเอง อาจเปน็ คาไทยแท้ หรือเปน็ คายืมจาก ภาษาตา่ งประเทศก็ได้ คามูลแบง่ ออกเป็น ๒ ชนดิ ดังนี้ คามลู พยางคเ์ ดียว เป็นคาพยางคเ์ ดยี วทีม่ ีความหมาย จดั เป็นคาไทยแทแ้ ละคายืมจากภาษาตา่ งประเทศ คามลู หลายพยางค์ คาท่ีมสี องพยางค์ขึน้ ไป มีความหมายในตวั ไม่สามารถแยกพยางค์ในคาออกได้ เพราะจะทาให้ไมไ่ ดค้ วามหมาย คามูลหลายพยางคอ์ าจเปน็ คาไทยแท้ หรอื เป็นคายมื จากภาษาต่างประเทศกไ็ ด้
คาประสม คาประสม เปน็ คาทสี่ ร้างขน้ึ ใหมโ่ ดยการนาคามูล ตั้งแตส่ องคาขึ้นไปมารวมกนั เกิดเปน็ คาใหม่ความหมายใหมข่ ึ้น คาประสมที่เกิดความหมายใหม่แต่ยงั มีเค้าความหมายเดิม เช่น เตา + รีด = เตารดี หมายถึง เตาที่ใชร้ ดี เสอ้ื ผา้ คาประสมทเ่ี กิดความหมายใหมเ่ ปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ เช่น ราด + หนา้ = ราดหน้า หมายถึง อาหารประเภทกว๋ ยเตีย๋ วมนี ้าปรงุ ขน้ คาประสมท่ีเกิดจากการยอ่ คาใหก้ ะทดั รดั มกั ข้ึนต้นดว้ ยคาว่า การ ความ ของ เคร่อื ง ชาว นกั ผู้ ชา่ ง เชน่ การค้า ความคิด ของหวาน เครื่องเรอื น ชาวนา นักเรียน ผูข้ าย ช่างภาพ เปน็ ตน้ ข้อสังเกต • ถ้านาคามลู สองคามารวมกนั แล้วไมเ่ กิดความหมายใหม่ ไมจ่ ดั เปน็ คาประสม เช่น ลกู + ไก่ = ลกู ไก่ หมายถงึ ลูกของไก่ (เปน็ กลุ่มคา) ดาว + ลูก + ไก่ = ดาวลูกไก่ หมายถึง ช่ือดาว (เปน็ คาประสม) • คาภาษาบาลีประสมกับคาสนั สกฤตไม่ถอื เปน็ คาประสม แต่เปน็ คาสมาส เชน่ คุณ + ธรรม = คุณธรรม อา่ นวา่ คุน-นะ-ทา มธั ยม + ศกึ ษา = มัธยมศึกษา อ่านว่า มดั -ทะ-ยม-มะ-สึก-สา
คาซอ้ น คาซ้า คาซ้อนเพอื่ ความหมาย คาซา้ เป็นการสรา้ งคาเพ่อื ให้เกดิ ความหมายใหม่ • ความหมายเหมอื นกัน เชน่ เสอ่ื สาด เหาะเหิน พดู จา วธิ ีหน่ึงโดยการนาคาเดิมมากลา่ วซา้ มี ๒ วิธี ดงั น้ี • ความหมายใกลเ้ คียงกนั เชน่ คัดเลือก แนะนา เกรง คาซ้าทใ่ี ชไ้ ม้ยมก (ๆ) กากับ เชน่ กลัว • ความหมายตรงกันข้ามกัน เชน่ ผดิ ชอบ ชว่ั ดี ไดเ้ สีย • เดก็ ๆ ไปไหน (เด็กๆ หมายถึง เด็กหลายคน) คาซ้อนเพอ่ื เสยี ง • ของอร่อยๆ ทง้ั น้ัน • ซอ้ นเสยี งพยัญชนะตน้ เช่น เร่อรา่ ทอ้ แท้ จริงจงั ตมู ตาม ซบุ ซบิ (อรอ่ ยๆ หมายถึง ของอรอ่ ยทุกอยา่ ง ไม่เน้น • ซอ้ นเสยี งสระ เช่น ราบคาบ จมิ้ ล้มิ แร้นแคน้ เบอ้ เรอ่ อ้างวา้ ง ว่าอร่อยเพียงใด) • ซอ้ นเสยี งพยัญชนะต้นและสระ เชน่ ออดอ้อน อดั อ้นั รวบรวม คาซ้าทีเ่ ลน่ เสียงวรรณยกุ ต์ โดยเปล่ียนเสยี ง วรรณยุกตแ์ รกใหส้ งู ข้ึน เชน่ • น้องคนทห่ี มายเลขสาม ซ้วยสวย (ซว้ ยสวย หมายถึง สวยมากๆ)
คาพอ้ ง คาพอ้ งเสียง คาพอ้ งรปู หมายถึง คาทีอ่ ่านออกเสียงเหมือนกนั หมายถงึ คาท่เี ขยี นเหมือนกัน แต่สะกดตา่ งกัน มีความหมายต่างกัน แต่อา่ นต่างกันและความหมายตา่ งกนั คาพอ้ งความหมาย (คาไวพจน)์ คาพอ้ งรูปพอ้ งเสยี ง หมายถงึ ส่งิ ใดสิง่ หนึ่งอาจเรยี กได้หลายคา เปน็ คาทีเ่ ขยี นเหมือนกัน อา่ นเหมอื นกัน แต่ความหมายแตกตา่ งกนั เปน็ คาตา่ งชนดิ และต่างหนา้ ท่ีกนั
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: