คานมสั การคณุ านคุ ณุ เป็นผลงานการประพนั ธข์ องพระยาศรสี นุ ทรโวหาร (นอ้ ยอาจารยางกูร) มเี น้ือหาวา่ ดว้ ยการนอ้ มราลึกและสานึกใน คณุ งามความดขี องพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บดิ ามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมงุ่ หมายใหผ้ ูอ้ า่ น โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เยาวชนไทยยดึ มน่ั ในความกตญั ญู ตอ่ ผมู้ พี ระคณุ และนาแบบอยา่ งอนั ดงี ามไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
พระยาศรีสนุ ทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกูร)
เป็นนกั ปราชญค์ นสาคญั ของไทยใน รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทา่ นไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เป็นผูร้ อบรู้ ในวชิ าภาษาไทยและไดช้ อ่ื วา่ เป็นขา้ ราชการทจ่ี งรกั ภกั ดตี อ่ พระมหากษตั ริย์ ทงั้ ยงั เป็นครูทเี่ ป่ียมดว้ ยคณุ ธรรม อุทศิ ชวี ติ เพื่อพฒั นาการศึกษาของชาตอิ กี ดว้ ย
ลกั ษณะคาประพนั ธ์ บทนมสั การมาตาปิ ตุคุณและนมสั การอาจริยคุณ เป็นคาประพนั ธ์ท่ี แต่งดว้ ยฉนั ท์ ซ่ึงเป็น อินทรวเิ ชียรฉนั ท์ ๑๑ เพื่อใหก้ ารอา่ นตวั บท ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและไพเราะ จึงจาเป็นตอ้ ง เขา้ ใจฉนั ทลกั ษณ์ของ อินทรวเิ ชยรี ฉนั ท์ ๑๑ ก่อน
ครุ (คะ-รุ) หมายถึง คาหรือพยางคใ์ นภาษาไทยท่ีมี \"เสียงหนกั \" ลหุ (ละ-หุ) หมายถึง คาหรือพยางคใ์ นภาษาไทยที่มี \"เสียงเบา\" ซ่ึงประสมดว้ ยสระเสียงส้นั ในแม่ ก กา เช่น สุ จิ ปุ ลิ ส(งบ) สะ(อาด) ส (วา่ ง) ฯลฯ ครุและลหุ มกั ใชเ้ ป็นตวั กาหนดฉนั ทลกั ษณ์ในบทร้องกรอง เช่น ฉนั ท์ กาพย์ เป็นตน้ คาในตาแหน่งลหุ ไม่ตอ้ งลงน้าหนกั (ถึงแมว้ า่ คา น้นั จะเป็นคา ครุ เม่ืออยใู่ นตาแหน่งลหุ กต็ อ้ งออกเสียงเบา
ข้าขอนบชนกคุณ ชนนีเป็ นเค้ามูล ผู้กอบนุกลู พูน ผดุงจวบเจรญวิ ยั เทียบกบั แผนผงั ครุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ครุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ
ข้าขอนบชนกคุณ ชนนีเป็ นเค้ามูล ผู้กอบนุกลู พนู ผดุงจวบเจรญวิ ยั - คาวา่ นบ, เป็น , (ผ)ดุง (ตวั สีแดง) เป็นคาครุ แต่อยใู่ น ตาแหน่ง ลหุ ตอ้ งออกเสียงเบา - คาวา่ ชน(นี) เป็นคาครุ ตอ้ งอ่านใหไ้ ด้ ๒ พยางค์ เพราะเป็น ตาแหน่งคาลหุ ชน(นี) จึงอ่านเป็น ชะ - นะ - นี ลหุ ลหุ ครุ
ในบทนมสั การคุณานุคุณทุกบท ของพระยาศรีสุนทร โวหาร สามารถใชส้ วดเป็นทานองสรภญั ญะ ทานองสวดสรภญั ญะ เป็นทานองสวดที่ไพเราะ เหมาะกบั การสวดเป็นกลุ่ม ทาใหร้ ับรู้ความงดงาม ของบทประพนั ธไ์ ด้ มากข้ึน ผา่ นทานอง และการฟังเสียง
เน้อื หาบทนมสั การมาตาปิ ตคุ ณุ มีเน้ือหากล่าวสรรเสริญพระคุณของ บิดา มารดา ที่ทะนุถนอมเล้ียงดูบุตรจนเติบโต โดยท่ีไม่เห็นแก่ความ ยากลาบาก พระคุณของบิดามารดา กวา้ งใหญ่ไพศาลเปรียบไดก้ บั ภูผาและแผน่ ดิน สุดท่ีจะทดแทนได้
บทนมสั การมาตาปิ ตคุ ณุ ข้าขอนบชนกคุณ ชนนีเป็ นเค้ามูล ผู้กอบนุกลู พูน ผดุงจวบเจริญวยั ฟูมฟักทะนุถนอม บ บาราศนิราไกล แสนยากเท่าไรไร บ คดิ ยากลาบากกาย ตรากทนระคนทุกข์ ถนอมเลยี้ ง ฤ รู้วาย ปกป้องซ่ึงอนั ตราย จนได้รอดเป็ นกายา เปรียบหนักชนกคุณ ชนนีคือภูผา ใหญ่พืน้ พสุนธรา ก็ บ เทยี บ บ เทยี มทัน เหลือทจี่ ะแทนทด จะสนองคุณานันต์ แท้บูชไนยอนั อุดมเลศิ ประเสริฐคุณ
เน้อื หาบทนมสั การอาจรยิ คณุ มีเน้ือหากล่าวสรรเสริญพระคุณของครู อาจารย์ ผเู้ ป่ี ยมดว้ ย จิตเมตตาและกรุณา ทาหนา้ ที่สง่ั สอนให้ ความรู้ในสรรพวชิ าและอบรมจริยธรรม ช้ีใหเ้ ห็นบาปบุญคุณโทษ เพื่อขจดั ความเขลาของศิษย์
คานมสั การอาจรยิ คณุ อน่ึงขา้ คานบั นอ้ ม ต่อพระครูผกู้ ารุญ โอบเอ้ือและเจือจุน อนุสาสน์ทุกสิ่งสรรพ์ ยงั บ ทราบกไ็ ดท้ ราบ ท้งั บุญบาปทุกสิ่งอนั ช้ีแจงและแบ่งปัน ขยายอตั ถใ์ หช้ ดั เจน จิตมากดว้ ยเมตตา และกรุณา บ เอียงเอน เหมือนท่านมาแกลง้ เกณฑ์ ใหฉ้ ลาดและแหลมคม ขจดั เขลาบรรเทาโม- หะจิตมืดท่ีงุนงม กงั ขา ณ อารมณ์ กส็ วา่ งกระจ่างใจ คุณส่วนน้ีควรนบั ถือวา่ เลิศ ณ แดนไตร ควรนึกและตรึกใน จิตนอ้ มนิยมชม
คุณค่าดา้ นเน้อื หา คานมัสการมาตาปิ ตุคุณ มารดาบิดาเป็นผมู้ ีพระคุณแก่เราเพราเป็นผใู้ ห้ กาเนิดและเล้ียงดูเราโดยไม่หวงั ผลตอบแทน คานมสั การอาจริยคุณ เนื่องดว้ ยครูอาจารย์ เป็นผมู้ ีพระคุณแก่เราเพราะเป็นผอู้ บรมสง่ั สอน และถ่ายทอดวิชาความรู้ใหแ้ ก่เรา
คุณค่าดา้ นกลวิธีการแต่ง การเลอื กสรรคาเหมาะกบั เน้อื เรอื่ ง การเลือกสรรคา ผปู้ ระพนั ธ์ ใชถ้ อ้ ยคาภาษาท่ีเรียบง่าย อ่านแลว้ เขา้ ใจไดท้ นั ที มีคายากนอ้ ยมากท่ีตอ้ งอ่านและแปลก่อน ไดแ้ ก่ * บูชาไนย (แผลงมาจาก ปูชนย)ี แปลวา่ ควรบูชา * คุณานนั ต์ (คุณ สมาสกบั อนนั ต)์ แปลวา่ บุญคุณมหาศาล * อนุสาสน์ แปลวา่ สงั่ สอน * แกลง้ แปลตามความหมายเดิมวา่ ต้งั ใจ
คณุ ค่าดา้ นกลวิธีการแต่ง การใช้ภาพพจน์ ผปู้ ระพนั ธ์ ใชภ้ าพพจน์เพอื่ แสดงการเปรียบเทียบ ระหวา่ ง บุญคุณของพอ่ แม่ กบั สิ่งตา่ งๆ เพอ่ื ใหเ้ ห็นถึงความสาคญั และความยง่ิ ใหญ่ ของพระคุณ ในที่น้ี ผปู้ ระพนั ธ์ไดใ้ ช้ อุปลกั ษณ์ แสดงการเปรียบเทียบ อุปลกั ษณ์ คือการเปรียบเทียบส่ิงหน่ึงเป็นสิ่งหน่ึง ท่ีมีลกั ษณะ คลา้ ยกนั หรือความหมายเหมือนกนั คาที่ใชใ้ นการเปรียบ ไดแ้ ก่ เป็น คือ ใช่ เท่า ต่าง อุปลกั ษณ์ อาจเรียกวา่ ช่ือหน่ึงวา่ การเปรียบเป็น
ตวั อยา่ งการใชอ้ ปุ ลกั ษณ์ เปรียบหนักชนกคุณ ชนนีคือภูผา ใหญ่พืน้ พสุนธรา ก็ บ่ เทยี บ บ่ เทยี มทนั เป็นการเปรียบเทียบ พระคุณของบิดา มารดา วา่ หนกั เป็นภูผา และยง่ิ ใหญ่เท่าพ้นื พสุธา
การเล่นเสยี ง เป็นความสามารถของผปู้ ระพนั ธ์ ท่ีสามารถเลือกคาท่ี มีเสียงใกลเ้ คียง สอดคลอ้ งกนั มาวางใกลก้ นั ทาใหเ้ วลาอา่ นเกิดเป็นเสียงที่ น่าฟัง ดึงดูด ความสนใจ การเล่นเสียงท่ีปรากฏในบทประพนั ธ์น้ี คือ การเล่น เสียงพยญั ชนะ การเล่นสียงสระ และการเล่นเสียงเบา – หนกั
การเล่นเสยี ง การเล่นเสียงพยญั ชนะ เมื่อมีการเลือกเสียงพยญั ชนะเดียวกนั หรือเสียงใกลเ้ คียงกนั เวลา อ่านทาใหเ้ กิดการกระทบกนั ของเสียง ก่อใหเ้ กิดความไพเราะ เช่น “ขอ้ ขอนบชนกคุณ” มีการเล่นเสียงสมั ผสั พยญั ชนะ คือ ระหวา่ งคาวา่ ขา้ , ขอ,คุณ และระหวา่ ง คาวา่ นบ, (ช)นก
การเล่นเสยี ง การเล่นเสียงสระ มีการเลือกเสียงสระท่ีเป็นเสียงเดียวกนั ทาใหเ้ วลาอ่านเกิดการ ส่งสมั ผสั นี่น่าฟัง เช่น “ตรากทนระคน ทุกข”์ มีการเล่นเสียงของคา วา่ ทน กบั (ระ)คน (สระโอะ) * บางวรรคมีท้งั การเล่นเสียงพยญั ชนะและสระ เช่น “โอบเอ้ือ และเจือจุน” มีการเล่นเสียงพยญั ชนะคือ โอบกบั เอ้ือ และ เจือกบั จุน เสียงสระ คือ เอ้ือกบั เจือ (สระเอือ)
การเล่นคา เป็นการเลือกคาที่ออกเสียงเหมือนกนั ใชค้ าอื่นแทรกลงไป ในคาเดิม ใหก้ ารออกเสียงเกิดความคมคายและมีความหมายที่ น่าสนใจ เกิดความไพเราะ ของเสียง เช่น คาวา่ เทียบเทียม นามา แยกเป็น ๒ คา นาคาวา่ บ มาแทรก ได้ เป็น บ เทียบ บ เทียม นอกจากน้ียงั มีการเล่นคาคูต่ รงขา้ ม เช่น คาวา่ บ ทราบ กไ็ ด้ ทราบ, ท้งั บุญบาปทุกส่ิงอนั
คณุ ค่าดา้ นสงั คม คุณธรรมจริยธรรม บทประพนั ธ์ที่เรียนน้ี เป็นตวั อยา่ งของการใชบ้ ท ประพนั ธ์ แทรกการสอนจริยธรรมใหก้ บั ผอู้ ่าน โดยปลูกฝังใหส้ านึกในบุญคุณ ของบิดา มารดา และบุญคุณของครูอาจารย์ ซ่ึงตอ้ งเป็นการเห็นคุณค่าของคน ใกล้ ตวั ก่อน เม่ือปฏิบตั ิเป็นประจา จะทาใหเ้ ราเห็น คุณคา่ ของคนอ่ืนดว้ ย นอกจากน้ียงั ทาใหเ้ รารู้จกั เคารพยกยอ่ งบุคคลท่ีควรเคารพ และรู้จกั การ แสดงความกตญั ญูกตเวที
กจิ กรรมทา้ ยบท ๑. การแต่งเร่ือง คานมสั การคุณานุคุณ มีจุดมุ่งหมายใด ๒. เรื่อง คานมสั การมาตาปิ ตุคุณและอาจริยคุณ เป็นคาประพนั ธ์ที่มีลกั ษณะอยา่ งไร ๓. เร่ือง คานมสั การมาตาปิ ตุคุณและอาจริยคุณ มีเน้ือหาโดยสรุปอยา่ งไร
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: