Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 7-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเครื่องราชส่งsts

7-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเครื่องราชส่งsts

Published by fahachara1270, 2021-02-14 02:34:52

Description: ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเครื่องราช

Keywords: ความรู้ทั่วไป

Search

Read the Text Version

เครอื่ งราชอิสรยิ าภรณอ์ นั เป็นทเี่ ชดิ ชูย่งิ ช้างเผือก แบ่งออกเปน็ 8 ชัน้ คือ ลาดับชั้น ชอ่ื เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ ชือ่ ย่อ ลกั ษณะเหรียญ ภาพการแต่งกาย การประดับ ชั้นสงู สดุ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ช้นั ท่ี 1 ประถมาภรณช์ ้างเผอื ก (ป.ช.) ชนั้ สงู สดุ ชนั้ ท่ี 2 ทวตี ยิ าภรณ์ชา้ งเผอื ก (ท.ช.) ชั้นที่ 1 ชน้ั ท่ี 3 ตรติ าภรณช์ ้างเผอื ก (ต.ช.) ชน้ั ที่ 2 ช้นั ที่ 4 จตั รุ ถาภรณช์ ้างเผือก (จ.ช.) ชั้นท่ี 3 ชน้ั ที่ 5 เบญจมาภรณช์ า้ งเผอื ก (บ.ช.) ชั้นที่ 4 ช้นั ที่ 6 เหรยี ญทองช้างเผือก (ร.ท.ช.) ชัน้ ท่ี 5 ช้นั ที่ 7 เหรียญเงนิ ชา้ งเผือก (ร.ง.ช.) ชนั้ ที่ 6 ชั้นสูงสุด : - มหาปรมาภรณ์ชา้ งเผือก ( ม.ป.ช.) ช้ันท่ี 7 มหาปรมาภรณ์ชา้ งเผอื ก มหาปรมาภรณช์ า้ งเผอื ก สาหรบั บรุ ุษ สาหรับสตรี

ด้านหลงั ดวงตรา มหาปรมาภรณ์ช้างเผอื กสาหรับบรุ ุษ - สตรี หลกั เกณฑก์ ารขอพระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณใ์ หแ้ กข่ ้าราชการ ลาดบั ตาแหน่ง เคร่อื งราชสริยาภรณ์ เงอ่ื นไขและ หมายเหตุ ท่ีขอพระราชทาน ระยะเวลาการเลือ่ นชัน้ ตรา 1. ระดับ 1 เร่มิ ต้นขอ - เล่ือนไดถ้ งึ 2. ระดับ 2 ขอพระราชทานได้เฉพาะกรณีพเิ ศษ เท่านัน้ 1. ตอ้ งมรี ะยะเวลารับราชการ ติดตอ่ กนั มาแลว้ ไมน่ ้อย ร.ง.ม. - ร.ท.ช. กว่า 5 ปี บรบิ รู ณ์ นบั ตงั้ แต่ วันเรมิ่ เข้ารับ ราชการ จนถงึ 3. ระดับ 3 1. เร่มิ ขอพระราชทาน บ.ม. วัน กอ่ นวัน พระราช พิธี เฉลมิ พระชนมพรรษาของปที ี่ .............. บ.ม. - บ.ช. 2. ดารงตาแหน่งระดบั 2 มาแลว้ ไม่ นอ้ ยกวา่ 5 ปีบรบิ รู ณ์ ขอ .............. บ.ช. ..ระดบั 4. จ.ม. - จ.ช. 1. ดารงตาแหน่งระดบั 3 หรอื ระดบั 4 เริม่ ตน้ ขอพระราชทาน จะขอพระราชทานไมน่ ้อยกว่า 60 วนั 4. ระดับ 5 ต.ม. - ต.ช. จ.ม. ............. ท.ม. - ท.ช. 2. ถ้าดารงตาแหน่งระดับ 3 และหรือ ระดบั 4 มาแลว้ ไม่น้อย ............. * - ป.ม. กวา่ 5 ปี บรบิ รู ณ์ ให้ขอ จ.ช. ..ระดบั 6 1. ดารงตาแหน่งระดับ 5 หรอื ระดับ 6 เรม่ิ ต้นขอพระราชทาน 2. ลาดบั 2 -5 ซง่ึ กาหนดระยะ เวลาเลื่อน ช้ันตรา 5 ปี 5. ระดับ 7 ต.ม. หมายถึง ต้องดารงตาแหน่ง ในระดบั นน้ั ๆ รวมเปน็ เวลา ............. 2. ถา้ ดารงตาแหน่งระดับ 5 และหรอื ระดบั 6 มาแลว้ ไมน่ ้อย ไม่น้อยกวา่ 5 ปี บร-ิ บรู ณ์ ก่อนวนั พระราชพิธี เฉลิมพระ ............. กวา่ 5 ปี บรบิ รู ณ์ ใหข้ อ ต.ช. ชนม พรรษาของปที ่จี ะ ขอพระราชทานไมน่ ้อยกว่า 60 ..ระดับ 8 วนั 6. ระดับ 8 1. ดารงตาแหน่งระดับ 7 หรือ ระดบั 8 ให้เรม่ิ ต้น ขอ พระราชทาน ท.ม. 2. ถา้ ดารงตาแหน่งระดับ 7 และหรือ ระดบั 8 มาแลว้ ไม่น้อย กวา่ 5 ปี บรบิ รู ณ์ ใหข้ อ ท.ช. 1. ได้รบั เงนิ เดือนเตม็ ขั้นของระดบั 8 2. ดารงตาแหน่งบงั คบั บญั ชา 3. ได้ ท.ช. มาแล้วไมน่ ้อยกว่า 5 ปบี รบิ รู ณ์ ขอ ป.ม. 4 ใหข้ อได้ในปกี ่อนท่ีจะเกษียนอายุราชการ หรอื ในปที ่ี

7. ระดบั 9 * - ม.ว.ม. เกษียณอายรุ าชการเท่านนั้ ลาดบั ท่ี 7 - 9 การขอกรณปี ที ี่ เกษยี ณอายุ ราชการ ตาม 8. ระดบั 10 * - ม.ป.ช. ข้อ 4 หรอื ข้อ 5 แลว้ แต่กรณี ใหข้ อ ปีตดิ กันได้ 9. ระดบั 11 * - ม.ป.ช. 1. ได้ ท.ช. มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ปบี รบิ รู ณ์ ขอ ป.ม. 2. ได้ ป.ม. มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 3 ปีบริบรู ณ์ ขอ ป.ช. 3. ได้ ป.ช. มาแล้วไมน่ ้อยกวา่ 5 ปบี รบิ รู ณ์ ขอ ม.ว.ม. 4. ในปที ่เี กษียณอายุราชการให้ขอสงู ข้นึ 1 ชั้นตรา แตไ่ ม่เกนิ ม.ว.ม. เว้นกรณีลาออก 1. ใหเ้ ลื่อนชน้ั ตราได้ตามลาดบั ทกุ ปจี นถึง ชั้น ป.ม. 2. ได้ ป.ม. มาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ปบี รบิ รู ณ์ ขอ ป.ช. 3. ได้ ป.ช. มาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ 3 ปบี ริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. 4. ได้ ม.ว.ม. มาแล้วไมน่ ้อยกว่า 5 ปบี ริบรู ณ์ ขอ ม.ป.ช. 5. ในปที เี่ กษียณอายุราชการให้ขอสูงขึ้น 1 ชน้ั ตรา แตไ่ ม่เกิน ม.ว.ม. เว้นกรณลี าออก 1. ได้ ป.ม. มาแล้วไมน่ ้อยกว่า 3 ปบี รบิ รู ณ์ ขอ ป.ช. 2. ได้ ป.ช. มาแล้วไม่น้อยกวา่ 3 ปบี ริบูรณ์ ขอ ม.ว.ม. 3. ได้ ม.ว.ม. มาแลว้ ไม่น้อยกว่า 3 ปบี รบิ ูรณ์ ขอ ม.ป.ช. 4. ในปีท่ีเกษยี ณอายุราชการใหข้ อสูงขนึ้ 1 ชน้ั ตรา เว้นกรณี ลาออก หลกั เกณฑก์ ารขอพระราชทานเครอ่ื งราชอิสริยาภรณใ์ ห้แก่ ลูกจ้างประจา ลาดบั ตาแหน่ง เครื่องราชสรยิ าภรณ์ เงอ่ื นไขและ หมายเหตุ ทขี่ อพระราชทาน ระยะเวลาการเล่ือนชน้ั ตรา 1. ลูกจา้ งประจา ซึง่ ไดร้ ับเงนิ ค่าจ้าง ตง้ั แต่อัตรา เร่มิ ตน้ ขอ - เล่อื นไดถ้ งึ 1. ต้องปฏิบตั ิงานติดตอ่ กันมา เป็น เงนิ เดือนขน้ั ตา่ ของ ข้าราชการพลเรือนระดับ 3 ระยะเวลา ไม่น้อยกวา่ 8 ปีบรบิ รู ณ์ แต่ไมถ่ งึ ข้นั ตา่ ของ อตั ราเงนิ เดือนขา้ ราชการ พล บ.ม. - จ.ม. 1. เริ่มขอพระราชทาน บ.ม. นับต้งั แตว่ ันเร่ิมจา้ งจน ถงึ วันก่อนวันพระ เรอื น ระดบั 6 2. ได้ บ.ม. มาแล้วไม่น้อยกวา่ 5 ปบี ริบรู ณ์ ขอ บ.ช. ราช พธิ ีเฉลิม พระชนมพรรษา ของปที ี่จะ 3. ได้ บ.ช. มาแล้วไม่น้อยกวา่ 5 ปีบริบูรณ์ ขอ จ.ม. ขอ พระราช ทานไม่น้อยกว่า 60 วนั 2. ลกู จ้างประจา ซึ่งไดร้ บั เงินค่าจา้ ง ต้ังแต่อัตรา บ.ช. - จ.ช. 1. เร่ิมขอพระราชทาน บ.ช. 2. ตอ้ งเปน็ ลกู จา้ งประจา ของส่วน เงินเดอื น ข้ันตา่ ของ ข้าราชการพลเรือน ระดบั 6 2. ได้ บ.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีบริบูรณ์ ขอ จ.ม. ราชการตาม ระเบียบกระทรวงการ คลังว่า ขน้ึ ไป 3. ได้ จ.ม. มาแล้วไม่น้อยกวา่ 5 ปีบรบิ รู ณ์ ขอ จ.ช. ด้วยลูกจ้างประจาของ สว่ นราชการ 3. ตอ้ งเปน็ ลกู จ้างประจาที่ มีชอ่ื และ ลักษณะงานเปน็ ลูกจา้ ง โดย ตรงหมวด ฝีมอื หรือลกู จา้ งประจา ทมี่ ชี ่อื และ ลกั ษณะ เหมอื นข้าราชการ ตาแหน่งลูกจา้ งประจา(หมวดฝีมือ) ทีม่ ชี อ่ื และลักษณะงานเหมอื นขา้ ราชการ (สงั กดั ม.ธรรมศาสตร์) ได้แก่  พนักงานขับรถยนต์  ช่างไม้  ช่างประปา  ช่างท่อ  ชา่ งไฟฟ้า  ชา่ งสายไฟฟ้า

 พนักงานพิมพบ์ ตั รรายการหนังสือ ความรทู้ วั่ ไปเกยี่ วกบั เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณไ์ ทย ความหมายของเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ เครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ คือ สิ่งซ่ึงเปน็ เครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบาเหน็จความชอบ เป็น ของพระมหากษตั ริยท์ รงสร้างข้ึนสาหรบั พระราชทานเป็นบาเหนจ็ ความชอบ ในราชการ ที่ ใช้สาหรับพระราชทานแกผ่ กู้ ระทาความดีความชอบอันเป็นประโยชน์ แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรยี ญทีร่ ะลึกท่พี ระราชทานเป็นบาเหน็จ ความชอบในโอกาสตา่ ง ๆ และที่ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหบ้ ุคคลประดบั ไดอ้ ย่างเครอื่ งราช อิสรยิ าภรณ์ ตามทที่ าง ราชการกาหนด ชนดิ ของเครื่องราชอสิ รยิ าภรณท์ ีเ่ สนอขอพระราชทานประจาปี เครื่องราชอิสริยาภรณ์ทีส่ ว่ นราชการเสนอขอพระราชทานให้แกบ่ ุคคลต่าง ๆ เป็นประจาปี ในวโรกาสพระราชพิธีเฉลมิ พระ ชนมพรรษา ประกอบดว้ ย 1. เครอ่ื งราชอิสริยาภรณอ์ นั เป็นทีเ่ ชดิ ชยู ่ิงช้างเผือก 2. เครอื่ งราชอิสริยาภรณอ์ นั มีเกยี รติยศยง่ิ มงกุฎไทย 3. เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์อันเปน็ ท่ีสรรเสรญิ ยิง่ ดิเรกคณุ าภรณ์ 4. เหรียญจักรพรรดิมาลา การเสนอขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณป์ ระจาปี ใหแ้ ก่ขา้ ราชการและลกู จา้ งประจา มหี ลักปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. ในการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณใ์ หแ้ กบ่ คุ คลใด ใหพ้ ิจารณาโดยรอบคอบว่า บุคคลนน้ั ไดก้ ระทา ความดีความชอบอนั เป็นประโยชนแ์ ก่ ราชการหรือสาธารณชนจนถึงขนาดควรไดร้ ับพระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ โดยมิใช่พิจารณาแต่เพยี งตาแหน่ง ระดบั ชั้น ชนั้ ยศ หรอื ครบกาหนดระยะเวลาทจ่ี ะขอ พระราชทานเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณไ์ ด้เทา่ น้ัน ท้ังนี้ เพ่ือให้บคุ คลทไี่ ดร้ ับพระราชทานรู้สึกภมู ิใจในเครื่องราชอิสรยิ าภรณท์ ไ่ี ดร้ บั พระราชทาน อย่างแท้จริง และเพ่ือให้ เครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์ ป็นเครื่องหมายเชดิ ชเู กยี รติอยา่ งสงู ดว้ ย การเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณใ์ ด ช้นั ตราใด แกบ่ ุคคลใด ใหเ้ ปน็ ไป ตามหลักเกณฑ์ที่ กาหนดในบญั ชที า้ ยระเบียบฯ วา่ ดว้ ยการขอพระราชทานเครอื่ งราชสริยาภรณ์ฯ พ.ศ. 2536 2. นอกจากจะพจิ ารณาคุณสมบตั ขิ องผู้ที่จะเสนอขอพระราชทานตามข้อ 1 แล้ว บคุ คลทพ่ี งึ ไดร้ ับการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอสิ รยิ าภร 2. จะตอ้ งมีคณุ สมบตั ดิ ังต่อไปนีด้ ้วย คอื - มีสญั ชาตไิ ทย  เปน็ ผู้ประพฤติดีและปฏบิ ตั งิ านราชการ หรอื ปฏบิ ัตงิ านท่ีเปน็ ประโยชนต์ ่อ สาธารณชนดว้ ยความอตุ สาหะ ซื่อสตั ย์ และเอาใจใส่ต่อ หน้าทีอ่ ยา่ งดยี ิง่ และ  เป็นผู้ไมเ่ คยมีพระบรมราชานญุ าต ให้เรียกคืนเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ หรอื ต้อง รับโทษจาคกุ โดยคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้จาคุก เวน้ แต่ เป็นโทษสาหรับความผดิ ทไี่ ด้กระทาโดย ประมาท หรอื ความผดิ ลหโุ ทษ 3. การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ จะเสนอขอปตี ดิ กนั มไิ ด้ เว้นแต่ กรณี ดังนี้ (1) เปน็ การขอพระราชทานตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในบัญชที ้ายระเบียบฯตา่ งบัญชกี นั (2) ระเบยี บกาหนดหลักเกณฑ์ไวเ้ ปน็ การเฉพาะวา่ ให้ขอพระราชทานได้ทกุ ปี (3) เปน็ การขอพระราชทานแก่ผู้กระทาความดีความชอบดเี ด่น กล่าวคอื ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ฝ่าอนั ตราย หรอื ปฏบิ ัตงิ าน นอกเหนอื หน้าท่ีเพิ่มขนึ้ เปน็ พิเศษ ซึง่ เปน็ งานสาคัญ ย่ิง และเปน็ ผลดีแก่ ราชการหรือสาธารณชน หรอื คดิ ค้นส่ิง หรือวิธีการอนั เป็นประโยชน์อยา่ งยิ่งแกป่ ระเทศชาตไิ ดเ้ ปน็ ผลสาเรจ็ โดยให้ระบคุ วามดีความชอบให้เหน็ เด่นชัดวา่ ได้กระทาความดคี วามชอบอนั เปน็ ประโยชน์ยงิ่ ประการใด เม่ือใด และไดผ้ ลดอี ย่างไร 4. การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณจ์ ะเสนอขา้ มช้ันตรามิได้ ยกเวน้ การขอพระราชทานเป็นกรณีพิเศษ ที่มีความดคี วามชอบดเี ด่น ตามข้อ 3 (3) 5. การเรมิ่ ตน้ ขอพระราชทานเครือ่ งราชอิสรยิ าภรณค์ รง้ั แรก ขา้ ราชการจะตอ้ งมรี ะยะเวลารบั ราชการตดิ ตอ่ กนั มาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 5 ปบี รบิ ูรณ์ นบั ต้ังแตว่ ันเริ่มเขา้ รบั ราชการ จนถงึ วนั กอ่ นวนั พระราชพิธเี ฉลมิ พระชนมพรรษาของปีที่ขอพระราชทานไม่นอ้ ยกว่า 60 วนั (นบั ถึง 6 ต.ค.ของปที ี่ขอ) 6. ลูกจา้ งประจาของสว่ นราชการ จะตอ้ งปฏิบตั ิงานติดตอ่ กนั มาเปน็ ระยะเวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 8 ปีบริบรู ณ์ นับต้งั แต่วนั เร่ิมจ้าง จนถงึ วนั กอ่ นวันพระราชพิธเี ฉลมิ พระ

ชนมพรรษาของปี ท่ีขอพระราชทานไมน่ อ้ ยกว่า 60 วัน (นบั ถึง 6 ต.ค.ของปีท่ีขอ) ในการนบั ระยะเวลาตามขอ้ 5 และ 6 และการนบั ระยะเวลาเพื่อเสนอขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์สาหรับ เล่ือนชนั้ ตราใหส้ ูงขน้ึ นัน้ ใหถ้ ือตามหลกั เกณฑท์ ่ี กาหนดในบัญชีท้ายระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรี วา่ ด้วยการขอพระราชทาน เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ฯ พ.ศ. 2536 หากข้าราชการหรอื ลกู จ้างประจา ถกู ลงโทษทางวินยั ในปใี ด ใหเ้ พ่มิ กาหนดระยะ เวลาการขอพระราชทานอกี 1 ปี ยกเวน้ โทษภาคทณั ฑ์ 7. ในกรณีที่ข้าราชการ ลกู จ้างประจาของสว่ นราชการ ตอ้ งพน้ จากการปฏิบัติหนา้ ที่ เพราะเกษียณอายใุ นปใี ด ใหม้ ีสิทธไิ ด้รบั การพจิ ารณาเสนอขอพระราชทาน เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ ในปที พ่ี น้ จากการปฏบิ ัตหิ น้าท่ีนั้นด้วย การเสนอขอพระราชทานใหแ้ ก่บุคคลบางประเภท (ผทู้ าคณุ ประโยชน)์ 1. การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอสิ รยิ าภรณส์ าหรบั ชาวตา่ งประเทศ ใหเ้ สนอขอ พระราชทานไดเ้ มือ่ ชาวตา่ งประเทศน้นั ได้ กระทาคุณประโยชนแ์ กป่ ระเทศไทยเปน็ อย่างยงิ่ โดย ให้กระทรวง ทบวง กรม ทไี่ ดร้ บั ประโยชน์หรอื เก่ยี วข้องมากท่ีสดุ เป็นผู้ พจิ ารณาเสนอขอพระราชทาน 2. การเสนอขอพระราชทานเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์สาหรบั ผวู้ ายชนม์ ให้กระทรวง ทบวง กรม ท่ีไดร้ บั ประโยชนห์ รือเกีย่ วข้อง มาก ทส่ี ุดเสนอขอพระราชทานไดเ้ มื่อผวู้ ายชนมไ์ ด้เคยกระทา คณุ ประโยชนเ์ ป็นอย่างยิ่ง การเสนอขอพระราชทานสาหรบั บคุ คลทั้ง 2 ประเภทนี้ จะเสนอขอตามคราวแหง่ ความชอบ และตามเหตุการณ์เป็นกรณี ๆ ไป การขอพระราชทานเหรียญจกั รพรรดมิ าลา ตามพระราชบญั ญัตเิ หรยี ญจกั รมาลาและเหรยี ญจักรพรรดมิ าลา พ.ศ. 2484 บญั ญัตใิ ห้มี เหรียญจกั รพรรดมิ าลา เพอ่ื พระราชทาน ใหแ้ ก่ข้าราชการฝา่ ยพลเรอื นที่รบั ราชการมาด้วยความ เรียบรอ้ ยเปน็ เวลาไม่น้อยกวา่ 25 ปี โดยไม่เคยได้รบั โทษทางวนิ ยั การนบั เวลา ในการขอพระราชทานเหรียญจกั รพรรดิมาลา ให้นบั เวลาราชการทั้งหมดรวมกนั หากเขา้ รบั ราชการกอ่ นอายคุ รบ 18 ปีบรบิ รู ณ์ ให้ นบั ต้งั แตว่ นั อายุครบ 18 ปบี รบิ ูรณ์ เป็นตน้ ไป ทัง้ น้จี ะต้อง จดั ทาประวตั ิการรบั ราชการประกอบการขอพระราชทาน โดยให้ เรยี งลาดับ การรับราชการตงั้ แตเ่ ขา้ รับราชการจนครบ 25 ปีบริบรู ณ์ เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณอ์ นั เป็นท่ีเชดิ ชูยิ่งชา้ งเผอื ก แบง่ ออกเปน็ 8 ชัน้ คอื ลาดับช้นั ช่ือเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์ ชื่อยอ่ ลกั ษณะเหรยี ญ ภาพการแต่งกาย การประดับ ช้นั สูงสดุ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ชั้นท่ี 1 ประถมาภรณช์ า้ งเผอื ก (ป.ช.) ชน้ั สงู สุด ชน้ั ท่ี 2 ทวีตยิ าภรณช์ า้ งเผอื ก (ท.ช.) ชนั้ ที่ 1 ชั้นที่ 3 ตรติ าภรณ์ชา้ งเผอื ก (ต.ช.) ชัน้ ท่ี 2 ชัน้ ท่ี 4 จัตุรถาภรณช์ า้ งเผอื ก (จ.ช.) ชน้ั ท่ี 3 ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณช์ ้างเผอื ก (บ.ช.) ช้ันท่ี 4 ชน้ั ท่ี 6 เหรยี ญทองชา้ งเผือก (ร.ท.ช.) ชนั้ ที่ 5 ชั้นท่ี 7 เหรยี ญเงินชา้ งเผอื ก (ร.ง.ช.) ช้นั ท่ี 6 ชน้ั ที่ 7 เครือ่ งราชอิสรยิ าภรณอ์ ันมเี กียรติยศยิง่ มงกุฎไทย แบ่งออกเป็น 8 ชั้น

ลาดับช้นั ชอื่ เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ์ ช่อื ย่อ ลกั ษณะเหรียญ ภาพการแตง่ กาย การประดบั (ม.ว.ม.) ช้นั สูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ป.ม.) ชนั้ สงู สุด (ท.ม.) ชั้นที่ 1 ชน้ั ท่ี 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) ชั้นท่ี 2 (จ.ม.) ชั้นท3ี่ ชน้ั ท่ี 2 ทวีติยาภรณม์ งกฎุ ไทย (บ.ม.) ช้ันที่ 4 (ร.ท.ม.) ชัน้ ท่ี 5 ชน้ั ท่ี 3 ตรติ าภรณ์มงกุฎไทย (ร.ง.ม.) ชั้นท่ี 6 ช้ันที่ 7 ชัน้ ท่ี 4 จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย ช้นั ที่ 5 เบญจมาภรณม์ งกุฎไทย ชัน้ ท่ี 6 เหรยี ญทองมงกฎุ ไทย ชน้ั ที่ 7 เหรียญเงินมงกฎุ ไทย หมายเหตุ : สามารถคลก๊ิ เข้าไปดทู ล่ี กั ษณะเหรียญ, ภาพการแต่งกาย และการประดับได้ การประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ การประดบั เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ ให้ประดับตามลาดบั ในประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เร่อื งลาดับเกียรติเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ์ และตามกาหนดนัด หมายของทางราชการ และ หมายกาหนดการจากสานักพระราชวงั ในทน่ี ้ี จะขอกล่าวเฉพาะ การประดับ เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณฯ์ ชา้ งเผอื ก และ มงกุฎ ไทย ดังนี้ 1. สายสะพาย ประกอบดว้ ยชัน้ ม.ป.ช., ม.ว.ม., ป.ช., และ ป.ม. ผูไ้ ด้รบั พระราชทานจะสามารถประดับไดห้ ลงั จากการเขา้ เฝา้ ฯ รับพระราชทานในพิธีทก่ี าหนด ส่วนผู้ทีไ่ ม่ไดเ้ ข้าเฝ้าฯ รบั พระราชทานในวนั พิธี จะ สามารถประดับได้ตอ่ เมื่อพน้ พธิ ีพระราชทานเครือ่ งราชฯ ดังกลา่ ว เคร่ืองราชฯ ชน้ั สายสะพาย จะประกอบดว้ ยแพรแถบ(สายสะพาย) และดวงดารา การสวมสายสะพายบรุ ุษ และ สตรี - ม.ป.ช. และ ม.ว.ม. จะสวมสายสะพายบ่าซา้ ยเฉียงขวา - ป.ช. และ ป.ม. จะสวมสายสะพายบ่าขวาเฉียงซา้ ย การประดบั ดารา ให้ประดับไว้ที่อกเสอื้ เบ้อื งซา้ ยระดับใต้ชายปกกระเป๋า โดยใหเ้ รยี งลาดับสูงและต่าในแนวเดยี วกัน หรอื เยอ้ื งกนั ไปทางเบ้ืองซา้ ย 2. ชั้นตา่ กว่าสายสะพาย ประกอบด้วย ท.ช., ท.ม., ต.ช., ต.ม., จ.ช., จ.ม., บ.ช.,และ บ.ม. เคร่ืองราชฯ ชัน้ ท.ช. และ ท.ม. จะมีดาราเพื่อไวป้ ระดบั ดว้ ย ส่วนช้นั อื่น ๆ จะมเี ฉพาะแพรแถบ หอ้ ยดวงตรา เท่านนั้ จะสามารถประดบั ไดเ้ ม่อื ได้รับ การประกาศนามในราชกิจจานุเบกษาแล้ว การประดบั บุรุษ ท.ช., ท.ม., ต.ช. และ ต.ม. ประดับโดยสวมแพรแถบคล้องคอ โดยใหห้ ่วงและ แพรแถบห้อยดวงตราออกมานอกเสอ้ื ระหว่างกระดุมเม็ดท่ีหนึง่ กบั ขอขา้ งล่างท่ี ขอบคอเส้ือพองาม และให้ประดบั ดวงตราท่มี ลี าดบั รองลงมาไว้ระดับ กระดุมเม็ดที่สอง โดยให้แพรแถบลอดออกมาระหวา่ งกระดมุ และขอบล่างของรงั ดุมพองาม

สตรี ให้ประดับแพรแถบหอ้ ยดวงตราที่หน้าบา่ ซา้ ยทง้ั หมด ทุกชนั้ ส่วนเฉพาะ ท.ช. และ ท.ม. ทีมีดาราดว้ ยนนั้ ใหป้ ระดับเหมือนบรุ ุษ การแต่งกายทปี่ ระดับเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ เคร่ืองหมายแพรแถบ เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ และเครอื่ งหมายที่ใชเ้ ปน็ ดุมเสื้อ 1. การแต่งกายท่ีตอ้ งประดับเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ เครอื่ งแบบเต็มยศ (เสื้อขาว/กางเกงดา) เครอ่ื งแบบเต็มยศบุรุษ ประดับดาราและสายสะพาย มหาปรมาภรณช์ า้ งเผือกและดารามหาวชิรมงกฎุ เครอ่ื งแบบเตม็ ยศสตรี ประดับดาราและสายสะพายมหาวชิรมงกุฎ ดาราประถมาภรณช์ ้างเผอื ก และ เหรียญจักรพรรดมิ าลาทีห่ น้าบา่ ซ้าย เคร่ืองแบบครึ่งยศ (เสอ้ื ขาว/กางเกงดา) เครอ่ื งแบบครง่ึ ยศบุรษุ ประดับดารามหาปรมาภรณช์ า้ งเผอื ก ดารามหาวชริ มงกฎุ และเหรียญราชอิสริยาภรณ์ ต่าง ๆ ไม่สวมสายสะพาย เครื่องแบบครึ่งยศสตรี ประดบั ดารามหาปรมาภรณ์ชา้ งเผือก ดารามหาวชริ มงกฎุ และเหรียญจกั รพรรดมิ าลา ไม่สวมสายสะพาย 2. การแต่งกายประดบั เคร่ืองหมายแพรแถบเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ จะประดบั กบั เครอ่ื งแบบปกติขาว เครอ่ื งแบบปกติขาว ประดับเหรยี ญราชอสิ ริยาภรณ์ เครื่องแบบปกตขิ าว ประดับเคร่ืองหมายแพรแถบยอ่ เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ เครอ่ื งแบบสกี ากคี อพับ (เครอื่ งแบบตรวจการ) เครื่องแบบสกี ากีคอแบะ เครอื่ งแบบสกี ากีคอต้งั โดยใหป้ ระดบั ที่อกเสอื้ เบือ้ งซ้ายเหนือปากกระเปา๋ 3. การแตง่ กายทีใ่ ชเ้ ปน็ ดุมเส้ือ จะใชป้ ระดับกบั ชุดสากลและชดุ ไทย การประดับกบั ชดุ สากล ให้ประดับทรี่ งั ดมุ คอพับ ของเส้ือชนั้ นอกเบอ้ื งซา้ ย การประดบั กบั ชุดไทย ใหป้ ระดับได้เฉพาะกับชุดไทยเรอื นต้น ชุดไทยจิตรลดา ชุดไทยอมรนิ ทร์ และชดุ ไทยบรมพมิ าน ท่เี ปน็ สสี ุภาพเท่านัน้ - บุรุษ ใหป้ ระดบั ท่อี กเสอื้ เบอื้ งซ้ายบรเิ วณปากกระเปา๋ เสื้อผู้ได้รบั พระราชทาน - สตรี ใหป้ ระดับที่อกเส้อื เบ้ืองซ้าย เสือ้ พระราชทานแขนยาว ประดบั เครือ่ งหมายดุมเสอื้ ปฐมจลุ จอมเกล้า

เสอื้ พระราชทานแขนสน้ั ประดับเครือ่ งหมายดุมเสื้อ มหาปรมาภรณช์ ้างเผือก ชดุ ไทยอมรินทร์ ประดบั เครอ่ื งหมายดมุ เสื้อ มหาวชริ มงกุฎ - บรุ ุษ ให้ประดับทีอ่ กเสอ้ื เบื้องซา้ ยบรเิ วณปากกระเปา๋ เส้อื ผู้ได้รบั พระราชทาน - สตรี ใหป้ ระดับทีอ่ กเส้อื เบ้ืองซา้ ย หมายเหตุ : หากผูไ้ ดร้ ับพระราชทานเครอื่ งราชฯ หลายชนดิ ใหป้ ระดับชนิดท่ีมลี าดับสงู สุดเพียงชนดิ เดียว ท้งั นี้ การแตง่ กายประดบั เครอ่ื งราชฯ นอกจากจะแต่งได้อย่างถูกตอ้ งและสวยงามแล้ว จะต้องให้เหมาะสมตามกาลดว้ ย คือถกู กาลเทศะ โดย จะตอ้ งดจู ากหมายกาหนดการ หรอื กาหนดนัดหมายของทางราชการ โดยมขี ้อพงึ สังเกตดังนี้ 1. กรณเี คร่อื งแบบเตม็ ยศ ให้สวมสายสะพายตามที่ออกชอ่ื ในหมายกาหนดการ หรอื กาหนดนัดหมายของทางราชการ เชน่ ไดร้ บั พระราชทาน ม.ป.ช., ม.ว.ม. และ ป.ภ. หมายกาหนดการระบุ ให้แต่งเต็มยศ มงกฎุ ไทย การแต่งกาย จะตอ้ งสวมสายสะพายชนั้ ม.ว.ม. แมว้ ่า ม.ป.ช.จะสงู กวา่ กต็ าม โดยใหป้ ระดับดารา ม.ป.ช., ม.ว.ม. และ ป.ภ. ตามลาดับ หมายเหตุ : หากหมายกาหนดการกาหนดใหแ้ ต่งเครอ่ื งแบบคร่งึ ยศ ในกรณีเดยี วกนั น้ี ให้ประดับดาราเหมอื นเดม็ ยศ แตไ่ ม่ต้องสวมสายสะพาย 2. หากไมไ่ ดร้ บั พระราชทานเครือ่ งราชฯ ตามที่ออกชือ่ ในหมายกาหนดการ หรอื กาหนดนัดหมายของทางราชการ ให้สวมสายสะพายช้ันสูงสุดท่ไี ดร้ ับพระราชทาน เช่น ไดร้ ับพระราชทาน ป.ม. และ ท.ช. แตห่ มายกาหนดการกาหนด ให้แต่งกายเต็มยศ ชา้ งเผือก การแตง่ กาย จะตอ้ งสวมสายสะพาย ป.ม. ประดับดว้ ยเครอื่ งราชฯ ท.ช. (คล้องคอ) และประดบั ดารา ป.ม. และ ท.ช. ตามลาดบั 3. กรณหี มายกาหนดการหรือกาหนดนัดหมายของทางราชการ ไมร่ ะบชุ นิดของสายสะพาย ใหส้ วมสายสะพายชั้นสูงสดุ ที่ได้รับพระราชทาน การเกบ็ รกั ษาเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ วิธกี ารเกบ็ รกั ษาเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ การเสือ่ มสภาพของเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ ข้อควรระวงั ในการประดบั เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ วธิ กี ารทาความสะอาดเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์ การเก็บรกั ษาเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ เคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ไทยเป็นศิลปวัตถุ เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมแสดงความเป็นเอกลกั ษณ์ ของชาติไทยมาแตโ่ บราณ พระมหากษัตริยท์ รางสรา้ งขึน้ พระราชทานไห้ ประดบั เป็นเกยี รตยิ ศแกผ่ ้มู คี วามชอบ ในทางราชการและสว่ นพระองค์ เปน็ เคร่อื งหมายแสดงความชอบของผูป้ ระกอบคุณงามความดี บคุ คลมีสิทธิ ไดร้ บั พระราชทาน เครื่องราชอสิ ริยาภรณ์เสมอกนั ถา้ ได้ประกอบคุณงามความดีทดั เทยี มกนั เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์ย่อมมกี ารเสอื่ มสภาพชารดุ เสยี หายไดต้ ามธรรมชาติ หรือจากการใช้งาน การเสื่อมสภาพจากสาเหตุต่าง ๆ ยอ่ มจะปอ้ งกนั ได้ด้วยการดูแลเก็บรกั ษา ไวใ้ นสถานภาพทีเ่ หมาะสม การ ระมดั ระวังในการประดบั ไปในงานตา่ ง ๆ เครื่องราชอสิ ริยาภรณก์ ็จะคงสภาพเดิมได้นานเท่านาน การจะยืดอายุการใช้งานได้โดยไม่ต้อง จ่ายคา่ บารงุ รกั ษาเพ่ิม และจะเปน็ การช่วยกันรักษาเครอื่ งประดบั เกยี รติยศ อันเปน็ มงคลและสูงคา่ ของชาติ ให้คงสภาพดี พร้อมท่จี ะใช้ประดบั ได้ตลอดเวลา ท้ังจะเปน็ การช่วยลดงบประมาณคา่ ใช้จา่ ยในส่วนนข้ี องทาง ราชการได้ดว้ ย การเส่อื มสภาพของเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ เกดิ ไดจ้ ากสาเหตหุ ลายประการ อาทเิ ชน่ 1. การขาดความระมัดระวังในการจบั ต้อง การเกบ็ รกั ษา การใช้ประดับ ย่อมจะเกดิ การเสอ่ื มสภาพ สภาพได้โดยรเู้ ท่าไมถ่ ึงการณ์ 2. การเก็บไวใ้ นสถานที่ทส่ี ภาพส่ิงแวดล้อมไม่ดี อากาศไม่ดี มีแก๊สเสยี ชนิดตา่ ง ๆ ความรอ้ นสูง ความชื้นมาก แสงแดงส่องอุณหภมู ไิ มค่ งท่ี

3. การมสี ัตว์แมลงต่าง ๆ เขา้ ไปทาความสกปรก ทาลายผ้าแพรแถบได้ เช่น ตวั สามง่ามกินผา้ มด แมลงสาบ ปลวก แมลงปีกแขง็ 4. การเกดิ เช้อื จุลนิ ทรยี ์และเชอื้ รา ความชืน้ จะทาให้เกดิ กลนิ่ และก๊าซ เมื่อก๊าซกระทบกบั อากาศ จะเปลย่ี นเปน็ กรด กา๊ ซเหล่าน้ี จะทาปฎิกริยากับโลหะวตั ถทุ ่ใี ชท้ า เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ ทาใหเ้ สอ่ื มสภาพบน เนื้อวัตถุ วิธกี ารเก็บรักษาเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ 1. เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์เปน็ ของสูง ควรเกบ็ รกั ษาในทส่ี งู เหมาะสม ควรแก่การเคารพบูชา เป็นการแสดงความจงรักภักดี นอ้ มราลึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ผ้พู ระราชทาน จะเปน็ มงคลสูงสดุ ก่อใหเ้ กิดความสุข ความเจริญ แกต่ นเองและครอบครวั 2. ควรเก็บในทป่ี ลอดภัย ปอ้ งกันการสูญหาย 3. ภายหลงั การใช้ประดับแต่ละครง้ั ควรใช้ผ้าสะอาด นุ่น ทาความสะอาดเบา ๆ แล้วหอ่ ด้วย กระดาษแก้วไวใ้ ห้มิดชดิ นาใสก่ ลอ่ งปิดฝาใหส้ นิท ปอ้ งกันฝุ่นละอองและ ไมใ่ ห้กระทบกับอากาศ 4. ไมค่ วรเกบ็ ในสถานท่ที ่มี ีแดดสอ่ งตลอดเวลา หรอื มแี สงไฟรอ้ นแรง และตอ้ งไม่อับช้นื ปกติมัก จะเกบ็ ไว้ในอณุ หภูมิหอ้ ง แตถ่ ้าเปน็ ห้องปรับอากาศได้จะดีทส่ี ุด 5. ดวงตรา ดารา และเหรยี ญอิสริยาภรณ์ อาจเสอ่ื มสภาพไดจ้ ากความไมบ่ ริสิทธขิ์ องอากาศ ฝุน่ ละออง กา๊ ซเสยี ชนิดต่าง ๆ ถ้าเก็บไวใ้ นตนู้ ริ ภัย หรือต้เู หล็ก ควรห่อให้ มดิ ชิดตามข้อ 3 เพราะสที ่ใี ชพ้ ่นหรือทาตู้เหลก็ จะทาปฏิกริ ิยากับโลหะเงิน และจะทาใหเ้ งินดา 6. ไมค่ วรใชส้ ารกนั แมลงชนิดตา่ ง ๆ เนอ่ื งจากเมือ่ สารระเหยออกมา จะทาปฏิกิริยากบั โลหะเงินและสว่ นท่ีกะไหลท่ อง ในเคร่ืองหมายแพรปัก ดนิ้ เงิน ดิ้นทอง ทาให้ เปลย่ี นเป็นสดี าได้ 7. สายสะพายและแพรแถบทอด้วยด้ายและใยไหม ควรเก็บในทไี่ มร่ ้อน ไม่อบั ช้ืน เพราะความ ร้อนและความชื้นจะทาให้เน้ือผ้า ยืดขยาย และหดตวั อยตู่ ลอดเวลา จะทา ใหเ้ นื้อผ้าแหง้ แข็งกรอบ ถา้ มีความช้ืน ทาให้เนือ้ ผา้ ยุ่ยเปอ่ื ย อาจเกิดเชือ้ รา และรอยดา่ ง อายกุ ารใชง้ านจะสั้น 8. แสงสวา่ งเปน็ อันตรายต่อสีของผา้ สายสะพายและแพรแถบ แสงจะทาให้สขี องผ้าซดี ได้เร็ว ควรเกบ็ ในตู้ทึบแสง ในหอ้ งปรับอากาศไดก้ จ็ ะดี 9. ผ้าสายสะพายควรเก็บโดยมวี ิธมี ว้ นเปน็ วงกลม ผ้าจะได้ไม่ยับ หรอื เกบ็ โดยวธิ ีวางไดต้ ามยาว การเก็บโดยวธิ พี บั ซ้อนกัน จะทาใหเ้ กดิ รอบพับ จะเกิดรอยด่าง สีซดี ตามแนวของรอยพับน้ัน 10. เมือ่ เกบ็ ไว้โดยมิได้นามาประดบั เป็นเวลานาน ควรตรวจสอบบา้ งเปน็ คร้ังคราว ขอ้ ควรระวังในการประดบั เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ 1. กอ่ นจบั ตอ้ งเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ ต้องแนใ่ จว่ามือของท่านสะอาด 2. หลกี เลี่ยงการจบั ต้องตัวเหรียญโดยตรง เพราะนิว้ มอื มีคราบเหงอ่ื จะทาใหเ้ ป็นรอยดา่ ง เกดิ คราบสกปรกในเวลาต่อมา 3. การจบั ต้องเหรียญ ดวงตรา ดารา ควรจับที่ขอบนอกของเหรียญใหก้ ระชบั และมนั่ คงป้องกนั การตกหล่น โดยใช้นิ้วหัวแม่มือ นว้ิ ช้ี น้วิ กลางและนว้ิ นางประคอง หรือ จะจบั ทบ่ี รเิ วณหูหอ้ ยของแพรแถบเหรยี ญ ก็ได้ ถา้ เป็นดวงตรา ดวงดารา ควรจับ ที่ขอบนอก ดงั กล่าวแล้วยกขน้ึ วางบนฝา่ มอื อีกขา้ งหนง่ึ ป้องกนั การพลัดหลน่ 4. ถ้าเปน็ ไปได้ควรสวมถงุ มอื เพื่อปอ้ งกนั คราบเหงื่อทจี่ ะทาให้เกิดรอยคราบสกปรก 5. ระวงั การกระทบกระแทกกบั ของแข็ง หรือตกหลน่ จะทาให้ส่วนท่ีลงยากะเทาะ เหรียญจะบุบชารดุ 6. ขณะสวมสายสะพาย ควรระมัดระวังการน่ัง การยนื เพราะดวงตรา ดวงห้อยสายสะพายจะ กระทบกระแทกกับของแขง็ หรือเกย่ี วกบั สงิ่ ของขา้ งเคยี ง 7. ควรแน่ใจว่าสปริงขอเกย่ี วดวงตรายงั แขง็ แรงดี จะไดไ้ ม่เกิดปัญหาขณะใช้ประดบั 8. เมือ่ สอดก้านเสียบของดวงดาราเข้ากบั ตวั หนอนแล้ว ควรตรวจดูว่าไดส้ อดสว่ นปลายของ กา้ นเสียบเขา้ \"ขอเก่ยี ว\" ให้มนั่ คงดีแลว้ 9. เครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณช์ ้นั สายสะพาย ควรเยบ็ ตรึงดวงตราห้อยสายสะพายไว้กบั สายสะพาย เพอื่ ป้องกนั การชารุด หรือตกสูญหาย 10. สายสะพายเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์ ควรปรบั ความยาวให้ได้พอเหมาะกบั ความสูงของแตล่ ะ บคุ คล วิธีการทาความสะอาดเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ โดยปกติถ้าได้เกบ็ รกั ษาอย่างถกู วธิ ีแลว้ ดวงตรา ดารา และเหรยี ญตา่ ง ๆ จะคงสภาพเดมิ อยู่ ไดน้ าน แต่ถา้ เกิดเป็นรอยด่างดาไม่สวย นยิ มใชผ้ งขัดเงินกับแปรงขนอ่อนน่ิม ๆ ไมค่ วรใชผ้ งขัดหรือผงซักฟอก เพราะจะทาใหเ้ ป็นรอยขดี ขว่ นบนหนา้ เหรียญ ผงขัดทองเหลืองไม่ควรใชเ้ พราะจะทาให้ลวดลายลบเลอื น ไซยาไนต์ทาใหเ้ งนิ ขาวดีแต่ จะเกิดปฏกิ ริ ยิ าแรงเกนิ ไป และเปน็ อันตรายแกผ่ ูใ้ ช้ ท่านทต่ี อ้ งการทาความ สะอาดด้วยตนเอง แต่ถา้ ยงั ไมช่ านาญควรถามผ้รู ู้ การคนื เครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ หลักเกณฑ์

การคนื เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์เป็นหนา้ ท่ขี องผู้ไดร้ ับพระราชทานฯ ตอ้ งกระทาตามขอ้ บญั ญัตทิ ่ีกาหนดไว้ตามพระราชบญั ญัติ เครอ่ื งราชอิสรยิ าภการ แบง่ ออกเปน็ 3 กรณี คือ 1. คนื เครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณช์ นั้ รอง เมอื่ ผไู้ ด้รบั พระราชทานฯ ไดร้ บั พระราชทานเคร่อื งราชฯ ช้นั สงู ขึ้น (ชา้ งเผือก, มงกุฎไทย) ไมต่ ้องคนื ประกาศนียบตั รกากับเครอ่ื ง ราช อสิ รยิ าภรณ์ (ผูไ้ ดร้ บั พระราชทานสามารถถือครองเครอ่ื งราชฯ ชน้ั สงู สดุ ของแต่ละตระกลู ไว้ ไดเ้ ท่านัน้ ส่วนชน้ั รองลงไปตอ้ งสง่ คืนหมด) 2. คนื เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ทกุ ช้นั ที่ไดร้ บั เมอ่ื ผู้ได้รบั พระราชทานฯ ถึงแกก่ รรม โดยให้ทายาทเปน็ ผูส้ ่งคนื (ช้างเผอื ก, มงกุฎไทย) ไมต่ ้องคนื ประกาศนียบตั รกากบั เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ 3. คนื เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ เม่อื ทรงพระกรณุ าให้เรียกคืน ต้องคืน ใบประกาศนยี บตั รกากับเครื่องราชอิสรยิ าภรณด์ ว้ ย การคนื เครอื่ งราชอิสรยิ าภรณใ์ นกรณีใด ๆ ตามที่กลา่ วขา้ งตน้ ถา้ ผูไ้ ด้รบั พระราชทานฯ ไมส่ ามารถนาเครอ่ื งราช อสิ รยิ าภรณ์มาคืน ก็สามารถชดใชเ้ งินแทน เครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ ตามราคาที่สานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกาหนด ซง่ึ จะมีการปรบั ราคาตามมติคณะรฐั มนตรี ทุก 3 ปี คน้ หาขอ้ มลู เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์ไทย ค้นหาตามประเภทเครื่องราชอิสริยาภรณไ์ ทย คน้ หาขอ้ มลู เคร่อื งราชอิสรยิ าภรณไ์ ทย ของบุคลากรมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เบญจมาภรณช์ า้ งเผือก ตกลง ชื่อ - นามสกลุ ตาแหน่ง หนว่ ยงาน ประเภท (0 = ขา้ ราชการ, 1 = ลูกจา้ งประจา) บางส่วนบางคา ยกเลิ ก เรมิ่ ตน้ ของคา ตกลง

เคร่ืองราชอสิ ริยาภรณฯ์ ช้างเผือก บัญชรี าคาชดใชแ้ ทนเครื่องราชอสิ รยิ าภรณท์ ไ่ี ม่สามารถส่งคืนตามพระราชบัญญัติฯ ลาดบั รายการเครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ ราคาคนื / บาท หมายเหตุ บรุ ุษ สตรี 1. มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก 17,724 15,654 2. ประถมาภรณ์ช้างเผือก 12,470 11,116 3. ทวีตยิ าภรณ์ชา้ งเผอื ก 7,838 7,072 4. ตริตาภรณช์ ้างเผอื ก 3,128 2,930 5. จัตรุ ถาภรณ์ชา้ งเผอื ก 1,748 1,876 6. เบญจมาภรณช์ า้ งเผือก 1,668 1,766 7. เหรยี ญทองชา้ งเผือก 1,004 8. เหรียญเงินช้างเผือก 944 916 976 เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ฯ มงกฎุ ไทย บญั ชรี าคาชดใชแ้ ทนเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณท์ ีไ่ ม่สามารถส่งคนื ตามพระราชบัญญตั ิฯ ลาดับ รายการเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ ราคาคนื / บาท หมายเหตุ บุรษุ สตรี 1. มหาวชิรมงกฎุ 30,915 26,320 2. ประถมาภรณม์ งกุฎไทย 11,302 9,868 3. ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย 7,830 6,548 4. ตริตาภรณม์ งกุฎไทย 3,048 2,728 5. จตั ุรถาภรณ์มงกุฎไทย 1,748 1,876 6. เบญจมาภรณม์ งกฎุ ไทย 1,668 1,766 7. เหรียญทองมงกฎุ ไทย 858 920 8. เหรียญเงินมงกุฎไทย 832 892 บญั ชรี าคาชดใชแ้ ทนเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ ท่ไี ม่สามารถสง่ คืนตามพระราชบญั ญัตฯิ ต้งั แตว่ นั ที่ 1 มีนาคม 2548 เป็นต้นไป







การขอพระราชทางนา้ หลวงอาบศพ การขอพระราชทานเพลงิ ศพ ขา้ ราชการผู้มสี ทิ ธิ ไดร้ ับพระราชทานน้าหลวงอาบศพ เพลิงศพ ไดแ้ ก่ ขา้ ราชการพลเรอื นช้นั ตรีข้นึ ไป หรือผทู้ ่ีได้รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตงั้ แต่ ชน้ั \"เบญจมาภรณ์มงกฎุ ไทย\" ขึ้นไป เมื่อข้าราชการผู้ใดถงึ แก่กรรมลง เจา้ ภาพ หรือทายาท ทป่ี ระสงคข์ อรับ พระราชทาน จะตอ้ งดาเนินการดังนี้ กรณีขอพระราชทานนา้ หลวงอาบศพ เจา้ ภาพ หรือทายาท ตอ้ งจัดดอกไมธ้ ปู เทยี น มพี านรอง ไปกราบถวาย บังคมลา โดยไปติดตอ่ ทกี่ องพระราชพธิ ี สานกั พระราชวงั ในพระบรมมหาราชวัง พร้อมทงั้ นา สาเนาใบมรณะบัตร และหลกั ฐานการได้รับพระราชทาน เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณช์ น้ั สูงสดุ ทีไ่ ดร้ บั ไปแสดง แก่เจา้ หน้าท่ี เพอื่ การจดั ชั้นของเคร่อื งเกยี รตยิ ศประกอบศพ ไดถ้ กู ตอ้ ง กรณีขอพระราชทานเพลิงศพ เจา้ ภาพหรอื ทายาท ผู้ประสงค์ขอพระราชทานเพลิงศพ จะต้องทาหนงั สอื แจ้งให้หนว่ ยงานตน้ สังกัดของขา้ ราชการผ้ตู าย ดาเนนิ การขอพระราชทานเพลงิ ศพ โดยระบุ 1. ช่ือ ตาแหนง่ ช้ัน ยศ ของผู้ถงึ แกก่ รรม 2. ถึงแกก่ รรมดว้ ยโรคอะไร ทไ่ี หน เม่ือใด 3. ไดร้ ับพระราชทานเครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ อะไรบา้ ง 4. มคี วามประสงค์จะขอตบั พระราชทานเคร่อื งเกียรตยิ ศ ประกอบศพอย่างใดบ้าง 5. ประกอบการฌาปนกิจศพที่วดั ไหน จังหวดั ไหน วันเวลาใด การประกอบฌาปนกิจในเขตกรุงเทพมหานคร สานกั พระราชวงั จะจัดเจา้ พนกั งานเชญิ เพลิงหลวงไปพระราชทาน โดยรถยนตห์ ลวง กรณกี ารฌาปนกิจนอกเขต กรงุ เทพมหานคร ทางสานกั พระราชวัง จะจัดหบี เพลงิ ให้กระทรวงเจา้ สงั กัด รบั สง่ ไปพระราชทานเพลงิ หากเจา้ ภาพประสงค์จะให้เจ้าพนักงานของสานักพระราชวังเชิฐ เพลงิ หลวงไปพระราชทาน เจา้ ภาพจะตอ้ งจดั พาหนะรับ-ส่ง และกลบั ภายในวนั เดยี วกัน download form บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ ที่ วนั ท่ี เรื่อง ขอพระราชทานเพลงิ ศพ เรียน หวั หนา้ งานทะเบยี นประวตั ิ ด้วย นาย, นาง, นางสาว ............................................................................................................. ขา้ ราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ตาแหนง่ ................................................................. ระดบั ...................

หน่วยงาน ..............................................................................................ไดร้ ับพระราชทานเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ์. ชั้น................................................. ได้ถึงแก่กรรมเม่ือวันท่ี.......................เดอื น................................................ พ.ศ.........................ดว้ ยเหตุ.......................................................................................................................... ในการนี้ เจา้ ภาพ มีความประสงคจ์ ะขอพระราชทานเพลิงศพเพื่อเปน็ เกยี รติแกผ่ ูว้ ายชนมแ์ ละวงศ์ตระกูล ในวันที่ .............. เดือน ...............................พ.ศ................. ณ เมรวุ ดั .............................................................. ถนน............................................... ตาบล/แขวง.....................................เขต.................................................. จังหวัด ............................................... จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพจิ ารณาดาเนนิ การขอพระราชทานเพลิงศพให้ตอ่ ไปดว้ ย จักขอบคณุ ยงิ่ (ลงช่ือ) ....................................................... ผขู้ อ ( ......................................................... ) เรียน รองอธกิ ารบดฝี ่ายบรหิ ารบุคคล เพื่อโปรดพิจารณาลงนามหนังสือถึง  ลงนามแลว้  ปลดั ทบวงมหาวทิ ยาลยั เพอ่ื ดาเนนิ การ ……………………………………… ตอ่ ไป …  เลขาธิการพระราชวัง เพอ่ื ดาเนนิ การต่อไป รองอธิการบดีฝ่ายบริหารบคุ คล …………………………………………… …………/……………../………… หัวหนา้ งานทะเบยี นประวัติ …………/……………../…………

ในปงี บประมาณหนึง่ ไมเ่ กนิ ในรอบปี แห่งอายุสัญญาจา้ ง ลูกจ้างชัว่ คราว ชาวต่างประเทศ ประเภทลา ข้าราชการ/ลจ.ชัว่ คราว งบ พเิ ศษ ลูกจา้ งประจา พนกั งานมหาวทิ ยาลยั ลกู จ้างช่ัวคราว งบคลงั ลาป่วย 60 60 30 15 15 วนั ทาการ วนั ทาการ วนั ทาการ วนั ทาการ วันทาการ ลากิจสว่ นตัว 45 45 10 วันทาการ (ไมม่ สี ทิ ธิ ไมม่ กี าหนดเวลา เป็นการ 10 วนั ทาการ ลาพกั ผอ่ น วนั ทาการ วันทาการ สะสม) ลาโดยไมไ่ ด้ รบั ค่าจา้ ง (มีสทิ ธิสะสมได้ ไมเ่ กิน 22 วนั ทาการ) ลาคลอดบุตร ลากจิ สว่ นตัวเพือ่ เลีย้ งดูบุตร 10 วันทาการ (มีสิทธิ 10 วันทาการ 10 วันทาการ (มสี ทิ ธิ ต่อเน่ืองจากลาคลอด สะสม) (มีสิทธสิ ะสม) สะสม) 90 วนั 90 วนั ไมเ่ กิน 90 วนั ปฏิทนิ 90 วัน - 150 วนั ทาการ 30 วันทาการ นบั รวมอยู่ - 150 วันทาการ ในวันลากจิ ส่วนตัว 45 วันด้วย ลาอปุ สมบท หรอื ลาไปประกอบ 120 วัน 120 วนั 120 วนั ปฏิทนิ (โดยไม่ได้ 120 วนั (โดยไมไ่ ด้รับ - พธิ ฮี จั ย์ - รบั คา่ จา้ ง) คา่ จ้าง) ลาเขา้ รับการตรวจเลอื ก/ เข้ารับ ระยะเวลาตามที่ หมาย ระยะเวลาตามที่ หมาย - - การเตรียมพล กาหนด กาหนด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook