อาการและอาการแสดง
1. ด้านอารมณ์ - ความอดทนต่า อารมณ์เสีย หงุดหงิดง่าย - ไม่มน่ั ใจในตนเอง รู้สึกตนเองไม่มีคุณคา่ - มกั ใชก้ ลไกทางจิตแบบโทษผอู้ ่ืน - ไม่รู้สึกผดิ เมื่อถกู ลงโทษ - มีความวติ กกงั วลและซึมเศร้าร่วมดว้ ย
2. ด้านพฤตกิ รรม - กา้ วร้าวรุนแรง มกั มีเร่ืองทะเลาะววิ าท ชกตอ่ ย ตบตีเป็นประจา - ด้ือ ไม่เช่ือฟังผปู้ กครองหรือครู - ชอบแกลง้ เพื่อนหรือข่มขใู่ หผ้ อู้ ื่นทาตามที่ตนตอ้ งการ - ชอบพดู คาหยาบ พดู โกหก - ลกั ขโมย ทาลายทรัพยส์ ิน - หนีเรียน หนีออกจากบา้ น - ใชส้ ารเสพติด สูบบุหร่ี ด่ืมสุรา - มีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมกบั วยั
การวนิ ิจฉัย เกณฑก์ ารวนิ ิจฉยั โรคคอนดคั ตาม DSM-V มีดงั น้ี A. พฤตกิ รรมทลี่ ะเมดิ สิทธิผู้อนื่ หรือไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บของสังคมอย่างต่อเนื่อง โดยทาซ้าๆ และทามาเป็ นเวลานาน ต้องปรากฏอาการอย่างเด่นชัด อย่างน้อย 3 ข้อ จาก 15 ข้อ ในรอบ 12 เดอื นท่ผี ่านมา และอย่างน้อย 1 ข้อ ทที่ าตดิ ต่อกนั ไม่น้อยกว่า 6 เดอื น
ก้าวร้าวต่อคนหรือสัตว์ 1) รังแก ขม่ ขู่ ทาใหผ้ อู้ ื่นหวาดกลวั 2) เป็นผทู้ ี่เร่ิมการต่อสู้ 3) ใชอ้ าวธุ ในการทาร้ายผอู้ ื่น (ใชไ้ ม้ อิฐ เศษแกว้ ท่ีแตก มีด ปื น) 4) เคยทาร้ายคน 5) เคยทาร้ายสัตว์ 6) มีการขโมยต่อหนา้ เจา้ ของ (ปลน้ ทรัพยส์ ินในที่สาธารณะ กระชากกระเป๋ า ทาร้ายร่างกายเพ่อื เอาทรัพย์ ข่กู รรโชก ใชอ้ าวธุ ปลน้ ) 7) บงั คบั ใหผ้ อู้ ื่นมีกิจกรรมทางเพศดว้ ย
ทาลายทรัพย์สิน 8) ต้งั ใจวางเพลิง เพอ่ื ใหเ้ กิดความเสียหายรุนแรง 9) ต้งั ใจทาลายทรัพยส์ ินซ่ึงเป็นความต้งั ใจอ่ืนๆ (นอกเหนือจากการวางเพลิง) ฉอ้ โกงหรือขโมย 10) งดั แงะบา้ น อาคาร หรือรถของผอู้ ่ืน 11) พดู โกหกบ่อยเพือ่ ใหไ้ ดส้ ิ่งที่ตอ้ งการหรือหลีกเลี่ยงกฎเกณฑ์ 12) ลกั ขโมยของเลก็ ๆ นอ้ ยๆ โดยไม่เผชิญหนา้ กบั เจา้ ของ (หยบิ ของจากร้านแต่ไม่งดั แงะเขา้ ร้าน)
ฝ่ าฝื นกฎระเบยี บอย่างรุนแรง 13) ออกนอกบา้ นกลางคืนบ่อยคร้ังแมผ้ ปู้ กครองจะไม่อนุญาต เริ่มก่อนอายุ 13 ปี 14) หนีออกไปคา้ งนอกบา้ นอยา่ งนอ้ ย 2 คร้ังในขณะที่อาศยั อยกู่ บั ผปู้ กครอง (หรือ คร้ังเดียวแต่ไปอยทู่ ่ีอ่ืนเป็นเวลานาน) 15) หนีโรงเรียนก่อนอายุ 13 ปี
B. พฤตกิ รรมทผ่ี ดิ ปกตนิ ีเ้ ป็ นสาเหตุของการบกพร่องทางด้านสังคม ด้านการศึกษา หรือการประกอบอาชีพ C. ถ้าอายุ 18 ปี หรือมากกว่า ต้องไม่เข้าเกณฑ์ของ Antisocial Personality Disorder โดยสามารถแบ่งระดบั ความรุนแรงจากเกณฑก์ ารวนิ ิจฉยั ไดด้ งั น้ี 1) ระดบั เลก็ นอ้ ย (Mild) มีพฤติกรรมเกินเกณฑก์ ารวนิ ิจฉยั เพยี งไม่ก่ีขอ้ และปัญหาพฤติกรรมน้นั ๆ ก่อใหเ้ กิดผลเสียเพยี งเลก็ นอ้ ยตอ่ ผอู้ ่ืน (โกหก หนีโรงเรียน ออกนอกบา้ นกลางคืนโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต) 2) ระดบั ปานกลาง (Moderate) จานวนและผลของพฤติกรรมอยรู่ ะหวา่ งระดบั เลก็ นอ้ ยและระดบั รุนแรง 3) ระดบั รุนแรง (Severe) มีปัญหาพฤติกรรมเกินเกณฑก์ ารวนิ ิจฉยั หลายขอ้ หรือปัญหาพฤติกรรมน้นั ๆ ก่อใหเ้ กิดผลเสียชดั เจนตอ่ ผอู้ ื่น (บงั คบั การร่วมเพศ ทาร้ายร่างกาย ใชอ้ าวธุ ขโมยโดยเผชิญหนา้ กบั เจา้ ของ งดั แงะ)
การบาบดั รักษา 1. การปรับพฤตกิ รรม การฝึ กปรับพฤตกิ รรมโดยผ้ปู กครอง (behavioral parent training) เป็นการฝึกใหบ้ ิดา มารดาเรียนรู้และเขา้ ใจการปรับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเดก็ เช่น ด้ือ ตอ่ ตา้ น หรือ กา้ วร้าว และเพมิ่ พฤติกรรมที่เหมาะสมใหม้ ากข้ึน จติ บาบดั (cognitive behavior therapy: CBT) เป็นการรักษาที่เนน้ ตวั เดก็ เพอ่ื ฝึกใหเ้ ดก็ เขา้ ใจและนาความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ความคิด-อารมณ์-การกระทา มาทบทวนและปรับแก้ ระหวา่ งการพดู คุยในชว่ั โมง 2. การใช้ยา ก่อนใหย้ าแพทยค์ วรมีการประเมินปัญหาของเดก็ และครอบครัวอยา่ งรอบดา้ น เม่ือมี ขอ้ บ่งช้ีจึงใหย้ า เช่น มีโรคร่วม พฤติกรรมรุนแรง และก่อใหเ้ กิดปัญหาที่ครอบครัวไม่สามารถ ควบคุมไดใ้ นเวลาอนั ส้นั โดยจะตอ้ งอธิบายใหบ้ ิดามารดาเขา้ ใจวา่ ยาใชช้ ่วยเหลือเดก็ ไดอ้ ยา่ งไร
เด็กลกั ขโมย การช่วยเหลอื (ลกั ขโมย) สร้างสมั พนั ธภาพกบั เดก็ เพือ่ ทาใหเ้ กิดความไวว้ างใจ เช่ือใจ โดยอาจพดู คุยเกี่ยวกบั เร่ืองทว่ั ไปก่อน เร่ิมเขา้ สู่ประเดน็ โดยอาจถามเดก็ วา่ ท่ีเดก็ ตอ้ งมาคลินิกในวนั น้ีเพราะอะไร เดก็ อาจตอบวา่ ไม่รู้ ผบู้ าบดั ใหค้ าตอบ กบั เดก็ วา่ ทางครอบครัวและโรงเรียนมีความเป็นห่วงเดก็ เก่ียวกบั เร่ืองพฤติกรรม เดก็ มีอะไรท่ีจะใหผ้ บู้ าบดั ช่วยได้ บา้ ง หากเดก็ ยงั ไม่พร้อมท่ีจะเล่า อยา่ เร่งรัด อาจใหเ้ ดก็ เล่าเร่ืองท่ีอยากเล่าใหฟ้ ัง รับฟังดว้ ยท่าทีท่ีแสดงความเขา้ ใจ ไม่ตาหนิ รับฟังและมีความปรารถนาดีท่ีจะช่วยเหลือ เนน้ ประเดน็ เรื่องการเกบ็ รักษาความลบั เมื่อเดก็ มีความไวว้ างใจเล่าใหฟ้ ัง ผบู้ าบดั ควรประเมินวา่ สาเหตุของพฤติกรรมลกั ขโมยเกิดจากอะไร แสดง ความเห็นอกเห็นใจและสอบถามถึงสาเหตุของพฤติกรรมน้นั ช่วยเหลือตามสาเหตุของพฤติกรรมลกั ขโมย หากบาบดั แลว้ เดก็ ยงั คงมีพฤติกรรมลกั ขโมยอยา่ งต่อเน่ืองยาวนานเป็นเวลาอยา่ งนอ้ ย 6 เดือน ควรส่งต่อเพอ่ื พบ จิตแพทย์
เดก็ พูดโกหก การช่วยเหลอื สร้างสมั พนั ธภาพกบั เดก็ เร่ิมเขา้ สู่ประเดน็ หากเดก็ ยงั ไม่พร้อมท่ีจะเล่า อยา่ เร่งรัด อาจใหเ้ ดก็ เล่าเรื่องท่ีอยากเล่าใหฟ้ ัง รับฟังดว้ ยท่าทีที่ แสดงความเขา้ ใจ ไม่ตาหนิ รับฟังและมีความปรารถนาดีท่ีจะช่วยเหลือ เนน้ ประเดน็ เรื่องการเกบ็ รักษาความลบั สร้างบรรยากาศใหเ้ ดก็ รู้สึกปลอดภยั และเชื่อมน่ั หลีกเลี่ยงคาวา่ โกหก ในขณะบาบดั อาจจาลองสถานการณ์ที่สุ่มเสี่ยงต่อการพดู โกหก เช่น เมื่อเดก็ เล่นน้าในแกว้ และคุณเห็นวา่ เดก็ ทา น้าหกเลอะพ้ืน ลองถามวา่ เกิดอะไรข้ึน ชื่นชมเมื่อเดก็ ยอมรับ บอกความรู้สึกและหาทางแกป้ ัญหาร่วมกนั หากเดก็ มีลกั ษณะนิสยั ชอบโม้ เล่าเร่ืองเกินจริง บางเรื่องกเ็ ติมแต่งจนกลายเป็นอีกเรื่องหน่ึงไป เพ่อื ใหต้ นเอง ไดร้ ับความสนใจจากคนรอบขา้ ง ผบู้ าบดั ควรหาขอ้ ดีที่เห็นขณะบาบดั ช่ืนชมและใหค้ วามสนใจเดก็
เดก็ ก้าวร้าว การช่วยเหลอื วิเคราะห์วา่ เดก็ มีปัญหาหรือความเครียดดา้ นใด คุยกบั เขา และช่วยเหลือในการแกป้ ัญหา ใหโ้ อกาสเดก็ ไดร้ ะบายความรู้สึก เช่นแสดงออกมาเป็นคาพดู บอกใหช้ ดั เจนวา่ ไม่เห็นดว้ ยกบั วิธีการกา้ วร้าวท่ีเดก็ ใช้ แต่ยอมรับในตวั เขา สอนใหเ้ ดก็ ตระหนกั ในสิทธิ และความตอ้ งการของบุคคลอ่ืนที่ตอ้ งเคารพ ในกรณีที่มีความกา้ วร้าวกบั บุคคลอื่น ควรเขา้ ไปหยดุ ทนั ที ใหค้ วามยตุ ิธรรมกบั ท้งั สองฝ่ าย และสอนใหส้ ามารถตกลงกนั ไดด้ ว้ ยสนั ติวธิ ี เม่ือเดก็ มีพฤติกรรมกา้ วร้าว หลีกเล่ียงการตาหนิ ดุ ด่า บ่นหรือออกคาสง่ั ซ้าๆ โดยไม่ไดต้ ิดตามอยา่ งจริงจงั วา่ เดก็ ทาตามหรือไม่ วิเคราะห์กบั เดก็ วา่ จะเกิดเหตุการณ์อะไรไดบ้ า้ งที่จะนามาซ่ึงพฤติกรรมกา้ วร้าว สอนการแกป้ ัญหาล่วงหนา้ ชมเชยเมื่อเดก็ สามารถควบคุมตนเองไดด้ ี ใหเ้ ดก็ มีโอกาสทากิจกรรมที่แสดงถึงความเมตตากรุณาต่อผอู้ ื่น ใหเ้ ดก็ มีโอกาสระบายพลงั ออกมาในทางที่สร้างสรรค์ เช่น ออกกาลงั กาย
เด็กหนีโรงเรียน การช่วยเหลอื ศึกษาขอ้ มลู การเล้ียงดู สิ่งแวดลอ้ ม สร้างสัมพนั ธภาพกบั เดก็ เพ่ือทาใหเ้ กิดความไวว้ างใจ เชื่อใจ เม่ือเดก็ มีความไวว้ างใจเลา่ ใหฟ้ ัง ผบู้ าบดั ควรประเมินวา่ สาเหตุของพฤติกรรมหนีเกิดจากอะไร แสดงความเห็นอกเห็นใจและสอบถามถึงสาเหตุของพฤติกรรมน้นั รับฟังขอ้ คิดเห็น ใหเ้ ดก็ ประเมินการกระทา ช้ีใหเ้ ห็นผลเสียที่เกิดข้ึน ร่วมหาทางเลือกท่ี เหมาะสม ไม่ก่อใหเ้ กิดผลเสียต่อตนเอง ช่วยเหลือเดก็ ตามสาเหตุของพฤติกรรมหนีเรียน
โรคสมาธิส้ัน Attention Deficit Hyperactive Disorder: ADHD
โรคสมาธิส้นั (Attention-deficit hyperactivity disorder : ADHD) เป็ น ภาวะบกพร่องในการทาหน้าท่ีของสมอง ที่มีอาการหลกั เป็นความผิดปกติ ทางดา้ น พฤติกรรมใน 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ขาดสมาธิท่ีต่อเน่ือง (inattention) 2) ซนมากกวา่ ปกติหรืออยไู่ ม่นิ่ง (hyperactivity) และ 3) ขาดการย้งั คิดหรือหุนหนั พลนั แล่น (impulsivity) ท่ีเป็นมากกวา่ พฤติกรรมตามปกติ ของเดก็ ในระดบั พฒั นาการเดียวกนั และทาใหเ้ สียหนา้ ที่ในการดาเนินชีวิตประจาวนั หรือการเขา้ สังคม โดยเริ่มแสดง อาการดงั กล่าวก่อนอายุ 12 ปี และแสดงอาการในสถานการณ์หรือสถานท่ีอยา่ ง นอ้ ย 2 แห่งข้ึนไป เช่น ท่ีโรงเรียนและที่บา้ น ประมาณร้อยละ 50 ของเดก็ ท่ีเป็น โรคสมาธิส้นั จะมีอาการต่อเนื่องจนถึงวยั ผใู้ หญ่
สาเหตุ 1) ปัจจยั ทางพนั ธุกรรม การเกิดโรคมีการถ่ายทอดภายในครอบครัว แต่รูปแบบกลไกการถ่ายทอดยงั ไม่ทราบแน่ชดั อตั ราการพบ ADHD ในฝาแฝดไข่ใบเดียวกนั ร้อยละ 51 และในฝาแฝดไข่คนละใบ ร้อยละ 33 พ่ชี ายหรือนอ้ งชายของเดก็ ADHD มีโอกาสเป็น ADHD สูงกวา่ คนทวั่ ไป 5 เท่า
2) ปัจจยั ทางชีวภาพทอ่ี าจเป็ นสาเหตุ ไดแ้ ก่ ภาวะต่างๆ ท่ีมีผลต่อพฒั นาการของสมอง เช่น ภาวะทุพโภชนาการ การติดเช้ือระหวา่ งต้งั ครรภ์ การสูบบุหรี่ของมารดา ภาวะน้าหนกั แรกเกิดนอ้ ย การ ไดร้ ับสารโลหะหนกั โดยเฉพาะสารตะกวั่ เป็นตน้ การศึกษาระบบสารสื่อประสาท พบวา่ มีความผดิ ปกติของ Dopamine และ Norepinephrine ต่ากวา่ ปกติ และสมอง ส่วนหนา้ ท่ีมีหนา้ ท่ีควบคุมเร่ืองการสมาธิจดจ่อ การยบั ย้งั ชง่ั ใจและการเคลื่อนไหว ของร่างกาย ทางานนอ้ ยกวา่ เดก็ ปกติ
3) ปัจจัยทางสังคมและส่ิงแวดล้อม การเล้ียงดูและสภาพแวดลอ้ มภายในบา้ นท่ีไม่เหมาะสม ปัญหา ดา้ นจิตใจของพอ่ แม่หรือผเู้ ล้ียงดูไม่ไดเ้ ป็นสาเหตุโดยตรงแต่เป็นปัจจยั เสริมใหเ้ ดก็ ที่เป็น ADHD มีแนวโนม้ ที่จะแสดงอาการออกมาเด่นชดั และรุนแรง
ADHD เป็ นภาวะผดิ ปกติทางจิตเวชทมี่ ลี กั ษณะเด่นอยู่ ขาดสมาธิ (Attention Deficit) ซน อยไู่ ม่น่ิง (Hyperactivity) หุนหนั พลนั แล่น ววู่ าม (Impulsivity)
กลุ่มอาการขาดสมาธิ 1. ไม่มีสมาธิ 2. ไม่รอบคอบ ทางานผดิ พลาด สะเพร่า 3. ขาดความต้งั ใจเวลาทางาน 4. ดูเหมือนไม่ฟังเวลาพดู 5. ทางานไม่เสร็จ ไม่มีระเบียบ 6. วอกแวกง่าย 7. หลงลืม 8. ทาของใชส้ ่วนตวั หายเป็นประจา 9. หลีกเลี่ยงงานที่ตอ้ งใชค้ วามคิด
กลุ่มอาการซนอยู่ไม่นิ่ง 1. ยกุ ยกิ อยไู่ ม่สุข 2. ชอบลุกจากที่นงั่ 3. วง่ิ , ปี นป่ าย, เล่นโลดโผน 4. ไม่สามารถเล่นหรืออยเู่ งียบๆได้ เล่นเสียงดงั 5. พลงั งานเหลือเฟื อ ซนมากต้งั แต่ตื่นนอนจนเขา้ นอน 6. พดู มาก พดู ไม่หยดุ
กลุ่มอาการหุนหันพลนั แล่น 1. โพล่งคาตอบออกมาก่อนคาถามจบ 2. ใจร้อน รอคอยอะไรไม่ค่อยได้ 3. ชอบพดู แทรกขณะผอู้ ่ืนกาลงั พดู อยู่
แบบสอบถาม Swanson Nolan and Pelham rating scale (SNAP-IV)
แบบสอบถาม SNAP-IV ผตู้ อบแบบสอบถาม คอื บิดา/มารดา/ ผดู้ ูแล และครู แบบสอบถามประกอบดว้ ยขอ้ คาถาม 26 ขอ้ แยกเป็น 3 ดา้ น ขอ้ 1 - 9 เป็นการประเมิน อ า ก า รข า ด ส ม า ธิ ขอ้ 10 - 18 เป็นการประเมินอาการซนอยไู่ ม่นิ่ง หุนหนั พลนั แล่ น ขอ้ 19 - 26 เป็นการประเมินอาการด้ือตอ่ ตา้ น
การแปลผล SNAP-IV จุดตดั คะแนนแต่ละด้ าน : บดิ า/ มารดา/ ผ้ดู ูแล คะแนนรวมขอ้ 1 – 9 ได้ 16 คะแนน ถือวา่ มี ความเส่ียงของอาการขาดสมาธิ คะแนนรวมขอ้ 10 – 18 ได้ 14 คะแนน ถือวา่ มีความเสี่ยงของอาการซน อยไู่ ม่น่ิง หุนหนั พลนั แลน่ คะแนนรวมขอ้ 19 – 26 ได้ 12 คะแนน ถือวา่ มีความเสี่ยงของอาการด้ือ ตอ่ ตา้ น จุดตดั คะแนนแต่ละด้าน : ครู คะแนนรวมขอ้ 1 – 9 ได1้ 8 คะแนน ถือวา่ มีความเสี่ยงของอาการ ขาดสมาธิ คะแนนรวมขอ้ 10 – 18 ได้ 11 คะแนน ถือ วา่ มีความเส่ียงของอาการซน อยไู่ ม่น่ิง หุนหนั พลนั แล่น คะแนนรวมขอ้ 19 – 26 ได้ 8 คะแนน ถือวา่ มีความเส่ียงของอาการด้ือตอ่ ตา้ น
เกณฑ์วนิ ิจฉัยโรคสมาธิส้ันตาม DSM-5 A. ผู้ป่ วยมอี าการขาดสมาธิและ/หรืออยู่ไม่นิ่ง/หุนหันพลนั แล่นอยู่ตลอดและรบกวนการทาหน้าทห่ี รือพฒั นาการ ดงั ลกั ษณะ ข้อ (1) และ/หรือ (2) 1. อาการขาดสมาธิผปู้ ่ วยตอ้ งมีอาการต่อไปน้ีต้งั แต่ 6 ขอ้ ข้ึนไป นานมากกวา่ 6 เดือน ถึงระดบั ท่ีไม่สอดคลอ้ งกบั ระดบั พฒั นาการ และมีผลกระทบดา้ นลบโดยตรงต่อกิจกรรมทางดา้ นสงั คมและการศึกษา/การทางาน ดงั น้ี หมายเหตุ: สาหรับวยั รุ่นตอนปลายและผใู้ หญ่ (อาย1ุ 7 ปี ข้ึนไป) มีอาการต่อไปน้ีมากกวา่ 5 ขอ้ ข้ึนไป (a) ไม่สามารถจดจ่อกบั รายละเอียดหรือเลินเล่อในกิจกรรมท่ีโรงเรียน การทางาน หรือกิจกรรมอื่น (b) มกั มีความลาบากในการคงสมาธิในการประกอบการงานหรือเล่น (c) มกั ดูเหมือนไม่ไดฟ้ ังสิ่งท่ีผอู้ ่ืนพดู กบั ตนอยู่ (d) มกั ทาตามคาสงั่ งานที่โรงเรียน งานบา้ น หรือหนา้ ท่ีในท่ีทางานไม่ครบ
เกณฑ์วนิ ิจฉัยโรคสมาธิส้ันตาม DSM-5 (e) มกั มีความลาบากในการจดั ระบบงานหรือกิจกรรม (f) มกั เลี่ยง ไม่ชอบ หรือลงั เลท่ีจะร่วมในงานที่ตอ้ งการความใส่ใจพยายาม (g) มกั ทาของที่จาเป็นต่องานหรือกิจกรรมหาย (h) มกั วอกแวกจากสิ่งเร้าภายนอกไดง้ ่าย (ในวยั รุ่นและผใู้ หญ่อาจรวมถึงการคิดเร่ืองที่ไม่เก่ียวขอ้ ง) (i) มกั หลงลืมงานประจาวนั
เกณฑ์วนิ ิจฉัยโรคสมาธิส้ันตาม DSM-5 2. อาการอยไู่ ม่นิ่ง/หุนหนั พลนั แล่น ผปู้ ่ วยตอ้ งมีอาการต่อไปน้ีต้งั แต่ 6 ขอ้ ข้ึนไป นานมากกวา่ 6 เดือน และถึงระดบั ที่ไม่ สอดคลอ้ งกบั ระดบั พฒั นาการและมีผลกระทบดา้ นลบโดยตรงต่อกิจกรรมทางดา้ นสงั คม และการศึกษา/การทางาน ดงั น้ี หมายเหต:ุ สาหรับวยั รุ่นตอนปลายและผใู้ หญ่ (อาย1ุ 7 ปี ข้ึนไป) มีอาการต่อไปน้ีมากกวา่ 5 ขอ้ ข้ึนไป (a) มือ เทา้ มกั หยกุ หยกิ นง่ั ไม่ติดเกา้ อ้ี (b) มกั ลกุ จากที่นง่ั ในหอ้ งเรียนหรือสถานการณ์อ่ืนที่ตอ้ งนง่ั กบั ที่ (c) มกั ว่งิ หรือปี นป่ ายอยา่ งมาก โดยไม่เหมาะสมกบั กาลเทศะ (ในวยั รุ่นหรือ ผใู้ หญ่อาจมีเพียงรู้สึกอยนู่ ่ิงไม่ได)้ (d) มกั “พร้อมท่ีขยบั ” หรือทาเหมือน “ติดเคร่ืองยนต”์ (e) มกั พดู มากเกินควร (f) มกั ชิงตอบคาถามก่อนจะถามจบ (g) มกั ลาบากท่ีจะรอตามลาดบั (h) มกั ขดั หรือแทรกข้ึน
เกณฑ์วนิ ิจฉัยโรคสมาธิส้ันตาม DSM-5 B. อาการขาดสมาธิหรืออาการอยไู่ ม่น่ิง/หุนหนั พลนั แล่น หลายๆ อาการเร่ิมเกิดข้ึนก่อนอายุ 12 ปี C. อาการขาดสมาธิหรืออาการอยไู่ ม่นิ่ง/หุนหนั พลนั แลน่ หลายๆ อาการเกิดข้ึนในสถานการณ์ อยา่ งนอ้ ย 2 แห่ง (เช่น ที่บา้ น โรงเรียน หรือที่ทางาน เกิดกบั เพื่อน หรือ ญาติหรือในกิจกรรมอ่ืนๆ) D. มีหลกั ฐานชดั เจนวา่ มีความบกพร่องทางดา้ นสังคม การศึกษา หรือการทางาน E. อาการไม่ไดเ้ กิดจากการเป็นโรคจิต (psychotic disorder) และไม่เขา้ ความผดิ ปกติทางจิตอื่นๆ (เช่น โรคอารมณ์ผดิ ปกติ (mood disorder) โรควติ กกงั วล (anxiety disorder) หรือโรคบุคลิกภาพ ผดิ ปกติ (personality disorder)
โรคที่พบร่วม กลุม่ อาการด้ือ ต่อตา้ น (Oppositional Defiant Disorder: ODD) 60% กลุ่มอาการพฤติกรรมเกเร กา้ วร้าว (Conduct disorders) 40% ภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ (LD) กลุม่ ความผดิ ปกติทางอารมณ์ (Affective disorders) 30-70% กลุม่ โรควติ กกงั วล (Anxiety disorders) 15-75% Tourette’s disorder 10-30% 2%
การอยู่กบั เดก็ สมาธิส้ัน 1. เขา้ ใจเดก็ ธรรมชาติเดก็ ไม่ไดแ้ กลง้ ไม่ใช่นิสยั เสีย ไม่ใช่ด้ือ หรือ ไม่อดทน ไม่ใช่สอนไม่จา ไม่ใช่ไม่รับผดิ ชอบ 2. หลีกเล่ียงการตาหนิ เพิม่ การช่ืนชม 3. ช่วยเดก็ คิดวธิ ีแกจ้ ุดอ่อน เช่น ข้ีลืม 4. ช่วยใหใ้ ชพ้ ลงั งาน เช่น กีฬา ดนตรี ช่วยงานผใู้ หญ่ 5. จดั สิ่งแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสม 6.แบ่งช่วงเวลาทางานใหส้ ้ัน
ผลกระทบ เด็ก • กาย • จติ สงั คม สมาธิส้ัน ครอบครวั•• ความสมั พนั ธ์ จติ สงั คม โรงเรยี น•• ระบบการเรยี น ครผู สู้ อน 83
ไม่รักษา...จะเป็ นอย่างไร กลมุ่ วัยเด็กสมาธสิ ัน้ กลมุ่ วัยเด็กปกติ 60 50 84 40 30 20 10 0 ติดยาเสพติด ไม่จบมัธยม ได ้ตจาบแปหริ ่นญงงญาานตดีรี มีธุรกิจเ ็ลกๆ
การดูแลรักษา ครอบครัว พ่อแม่ โรงเรียน ครู ตวั เดก็ 85
1. การรักษาด้วยยา 1. ยาในกลุ่มออกฤทธ์ิกระตุน้ (psychostimulant medications - Methylphenidate (Ritalin, Metadate, Concerta) - Amphetamine (Dexedrine, Dextrostat, Adderall) Methylphenidate (RitalinR, RubifenR) เป็นยาที่นิยมใชใ้ นการรักษา ADHD มากท่ีสุดในปัจจุบนั ยาจะออกฤทธ์ิที่สมองทาใหเ้ ดก็ สามารถควบคุมตวั เองไดด้ ีข้ึน มี สมาธิ โดยยาจะออกฤทธ์ิหลงั กินประมาณ ๓๐ นาที และออกฤทธ์ิอยนู่ านประมาณ ๔ - ๖ ชว่ั โมง ยาน้ีไม่มีฤทธ์ิกดประสาท และไม่ทาใหง้ ่วง อีกท้งั ไม่สะสมในร่างกาย แมจ้ ะ กินติดต่อเป็ นระยะเวลานาน
2. ยาใหม่ในกลุ่มท่ีไม่กระตุน้ สมอง และระบบประสาท (non-stimulant) ผลขา้ งเคียงของยาน้ีถือวา่ นอ้ ยมาก และพบวา่ เมื่อใชย้ าน้ีร่วมกบั การบาบดั ทางดา้ นพฤติกรรมแลว้ จะช่วยใหเ้ ดก็ เคารพกฎเกณฑ์ และมีความสมั พนั ธ์ ท่ีดีข้ึนกบั พอ่ แม่ และบุคคลรอบขา้ ง ไดแ้ ก่ยา Strattera 3. ยาออกฤทธ์ิตา้ นเศร้า (antidepressant) เป็นยาท่ีออกฤทธ์ิปรับสมดุลของ สารสื่อประสาทในสมอง รู้จกั กนั ในชื่อของ antidepressant medications ยา ในกลุ่ม tricyclic antidepressants (TCA) ท่ีนามาใชร้ ักษา ไดแ้ ก่ imipramine, desipramine, nortripyline
2. การช่วยเหลอื ด้านครอบครัว (Family intervention) 1 การใหค้ วามรู้ใหบ้ ุคคลในครอบครัว (Psychoeducation) 1.1 จดั หาสถานที่ที่เดก็ จะทา การบา้ น หรือทบทวน ตอ้ งเป็นมุมหรือหอ้ งท่ีสงบ ไม่มี เสียงรบกวน ไม่ พลุกพล่าน ไม่มีโทรทศั นห์ รือของเลน่ มาดึงความสนใจ 1.2 จดั โตะ๊ เขียนหนงั สือเดก็ ให้ หนั เขา้ ฝาผนงั ไม่ใกลห้ นา้ ตา่ ง ประตู 1.3 กาหนดเวลาทาการบา้ น ทบทวนบทเรียน ใหเ้ ป็นเวลาแน่นอน 1.4 ตอ้ งมีผปู้ กครองประกบอยดู่ ว้ ยขณะทาการบา้ นหรือทากิจกรรมเพื่อเรียก สมาธิและใหค้ วาม ช่วยเหลือแนะนา 1.5 ผปู้ กครองตอ้ งพยายาม ควบคุมอารมณ์ของตนใหบ้ รรยากาศสงบ เปิ ดโอกาสใหเ้ ดก็ เปล่ียนอิริยาบถ หรือหยดุ พกั ช่วงส้นั ๆ ได้ เม่ือ เห็นวา่ เดก็ หมดสมาธิ14 2 การฝึกพอ่ แม่ในการจดั การกบั พฤติกรรมเดก็
วธิ ีการช่วยเหลอื ในปัญหาเฉพาะ วธิ ีแก้ปัญหาเหม่อ ใจลอย วอกแวกง่าย จดั ท่ีนงั่ ใหเ้ หมาะสม ลดส่ิงที่จะทาใหว้ อกแวก ตกลงวธิ ีเตือนกบั เดก็ หลีกเล่ียงการเรียกชื่อบ่อยๆ สอนใหเ้ ร้าใจ สนุก ทาเน้ือหาใหน้ ่าสนใจ น่าติดตาม สลบั ใหเ้ ดก็ ไดม้ ีการเคลื่อนไหวบา้ ง
วธิ ีแก้ปัญหาอู้ ยดื ยาด เฉื่อย ทางานช้า ทางานไม่เสร็จ กาหนดเวลา สร้างแรงจูงใจ เริ่มตน้ งานกบั เดก็ ใชก้ ารสมั ผสั ท่ีนุ่มนวล แบ่งงานเป็นส่วนเลก็ ๆ พกั ส้นั ๆบ่อยๆ ใหเ้ วลาทางานนานกวา่ เดก็ ปกติ
วธิ ีแก้ปัญหาหลงลมื บ่อย เขียนคาสัง่ ใหช้ ดั เจน ทาเป็นเอกสารใหเ้ ดก็ ทบทวน ใหเ้ ดก็ ทบทวนคาสั่ง หรือเน้ือหาบ่อยๆ มีวธิ ีเตือนความจาที่เหมาะสม เช่น ป้ าย, post-it, นาฬิกาปลุก มีตารางกากบั ฝึกบ่อยๆใหเ้ คยชิน ฝึกใหเ้ ดก็ รู้จกั การทา check-list อนุญาตใหเ้ ดก็ ใชอ้ ุปกรณ์บนั ทึกเสียง
วธิ ีแก้ปัญหาการขาดการวางแผนล่วงหน้า สอนใหเ้ ดก็ รู้จกั ใช้ planner ฝึกใหเ้ ดก็ หยดุ ตวั เอง...คิดก่อนทา
วธิ ีแก้ปัญหาการแบ่งเวลาไม่เป็ น สอนใหเ้ ดก็ รู้จกั การ “กะ” เวลา ฝึกบ่อยๆ เลน่ เป็นเกม บนั ทึกเวลาการทางานของตวั เอง ทาตารางเวลาเพ่อื กากบั แตล่ ะกิจกรรม สอนใหย้ อ่ ยงาน แลว้ กาหนดเวลาการทางานแตล่ ะส่วน สอนใหร้ ู้จกั ใชน้ าฬิกาปลุก, timer เตือนเดก็ ล่วงหนา้ ถึงเวลาที่เหลือ สอนใหท้ า “to do list” Weekly, Monthly Planner
วธิ ีแก้ปัญหาขาดระเบียบ สอนใหเ้ ดก็ ใชแ้ ฟ้ มเจาะรูสาหรับเกบ็ เอกสาร สอนใหเ้ ดก็ ทาป้ ายติดบนแฟ้ ม, หนงั สือ, ส่ิงของ ป้ ายควรเป็นรหสั สี หรือตวั เลขท่ีเดก็ ดรู ู้และเขา้ ใจง่าย มีแฟ้ มสาหรับใส่การบา้ นที่ตอ้ งทา, การบา้ นท่ีทาเสร็จแลว้ , การบา้ นท่ีตอ้ งส่ง สอนใหเ้ ดก็ จดั โต๊ะเรียนทุกวนั ก่อนกลบั บา้ น จดั กระเป๋ านกั เรียนทุกวนั ก่อนนอน เลือกใชก้ ล่องดินสอ, กระเป๋ านกั เรียนท่ีแบ่งเป็นช่องๆไวแ้ ลว้ อยา่ งเป็นระเบียบ จดั หอ้ งเรียนใหเ้ ป็นระเบียบ เป็นตวั อยา่ งหรือหาตวั อยา่ งของเดก็ ท่ีเป็นระเบียบใหเ้ ดก็ ได้ เลียนแบบ
3. การช่วยเหลอื ด้านโรงเรียน (School intervention) 1. ตาแหน่งโตะ๊ เรียน ควรใหเ้ ดก็ นง่ั แถว หนา้ สุดใกลโ้ ตะ๊ ครู ไม่ควรใหเ้ ดก็ นง่ั ติดหนา้ ต่าง หรือ ประตู เพราะเดก็ จะวอกแวกเสียสมาธิง่าย 2. เม่ือเห็นวา่ เดก็ หมดสมาธิจริงๆ ควร ใหเ้ ดก็ มีกิจกรรมท่ีเปลี่ยนอิริยาบถบา้ งเช่น ใหไ้ ปลา้ งหนา้ หรือมาช่วยคุณครูลบกระดาน หรือช่วยแจกสมุดกจ็ ะ ช่วยลดความเบื่อของเดก็ ลง 3. ในกรณีท่ีเดก็ มีสมาธิส้นั มากสามารถใชว้ ธิ ีลดระยะเวลาทางานใหส้ ้นั ลงเป็นช่วงส้ันๆหลายช่วง โดยเนน้ ในเรื่องความรับผดิ ชอบ ใหท้ างานใหส้ าเร็จ 4. ไม่ประจาน ประณาม วา่ เป็นเดก็ ไม่ดีและไม่ลงโทษเดก็ ดว้ ยความรุนแรง หากเป็น พฤติกรรม จากโรคสมาธิส้ัน เช่น ซุ่มซ่าม ทาของ เสียหาย หุนหนั พลนั แลน่ 5. สร้างบรรยากาศที่เขา้ ใจและเป็น กาลงั ใจจะช่วยให้ เดก็ พยายามปรับปรุงตวั เอง มากข้ึน ใหค้ วาม สนใจและช่ืนชม เม่ือเดก็ มีพฤติกรรม ท่ีดี
3. การช่วยเหลอื ด้านโรงเรียน (School intervention) (ต่อ) 6. เม่ือตอ้ งการส่ือสารกบั เดก็ ควรใช้ คาพดู ที่กระชบั แตไ่ ดใ้ จความชดั เจน หากเดก็ กาลงั อยู่ ในช่วง เหม่อ วอกแวกหรือไม่ไดส้ นใจ ควรเรียก หรือ แตะตวั อยา่ งนุ่มนวลใหเ้ ดก็ รู้ สึกตวั และหนั มาสนใจ เสียก่อนจึงสื่อกบั เดก็ 7. เดก็ อาจมีปัญหาการปรับตวั เขา้ กบั เพอ่ื น มกั จะใจร้อน หุนหนั พลนั แลน่ เลน่ แรง คุณครู ควรช่วย ตกั เตือน แนะนาดว้ ยท่าทีท่ีเขา้ ใจ เพื่อใหเ้ ดก็ เขา้ ใจปัญหาของตนเอง ระมดั ระวงั และควบคุม ตนเอง ใหด้ ีข้ึน 8. ใหค้ วามช่วยเหลือดา้ นการเรียน เป็นพเิ ศษ เนื่องจากเดก็ ท่ีเป็นโรคสมาธิส้ัน พบวา่ ประมาณร้อย ละ 40 จะมีความบกพร่องดา้ นการ เรียนรู้เฉพาะดา้ น (learning disability) 9. การสอน แบบ “ตวั ต่อตวั ”จ ะ ไดผ้ ลดีมากในเดก็ สมาธิส้ันเพราะสามารถเรียกสมาธิ เดก็ ไดด้ ีกวา่ และสามารถปรับจงั หวะการสอนไดต้ รง กบั ช่วงสมาธิของเดก็ ผปู้ กครองของเดก็ จะช่วยเสริม จุดน้ี ไดอ้ ยา่ งดีโดยคุณครูมอบหมายหวั ขอ้ ให้
การรักษาทางเลอื ก (Alternative Treatments) กีฬา การละเลน่ ดนตรี ศิลปะ กิจกรรมบาบดั (Occupational Therapy), Sensory Integration (SI) Training การฝึกสติ ฝึกสมาธิ Neurofeedback (EEG, HEG Biofeedback) อาชาบาบดั Interactive Metronome (IM) Training Hyperbaric chamber Horse therapy
Search