Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอ่านเพื่อการพัฒนาตน

การอ่านเพื่อการพัฒนาตน

Published by saithip, 2020-10-04 00:04:39

Description: การอ่านเพื่อการพัฒนาตน

Search

Read the Text Version

การอ่านเพื่อการพัฒนาตน

การอา่ นเป็นทางเลือกหน่ึงของการแสวงหา ความรู้ การอ่านหนงั สือมีความสาคญั ต่อความนึก คิดของคนท่ีรอบรู้ มกั จะเป็นผมู้ ีนิสยั รักการอา่ น ซ่ึง มกั หาความรู้จากการอ่านไดจ้ ากหนงั สือหลาย ประเภท การอา่ นดา้ นน้ีจะช่วยพฒั นาใหม้ ี สติปัญญาเพิม่ ข้ึน สามารถปรับตวั เขา้ กบั สิ่งแวดลอ้ มและอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ความรู้ท่ีไดจ้ ากการอา่ นแบ่งไดด้ งั น้ี

๑) ความรู้เก่ียวกบั เหตุการณ์ชีวติ ประจาวนั มกั หาอ่านไดจ้ าก หนงั สือพมิ พร์ ายวนั รายสปั ดาห์ ฯ ซ่ึงจะเสนอเรื่องราวหลายดา้ น เช่น เหตุการณ์บา้ นเมือง สงั คม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี ขา่ วในหนงั สือพิมพจ์ ะ แบ่งเป็น พาดหวั ข่าว ซ่ึงมกั พิมพด์ ว้ ยตวั หนาใหญ่ เพอื่ ใหเ้ ด่นและสะดุดตา ผอู้ ่าน ใหผ้ อู้ ่านพจิ ารณาวา่ สนใจข่าวน้นั เป็นพิเศษหรือไม่ และยงั มีตวั ข่าว ประกอบดว้ ยส่วนสาคญั คือ วรรคนาเป็นส่วนสรุปขา่ วหรืออาจนา จุดสาคญั ของขา่ วมานาเสนอและเน้ือขา่ ว เป็นการนาเสนอรายละเอียดของ ข่าว การอ่านข่าวควรพจิ ารณาก่อนจะตดั สินใจเช่ือ โดยอาจใชก้ าร เปรียบเทียบข่าวเรื่องเดียวกนั จากหนงั สือพมิ พห์ ลายฉบบั รวมท้งั ใชด้ ุลย พนิ ิจและไตร่ตรองใหด้ ีดว้ ย

๒) ความรู้เรื่องสุขภาพอนามัย ซ่ึงความรู้ในด้านนีม้ ี ความจาเป็ น และสาคญั ต่อการดารงชีวติ อาจหาอ่านได้จาก นิตยสาร วารสาร หนงั สือพมิ พ์ จุดประสงค์ในการอ่านเพ่ือ พฒั นาตนเองด้านความรู้เกยี่ วกบั สุขภาพอนามัย จะทาให้ผู้อ่าน ได้ทราบวธิ ีการดูแลรักษาโรคภูมิแพ้ผวิ หนัง ซ่ึงสามารถนามา ปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้

๓) ความรู้ทว่ั ไป เป็ นการอ่านตามความสนใจ โดยทวั่ ไปมี ลกั ษณะทห่ี ลากหลาย การอ่านพฒั นาตนเองในด้านความรู้ทว่ั ไป ซ่ึง เป็ นความรู้เกย่ี วกบั ข้าวของเคร่ืองใช้ในครัวสมัยโบราณทม่ี ี ความสัมพนั ธ์กบั ผู้ใช้ ซึ่งให้ความรู้เกยี่ วกบั ความเป็ นมาใน ประวตั ิศาสตร์ ผู้อ่านเองสามารถทจี่ ะค้นคว้าความรู้อื่นเพมิ่ เติมได้ และทาให้เป็ นผู้รอบรู้ในเร่ืองต่างๆ ด้วย

การอา่ นเพ่อื พฒั นาตนเอง มีหลกั อยู่ ๓ ประการ คือ ๑. พฒั นาตนเองดา้ นความรู้ ๒. พฒั นาตนเองดา้ นอารมณ์ ๓. พฒั นาตนเองดา้ นคุณธรรม

การอา่ นเพ่อื พฒั นาตนในด้านอารมณ์

การอ่านเพื่อพัฒนาตนในด้านอารมณ์ การอ่านเพ่ือพฒั นาอารมณ์เกดิ จากการรับสารหลายชนิด บางคร้ังอาจเกดิ ขึน้ โดยผู้อ่านไม่รู้เนื้อรู้ตัว เช่น การอ่านนวนิยายทท่ี า ให้ผู้อ่านสนุกสนานเพลดิ เพลนิ ผ่อนคลายจากความตงึ เครียด กถ็ ือว่า เป็ นการพฒั นาอารมณ์ในระดับหน่ึง เช่น การอ่านบทร้อยแก้วทีท่ าให้ เห็นภาพอนั งดงามของบรรยากาศในยามเช้า ผู้อ่านกจ็ ะได้ความรู้สึก สงบ อบอ่นุ และสดช่ืนแจ่มใส ก่อให้เกดิ อารมณ์ร่วมไปกบั ผู้เขียนด้วย น่ีกแ็ สดงว่าการอ่านแนวนีส้ ามารถปรับเปลยี่ นความรู้สึกให้ผ้อู ่าน คล้อยตามได้ จงึ นับเป็ นการอ่านเพ่ือพฒั นาทางด้านอารมณ์

ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ คือ ความสามารถทาง อารมณ์และการดาเนินชีวติ อยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมีความสุข การ รู้จกั ความฉลาดทางอารมณ์ของตนเอง เพ่อื การพฒั นา และการใช้ ศกั ยภาพตนเองในการดาเนินชีวิตครอบครัว การทางานและการอยู่ ร่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมีความสุขและประสบความสาเร็จ หรือที่ เรียกวา่ อีคิว (Emotional Quotient)

อีคิว (Emotional Quotient) หมายถึง ความฉลาดทาง อารมณ์ เป็นความสามารถในการรับรู้และเขา้ ใจอารมณ์ท้งั ของตวั เองและของ ผอู้ ื่น ตลอดจนสามารถปรับหรือควบคุมไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั สภาพการณ์ ไอคิว (Intelligence Quotient) หมายถึง ความฉลาดทางเชาว์ ปัญญา การคิด การใชเ้ หตผุ ล การคานวณ การเช่ือมโยง)

คุณค่าของการอ่านดา้ นการพัฒนาอารมณ์ ๑) คุณคา่ ทางอารมณ์หนงั สือท่ีใหค้ ุณค่าทางอารมณ์ ไดแ้ ก่ วรรณคดีท่ีมี ความงามท้งั ถอ้ ยคา น้าเสียง ลีลาในการประพนั ธ์ ตลอดจนความงามในเน้ือหา อาจ เรียกไดว้ า่ มี “รส” วรรณคดีซ่ึงตาราสนั สกฤต กล่าววา่ มีรส ๙ รส ไดแ้ ก่ รสแห่ง ความรักหรือความยนิ ดี, รสแห่งความร่ืนเริง, รสแห่งความสงสาร, รสแห่งความ เกร้ียวกราด, รสแห่งความกลา้ หาญ, รสแห่งความน่ากลวั หรือทุกขเวทนา, รสแห่ง ความเกลียดชงั , รสแห่งความประหลาดใจ และรสแห่งความสงบสนั ติในวรรณคดี ไทย ซ่ึงแบ่งเป็น ๔ รส คือ เสาวจนี การชมความงาม, นารีปราโมทย์ การแสดงความ รัก, พิโรธวาทงั การแสดงความโกธรแคน้ และสลั ลาปังคพิไสย หมายถึงการคร่า ครวญ โดยปกติหนงั สือที่มิใช่ตาราวชิ าการมกั แทรกอารมณ์ไวด้ ว้ ยไม่มากกน็ อ้ ย เพือ่ ใหม้ ีความน่าอ่านและสนองอารมณ์ของผอู้ ่านในดา้ นต่างๆ นน่ั เอง

๒) คุณค่าทางสติปัญญา หนงั สือที่ดีมีคุณคา่ ยอ่ มใหค้ ุณคา่ ทางดา้ น สติปัญญา อนั ไดแ้ ก่ ความรู้และความคิดเชิงสร้างสรรค์ มิใช่ความคิดในเชิง ทาลายความรู้ในที่น้ีนอกจากความรู้ทางวชิ าการแลว้ ยงั รวม ถึงความรู้ทาง การเมือง สงั คม ภาษา และส่ิงต่าง ๆ อนั เป็นประโยชน์แก่ผอู้ ่านเสมอ แมจ้ ะ หยบิ หนงั สือมาอ่านเพียงไม่นาน ผอู้ ่านกจ็ ะไดร้ ับคุณคา่ ทางสติปัญญาไม่ดา้ นใด กด็ า้ นหน่ึงหนงั สืออาจจะ ปรากฏในรูปของเศษกระดาษถุงกระดาษ แต่กจ็ ะให้ บางส่ิงบางอยา่ งแก่ผอู้ ่านบางคร้ังอาจช่วยแกป้ ัญหาท่ีคิดไม่ตกมาเป็นเวลานาน ท้งั น้ียอ่ มสุดแต่วิจารณญาณและพ้ืนฐานของผอู้ ่านดว้ ยบางคนอาจมองผา่ นไป โดย ไม่สนใจแต่บางคนอาจมองลึกลงไปเห็นคุณค่าของหนงั สือน้นั เป็นอยา่ งยง่ิ คุณค่า ทางสติปัญญาจึงมิใช่ข้ึนอยกู่ บั หนงั สือเท่าน้นั หากข้ึนอยกู่ บั ผอู้ ่านดว้ ย

๓) คุณค่าทางสงั คม การอ่านเป็นมรดกทางวฒั นธรรมท่ีสืบต่อ กนั มาแต่เป็นโบราณกาล หากมนุษย์ ไม่มีนิสยั ในการอ่าน วฒั นธรรมคง สูญสิ้นไป ไม่สืบทอดมาจนบดั น้ี วฒั นธรรมทางภาษา การเมือง การ ประกอบอาชีพ การศึกษา กฎหมาย ฯลฯ เหล่าน้ีอาศยั หนงั สือและการ อ่านเป็นเครื่องมือในการเผยแพร่และพฒั นาใหค้ ุณ คา่ แก่สงั คม นานปั การ หนงั สืออาจทาใหก้ ารเมืองเปล่ียนแปลงไปไดห้ ากมีคนอ่าน เป็นจานวนมาก หนงั สือและผอู้ ่าน จึงอาศยั กนั และกนั เป็นเคร่ืองสืบ ทอดวฒั นธรรมของมนุษย์

ในสงั คมท่ีเจริญแลว้ จะเห็นไดว้ า่ ในกลุ่มคนที่ไม่มีภาษาเขียน ไม่ มีหนงั สือไม่มีการอ่านวฒั นธรรมของสังคมน้นั มกั ลา้ หลงั ปราศจากการ พฒั นา การอ่านจึงใหค้ ุณคา่ ทางสงั คมในทุกดา้ น เช่น คุณคา่ ดา้ นการอ่าน สะกดคา การอ่านในใจเรามกั ไม่คานึงถึงการสะกดคา เพราะมุ่งอ่าน เน้ือความอยา่ งรวดเร็วแต่ในการอ่านออกเสียงน้นั การสะกดคา มี ความสาคญั เป็นอยา่ งยงิ่ ผอู้ ่านจาเป็นตอ้ งอ่านใหถ้ ูกตอ้ งตามพจนานุกรม หรือการอ่านช่ือเฉพาะในพจนานุกรมราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ กาหนดคาอ่านไวโ้ ดยอาศยั การเทียบแนวภาษาเดิมท่ีเป็นคาบาลีสนั สกฤต หรือคาท่ีอ่านตามความนิยมมาจนเป็นท่ียอมรับทวั่ ไปกอ็ นุโลมใหอ้ ่านได้ เป็นบางกรณี แต่ไม่ใช่จะอ่านตามความสะดวกไดเ้ สมอไป การแสดง ตวั อยา่ งจึงเป็นแนวทางในการอ่านและเพ่อื ใหเ้ กิดความระมดั ระวงั ในการ อ่านคาอื่น หากคาใดไม่แน่ใจใหผ้ อู้ ่านเปิ ดดูคาอ่านในพจนานุกรมได้

การอา่ นเพ่อื พฒั นาตนในดา้ นคณุ ธรรม

คุณธรรมเป็นเคร่ืองกากบั จิตใจมนุษยใ์ หป้ ฏิบตั ิใหส้ ิ่งที่ดีงาม ถูกตอ้ งทาใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข คุณธรรมประกอบดว้ ยความรู้ ความคิดและอารมณ์ท่ีช่วยขดั เกลาจิตใจให้ ปราณีตข้ึน ทาใหค้ นเรามีสติปัญญาและมีวจิ ารณญาณในการตดั สินดีชว่ั ถูกผดิ ซ่ึงจะจะช่วยยกระดบั จิตใจใหส้ ูงข้ึน งานเขียนท่ีจะช่วยยกระดบั จิตใจใหส้ ูงข้ึน งานเขียนจะช่วยในการพฒั นาคุณธรรมใหผ้ อู้ ่านมี มากมาย อาจหาอ่านไดจ้ ากหนงั สือธรรมะ คตินิยม บทร้อยกรอง นิทาน สุภาษิต หรืออาจแทรกอยใู่ นบทความ เร่ืองส้นั นวนิยาย เช่น การอ่าน ร้อยกรองท่ีมีสารซ่ึงใหค้ วามจรรโลงใจและขอ้ คิดแก่ผอู้ ่านเกี่ยวกบั การมี คุณธรรมในการดาเนินชีวิตน้นั ทาใหผ้ อู้ ่านไดใ้ ชว้ ิจารณญาณพิจารณาส่ิง ที่อ่านแลว้ นามาใชใ้ หป้ ระโยชนแ์ ก่ตนและสงั คม การอ่านเพื่อพฒั นา ตนเองในดา้ นคุณธรรมสนบั สนุนใหม้ ีการประพฤติปฏิบตั ิในทางท่ีดีงาม เพ่ือใหม้ นุษยอ์ ยรู่ ่วมกนั ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข

คุณธรรม คือ หลกั ของความดี ความงาม ความถูกตอ้ งและคุณภาพของบุคคลท่ีควรยดึ มนั่ ไวเ้ ป็นหลกั ประจาใจในการประพฤติใหเ้ ป็นนิสยั ส่วนคาวา่ จริยธรรม คือ ธรรมะ ส่ิงดีงามท่ีควร ประพฤติปฏิบตั ิ ดงั น้นั คุณธรรมเนน้ ที่สภาพหรือ คุณลกั ษณะท่ีแสดงออกวา่ ดีงาม ส่วนจริยธรรม เนน้ ท่ีการประพฤติที่ดีงาม

การปลูกฝังตนเองใหร้ ักการอ่าน ๑) อ่านตามความสนใจ โดยเร่ิมอ่านจากเรื่องที่ตวั เอง ชอบและสนใจจาทาใหอ้ ่านหนงั สือไดโ้ ดยไม่เบ่ือ เราอาจ เร่ิมตน้ อ่านจากเรื่องส้นั ๆ ไม่ยาวมาก มีภาพประกอบ โดยอาจ เร่ิมจากการอา่ นนิทาน เร่ืองส้นั หรือ เรื่องที่จบภายในตอน เดียว ถา้ เรามีทศั นคติท่ีดีต่อการอา่ นกจ็ ะอา่ นไดต้ ่อเนื่อง

การปลูกฝงั ตนเองใหร้ กั การอ่าน ๒) อ่านให้สม่าเสมอ การอ่านอยา่ งสม่าเสมอเป็นบนั ได ข้นั แรกของผทู้ ี่รักการอ่านเพราะจะตอ้ งอ่านจนเป็นนิสยั ทนั ทีท่ี วา่ งจากหนา้ ท่ีที่ทาในชีวติ ประจาวนั ผอู้ ่านกส็ ามารถหยบิ หนงั สือ ข้ึนมาอา่ นได้ ถา้ เราสามารถอ่านไดส้ ม่าเสมอและ

การปลูกฝงั ตนเองให้รักการอา่ น ๓) ควรมีนสิ ัยรักการอ่านให้ไดส้ ติปัญญา ผอู้ ่านจะ ไดร้ ับความรู้ ความเพลิดเพลิน ขอ้ คิด คุณธรรมท่ีแฝงอยจู่ าก เรื่องที่อา่ นรวมถึงไดพ้ ฒั นาอารมณ์ของตนเอง ก่อใหเ้ กิดการ พฒั นาผอู้ า่ นในทางที่ดี ฉะน้นั หนงั สือท่ีดีกเ็ ปรียบเสมือนวา่ เราไดพ้ บขมุ ทรัพยท์ างปัญญานนั่ เอง

การอ่านเพื่อพฒั นคุณธรรมแบ่งได้ดังน้ี ๑) การอ่านวินิจ หมายถึง การดูอยา่ งต้งั ใจ เอาใจใส่อยา่ งถี่ถว้ น สาร หมายถึง ใจความสาคญั ของขอ้ ความท่ีผเู้ ขียนตอ้ งการที่จะส่ือมายงั ผอู้ ่าน การวนิ ิจฉยั สาร หมายถึง การวเิ คราะห์ขอ้ ความ การจบั ใจความ และการตีความ ซ่ึงจะใชว้ ธิ ีการใดวิธีใดวิธีหน่ึงหรือมากกวา่ หน่ึงวธิ ีกไ็ ด้ ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะของขอ้ ความ

การอ่านเพื่อพฒั นคุณธรรมแบ่งได้ดังน้ี ๒) การวิเคราะห์ขอ้ ความ หมายถึง การพจิ ารณาแยกองคป์ ระกอบต่าง ๆ ท่ี ปรากฏหรือมีอยใู่ นงานเขียนเร่ืองหน่ึง ๆ วา่ มีลกั ษณะอยา่ งไร มีคุณค่าอยา่ งไร หรือมีขอ้ ควรสงั เกตอยา่ งไรบา้ ง ผอู้ ่านตอ้ งแยกแยะใหอ้ อกวา่ ก่อนวา่ ขอ้ ความที่ อ่านน้นั ผเู้ ขียนตอ้ งการสื่อขอ้ เทจ็ จริงหรือสื่อความรู้สึกนึกคิด ใหผ้ อู้ ่านทราบ เก่ียวกยั การส่ือขอ้ เทจ็ จริง คือ การบอกใหร้ ู้ถึงสิ่งใดส่ิงหน่ึง หรือเรื่องใดเร่ืองหน่ึง มกั เป็นคาตอบสาหรับคาถามท่ีวา่ อะไร ใคร ที่ไหน เม่ือไร อยา่ งไร นอกจากน้ี การวเิ คราะห์ยงั เป็นการส่ือความรู้สึกนึกคิด เป็นการสื่อความรู้หรือขอ้ เทจ็ จริง ตามท่ีปรากฏ สิ่งท่ีเกิดข้ึนอาจกระทบความรู้สึกของผทู้ ่ีพบเห็น จนทาใหเ้ กิด อารมณ์สะเทือนใจไดต้ ่าง ๆ กนั เช่น รู้สึกตระหนก รู้สึกสลดใจ บางคร้ังอาจมี ความคิด ซ่ึงเกิดจากการใชส้ ติปัญญาใคร่ครวญเก่ียวกบั ส่ิงที่เกิดข้ึนน้นั ดว้ ย

การอา่ นเพื่อพฒั นคุณธรรมแบ่งได้ดังน้ี ๓) การจบั ใจความ หมายถึง การแยกแยะเร่ืองท่ีอ่านใหไ้ ดว้ า่ ส่วนใดเป็นใจความหรือขอ้ ความท่ีสาคญั ท่ีสุดและส่วนใดเป็นพลความ หรือขอ้ ความ ประกอบ การจบั ใจความจะช่วยใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจสารท่ีผเู้ ขียน ตอ้ งการสื่อไดถ้ ูกตอ้ ง

วิถีทางพัฒนาจรยิ ธรรมดว้ ยการศึกษาเรียนรู้ กระทาไดห้ ลายวิธี ดงั น้ี ๑) การศึกษาเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ดว้ ยการหาความ รู้จากการอ่านหนงั สือ เก่ียวกบั ปรัชญาศาสนา วรรณคดีท่ีมีคุณคา่ หนงั สือเกี่ยวกบั จริยธรรมทว่ั ไป และ จริยธรรมวิชาชีพ ๒) การเพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นและประสบการณ์เกี่ยวกบั คุณธรรมจริยธรรม และการคบหาบณั ฑิตผใู้ ส่ใจดา้ น จริยธรรม ๓) การเรียนรู้จากประสบการณ์ชีวติ และจากประสบการณ์ในสถานที่ ทางาน ประสบการณ์จริงเป็นโอกาสอนั ประเสริฐในการเรียนรู้จริยธรรมแห่ง ชีวติ ช่วยใหเ้ รียนรู้ไดอ้ ยา่ งลึกซ้ึงท้งั ดา้ นเจตคติและทกั ษะการแกป้ ัญหาเชิง จริยธรรม อยา่ งไรกต็ ามข้ึนอยกู่ บั ความพร้อมของบุคคล

การอา่ นเพ่อื พฒั นาตนในดา้ นความรู้

จุดประสงคข์ องการอา่ นน้นั แต่ละบุคคลมกั มี จุดประสงคข์ องตนเอง คนที่อา่ นขอ้ ความเดียวกนั อาจ มีจุดประสงคห์ รือความคิดต่างกนั โดยทวั่ ไป จุดประสงคข์ องการอา่ นมี ๓ ประการ คือ

๑) การอ่านเพอื่ ความรู้ ไดแ้ ก่ การอ่านหนงั สือประเภทตารา สารคดี วารสาร หนงั สือพมิ พ์ และขอ้ ความต่างๆ เพือ่ ใหท้ ราบเร่ืองราวอนั เป็นความรู้หรือเหตุการณ์บา้ นเมือง การอ่านเพอื่ ความรอบรู้เป็นการอ่านที่ จาเป็นที่สุดสาหรับครู เพราะความรู้ต่างๆ มกั มีการเปลี่ยนแปลงเพมิ่ เติม ตลอดเวลา แมจ้ ะไดศ้ ึกษามามากจากสถาบนั การศึกษาระดบั สูง กย็ งั มีส่ิงท่ี ยงั ไม่รู้และตอ้ งคน้ ควา้ เพ่มิ เติมใหท้ นั ต่อความกา้ วหนา้ ของ โลกขอ้ ความรู้ ต่างๆ อาจมิไดป้ รากฏชดั เจนในตารา แต่แทรกอยใู่ นหนงั สือประเภทต่างๆ แมใ้ นหนงั สือประเภทบนั เทิงคดีกจ็ ะใหเ้ กร็ดความรู้ควบคูก่ บั ความบนั เทิง เสมอ

๒) การอ่านเพือ่ ความคิดแนวความคิดทางปรัชญา วฒั นธรรม จริยธรรม และความคิดเห็นทว่ั ไป มกั แทรกอยใู่ นหนงั สือแทบทุกประเภท มิใช่หนงั สือ ประเภทปรัชญา หรือจริยธรรมโดยตรงเท่าน้นั การศึกษาแนวคิดของผอู้ ่ืน เป็น แนวทางความคิดของตนเองและอาจนามาเป็นแนวปฏิบตั ิในการดาเนินชีวติ หรือ แก้ ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตผอู้ ่านจะตอ้ งใชว้ ิจารณญาณในการเลือกนาความคิดท่ีได้ อ่านมาใชใ้ ห้ เป็นประโยชนใ์ นบางเรื่องผอู้ ่านอาจเสนอความคิดโดยยกตวั อยา่ งคน ท่ีมีความคิด ผดิ พลาดเพื่อเป็นอุทาหรณ์ใหผ้ อู้ ่านไดค้ วามย้งั คิด เช่น เร่ืองพระลอ แสดงความรักอนั ฝืนทานองคลองธรรมจึงตอ้ งประสบเคราะห์กรรมในท่ีสุด ผอู้ ่าน ที่ขาดวจิ ารณญาณมีความคิดเป็นเรื่องจูงใจใหค้ นทาความผดิ นบั วา่ ขาด ประโยชน์ ทางความคิดท่ีควรไดไ้ ปอยา่ งน่าเสียดายการอ่านประเภทน้ีจึงตอ้ งอาศยั การศึกษา และการช้ีแนะที่ถูกตอ้ งจากผมู้ ีประสบการณ์ในการอ่านมากกวา่ ครูจึง ตอ้ งใช้ วิจารณญาณในการอ่านเพือ่ ความคิดของตนเองและเพอ่ื ช้ีแนะหรือสนบั สนุน นกั เรียนใหพ้ ฒั นาการอ่านประเภทน้ี

๓) การอ่านเพ่ือความบนั เทิงเป็นการอ่านเพ่อื ฆ่าเวลา เช่น ระหวา่ ง ที่คอยบุคคลท่ีนดั หมาย คอยเวลารถไฟออก เป็นตน้ หรืออ่านหนงั สือ ประเภทบนั เทิงคดีในเวลาวา่ ง บางคนที่มีนิสยั รักการอ่านหากรู้สึก เครียดจากการอ่านหนงั สือเพอ่ื ความรู้ อาจอ่านหนงั สือประเภทเบา สมองเพื่อการพกั ผอ่ น หนงั สือประเภทที่สนองจุดประสงคข์ องการอ่าน ประเภทน้ีมีจานวนมาก เช่น เร่ืองส้นั นวนิยาย การ์ตูน วรรณคดี ประเทืองอารมณ์เป็นตน้ จุดประสงคใ์ นการอ่านท้งั 3 ประการดงั กล่าว อาจรวมอยใู่ นการอ่านคร้ังเดียวกนั กไ็ ดโ้ ดยไม่จาเป็นตอ้ งแยกจากกนั ชดั เจน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook