Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

Published by mar .c, 2023-07-10 17:53:27

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

เเผนการจัดการเรียนรู้ เอกสารประกอบการประเมิน ภาค ค วิชาสังคมศึ กษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 1 นางสาวกัญญามาศ ปั ญญา สาขาวิชาสังคมศึ กษา รหัสประจำตัวผู้สอบ 217180062 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึ กษา 2566

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สารท่ี 5 ภมู ิศาสตร์ สำหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566 จดั ทำโดย นางสาวกัญญามาศ ปัญญา รหสั ประจำตัวผสู้ อบ 217180062 สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา

รหสั วชิ า ส 21101 คำอธิบายรายวิชา ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลาเรียน 30 ช่ัวโมง/ปกี ารศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปีการศึกษา 2566 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ศึกษา วิเคราะห์ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพ และสังคมของประเทศไทย อธิบายเรื่องเส้นแบ่งเวลาและเปรียบเทียบวัน เวลา ของประเทศไทยกับทวีปต่าง ๆ ศึกษา สำรวจ อธิบาย ลักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย เกี่ยวกับทำเลที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และสงั คม วเิ คราะห์เชื่อมโยงผลกระทลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ ความรว่ มมือระหว่างประเทศต่าง ๆ ทีม่ ผี ลต่อสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติ ปจั จัยทมี่ ีผลตอ่ การเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สนิ คา้ และประชากร สาเหตุและแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย เลือกใชเ้ ครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ในการสบื ค้นข้อมลู โดยใช้กระบวนการคิด การปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมการคิด การรู้จักแก้ปัญหา พัฒนาการใช้ทักษะชีวิต กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพือ่ การพฒั นาท่ียง่ั ยนื รหสั ตวั ชีว้ ดั วเิ คราะหท์ างกายภาพของทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี โดยใช้ ส 5.1 ม.1/1 เครอ่ื งมอื ทางภมู ิศาสตร์สบื ค้นขอ้ มลู อธิบายพิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจูด และลองจิจูด) เส้นแบ่งเวลา และเปรียบเทียบวัน ม.1/2 เวลาของโลก ม.1/3 วิเคราห์สาเหตุการเกิดภัยพิบัติและผลกระทบในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ส 5.2 ม.1/1 และโอเชียเนยี ม.1/2 สำรวจและระบทุ ำเลท่ีตัง้ ของกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คมในทวีปเอเชยี ม.1/3 ทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย วิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อทำเลที่ตั้งของกิจกรรม ทางเศรษฐกจิ และสังคมในทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย สืบค้น อภิปรายประเด็นปัญหาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ กับมนษุ ยท์ เ่ี กดิ ข้ึนในทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี

ม.1/4 วิเคราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัติและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รวม 7 ตวั ชว้ี ัด ในทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนียท่ยี ั่งยืน

รหสั วชิ า ส 21102 โครงสรา้ งรายวิชา ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลาเรียน 30 ช่ัวโมง/ปกี ารศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ปกี ารศึกษา 2566 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลาเรยี น คา่ น้ำหนัก มาตรฐานและตัวช้วี ัด และสาระการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง) 7 หนว่ ยการเรียนท่ี 1 สาระสำคัญ 6 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ การศกึ ษาเรื่องราวตา่ งๆบนโลกทง้ั ลักษณะทางดา้ น และเวลาโลก กายภาพของโลกและด้านสังคมของมนุษย์ มีความ มาตรฐาน จำเป็นต้องใช้เครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร์ เชน่ แผนที่ ลูกโลก ส 5.1 เข้าใจลักษณะทาง เนื่องจากมีข้อมูลการสำรวจ การศึกษาพื้นที่ต่าง ๆ ไว้ ก า ย ภ า พ ข อ ง โ ล ก แ ล ะ อย่างละเอียด ความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมี สาระการเรียนรู้ ผลต่อกัน ใช้แผนที่และเครอ่ื งมือ - การใชเ้ ครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ 2 ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา - พิกัดภูมศิ าสตร์ (ละติจดู และลองจิจูด) 1 วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตาม - แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศและภาพจาก 1 กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ดาวเทียม ตลอดจนใช้ภมู ิสารสนเทศอยา่ งมี - เส้นแบ่งเวลา และเปรียบเทียบวันเวลาของ 2 ประสทิ ธภิ าพ โลก ตัวช้ีวัด ส 5.1 ม.1/1 หน่วยการเรียนท่ี 2 สาระสำคัญ 10 9 2 ทวีปเอเชยี ทวีปเอเชียเป็นแผ่นดินขนาดใหญ่ที่สุดของโลก มาตรฐาน มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ส 5.1 เข้าใจลักษณะทาง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย ก า ย ภ า พ ข อ ง โ ล ก แ ล ะ มีประชากรที่มีเชื้อชาติ ศาสนาวัฒนธรรมและเศรษฐกจิ ความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมี ทแ่ี ตกต่างกันมาก ผลตอ่ กัน ใชแ้ ผนทแ่ี ละเคร่ืองมือ สาระการเรยี นรู้ ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา - ทำเลที่ตั้งและอาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศของ วเิ คราะห์ และสรุปขอ้ มลู ตาม ทวีปเอเชีย

ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลาเรยี น คา่ น้ำหนกั มาตรฐานและตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้ (ช่วั โมง) กระบวนการทางภูมิศาสตร์ - ลักษณะภูมอิ ากาศและพชื พรรณธรรมชาติ 1 ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอยา่ งมี - ลักษณะทรพั ยากรธรรมชาติของทวีปเอเชยี 1 ประสทิ ธภิ าพ - ลักษณะประชากรสังคมและวัฒนธรรมของ 3 ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ ทวปี เอเชีย ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม - ภูมภิ าคของทวปี เอเชยี 3 ทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิต มจี ิตสำนึก และมสี ว่ นร่วมในการ จดั การทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม เพื่อการพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน ตัวช้ีวัด ส 5.1 ม.1/1 ส 5.2 ม.1/1, ม.1/2 หน่วยการเรียนที่ 3 สาระสำคญั 6 10 ทวปี ออสเตรเลีย ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนยี เป็นทวีปท่ีมีลักษณะ 1 2 และโอเชียเนยี เป็นเกาะขนาดใหญ่ และมีหมู่เกาะเป็นจำนวนมากตั้งอยู่ 1 มาตรฐาน ในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ 14 ส 5.1 เข้าใจลักษณะทาง ประเทศ ก า ย ภ า พ ข อ ง โ ล ก แ ล ะ สาระการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมี - ทำเลที่ตั้งอาณาเขต ลกั ษณะภมู ิประเทศ ผลต่อกัน ใชแ้ ผนทแ่ี ละเครือ่ งมือ แผ่นดนิ ใหญ่ออสเตรเลียและหมเู่ กาะโอเชยี เนีย ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา - ลักษณะภูมิอากาศ พืชพรรณธรรมชาติ วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตาม และทรัพยากรธรรมชาตขิ องทวปี ออสเตรเลียและ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ โอเชียเนยี ตลอดจนใช้ภมู สิ ารสนเทศอย่างมี - ลักษณะประชากร สังคมและวัฒนธรรม ประสิทธภิ าพ ของทวีปออสเตรเลียและโอเชยี เนีย - ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี

ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลาเรยี น คา่ มาตรฐานและตัวชีว้ ัด ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง) นำ้ หนัก ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ - ภูมภิ าคของทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย 2 สร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิต มจี ิตสำนึก และมีสว่ นรว่ มในการ จัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม เพ่อื การพฒั นาทีย่ ั่งยืน ตัวชี้วดั ส 5.1 ม.1/1 ส 5.2 ม.1/1, ม.1/2 หนว่ ยการเรียนท่ี 4 สาระสำคัญ 4 5 4 ภัยพิบัติทางธรรมชาติในทวีป ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นภัยที่ส่งผลกระทบต่อ เอเช ี ย ทว ี ปออสเตรเลี ย มนุษย์และความเป็นอยู่ สามารถเกิดได้หลากหลาย และโอเชยี เนยี รูปแบบในแต่ละพน้ื ท่ี มาตรฐาน สาระการเรยี นรู้ ส 5.1 เข้าใจลักษณะทาง - ภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ กายภาพของโลกและ ความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมี ผลต่อกนั ใชแ้ ผนท่ีและเครือ่ งมือ ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตาม กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมสิ ารสนเทศอยา่ งมี ประสิทธิภาพ ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิต มจี ติ สำนึกและมีส่วนรว่ มในการ

ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลาเรียน ค่า น้ำหนกั มาตรฐานและตวั ชวี้ ัด และสาระการเรียนรู้ (ชั่วโมง) 5 ตัวชี้วดั ส 5.1 ม.1/1 ส 5.2 ม.1/1, ม.1/2 หนว่ ยการเรยี นท่ี 5 สาระสำคัญ 4 ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจำนวนประชากรและ และสิ่งแวดล้อมในทวีปเอชีย ความเจริญทางด้านอุตสาหกรรมในทวีปเอเชียและ ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ออสเตรเลีย ทำให้ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติมี มาตรฐาน มากขึ้น เกิดปัญหาเสื่อมโทรมและการขาดแคลน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทาง ทรัพยากรธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้มตามมา ก า ย ภ า พ ข อ ง โ ล ก แ ล ะ หลายประเทศได้ตระหนักในปัญหานี้ จึงได้กำหนด ความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมี กฎระเบียบ สร้างวินัยการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดให้ ผลต่อกัน ใชแ้ ผนที่และเครอื่ งมือ เกิดประโยชน์สูงสุด และมีความร่วมมือระหว่างประเทศ ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา เพ่อื การจัดการส่ิงแวดล้อมอยา่ งยงั่ ยนื วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตาม สาระการเรียนรู้ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ - ปญั หาทรพั ยากรในทวปี เอเชยี 2 ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมี ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ประสทิ ธภิ าพ - การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย 2 ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนกึ และมสี ่วนร่วมในการ จดั การทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม เพื่อการพฒั นาทยี่ งั่ ยืน ตวั ชวี้ ดั ส 5.1 ม.1/3 ส 5.2 ม.1/3, ม.1/4 คะแนนรวมกลางภาค 35 15 คะแนนรวมปลายภาค 35 15 รวมคะแนนท้ังภาคเรียน 100

ตารางโครงสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ รหัสวชิ า ส 21102 กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เวลาเรยี น 30 ชั่วโมง/ปีการศกึ ษา จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต สาระท่ี 5 ภูมศิ าสตร์ เวลา/ วธิ กี ารสอน/เทคนิค ทกั ษะการคดิ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง เครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร์ แผนที่ ชื่อแผน ชม. 1 ปฐมนิเทศ 1- - 2 เคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร์ 1 วธิ ีการจัดการเรียนรแู้ บบ ความสามารถ 3 พิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจดู และลองจิจูด) ใช้คำถาม (Questioning) ในการสื่อสาร 4 แผนที่ รปู ถา่ ยทางอากาศและภาพจากดาวเทยี ม 1 วธิ ีการจัดการเรยี นรแู้ บบ ความสามารถ 5 เสน้ แบง่ เวลาของโลก รว่ มมือ:เทคนคิ ค่ตู รวจสอบ ในการส่อื สาร 1 วธิ ีการจัดการเรยี นร้แู บบ ความสามารถใน รว่ มมอื :เทคนิคTGT การคิดวิเคราะห์ 2 วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้แบบสืบ ความสามารถใน เสาะหาความรู้ 5E การคิดวเิ คราะห์ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ทวีปเอเชยี แผนท่ี ชื่อแผน เวลา/ วธิ กี ารสอน/เทคนิค ทกั ษะการคดิ ชม. 6 ทำเลทีต่ ้งั อาณาเขตและลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของ 2 วิธกี ารจัดการเรยี นรแู้ บบ ความสามารถใน ทวีปเอเชยี ร่วมมือ:เทคนิคTGT การคดิ วิเคราะห์ 7 ลกั ษณะภมู อิ ากาศพชื พรรณธรรมชาติ 1 วิธกี ารจดั การเรยี นรู้แบบสบื ความสามารถใน เสาะหาความรู้ 5E การคิดวิเคราะห์ 8 ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวปี เอเชยี 1 วิธีการจดั การเรยี นรแู้ บบสบื ความสามารถใน เสาะหาความรู้ 5E การคดิ วิเคราะห์ 8 ลกั ษณะประชากร สังคมและวัฒนธรรม 2 วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้แบบสืบ ความสามารถใน ของทวปี เอเชีย เสาะหาความรู้ 5E การคิดวเิ คราะห์ 9 ลกั ษณะทางเศรษฐกจิ ของทวปี เอเชีย 1 วิธีการจดั การเรยี นรู้แบบ ความสามารถใน กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ การคิดวิเคราะห์

แผนท่ี ช่อื แผน เวลา/ วิธีการสอน/เทคนคิ ทักษะการคดิ 11 ภมู ภิ าคของทวปี เอเชยี ชม. 3 วิธีการจัดการเรยี นรแู้ บบ ความสามารถใน แผนผังทางปญั ญา การคดิ วเิ คราะห์ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนีย แผนท่ี ชื่อแผน เวลา/ วิธีการสอน/เทคนิค ทักษะการคดิ ชม. 11 ทำเลทตี่ ง้ั อาณาเขต ลักษณะภมู ปิ ระเทศ 1 วธิ ีการจดั การเรยี นรแู้ บบ ความสามารถใน แผน่ ดินใหญ่ ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย รว่ มมือ:เทคนิคTGT การคิดวเิ คราะห์ 12 ลักษณะภูมอิ ากาศ พชื พรรณธรรมชาติ 2 วิธกี ารจัดการเรยี นรู้แบบ ความสามารถใน และทรัพยากรธรรมชาติของทวีป กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ การคดิ วิเคราะห์ ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย 13 ลกั ษณะประชากร สงั คมและวัฒนธรมของ 1 วิธกี ารจดั การเรยี นรู้แบบสืบ ความสามารถใน ทวีปออสเตรเลยี และโอเชียเนยี เสาะหาความรู้ 5E การคดิ วเิ คราะห์ 14 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปออสเตรเลียและ 1 วิธกี ารจัดการเรยี นรูแ้ บบ ความสามารถใน โอเชยี เนีย กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ การคิดวิเคราะห์ 15 ภูมิภาคของทวีปออสเตรเลียและโอเชีย 2 วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้แบบการ ความสามารถใน เนยี แสดงบทบาทสมมติ การคิดวเิ คราะห์ หนว่ ยที่ 4 ภัยพิบตั ธิ รรมชาติ เวลา/ วิธีการสอน/เทคนิค ทกั ษะการคิด แผนท่ี ชอ่ื แผน ชม. 4 วธิ กี ารจัดการเรยี นรูแ้ บบสืบ ความสามารถใน 16 ภัยพบิ ัติ เสาะหาความรู้ 5E การคิดวเิ คราะห์

หน่วยท่ี 5 ปญั หาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวปี เอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย แผนที่ ชือ่ แผน เวลา/ วิธกี ารสอน/เทคนิค ทักษะการคิด ชม. 17 ปัญหาทรัพยากรในทวีปเอเชียทวีปออสเตรเลีย 2 วิธีการจดั การเรียนรู้แบบ ความสามารถ และโอเชยี เนีย 5 STEPs ในการ ประยกุ ตใ์ ช้ 18 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม 2 วิธีการจดั การเรยี นรู้แบบ ความสามารถ ใช้คำถาม (Questioning) ในการนำความรู้ ไปใช้

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1/2566 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง ทวปี เอเชยี เวลา 10 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรอ่ื ง ลักษณะทรัพยากรธรรมชาตขิ องทวปี เอเชยี ใชเ้ วลา 1 ชว่ั โมง ช่อื ผสู้ อน นางสาวกัญญามาศ ปัญญา วนั ท่ี 15 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2566 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ภูมศิ าสตร์ สาระท่ี 5 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน มาตรฐาน ส 5.1 ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ตวั ชวี้ ัด วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ม.1/1 โดยใชเ้ คร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร์สบื ค้นข้อมลู 3. จดุ ประสงค์ 3.1 วเิ คราะห์ทรัพยากรธรรมชาติของทวปี เอเชียได้ (K) 3.2 ออกแบบนวัตกรรมพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติของทวีปเอเชยี ได้ (P) 3.3 ใฝเ่ รยี นรู้ (A) 4. สาระสำคัญ ทวปี เอเชยี เป็นแผน่ ดนิ ขนาดใหญ่ที่สุดของโลก มีเน้อื ท่ีประมาณ 44,648,000 ตารางกิโลเมตร ไดช้ อ่ื ว่า เป็นทวีปที่มีความเป็นที่สุดและความตรงกันข้ามหลายประการ มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย มีประชากรที่มีเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และเศรษฐกจิ ทีแ่ ตกตา่ งกนั มาก 5. สาระการเรียนรู้ ลักษณะทรพั ยากรธรรมชาติ 6. สมรรถนะท่สี ำคัญ : ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 7. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค:์ มุ่งมั่นในการทำงาน

8. กจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้วธิ กี ารจดั การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E (เวลา 60 นาที) ขน้ั ที่ 1 ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรยี น (เวลา 10 นาที) 1. นักเรยี นและครรู ว่ มกันกล่าวทกั ทาย 2. นกั เรียนทำกจิ กรรมขยบั กายขยายสมอง ปรบมอื ตามจำนวนขาสัตว์ เพือ่ เตรียมความพร้อม กอ่ นนำเขา้ สู่บทเรียน (แนวคำตอบ ปรบมอื มา้ คือ ปรบมอื 4 ครง้ั และปรบมือไก่ คือ ปรบมอื 2 คร้ัง) 3. เร้าความสนใจของนักเรียน นักเรียนเล่นเกม “Insider” ครูทำการสุ่มชื่อตัวแทนหรือผู้นำ เกม 1 คน โดยใช้โปรแกรม Wheel of name ผู้นำเกมสั่งให้ทุกคนหลับตา ส่วนตัวผู้นำเปิดการ์ด ออกมา 1 ใบ ใน 1 การ์ดจะมีคำทั้งหมด 6 คำ ในแต่ละการ์ดจะมีตัวเลขหลังการ์ดกำหนดอยู่ เลขน้ัน อยู่กับคำอะไร คำนั้นคือข้อมูลลับที่ตัวผู้นำตอ้ งทำการบอกใบ้เพื่อน ๆ เมื่อสำเร็จเสร็จสิ้นแล้ว ผู้นำส่ัง ทุกคนลมื ตาขน้ึ และผู้นำทำการบอกใบ้ลักษณะเฉพาะของส่ิงทอ่ี ยูใ่ นการด์ บอกใบ้ให้เพอ่ื นในหอ้ งเรียน ตอบว่าสิ่งนี้คืออะไร จนกว่าเพื่อน ๆ ในห้องเรียนจะตอบถูก (เฉลย : ดินภูเขาไฟ) นักเรียนที่ตอบถูก จะไดร้ บั หวั ใจ 1 ดวง 4. ครูตัง้ ประเด็นคำถามชวนคดิ ชวนสงสยั ดงั นี้ 1) ดินเขตภูเขาไฟ มกั พบในเขตภูมปิ ระเทศใด (แนวคำตอบ : พบได้ในบริเวณหมู่เกาะภูเขาไฟต่าง ๆ เช่น หมู่เกาะญี่ปุ่น หมู่เกาะ อนิ โดนีเซีย หมเู่ กาะฟิลปิ ปินส์) 2) เพราะเหตุใด ดนิ ในเขตภูเขาไฟจึงมคี วามอดุ มสมบรู ณม์ าก (แนวคำตอบ : ดินที่เกิดจากภูเขาไฟมักประกอบไปด้วยแร่ธาตุจำนวนมาก เถ้าถ่าน ที่ภูเขาไฟประทุออกมาประกอบด้วยธาตุอาหารอันมีคุณค่าต่อพืช เช่น ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม ส่งผลให้สิ่งมีชีวิตโดยรอบมีความเจริญเติบโตงดงาม ทุ่งหญ้าและผืนป่ามีความอุดสมบูรณ์ สูง) 5. นักเรียนรับฟังครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบว่าวันนี้จะเรียน เรือ่ ง ลักษณะทรพั ยากรธรรมชาตขิ องทวปี เอเชยี 8.1 ข้นั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชว้ ิธีการจัดการเรยี นร้แู บบสบื เสาะหาความรู้ 5E (เวลา 45 นาท)ี ขน้ั ท่ี 2 สรา้ งความสนใจ 6. เตรียมความพร้อมก่อนเรียน ครูนำต้นตะไคร้มาให้นักเรียนดู พร้อมครูตั้งประเด็นคำถาม เพ่ือเช่อื มโยงประสบการณ์เดมิ ของนักเรยี น ดังนี้ 1) บา้ นนกั เรียนปลกู ต้นตะไคร้หรือไม่ 2) นักเรยี นหรือไมว่ า่ ตน้ กำเนดิ ต้นตะไคร้อย่ใู นเขตภมู ิอากาศใด (แนวคำตอบ : ตะไคร้มีถิ่นกำเนิดในแถบเขตร้อนของทวีปเอเชยี เช่น ไทย พม่า ลาว มาเลเซีย อนิ เดยี ศรลี งั กา เป็นต้น) 3) ตน้ ตะไคร้มกั จะเตบิ โตไดด้ ีในดินประเภทใด (แนวคำตอบ : ดนิ รว่ น)

ขั้นท่ี 2 สำรวจและคน้ หา 7. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม ๆ ละ 4 คน ในการแบ่งกลุ่มนักเรียน ครูแบ่งกลุ่ม โดยใช้โปรแกรม Team Picker Wheel 8. นักเรียนแต่กลุ่มศึกษาค้นคว้าข้อมูลเรื่อง ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีปเอเชีย จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หรือศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น เว็บไซต์อินเทอร์เน็ต ตามหวั ข้อทีไ่ ด้รบั ดังนี้ กลมุ่ ที่ 1 ดิน กลุ่มที่ 2 น้ำ กลุม่ ที่ 3 พชื พรรณและสัตว์ปา่ กลมุ่ ท่ี 4 แหล่งป่าไมแ้ ละสัตว์ป่า กล่มุ ท่ี 5 แร่และแรพ่ ลังงาน 9. นักเรียนแต่ละกลุ่มรับอุปกรณ์สำหรับทำกิจกรรมออกแบบนวัตกรรม เช่น กระดาษบรู๊ฟ กลมุ่ ละ 1 แผ่น ปากกาเคมี 2 แท่ง และสไี ม้ 1 กล่อง 10. นักเรยี นแต่ละกลุ่มเลือกเปน็ ตัวแทนภมู ิภาค 1 ภูมิภาคในทวีปเอเชยี 11. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ วิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติของภมู ภิ าคตนเอง 12. นักเรียนรว่ มกันทำกิจกรรมกลุ่ม โดยครูจำลองสถานการณ์เก่ียวกบั ทรัพยากรธรรมชาติ ในทวีปเอเชีย เพื่อให้นักเรียนนำมาสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาหรือเพิ่มมูลค่า ทรัพยากรธรรมชาติของภูมิภาคตนเอง ครูผู้สอนมีการกำหนดเวลาในการทำกิจกรรม และแจ้งเวลา ใหน้ กั เรยี นทราบเมือ่ ใกลห้ มดเวลาทำกจิ กรรม ตัวอย่างสถานการณ์ : ตอนนี้สถานการณ์ทั่วโลก รวมถึงทวีปเอเชีย กำลังแข่งขันทาง เศรษฐกิจอย่างเข้มข้น ทุกประเทศต่างจัดสรรทรัพยากรหรือทรัพยากรธรรมชาติในประเทศของ ตนเอง ต่างคนต่างเพิ่มมูลค่าสิ่งของ ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ นานา เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว และนักลงทุนทั่วโลกให้เข้ามาในประเทศของตนเอง และเพิ่มรายได้เข้าประเทศตนเองมากขึ้น นกั เรียนจะมวี ธิ กี ารสร้างสรรค์ออกแบบนวตั กรรม เครอื่ งมอื หรือเทคโนโลยีเพื่อพฒั นาหรือเพิ่มมูลค่า ทรพั ยากรธรรมชาติของภมู ิภาคตนเองอย่างไร 13. ครูกำหนดนวัตกรรม เครื่องหรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ให้แต่ละกลุ่มเลือกจำนวน 1 อย่าง (นักเรียนสามารถออกแบบนวัตกรรมนอกเหนือจากที่ครูกำหนดได้) เพื่อนำไปพัฒนาหรือเพิ่มมูลค่า ของทรัพยากรทางธรรมชาติภมู ิภาคของตนเอง โดยครกู ำหนดนวตั กรรมให้ ดงั นี้ 1. สนามบินขนาดใหญ่ ซ่งึ เปน็ แหล่งขนส่งสนิ คา้ 2. ท่าเรือขนสง่ สินค้าขนาดใหญ่ 3. การสรา้ งมหาวทิ ยาลัยทางเทคโนโลยีทไี่ ดร้ บั การชว่ ยเหลอื จากต่างประเทศ 4. การลงทนุ จำนวนมหาศาลจากบรษิ ทั แห่งหน่ึงของจนี

5. รัฐบาลท่ีมาจากการเลอื กตงั้ 14. นักเรียนแต่ละกลุ่มทำงานภายในกลุ่มของตนเอง สมาชิกภายในกลุ่มแบ่งหน้าท่ี อยา่ งชัดเจน 15. กลมุ่ ที่ทำงานเสร็จแล้ว ส่งสญั ญาณ “ไชโย” ขนั้ ท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรปุ 16. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยส่งตวั แทนกล่มุ ละ 2 คน 17. นักเรียนร่วมกันสะท้อนผลความรู้ โดยการซักถามในประเด็นที่สงสัย และทำการ ประเมนิ การทำงานของสมาชกิ ภายในกลมุ่ ขน้ั ท่ี 4 ขยายความรู้ 18. ครูถามคำถามเพื่อให้นักเรียนได้วิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อต่อยอดประเด็นความคิดว่า “เพราะเหตใุ ดดินและน้ำ ถึงเปน็ ปัจจัยพ้นื ฐานสำคัญทางเศรษฐกจิ ของทวีปเอเชยี ” (แนวคำตอบ: เนื่องจากเศรษฐกิจส่วนใหญ่ในทวีปเอเชียขึ้นอยู่กับการเกษตร ดังนั้น ดินและน้ำท่อี ดุ มสมบูรณจ์ งึ เป็นพ้ืนฐานสำคญั ในการทำเกษตรและนำรายได้เขา้ สปู่ ระเทศตา่ ง ๆ) ขั้นท่ี 5 ประเมิน 19.นักเรียนร่วมกันประเมินผลงานการนำเสนอของแต่ละกลุ่ม โดยการนำสติ๊กเกอร์ติด ผลงานท่ีตนเองชื่นชอบ กลุ่มท่ีได้สติ๊กเกอรม์ ากท่ีสุดได้รับหัวใจ 3 ดวง กลุ่มที่ได้รับสติ๊กเกอร์รองลงมา จะไดร้ บั หวั ใจ 2 ดวง ตามลำดับ 20. นักเรียนประเมินความรู้ที่ได้เรียนกิจกรรมการตอบคำถาม โดยใช้โปรแกรมเกม Vonder Go ข้นั ท่ี 6 สรปุ (เวลา 5 นาที) 21. นักเรียนสะท้อนผล สรุป และประเมินกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านการเขียนลงในกระดาษ โนต๊ โพสอิทติดไวบ้ ริเวณบอรด์ หนา้ ห้องเรียน 9. สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ 9.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียนรายวชิ าภมู ศิ าสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 2. การด์ เกม “Insider” 3. โปรแกรม Team Picker Wheel 4. ต้นตะไคร้ 5. กระดาษบรฟู๊ ปากกาเคมี สีไม้ และกระดาษโน๊ตโพสอิท 6. โปรแกรมเกม Vonder Go

9.2 แหล่งการเรียนรู้ วิธกี ารวดั เครื่องมอื วดั ผล เกณฑ์การผ่าน 1. อนิ เทอร์เนต็ จุดประสงค์ 10. การวดั และประเมินผล 10.1 การวัดผล จุดประสงค์ ดา้ นความร้คู วามเขา้ ใจ (K) การตอบคำถาม แบบประเมนิ การ ตอบคำถามผ่าน วิเคราะห์ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ จากการเล่นเกม ตอบคำถาม เกณฑ์การประเมิน ของทวีปเอเชียได้ Vonder Go รอ้ ยละ 70 ของ จากการเล่นเกม คะแนนถือวา่ ผ่าน Vonder Go ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ผลงาน แบบประเมนิ ผลงานผ่านเกณฑ์ ออกแบบนเครื่องมอื พัฒนา ผลงาน การประเมนิ คณุ ภาพ ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปเอเชียได้ ไมต่ ำ่ กว่าระดับ 2 ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์(A) สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม มีความใฝ่เรียนรู้ผ่าน ใฝ่เรยี นรู้ รายบคุ คล รายบคุ คล เกณฑ ์ การประเมิ น คุณภาพไม่ต่ำกว่าระดับ 2

10.2 เกณฑก์ ารประเมินผล ประเด็นการประเมิน เกณฑก์ ารให้ระดับคะแนน ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) ระดบั 3 (ดีมาก) ระดับ 2 (พอใช้) ระดบั 1 (ปรับปรงุ ) แบบประเมินการตอบคำถามจากการเล่น เกม Vonder Go ตอบคำถามไดค้ ะแนน ตอบคำถามได้ ตอบคำถามไดค้ ะแนน 9-10 คะแนน คะแนน7-8 คะแนน 0-6 คะแนน จาก 10 คะแนนเต็ม จาก 10 คะแนนเต็ม จาก 10 คะแนนเต็ม ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) - ผลงานมคี วาม - ผลงานมีความสวย - ผลงานมีความ แบบประเมนิ ผลงาน สวยงามนอ้ ย สวยงาม งานปานกลาง - ผลงานมีรอยลบ ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์(A) ไม่เรียบร้อย แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล - ผลงานมีความ - ผลงานมีความสะอาด - ไมม่ คี วามคิดสร้างสรรค์ สะอาด เรียบรอ้ ย แตม่ ีรอยลบ - ไมม่ กี ารซักถามและร่วม ตอบคำถาม - มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ -มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ - ไมต่ ง้ั ใจเรยี น - ไมส่ ืบค้นข้อมูลจาก แปลกใหม่ นา่ สนใจ แปลกใหม่ แหล่งการเรียนรู้ - มีการซกั ถามและ -มกี ารซกั ถามและ ร่วมตอบคำถาม ร่วมตอบคำถามเป็น - มีความตง้ั ใจเรียน บางครง้ั และไมค่ ่อย ไม่พูดคุยขณะเรยี น กล้าแสดงออก - สบื ค้นข้อมลู จาก - มคี วามตง้ั ใจเรยี น แหล่งการเรียนรู้ พดู คุยเลก็ น้อย ตา่ ง ๆ - สบื ค้นขอ้ มูลจาก แหล่งการเรียนรู้ ต่าง ๆ เกณฑ์การตัดสนิ รายบุคคล : นักเรียนมผี ลการเรยี นรไู้ ม่ต่ำกวา่ กวา่ ระดับ 2 จึงถอื ว่าผ่าน รายกลุ่ม : นกั เรยี นร้อยละ 70 ของจำนวนนกั เรียนทัง้ หมดมีผลการเรียนรู้ไม่ต่ำกว่าระดบั 2

บันทึกหลังการสอน แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8 เรือ่ ง ลกั ษณะทรัพยากรธรรมชาตขิ องทวีปเอเชีย 1. ด้านความรู้ . นักเรียนสามารถตอบคำถามเกี่ยวกับลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีปเอเชียผ่านการเล่นเกม Vonder Goได้ ส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มขึ้นในชั้นเรียน และเสริมสร้างความรู้เพิ่มเติมให้ กบั นักเรยี นบางส่วนที่ตอบคำถามผิด 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลมาลงข้อสรุป และออกแบบนวัตกรรม พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติประเทศที่ตนเองเลือก พร้อมสร้างสรรค์ผลงานออกมาได้อย่างสวยงาม และสมาชิก แตล่ ะกลุม่ มีหนา้ ที่และรบั ผิดชอบการทำงานภายในกลุ่มเปน็ อย่างดี 3. ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ นักเรียนภายในห้องเรียนมีความกระตือรือร้นในการทำงาน ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือเรียน รายวิชาภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต นำความรูห้ รือข้อมูลทไ่ี ดร้ ับจากการค้นคว้ามาลงข้อสรุปทำกจิ กรรมกลุ่ม ออกแบบนวตั กรรม สรา้ งสรรค์ผลงาน และตอบคำถามได้อยา่ งถูกต้องและครบถ้วน 4. ด้านสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น . นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ผ่านการตอบคำถามและทำกิจกรรมกลุ่มออกแบบ นวัตกรรมพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติของทวีปเอเชีย โดยการรวบรวมข้อมูล แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่ม และลงขอ้ สรปุ ออกมาเปน็ ผลงาน 5. ปญั หา/อุปสรรค 1. สัญญาณอนิ เทอรเ์ น็ตมคี วามล่าชา้ ส่งผลให้การจดั กิจกรรมเกม “Vonder Go” ดำเนินไปอยา่ งลา่ ช้า 2. นกั เรียนลืมนำหนังสอื เรยี นมา จึงต้องแกไ้ ขสถานการณเ์ ฉพาะหน้าโดยการดูรว่ มกันกับเพอ่ื น 3. นกั เรยี นไมก่ ลา้ แสดงออก มีทา่ ทีเขินอายเวลาออกมานำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรียน (แนวทางแก้ไข คุณครูพูดเสริมสร้างกำลังใจ เป็นพลังบวกใหก้ ับนักเรียน และฝึกพูดการนำเสนอหน้า ชนั้ เรยี น การยกมอื ถามคุณครหู รอื การตอบคำถาม เพอ่ื ให้นกั เรียนมีความกล้าแสดงออกมากข้ึน) 3. เน่ืองจากเวลามีอยา่ งจำกัด บางกิจกรรมจึงต้องขา้ มไป เพื่อไม่ใหเ้ ดือดร้อนคาบเรยี นถดั ไป 6. ข้อเสนอแนะ ครูวางแผนกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครอบคลุมกับเวลา คำนวณเวลาการทำงานของนักเรียน และเตรียม อนิ เทอรเ์ นต็ สว่ นตวั หรืออนิ เทอรเ์ น็ตโทรศพั ทเ์ พื่อการใชง้ านทีไ่ มต่ ดิ ขัด

หากได้สอนเรื่องลักษณะทรัพยากรธรรมชาติอีกครั้ง จะสอดแทรกให้นักเรียนมองเห็นความแตกต่าง ของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่หรือหมู่บ้านของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนมองเห็นภาพชัดเจนมากยิ่งขึ้น และเขา้ ใจความแตกตา่ งของทรพั ยากรธรรมชาตเิ ป็นอย่างดี ลงชอื่ ………………………………………………. ผูส้ อน (นางสาวกญั ญามาศ ปัญญา) วันท่ี 15 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2566

แบบบนั ทกึ คะแนน แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 เรื่อง ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ คำชแ้ี จง : ทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างใหต้ รงกบั ความเปน็ จรงิ แบบบันทกึ แบบ แบบสงั เกต พฤตกิ รรม คะแนน ประเมิน รวม ระดบั (A) 16 คณุ ภาพ ท่ี ชื่อ - นามสกลุ (K) ผลงาน คะแนน 321 (P) 10 3 2 1 1 เด็กชายก้านกลว้ ย มาดี 2 เด็กชายนะ อ่มิ เอม 3 เด็กชายมงคล ปญั ญากูล 4 เด็กชายตาม มาณะ 5 เด็กชายรุง่ ทิพย์ แกว้ เพยี ง 6 เด็กชายเปน็ หนง่ึ 7 เดก็ ชายทวิ า อมิ่ ใจ 8 เด็กชายสมทุ ร ทะเล 9 เด็กชายเมือง จันทร์ 10 เดก็ ชายนอ้ ย มานะ 11 เด็กชายมานะ มาตา 12 เดก็ หญิงมาตาลดา 13 เด็กหญงิ ชบา บานชื่น 14 เด็กหญิงแก้ว ตา 15 เดก็ หญิงดอกไม้ กหุ ลาบ 16 เด็กหญิงชบา แก้ว 17 เด็กหญงิ ก้าน ใบ 18 เดก็ หญงิ เงิน ปญั ญา 19 เด็กหญงิ ชบา แกว้ 20 เด็กหญงิ แกว้ มานี

เกณฑก์ ารให้คะแนน แปลงผลเกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ดีมาก (3) 3 คะแนน หมายถงึ ดีมาก 14 - 16 หมายถึง พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 11 - 13 หมายถึง 1 คะแนน หมายถึง ควรปรบั ปรุง 1 - 10 หมายถึง สรุปผลการประเมนิ การจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8 เร่ือง ลกั ษณะทรพั ยากรธรรมชาตขิ องทวีปเอเชีย นักเรยี นท่ีมีผลการเรยี นระดบั 3 (ดีมาก) จำนวน .. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ... นกั เรียนทม่ี ผี ลการเรยี นระดับ 2 (พอใช้) จำนวน .. คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ... นกั เรยี นที่มผี ลการเรยี นระดบั 1 (ควรปรับปรงุ ) จำนวน .. คน คดิ เปน็ ร้อยละ ...

ภาคผนวก

เกม “Insider”





โปรแกรมส่มุ ช่ือ Wheel of name ที่มา : https://wheelofnames.com/th/

โปรแกรม Team Picker Wheel ทีม่ า : https://pickerwheel.com/tools/random-team-generator/

โปรแกรมเกม Vonder Go ท่มี า : https://www.vonder.co.th/th

ค่มู อื การเลน่ เกม Vonder Go SCAN ME

คำถามเกม Vonder Go










Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook