Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PN12-17-01-2020

PN12-17-01-2020

Published by kedsirin_bcnsk, 2020-01-17 10:26:17

Description: PN12-17-01-2020

Search

Read the Text Version

บทท่ี 4 พลวตั กลุ่ม (Group dynamics) อาจารย์เกษศิรินทร์ ภู่เพชร

ขอบเขตเนือ้ หา • ความหมายของพลวตั รกลุ่ม • ประโยชน์ของพลวตั รกลุ่ม • องคป์ ระกอบของพลวตั รกลุ่ม • ข้นั ตอนของพลวตั รกลุ่ม • ทกั ษะในพลวตั รกลุ่ม • กระบวนการของพลวตั รกลุ่ม

คนสองคนข้ึนไปท่ีมี ปฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คมกนั มีโครงสร้างท่ีชดั เจน กล่มุ เป้ าหมายอยา่ งเดียวกนั ยอมรับในความเป็ นกลุ่ม ของตน

พลวตั กล่มุ (Group Dynamics) พลวตั กลุ่ม จะเกิดข้ึนไดต้ อ้ งมีองคป์ ระกอบ ข้นั ตอนทกั ษะ กระบวนการ ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากการนาเอาปัจจยั ต่างๆ มาใชก้ บั กระบวนการกลุ่ม เพ่ือใหก้ ลุ่มพฒั นาไปสู่เป้ าหมาย

พลวตั กล่มุ (Group Dynamics) • หมายถึง ความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากการนาเอาปัจจยั ต่างๆ มาใชก้ บั กระบวนการ กลุ่ม เพือ่ ใหก้ ลุ่มพฒั นาไปสู่เป้ าหมาย ปัจจยั ต่างๆ ท่ีนามาใชไ้ ดแ้ ก่ ระบบการบริหารงานใน กลุ่ม คุณลกั ษณะของผนู้ าตลอดถึงความสามารถของสมาชิกกลุ่ม • พลวตั กลุ่มจะช่วยอธิบายถึงการเปล่ียนแปลงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนภายในกลุ่ม ซ่ึงเก่ียวโยงกบั กลวธิ ีใน การบริหาร ตลอดถึงพลงั อนั ซบั ซอ้ นท่ีเป็นเง่ือนไขสาคญั ของกลุ่มท่ีมีอิทธิพลต่อสมาชิกซ่ึงจะ ก่อใหเ้ กิดความร่วมมือ ความรับผดิ ชอบ และความเสียสละเพือ่ ส่วนรวม

ประโยชน์ของพลวตั กลุ่ม 1. ช่วยเสริมสร้างใหส้ มาชิกในกลุ่มมีความไวต่อการรับรู้ความรู้สึก 2. ช่วยกระตุน้ ใหส้ มาชิกไดน้ าความรู้ ความสามารถ ออกมาใชใ้ นการทางานร่วมกนั อยา่ งเตม็ ท่ี 3. ช่วยพฒั นาดา้ นทศั นคติ ค่านิยม ความสนใจ ตลอดถึงความสามารถในการดาเนินชีวติ ในสงั คม 4. ช่วยตอบสนองความตอ้ งการพ้นื ฐานของบุคคล 5. ช่วยพฒั นาทางดา้ นสานึกในความรับผดิ ชอบของสมาชิกที่มีต่องานของส่วนรวม

องค์ประกอบของพลวตั กลุ่ม

องค์ประกอบของ พลวตั กล่มุ การแบ่งงานและการ การจดั สรร มอบหมายงาน ผลประโยชน์

1. การแบ่งงานและการมอบหมายงาน หมายถึง การกาหนดหนา้ ท่ีการทางานใหส้ มาชิกในกลุ่มไดป้ ฏิบตั ิตาม ความจาเป็นและเหมาะสม เพือ่ ใหง้ านน้นั สาเร็จลุล่วงลงไปตามเป้ าหมาย ที่ได้ กาหนดไว้ การทางานกลุ่มจะสาเร็จไดด้ ว้ ยดี จาเป็นตอ้ งมีการแบ่งงานใหล้ ะเอียด ตามความเหมาะสมของรูปงานก่อนท่ีจะทาการมอบหมายใหแ้ ต่ละฝ่ ายนาไปปฏิบตั ิ หลงั จากน้นั จึงนาเอาผลงานกลบั มารวมกนั เป็นผลงานของกลุ่ม

หลกั ในการมอบหมายงาน • มอบหมายงานใหต้ รงกบั ความรู้ความสามารถของผปู้ ฏิบตั ิงาน • กาหนดรายละเอียดเก่ียวกบั ขอบเขตของงานท่ีมอบหมายใหช้ ดั เจน • ผปู้ ฏิบตั ิตอ้ งเขา้ ใจถึงข้นั ตอนและวธิ ีการปฏิบตั ิงานอยา่ งถอ่ งแท้ • ผปู้ ฏิบตั ิจะตอ้ งมองเห็นการเช่ือมโยงระหวา่ งงานท่ีตนรับผดิ ชอบ กบั งานของเพอ่ื นสมาชิก ในกลุม่ วา่ มีความสัมพนั ธ์กนั อยา่ งไร • การมอบหมายงาน ควรกระทาอยา่ งเป็นทางการ โดยการประกาศใหเ้ พอ่ื นสมาชิกในกลุ่มได้ รับทราบถึงหนา้ ที่ของความรับผิดชอบในงานน้นั โดยทว่ั กนั

2. การจัดสรรผลประโยชน์ หมายถึง การจดั สรรส่ิงจูงใจเพอื่ เป็นการกระตุน้ ใหส้ มาชิกในกลุ่มไดร้ ่วมกนั ปฏิบตั ิงานในหนา้ ท่ีท่ีรับผิดชอบอยา่ งเตม็ ความสามารถ การจดั สรรผลประโยชน์อาจกระทาในรูปของการแบ่งสรรทางดา้ นวตั ถุ เช่น การข้ึนเงินเดือน โบนสั พิเศษ กไ็ ดห้ รือทางดา้ นนามธรรมกไ็ ด้ เช่น การประกาศชื่อเสียง เกียรติยศ การ ประกาศคุณงามความดี เป็นตน้ ***ตอ้ งกระตุน้ ใหท้ ุกคนอยากทางานร่วมกนั และร่วมมือกนั ทางานจนงานน้นั สาเร็จอีก ประการหน่ึง และจะตอ้ งกระทาอยา่ งทวั่ ถึง และมีความเป็นธรรม***

ข้นั ตอนของพลวตั กล่มุ

ข้ันตอนของพลวตั กลุ่ม 1. • คน้ หาปัญหา (Problem Identification) 2. • รวบรวมขอ้ มลู (Data Gathering) 3. • วเิ คราะห์ขอ้ มลู (Diagnosis) 4. • วางแผนงาน (Planning) 5. • การดาเนินงาน (Implementing) 6. • การประเมินผล (Evaluating)

1. ค้นหาปัญหา (Problem Identification) • เป็นข้นั ตอนแรกของการทางาน คือ พยายามคน้ หาวา่ ปัญหาคืออะไร สาเหตุมาจากอะไร อาจใชแ้ บบฟอร์ม เพื่อช่วยในการคน้ หาปัญหา

2. รวบรวมข้อมูล (Data Gathering) • สมาชิกในทีมงานร่วมกนั เกบ็ และรวบรวมขอ้ มลู โดยพยายามหาขอ้ มูลท่ีเท่ียงตรงและแม่นยา มากที่สุด เพอื่ ท่ีจะไดค้ น้ พบถึงสาเหตุท่ีแทจ้ ริงของปัญหา การรวบรวมขอ้ มลู อาจทาไดโ้ ดย การสมั ภาษณ์ การใชแ้ บบสอบถามหรือการประชุมตามความเหมาะสมของหน่วยงาน

3. วเิ คราะห์ข้อมูล (Diagnosis) • หลงั จากท่ีไดข้ อ้ มลู แลว้ ใหท้ ีมงานช่วยกนั วินิจฉยั ขอ้ มูลและสรุปตามความสาคญั โดยอาจ แบ่งปัญหาเป็ น • - ปัญหาที่สามารถแกไ้ ขได้ • - ปัญหาท่ีผอู้ ่ืนหรือหน่วยงานอื่นควรแกไ้ ข • - ปัญหาท่ีแกไ้ ขไม่ไดเ้ ลย • หลงั จากน้นั ใหพ้ ยายามหาวา่ ปัญหาเหล่าน้ี มีผลตอ่ ประสิทธิภาพในการทางานของทีมงาน หรือไม่เพยี งไร

4. วางแผนงาน (Planning) • ทีมงานร่วมแรงร่วมใจกนั วางแผนเพื่อแกป้ ัญหามีการระดมความคิดในการ วางแผนและการวางแผนตอ้ งกระทาอยา่ งรัดกมุ ในกรณีที่สมาชิกขาดทกั ษะใน การวางแผนและแกไ้ ขปัญหาร่วมกนั สมาชิกจาเป็นที่จะตอ้ งไดร้ ับการฝึกอบรม เพ่ือเสริมสร้างทกั ษะ และประสบการณ์เก่ียวกบั การวางแผน โครงการและการ ทางานเป็ นทีม

5. การดาเนินงาน (Implementing) • เป็นข้นั ตอนท่ีนาเอาแผนงานท่ีวางไวไ้ ปดาเนินการ ซ่ึงหวั หนา้ ทีมงานควรจะเป็น ผรู้ ับผดิ ชอบ เพราะถา้ หวั หนา้ ไม่รับผดิ ชอบต่อแผนงานที่วางไวแ้ ลว้ สมาชิกอาจ ไม่ใหค้ วามร่วมมือเท่าท่ีควร

6. การประเมนิ ผล (Evaluating) • หลงั จากท่ีไดด้ าเนินงานตามแผนงานท่ีวางไวแ้ ลว้ หวั หนา้ ทีมมีหนา้ ท่ีจะตอ้ งติดตามและ ประเมินผลงานวา่ มีปัญหาอะไรในการดาเนินการ ทีมงานไดด้ าเนินงานตามจุดประสงคท์ ่ีวาง ไวห้ รือไม่เพียงไร มีขอ้ ใดท่ีตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ขและหวั หนา้ ทีมควรฝึกใหส้ มาชิกสามารถ ประเมินผลงานไดด้ ว้ ยตนเอง

ทกั ษะในพลวตั กล่มุ

1. ทกั ษะส่วนบุคคล (Individual Skill)  ทกั ษะในการติดต่อส่ือสาร  ทกั ษะในการปฏิสมั พนั ธ์  ทกั ษะในการเป็นผนู้ า  ทกั ษะในการแกไ้ ขความขดั แยง้

2. ทกั ษะของกลุ่ม (Collective Skill)  ทกั ษะในการสร้างความร่วมมือ  ทกั ษะในการแกป้ ัญหาดว้ ยทีมงาน  ทกั ษะในการสร้างความเห็นพอ้ งตอ้ งกนั ซ่ึงเป็นทกั ษะการตดั สินใจของทีมงานท่ีมี ประสิทธิภาพสูงกวา่ วธิ ีอื่นๆ

กระบวนการของพลวตั กล่มุ

กระบวนการของพลวตั กล่มุ 1. • ระยะก่อนการร่วมกลุ่ม (Pre group Stage) 2. • ระยะเริ่มแรก (Initial Stage) 3. • ระยะหวั เล้ียวหวั ต่อ (Transition Stage) 4. • ระยะที่กลุ่มปฏิบตั ิงานร่วมกนั (Working Stage) 5. • ระยะสุดทา้ ย (Final Stage) 6. • ระยะภายหลงั ท่ีกลุ่มสิ้นสุด (Post group Stage)

1. ระยะก่อนการร่วมกล่มุ (Pre group Stage)  สมาชิกควรทราบเรื่องราวเก่ียวกบั กลุ่ม โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เร่ืองที่จะมีผลกระทบต่อสมาชิกโดยตรง  สมาชิกจาเป็นตอ้ งเรียนรู้วธิ ีการในการเลือกผนู้ ากลุ่ม เพือ่ ใหไ้ ดผ้ นู้ าที่มีคุณสมบตั ิเหมาะสมกบั ลกั ษณะของกลุม่  สมาชิกจาเป็นตอ้ งมีอิสระในการตดั สินใจท่ีจะร่วมหรือแยกออกจากกลุม่  สมาชิกตอ้ งเตรียมตวั สาหรับการเขา้ ร่วมกลุม่ ท่ีกาลงั จะเริ่มตน้ ข้ึน โดยคาดหวงั ไวว้ า่ จะใหอ้ ะไรและ จะไดร้ ับประสบการณ์ทางดา้ นใดจากกลุ่ม และจะทาใหค้ วามตอ้ งการน้นั บรรลุเป้ าหมายไดอ้ ยา่ งไร  สมาชิกควรไดร้ ับการทดสอบเป็นเบ้ืองตน้ ซ่ึงการทดสอบน้นั อาจกระทาโดยใชแ้ บบทดสอบ มาตรฐาน หรือเคร่ืองมือท่ีผนู้ าออกแบบเพอ่ื ใชป้ ระเมินผลทางดา้ นทศั นคติ คา่ นิยม การมองโลก ตลอดถึงปัญหาส่วนตวั ของสมาชิก

2. ระยะเร่ิมแรก (Initial Stage) เป็นระยะของการช้ีแจงวตั ถุประสงค์ และกาหนดโครงสร้างของกลุ่ม สมาชิกตอ้ งพยายามทา ตนเองใหเ้ ป็นท่ีรู้จกั ภายในกลุ่ม พยายามเขา้ มามีส่วนร่วมในการสร้างบรรทดั ฐานของกลุ่ม พยายามสร้างเป้ าหมายเฉพาะอยา่ งของตนใหส้ อดคลอ้ งกบั เป้ าหมายของกลุ่ม เรียนรู้รูปแบบ การเขา้ กลุ่ม  บทบาทผนู้ า คือ ปฐมนิเทศสมาชิกและสารวจท่าทีของกลุ่มไปพร้อมกนั อธิบายใหส้ มาชิก เขา้ ใจทกั ษะพ้ืนฐานในการทางานร่วมกนั จดั แบ่งหนา้ ท่ีและมอบหมายความรับผดิ ชอบให้ ชดั เจน ประเมินความตอ้ งการของกลุ่ม และพยายามหาทางสนองความตอ้ งการ

3. ระยะหัวเลยี้ วหัวต่อ (Transition Stage)  บทบาทที่สาคญั คือ การท่ีสมาชิกรับรู้และขจดั แรงตา้ นที่แสดงออกในรูปแบบต่างๆ สมาชิกควร เรียนรู้วธิ ีการโตแ้ ยง้ กลุ่ม ใชก้ ิริยา ท่าทางตลอดจนคาพดู ในเชิงสร้างสรรค์ เผชิญปัญหาที่เกิดข้ึนใน กลุ่มดว้ ยความเตม็ ใจ มากกวา่ ท่ีจะหลบหนีปัญหา  ผนู้ ากลุ่ม ตอ้ งนาตวั เองเขา้ ไปแทรกในกลุม่ ดว้ ยความรวดเร็วและทนั เวลา งานหลกั คือ ตอ้ งชกั ชวน สมาชิกใหห้ นั เผชิญหนา้ กบั ปัญหา เพอ่ื ร่วมแกไ้ ขขอ้ ขดั แยง้ ความวติ กกงั วลและความสบั สนท่ี เกิดข้ึน

4. ระยะทกี่ ล่มุ ปฏบิ ัตงิ านร่วมกนั (Working Stage)  จะเป็นช่วงของการคน้ หาบางสิ่งบางอยา่ งที่มีความหมายสาหรับสมาชิก เพอ่ื ใหข้ ้นั ตอนการ ปฏิบตั ิงานบรรลุผล  ผนู้ ากลุม่ ตอ้ งพยายามแสดงพฤติกรรมที่เป็นแบบอยา่ งท่ีดีแก่กลุม่ ตอ่ ไป ใหก้ ารสนบั สนุน และการโตแ้ ยง้ ในกลุ่มซ่ึงจะตอ้ งดแู ลใหด้ าเนินไปอยา่ งเหมาะสม

5. ระยะสุดท้าย (Final Stage)  สมาชิกจะรู้สึกอาลยั อาวรณ์ที่จะตอ้ งแยกจากกนั งานหลกั ของสมาชิก คือ รวบรวมความรู้ และประสบการณ์ที่ไดร้ ับจากกลุ่ม รับรู้ความรู้สึกท่ีตอ้ งแยกจากกนั และการสิ้นสุดกลุม่ สะสางเรื่องราวท่ีคา้ งอยใู่ หเ้ สร็จ เช่น เร่ืองที่เก่ียวกบั สมาชิกในกลุ่ม เร่ืองที่เพอื่ นสมาชิกนาเขา้ มาประชุมในกลุ่ม  ผนู้ าจดั โครงสร้างท่ีเอ้ือประโยชน์ใหส้ มาชิกไดเ้ ขา้ ใจถึงประสบการณ์ที่ไดร้ ับมา และช่วยให้ สมาชิกสามารถนาความรู้ที่ไดไ้ ปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั วดั และประเมินผลเมื่อกลุ่มสิ้นสุดลง เพ่ือทราบถึงความสาเร็จของกลุ่มและการพฒั นาสมาชิก

6. ระยะภายหลงั ทกี่ ลุ่มสิ้นสุด (Post group Stage)  สมาชิกนาความรู้ที่ไดจ้ ากกลุ่ม ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในชีวิตประจาวนั และเขา้ ร่วมการประชุมติดตามผลซ่ึงอาจจดั ข้ึนตามม  ผนู้ ากลุ่มตอ้ งติดตามผลและประเมินผล พฒั นารูปแบบหรือวธิ ีการบางอยา่ ง สาหรับใชใ้ นการประเมินผลกลุ่ม ใหค้ าปรึกษาเป็นการส่วนตวั แก่สมาชิก ในกรณี ที่สมาชิกตอ้ งความช่วยเหลือ

มคี าถามไหมคะ

กจิ กรรมกลุ่ม คาช้ีแจง ใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมกลุม่ จากเน้ือหาที่เรียนดงั น้ี. กิจกรรมท่ี 1 ใหน้ กั ศึกษาแต่ละกลุม่ (10 กลุ่ม) ระดมความคิดจากเน้ือหาที่ไดศ้ ึกษาทา กิจกรรมร่วมกนั ภายในกลุม่ โดยใชว้ ธิ ีการจดั ประชุมกลุ่มยอ่ ย ตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี • การจดั ทาโครงการพิธีสาเร็จการศึกษา • การจดั กิจกรรมรับนอ้ ง • การจดั ทาโครงการเขา้ ค่ายคุณธรรม • การจดั ทาโครงจิตอาสา กิจกรรมท่ี 2 ใหก้ ลุ่มแสดงบทบาทสมมติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook