๑ แผนการจัดการเรียนรู้ มุ่งเนน้ ฐานสมรรถนะ บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และค่านยิ ม ช่ือวชิ า เครอ่ื งวดั ไฟฟ้า รหสั วิชา 2104-2004 ท–ป–น 1–3–2 หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้ากาลงั สาขางานไฟฟ้ากาลงั ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 จัดทาโดย นายกติ ติศกั ด์ิ ทาดทา ครปู ระจาแผนกวชิ าชา่ งไฟฟ้ากาลงั วิทยาลยั การอาชีพกระนวน สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
๒ รายการตรวจสอบและอนญุ าตให้ใช้ ชอื่ วชิ า เครอ่ื งวดั ไฟฟ้า รหัสวชิ า 2104-2004 เสนอ ...................................................................................................................... เพื่อตรวจสอบและอนุญาตใหใ้ ช้ ลงช่อื ............................................................ (นายกิตติศกั ดิ์ ทาดทา) ครูผู้สอน ............../.............../............. ควรอนญุ าตใหใ้ ช้การสอนได้ ควรปรบั ปรุงเก่ยี วกับ................................................................................................................. ลงชอ่ื ............................................................ (นายกิตตศิ ักด์ิ ทาดทา) หัวหน้าแผนกวิชาชา่ งไฟฟ้า ............../......................../.................... เห็นควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้ ควรปรับปรุงดงั เสนอ อื่น ๆ ............................................................................................................................. ............ ลงชอื่ ............................................................ (…………………………………….) ............../......................../.................... อนุญาตให้ใชก้ ารสอนได้ อ่ืน ๆ ......................................................................................................................................... ลงชือ่ ............................................................ (............................................) ผู้อานวยการ ............../......................../....................
๓ คานา แผนการจัดการเรยี นรู้ม่งุ เน้นฐานสมรรถนะ บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และค่านิยม รายวิชา เคร่ืองวัดไฟฟา้ รหสั วิชา 2104-2004 เล่มน้ี ได้จดั ทาข้ึนเพอ่ื ใช้เปน็ คู่มือประกอบการสอน หรือเป็นแนวทางการสอน ในรายวิชาเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 สานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ การจัดทาได้มกี ารพัฒนาเพอื่ ให้เหมาะสมกับผู้เรยี น โดยแบง่ เนื้อหาออกเป็น 9 หน่วย มกี ารจดั กิจกรรมการ เรียนการสอนยึดผู้เรยี นเปน็ สาคัญ มุ่งเน้นฐานสมรรถนะ บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และค่านิยม ไว้ใน หนว่ ยการเรียนรู้ตามความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับเนื้อหา มีแบบฝึกหัด แบบทดสอบหลังเรียน พร้อมเฉลย มีใบงาน และสอ่ื การเรยี นการสอนต่าง ๆ เพื่อใหเ้ กดิ ประสิทธผิ ลแกผ่ เู้ รียนมากยิง่ ขึน้ ผจู้ ัดทาหวังว่าแผนการจดั การเรียนรูเ้ ล่มน้ี คงจะเป็นแนวทางและเป็นประโยชนต์ ่อครู-อาจารยแ์ ละนักเรยี น หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จดั ทายนิ ดนี อ้ มรบั ไว้เพ่ือปรับปรงุ แก้ไขในคร้งั ต่อไป ลงชอ่ื ............................................................ (นายกติ ตศิ ักด์ิ ทาดทา) ครูผสู้ อน
๔ สารบัญ หนา้ คานา ............................................................................................................................................... ค สารบัญ ............................................................................................................................................ ง หลักสตู รรายวิชา ............................................................................................................................. จ หนว่ ยการเรียนรู้ .............................................................................................................................. ฉ การวดั ผลและประเมนิ ผล ................................................................................................................ ช หนว่ ยการเรยี นรู้ทสี่ อดคล้องกับสมรรถนะรายวิชา .......................................................................... ซ โครงการจัดการเรยี นรู้ ..................................................................................................................... ซ สมรรถนะย่อยและวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ................................................................................. ญ ตารางวิเคราะหห์ ลักสูตรรายวิชา ..................................................................................................... ต แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ความร้เู บ้อื งต้นเก่ียวกับเครื่องวัดไฟฟา้ ................................................ 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เคร่ืองวดั ไฟฟา้ กระแสตรง................................................................... 5 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 เครอ่ื งวัดไฟฟ้ากระแสสลบั .................................................................. 9 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 เครื่องวัดความตา้ นทาน....................................................................... 13 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 มลั ติมเิ ตอร์และดจิ ิตอลมิเตอร์............................................................. 17 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 เคร่อื งวัดความตา้ นทานแบบบรดิ จ์...................................................... 21 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 เครื่องวดั กาลังไฟฟ้า............................................................................. 24 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8 เครื่องกาเนิดสัญญาณและออสซิลโลสโคป........................................... 28 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9 เครอื่ งวดั ไฟฟา้ เฉพาะทาง.................................................................... 31 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
๕ หลกั สตู รรายวิชา ชือ่ วิชา เครอื่ งวดั ไฟฟา้ รหัส 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช. . เพื่อให้ 1. รู้ เขา้ ใจโครงสรา้ ง หลักการทางานของเครื่องมอื วัดไฟฟา้ ชนดิ ตา่ ง ๆ 2. มที ักษะการต่อ และอา่ นค่าที่ไดจ้ ากการวดั ของเครอื่ งมือวัดไฟฟา้ ชนดิ ตา่ ง ๆ 3. มีเจตคติและกจิ นิสยั ท่ีดีในการปฏิบัตงิ าน มคี วามละเอียดอบคอบ ปลอดภยั เป็นระเบยี บ สะอาด ตรงตอ่ เวลา มีความซ่ือสตั ย์และมคี วามรับผดิ ชอบ 1. แสดงความรูเ้ กีย่ วกับหลักการทางานของเครอื่ งมอื วดั ไฟฟ้าชนดิ ตา่ ง ๆ 2. ปฏิบตั กิ ารหาคา่ ความคลาดเคล่ือนการวัด 3. ใชง้ าน โอห์มมิเตอร์ โวลตม์ เิ ตอร์ แอมมิเตอร์ มัลตมิ เิ ตอร์ วตั ต์มิเตอร์ กโิ ลวัตตอ์ าวรม์ เิ ตอร์ ดิจิตอลมเิ ตอร์ ออสซิลโลสโคป ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหน่วยการวัด ค่าความคลาดเคลื่อนการวัด หลักการทางาน วิธีการใช้โวลต์ มิเตอร์ แอมมเิ ตอร์ โอห์มมิเตอร์และเครื่องวัดความต้านแบบบริดจว์ ัตต์มิเตอร์ กิโลวัตต์อาวร์มิเตอร์ ออสซิลโลสโคป ดิจิตอลมิเตอร์ และเคร่ืองมือวัดไฟฟ้าชนิดอ่ืน ๆ ท้ังกระแสตรงและกระแสสลับ การขยายย่านวัด ค่าความคลาด เคลื่อนและการบารุงรกั ษา
๖ หนว่ ยการเรยี นรู้ ช่ือวิชา เครือ่ งวดั ไฟฟา้ รหัส 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช. . หน่วยที่ ช่ือหน่วย จานวน ทม่ี า คาบ A B C D E F G H I 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกีย่ วกับเคร่ืองวัดไฟฟ้า 8 ///////// 2 เครื่องวดั ไฟฟา้ กระแสตรง 12 / / / / / / / / / 3 เครอ่ื งวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 12 / / / / / / / / / 4 เครอ่ื งวดั ความตา้ นทาน 4 ///////// 5 มลั ติมเิ ตอร์และดิจติ อลมเิ ตอร์ 4 ///////// 6 เครื่องวดั ความตา้ นทานแบบบรดิ จ์ 4 ///// // /// 7 เครอ่ื งวัดกาลงั ไฟฟ้า 8 ///// /// /// 8 เครอ่ื งกาเนดิ สัญญาณและออสซลิ โลสโคป 8 / / / / / 9 เคร่อื งวดั ไฟฟา้ เฉพาะทาง 8 //// วดั ผลและประเมินผลปลายภาคเรียน 4 รวม 72 หมายเหตุ A = หลกั สูตรรายวชิ า B = ณรงค์ ชอนตะวัน. (ม.ป.ป.). เคร่ืองวัดไฟฟ้า. กรุงเทพฯ : เอราวณั การพิมพ์. C = เดชา ศริ ิรตั น.์ (ม.ป.ป.). เครอ่ื งมือวัดและทดสอบไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส.์ นครพนม : ปริญญาการพิมพ์. D = ขจร อินวงษ์. (ม.ป.ป.). เคร่ืองมือวดั ไฟฟา้ . กรงุ เทพฯ : สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. E = มงคล ทองสงคราม. (2541). เครื่องวดั อิเลก็ ทรอนกิ ส์และไฟฟ้า. พิมพค์ รง้ั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ : ว.ี เจ. พรน้ิ ติ้ง. F = Sanwa YX–360TR MULTITESTER OPERATOR’S MANUAL. G = Measurement Products Catalog 1998/1999 H = นภดล ปญั ญาวานิชกลุ . (2542). โปรแกรมมลั ตมิ เี ดยี 99 คาถามเครอ่ื งมอื วดั ไฟฟ้า. สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . I = กอบศกั ดิ์ ตนั ติท์ วิสทุ ธ์ิ และ นายธิติ เมฆวลิ ยั . (2544). ชดุ การสอนวชิ าทฤษฎี เครื่องมือวดั ไฟฟา้ . สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
๗ การวัดผลและประเมนิ ผล ชื่อวิชา เครอ่ื งวดั ไฟฟ้า รหัส 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชัน้ ปวช. . 1. คะแนนการวัดผล - พุทธพิ สิ ยั 1) แบบฝกึ หัด 10 % 2) ทดสอบหลงั เรยี น 15 % 3) วัดผลสมั ฤทธิ์ (ปลายภาค) 10 % - ทักษะพสิ ัย 1) ใบงาน 30 % 2) ทดสอบภาคปฏิบตั ิ 15 % - จติ พิสัย รวม 20 % รวมทั้งหมด 100 % (คะแนนทดสอบก่อนเรยี นไวส้ าหรับเปรยี บเทียบกับคะแนนทดสอบหลงั เรียน) คะแนนระหว่างภาค/ปลายภาค 75:25 ระหว่างภาค 1) แบบฝกึ หดั 10 % 2) ทดสอบหลังเรยี น 15 % 3) ใบงาน 30 % 4) จิตพสิ ยั 20 % รวม 75 % ปลายภาค 1) วดั ผลสมั ฤทธ์ิ (ปลายภาค) 10 % 2) ทดสอบภาคปฏบิ ัติ 15 % รวม 25 % 2. คะแนนการประเมินผล (องิ เกณฑ์) 80 – 100 คะแนน ได้ผลการเรยี น 4.0 หมายถึง ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ เี ยีย่ ม 75 – 79 คะแนน ได้ผลการเรียน 3.5 หมายถึง ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑด์ ีมาก 70 – 74 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 3.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดี 65 – 69 คะแนน ได้ผลการเรียน 2.5 หมายถงึ ผลการเรียนอยู่ในเกณฑด์ ีพอใช้ 60 – 64 คะแนน ได้ผลการเรียน 2.0 หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์พอใช้ 55 – 59 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 1.5 หมายถึง ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑอ์ ่อน 50 – 54 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 1.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์อ่อนมาก 50 คะแนน ไดผ้ ลการเรียน 0 หมายถึง ผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑ์ขนั้ ต่า
๘ ความสอดคลอ้ งของหน่วยการเรียนรู้กบั สมรรถนะรายวิชา ชอ่ื วิชา เคร่ืองวัดไฟฟ้า รหสั 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดับชั้น ปวช. ความสอดคล้องกับสมรรถนะรายวิชา หนว่ ย ชอ่ื หน่วย คาบ แสดงความ ้รูเ ่ีกยวกับหลักการทางานของ เค ่รือง ืมอวัดไฟ ้ฟาชนิด ่ตาง ๆ ปฏิบั ิตการหาค่าความคลาดเคลื่อนการ ัวด ใช้งาน โอห์มมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ แอม ิมเตอร์ ัมล ิตมิเตอ ์ร วัต ์ตมิเตอร์ กิโลวัต ์ตอาวร์มิเตอร์ ิดจิตอล ิมเตอร์ ออส ิซลโลสโคป 1 ความรูเ้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกบั เครือ่ งวัดไฟฟ้า 8 / 2 เคร่ืองวัดไฟฟา้ กระแสตรง 12 / / / 3 เคร่อื งวัดไฟฟ้ากระแสสลบั 12 / / / 4 เครอ่ื งวัดความต้านทาน 4/ / / 5 มัลตมิ เิ ตอร์และดิจิตอลมเิ ตอร์ 4/ / / 6 เคร่อื งวัดความตา้ นทานแบบบริดจ์ 4/ / 7 เครื่องวดั กาลงั ไฟฟ้า 8/ / 8 เครอ่ื งกาเนิดสัญญาณและออสซลิ โลสโคป 8 / / 9 เครอ่ื งวัดไฟฟ้าเฉพาะทาง 8/ /
๙ โครงการจัดการเรียนรู้ ชอ่ื วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดับช้นั ปวช. . คร้งั ที่ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ชวั่ โมง 1–2 หน่วยที่ 1 ความรเู้ บื้องตน้ เก่ียวกบั เครือ่ งมอื วดั ใบงานท่ี 1 8 3–5 หนว่ ยที่ 2 เครือ่ งวัดไฟฟา้ กระแสตรง ใบงานที่ 2–3 12 6–8 หนว่ ยที่ 3 เครอ่ื งวัดไฟฟา้ กระแสสลบั ใบงานท่ี 4–5 12 9 หนว่ ยท่ี 4 เครื่องวดั ความต้านทาน ใบงานท่ี 6 4 10 หน่วยที่ 5 มลั ติมเิ ตอรแ์ ละดิจิตอลมิเตอร์ ใบงานที่ 7 4 11 หนว่ ยท่ี 6 เครอ่ื งวดั ความตา้ นทานแบบบริดจ์ ใบงานที่ 8 4 12–13 หนว่ ยที่ 7 เคร่อื งวัดกาลงั ไฟฟ้า ใบงานที่ 9–10 8 14–15 หน่วยที่ 8 เครื่องกาเนิดสัญญาณและออสซลิ โลสโคป ใบงานที่ 11–12 8 16–17 หนว่ ยที่ 9 เครอ่ื งวัดไฟฟ้าเฉพาะทาง ใบงานที่ 13–17 8 18 วดั ผลและประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น 4 72 รวม
๑๐ สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ชอื่ วิชา เครื่องวดั ไฟฟา้ รหัส 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดับช้นั ปวช. .. ชอ่ื เรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม หน่วยท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับเคร่ืองมือ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) วัดไฟฟา้ แสดงความรู้เกยี่ วกับความรูเ้ บ้ืองต้นเกยี่ วกบั เครื่องมือวัด 1.1 ความหมายทเี่ กยี่ วข้องกบั การวดั ไฟฟา้ 1.2 หน่วยการวัดของระบบ SI จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1.3 เครือ่ งวดั ที่ใชใ้ นงานไฟฟา้ กาลัง 1. บอกความหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการวดั ได้ 1.4 สัญลักษณท์ ่เี กี่ยวข้องกบั เคร่ืองวัด 2. บอกหนว่ ยการวัดระบบ SI ได้ ไฟฟ้า 3. บอกเครอื่ งวัดทใ่ี ช้ในงานไฟฟา้ กาลงั ได้ 1.5 ความคลาดเคล่ือน 4. อา่ นสญั ลกั ษณ์ของเคร่ืองวัดไฟฟา้ ตามกาหนดได้ 1.6 การคานวณค่าความคลาดเคล่ือน 5. อธิบายความคลาดเคล่ือนของการวัดและเครื่องวดั ได้ 1.7 คลาสของเครอ่ื งวัดไฟฟา้ 6. คานวณหาความคลาดเคลื่อนได้ 1.8 วิธีการบารงุ รกั ษาเครื่องวดั ไฟฟ้า 7. บอกความหมายของคลาสของเคร่ืองวดั ไฟฟ้าได้ 8. บอกวิธกี ารบารุงรกั ษาเครื่องวัดไฟฟ้าได้ ใบงานที่ 1 สัญลกั ษณ์เคร่ืองวัดไฟฟา้ 1. เขยี นและอธบิ ายสัญลักษณ์บนหน้าปัดเคร่ืองวัดไฟฟ้า ได้ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง/ค่านิยม แสดงออกด้านความสนใจใฝร่ ู้ การตรงตอ่ เวลา ความซ่อื สตั ย์ สุจริต ความมีน้าใจและแบ่งบัน ความรว่ มมอื /ยอมรับความคดิ เห็นสว่ นใหญ่ หน่วยที่ 2 เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 2.1 เครอื่ งวดั แบบขดลวดเคลอ่ื นท่ี แสดงความรู้เกยี่ วกับเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง 2.2 โวลตม์ ิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 2.3 แอมมเิ ตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง 1. บอกสว่ นประกอบของเครอ่ื งวดั แบบขดลวดเคลอ่ื นที่ได้ 2. อธบิ ายโครงสร้างของโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 3. คานวณการขยายย่านวัดของของโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้า กระแสตรงได้ 4. อธิบายการวดั และการอา่ นค่าแรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรง ได้ 5. อธบิ ายโครงสร้างของแอมมเิ ตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงได้
๑๑ สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ช่อื วิชา เคร่ืองวดั ไฟฟ้า รหัส 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชนั้ ปวช. .. ชื่อเร่อื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ใบงานที่ 2 โวลต์มเิ ตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง 6. อธิบายการขยายยา่ นวัดของแอมมิเตอร์ย่านวัดเดยี ว ใบงานท่ี 3 แอมมเิ ตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง แบบซงิ เกิลชันตไ์ ด้ 7. คานวณการขยายย่านวดั ของแอมมิเตอรย์ ่านวัดเดยี ว แบบซิงเกิลชนั ตไ์ ด้ 8. อธิบายการขยายย่านวดั ของแอมมเิ ตอรห์ ลายยา่ นวดั แบบซิงเกลิ ชันตไ์ ด้ 9. คานวณการขยายย่านวดั ของแอมมิเตอร์หลายยา่ นวดั แบบซงิ เกลิ ชันตไ์ ด้ 10. อธบิ ายการขยายย่านวดั ของแอมมเิ ตอร์ แบบอาร์ตนั ชันต์ได้ 11. คานวณการขยายยา่ นวัดของแอมมเิ ตอร์ แบบอารต์ ันชนั ต์ได้ 12. อธิบายการวดั และการอา่ นคา่ แอมมเิ ตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรงได้ 1. ใชง้ านดซี โี วลต์มิเตอรว์ ัดแรงดันไฟฟ้าในวงจรได้ 2. อ่านแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงบนสเกลหนา้ ปัดของ ดซี โี วลตม์ ิเตอรไ์ ด้ 1. ใช้งานดีซแี อมมิเตอรว์ ัดกระแสไฟฟ้าในวงจรได้ 2. อ่านกระแสไฟฟ้ากระแสตรงบนสเกลหน้าปดั ของ ดีซีแอมมิเตอรไ์ ด้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง/ค่านยิ ม แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงตอ่ เวลา ความซอ่ื สตั ย์ สุจริต ความมีนา้ ใจและแบ่งบัน ความร่วมมอื /ยอมรบั ความคิดเห็นสว่ นใหญ่
๑๒ สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ชื่อวิชา เครื่องวดั ไฟฟา้ รหสั 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช. .. ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม หนว่ ยที่ 3 เคร่อื งวัดไฟฟา้ กระแสสลับ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 3.1 เครอ่ื งวัดไฟฟา้ แบบเรียงกระแสไฟฟ้า แสดงความรเู้ กี่ยวกบั เครื่องวัดไฟฟา้ กระแสสลับ 3.2 เครอ่ื งวดั ไฟฟา้ แบบอิเล็กโทรไดนาโม มเิ ตอร์ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.3 เครอ่ื งวัดไฟฟา้ แบบแผน่ เหล็ก 1. อธิบายหลักการทางานของเครือ่ งวัดไฟฟ้าแบบเรียง เคล่ือนท่ี 3.4 เคร่ืองวดั ไฟฟ้าแบบเทอร์มอคัปเปิล กระแสไฟฟา้ ได้ 3.5 เครอื่ งวดั ไฟฟ้าแบบไฟฟ้าสถิต 2. อธบิ ายหลักการทางานของเคร่อื งวดั ไฟฟา้ แบบ ใบงานที่ 4 โวลตม์ เิ ตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ อเิ ล็กโทรไดนาโมมิเตอร์ได้ 3. อธบิ ายหลักการทางานของเครอ่ื งวัดไฟฟ้าแบบแผ่น ใบงานท่ี 5 แอมมิเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ เหลก็ เคลื่อนที่ได้ 4. อธิบายหลกั การทางานของเครือ่ งวดั ไฟฟา้ แบบเทอร์มอคัปเปิลได้ 5. อธิบายหลักการทางานของเคร่ืองวัดไฟฟา้ แบบไฟฟ้า สถติ ได้ 1. ใชง้ านเอซโี วลต์มเิ ตอรว์ ดั แรงดันไฟฟ้าได้ 2. อา่ นแรงดนั ไฟฟา้ บนสเกลหน้าปดั ของเอซโี วลตม์ เิ ตอร์ ได้ 1. ใช้งานเอซแี อมมเิ ตอรว์ ัดกระแสไฟฟ้าในวงจรได้ 2. อา่ นกระแสไฟฟ้าบนสเกลหนา้ ปัดของเอซแี อมมเิ ตอร์ ได้ ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง/คา่ นยิ ม แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซอื่ สตั ย์ สจุ รติ ความมนี ้าใจและแบ่งบัน ความรว่ มมอื /ยอมรบั ความคดิ เห็นส่วนใหญ่
๑๓ สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ชอ่ื วิชา เคร่ืองวัดไฟฟ้า รหสั 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชั้น ปวช. .. ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม หน่วยที่ 4 เครื่องวดั ความต้านทาน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 4.1 โอห์มมิเตอร์ แสดงความรเู้ กยี่ วกับเคร่ืองวัดความต้านทาน 4.2 เมกโอห์มมิเตอร์ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ใบงานท่ี 6 การวดั ความต้านทานดว้ ย 1. บอกกฎของโอหม์ ได้ โอห์มมิเตอร์ 2. อธบิ ายโครงสร้างของโอหม์ มิเตอรไ์ ด้ 3. บอกลกั ษณะสเกลของโอหม์ มิเตอรไ์ ด้ หน่วยที่ 5 มลั ติมเิ ตอร์และดิจิตอลมเิ ตอร์ 4. บอกการใช้งานโอห์มมเิ ตอรไ์ ด้ 5.1 มลั ตมิ ิเตอร์ 5. อา่ นคา่ สเกลจากการวัดของโอห์มมเิ ตอร์ได้ 5.2 ดิจิตอลมิเตอร์ 6. บอกลกั ษณะการใช้งานของเมกโอหม์ มิเตอร์ได้ 7. อธิบายหลักการทางานของเมกโอหม์ มเิ ตอร์ได้ 1. วัดและอ่านคา่ ความตา้ นทานได้ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง/คา่ นยิ ม แสดงออกดา้ นความสนใจใฝร่ ู้ การตรงต่อเวลา ความซือ่ สัตย์ สจุ รติ ความมนี า้ ใจและแบง่ บัน ความร่วมมอื /ยอมรับความคดิ เหน็ ส่วนใหญ่ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความร้เู กี่ยวกับมัลติมเิ ตอร์และดิจิตอลมิเตอร์ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกส่วนประกอบของมลั ติมิเตอรไ์ ด้ 2. บอกสว่ นประกอบสเกลหนา้ ปัดของมลั ติมเิ ตอรไ์ ด้ 3. อธิบายการใชม้ ลั ติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้า กระแสตรงได้ 4 อธิบายการใชม้ ลั ติมิเตอร์วัดแรงดนั ไฟฟ้า กระแสสลบั ได้
๑๔ สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ชอื่ วิชา เครื่องวดั ไฟฟ้า รหัส 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สปั ดาห์ ระดับชนั้ ปวช. .. ช่อื เร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 5. อธบิ ายการใชม้ ลั ติมเิ ตอรว์ ัดกระแสไฟฟ้า ใบงานท่ี 7 การใช้งานมัลติมิเตอร์ กระแสตรงได้ 6. อธบิ ายการใช้มลั ติมิเตอรว์ ดั ความต้านทานได้ หนว่ ยท่ี 6 เครอื่ งวัดความตา้ นทาน 7. บอกข้อควรระวังในการใช้มัลติมิเตอร์ได้ แบบบรดิ จ์ 8. อธบิ ายการหลักทางานเบื้องต้นของดิจทิ ลั มเิ ตอร์ 9. บอกลกั ษณะการใช้งานของดจิ ิทลั มัลตมิ เิ ตอร์ได้ 6.1 วงจรบริดจ์สมดุล 1. ใช้มลั ตมิ เิ ตอร์วัดค่าความตา้ นทานได้ 6.2 วงจรบรดิ จ์ไมส่ มดุล 2. ใช้มัลตมิ เิ ตอร์วดั แรงดันไฟฟ้าได้ 6.3 เครื่องวัดความตา้ นทานแบบ 3. ใชม้ ลั ติมิเตอร์วัดกระแสไฟฟ้าได้ 4. อ่านค่าสเกลย่านวดั ของมลั ตมิ ิเตอร์ได้ วีทสโตนบริดจ์ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง/ค่านยิ ม แสดงออกด้านความสนใจใฝร่ ู้ การตรงต่อเวลา ความซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ความมนี ้าใจและแบ่งบัน ความร่วมมือ/ยอมรบั ความคดิ เหน็ ส่วนใหญ่ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรู้เก่ียวกับเครือ่ งวดั ความตา้ นทาน แบบบริดจ์ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. อธบิ ายวงจรบรดิ จ์สมดลุ ได้ 2. คานวณค่าความตา้ นทานในวงจรบริดจ์สมดลุ ได้ 3. อธบิ ายวงจรบริดจไ์ ม่สมดุลได้ 4. อธิบายหลักการทางานเครื่องวัดความต้านทาน แบบวีทสโตนบริดจ์ได้ 5. อา่ นค่าความตา้ นทานจากเคร่ืองวัดความตา้ นทาน แบบวที สโตนบรดิ จ์ได้
๑๕ สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ช่อื วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหสั 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช. .. ชื่อเรอื่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ใบงานที่ 8 การวดั ความตา้ นทานด้วย ใชเ้ ครอ่ื งวัดแบบวที สโตนบริดจว์ ดั คา่ ความตา้ นทาน วที สโตนบรดิ จ์ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง/คา่ นิยม หนว่ ยท่ี 7 เคร่ืองวัดกาลงั ไฟฟ้า 7.1 วตั ต์มิเตอร์ แสดงออกดา้ นความสนใจใฝร่ ู้ 7.2 วารม์ ิเตอร์ การตรงต่อเวลา 7.3 วตั ตอ์ าวร์มเิ ตอร์ ความซื่อสตั ย์ สจุ รติ ความมีนา้ ใจและแบ่งบัน ใบงานท่ี 9 การใชว้ ตั ต์มเิ ตอร์วัดกาลงั ไฟฟ้า ความรว่ มมือ/ยอมรับความคดิ เหน็ ส่วนใหญ่ ใบงานที่ 10 การใช้กโิ ลวัตต์อาวร์มเิ ตอร์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรเู้ ก่ยี วกับเคร่ืองวดั กาลงั ไฟฟา้ วัดพลังงานไฟฟ้า จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าได้ 2. อธบิ ายโครงสรา้ งของวัตต์มิเตอร์แบบ อเิ ลก็ โทรไดนาโมมเิ ตอรไ์ ด้ 3. อธิบายการต่อใช้งานวัตตม์ เิ ตอรไ์ ด้ 4. การอา่ นคา่ กาลังไฟฟา้ จากวัตต์มิเตอรไ์ ด้ 5. อธิบายการต่อใช้งานวาร์มิเตอรไ์ ด้ 6. อธิบายโครงสรา้ งและหลักการทางานของ วัตต์อาวร์มเิ ตอร์ได้ 1. ตอ่ วงจรวัตต์มิเตอร์วดั กาลังไฟฟา้ ได้ 2. อา่ นค่ากาลังไฟฟา้ ทว่ี ดั ได้ถูกต้อง 1. ต่อวงจรกโิ ลวัตต์อาวร์มเิ ตอรว์ ดั พลังงานไฟฟ้าได้ 2. อา่ นคา่ พลงั งานไฟฟ้าทว่ี ัดจากกิโลวัตตอ์ าวร์มเิ ตอร์ ได้ ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง/ค่านยิ ม แสดงออกด้านความสนใจใฝร่ ู้ การตรงตอ่ เวลา ความซื่อสตั ย์ สจุ ริต ความมีนา้ ใจและแบง่ บัน ความร่วมมือ/ยอมรบั ความคิดเห็นสว่ นใหญ่
๑๖ สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ชื่อวิชา เคร่อื งวัดไฟฟา้ รหสั 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช. .. ชอ่ื เรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม หนว่ ยท่ี 8 เคร่ืองกาเนิดสัญญาณและ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ออสซลิ โลสโคป แ ส ด ง ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ เ ค รื่ อ ง ก า เ นิ ด สั ญ ญ า ณ แ ล ะ 8.1 เคร่อื งกาเนิดสัญญาณ ออสซิลโลสโคป 8.2 ออสซลิ โลสโคป จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ใบงานที่ 11 การปรับแตง่ ออสซิลโลสโคป 1. อธิบายการใชง้ านเคร่ืองกาเนิดสัญญาณได้ ใบงานที่ 12 การใช้ออสซลิ โลสโคป 2. บอกป่มุ ปรบั ออสซิลโลสโคปไม่นอ้ ยกว่า 10 ปุ่มได้ 3. อธิบายการเตรยี มออสซิลโลสโคปก่อนใช้งานได้ 4. อา่ นค่าแรงดนั ไฟฟ้าจากจอภาพออสซลิ โลสโคปได้ 5. อ่านค่าคาบเวลาจากจอภาพออสซลิ โลสโคปได้ 6. คานวณคา่ ความถีจ่ อภาพออสซลิ โลสโคปได้ 7. คานวณคา่ มุมเฟสจอภาพออสซิลโลสโคปได้ 1. ปรับตาแหน่งปมุ่ ปรบั ต่าง ๆ ให้ออสซิลโลสโคป พร้อมใช้งานได้ 1. ใช้ออสซลิ โลสโคปวัดแรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรงได้ 2. ใชอ้ อสซลิ โลสโคปวัดแรงดันไฟฟา้ กระแสสลบั ได้ 3. ใชอ้ อสซลิ โลสโคปวัดคาบเวลาได้ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง/คา่ นยิ ม แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความซ่ือสัตย์ สจุ รติ ความมีน้าใจและแบ่งบัน ความมวี นิ ัย ความมมี นษุ ยสมั พนั ธ์ ความรับผดิ ชอบ และความเช่ือมัน่ ในตนเอง
๑๗ สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ชือ่ วิชา เคร่อื งวดั ไฟฟา้ รหสั 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดบั ชนั้ ปวช. .. ชือ่ เร่อื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม หน่วยที่ 9 เครอื่ งวัดไฟฟ้าเฉพาะทาง สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 9.1 เครอ่ื งวดั ความถี่ แสดงความรู้เกีย่ วกบั เครือ่ งวัดไฟฟ้าเฉพาะทาง 9.2 เครื่องวัดลาดับเฟส 9.3 เคร่ืองวัดความเร็วรอบ จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม 9.4 เครื่องวัดความเข้มของแสง 1. อธบิ ายการใช้งานเครือ่ งวัดความถไี่ ด้ 9.5 เครอื่ งวดั กระแสไฟฟ้าแบบ 2. อธบิ ายการใช้งานเครื่องวดั ลาดับเฟสได้ แคลมป์ออน 3. อธบิ ายการใช้งานเครื่องวัดความเร็วรอบได้ 4. อธบิ ายการใช้งานเครื่องวดั ความเข้มของแสงได้ ใบงานที่ 13 เคร่ืองวดั ความถี่ 5. อธิบายการใช้งานเคร่ืองวัดกระแสไฟฟา้ แบบ ใบงานท่ี 14 เครื่องวัดลาดบั เฟส แคลมป์ออนได้ 1. ใชง้ านเคร่อื งวดั ความถี่แบบก้านส่ันและแบบเข็มช้ี ใบงานที่ 15 เคร่ืองวดั ความเร็วรอบ บา่ ยเบนได้ ใบงานที่ 16 เคร่ืองวัดความส่องสว่าง 2. อา่ นคา่ บนสเกลได้ถกู ต้อง 1. ใช้เครอ่ื งวดั ลาดับเฟสเพ่ือวัดลาดบั เฟสได้ ใบงานท่ี 17 แคลมป์ออนมิเตอร์ 2. อธบิ ายลาดบั เฟสของระบบไฟฟ้า 3 เฟส จากเคร่ืองวดั ลาดบั เฟสได้ 1. ใชง้ านเคร่ืองวดั ความเรว็ รอบไดถ้ กู ต้อง 2. อธิบายผลการวัดความเร็วรอบได้ถูกตอ้ ง 1. ใชเ้ ครอื่ งวัดความส่องสวา่ งได้อย่างถูกต้อง 2. วดั และบอกความส่องสวา่ งสถานที่ต่าง ๆ ได้ 1. ใช้งานแคลมป์ออนมเิ ตอรไ์ ด้ถูกตอ้ ง 2. นาไปประยุกต์ใชง้ านได้ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง/ค่านยิ ม แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา ความซ่อื สตั ย์ สุจรติ ความมีนา้ ใจและแบ่งบนั ความมวี นิ ัย ความมมี นษุ ยสัมพันธ์ ความรบั ผดิ ชอบ และความเชือ่ ม่ันในตนเอง
๑๘ ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู รรายวิชา ชอื่ วิชา เครอ่ื งวดั ไฟฟา้ รหสั 2104-2004 . ท–ป–น 1-3-2 จานวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์ ระดับชัน้ ปวช. พทุ ธพิ สิ ยั พฤติกรรม ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจ ชื่อหน่วย ประยุก ์ต-นาไปใช้ วิเคราะห์ สูงก ่วา ทักษะพิสัย ิจตพิสัย รวม ลา ัดบความสาคัญ 1. ความรู้เบ้ืองตน้ เกีย่ วกบั 121 3295 เครอื่ งวดั ไฟฟ้า 5 2 11 3 5 2 11 3 2. เครื่องวัดไฟฟ้ากระแสตรง 121 3 2 10 4 6 2 12 2 3. เคร่อื งวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 121 4 2 11 3 4. เครือ่ งวัดความต้านทาน 221 5 2 12 2 3295 5. มัลติมิเตอร์และดจิ ิตอลมิเตอร์ 1 2 1 8 2 15 1 6. เครื่องวัดความต้านทาน 221 42 18 100 แบบบริดจ์ 13 7. เครื่องวดั กาลงั ไฟฟ้า 221 8. เคร่อื งกาเนิดสญั ญาณและ 121 ออสซลิ โลสโคป 9. เครื่องวัดไฟฟ้าเฉพาะทาง 122 รวม 19 40 ลาดับความสาคัญ 2
๑๙ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 หน่วยท่ี...1..... ช่ือวิชา เครือ่ งวดั ไฟฟ้า รหัสวชิ า 2104-2004 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชอื่ หน่วย ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกับเครอ่ื งวดั ไฟฟา้ สอนครงั้ ท่ี 1-2 /18 ชอ่ื เร่อื ง ความรู้เบื้องตน้ เก่ยี วกบั เคร่อื งวดั ไฟฟ้า จานวน 8 คาบ หวั ขอ้ เรือ่ ง 1.1 ความหมายทีเ่ กยี่ วข้องกบั การวดั 1.2 หนว่ ยการวัดของระบบ SI 1.3 เคร่ืองวัดท่ีใชใ้ นงานไฟฟ้ากาลัง 1.4 สัญลักษณท์ ีเ่ ก่ยี วข้องกับเคร่ืองวัดไฟฟา้ 1.5 ความคลาดเคลื่อน 1.6 การคานวณคา่ ความคลาดเคล่ือน 1.7 คลาสของเครื่องวัดไฟฟา้ 1.8 วธิ ีการบารุงรักษาเคร่อื งวดั ไฟฟ้า สมรรถนะย่อย แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั ความรเู้ บ้อื งต้นเก่ียวกับเครอ่ื งวัดไฟฟา้ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1. บอกความหมายที่เกี่ยวขอ้ งกบั การวดั ได้ 2. บอกหนว่ ยการวัดระบบ SI ได้ 3. บอกเคร่อื งวัดทใี่ ช้ในงานไฟฟ้ากาลงั ได้ 4. อธบิ ายความคลาดเคลอ่ื นของการวดั และเครื่องวดั ได้ 5. บอกความหมายของคลาสของเครื่องวัดไฟฟา้ ได้ 6. บอกวิธกี ารบารุงรกั ษาเครือ่ งวัดไฟฟา้ ได้ ด้านทักษะ 1. อา่ นสัญลกั ษณข์ องเคร่ืองวัดไฟฟ้าตามกาหนดได้ 2. คานวณหาความคลาดเคล่ือนได้ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกด้านความสนใจใฝร่ ู้ การตรงต่อเวลา ความซอ่ื สัตย์ สุจรติ ความมนี ้าใจและแบ่งบนั ความรว่ มมือ/ยอมรับความคิดเห็นสว่ นใหญ่ เนือ้ หาสาระ 1.1 ความหมายทเี่ ก่ียวข้องกับการวัด 1.2 หนว่ ยการวัดของระบบ SI 1.2.1 หนว่ ยพ้นื ฐาน หน่วยเสรมิ และหนว่ ยอนพุ ันธ์ของระบบ SI 1.2.2 การลดทอนและการขยายหน่วย 1.3 เครือ่ งวัดที่ใช้ในงานไฟฟ้ากาลัง
๒๐ 1.4 สญั ลักษณท์ ีเ่ กีย่ วข้องกบั เคร่อื งวดั ไฟฟ้า 1.4.1 สัญลักษณ์บอกชนดิ ของเครื่องวดั ไฟฟ้า 1.4.2 สญั ลักษณ์บอกโครงสร้างของเครื่องวดั ไฟฟ้า 1.4.3 สญั ลกั ษณ์บอกตาแหน่งการวางของเครื่องวัดไฟฟา้ 1.4.4 สัญลักษณ์บอกค่าความคลาดเคล่ือน 1.5 ความคลาดเคลื่อน 1.5.1 ความคลาดเคลื่อนเชงิ ระบบ 1.5.2 ความคลาดเคลื่อนโดยผูว้ ัด 1.5.3 ความคลาดเคลื่อนแบบสมุ่ 1.6 การคานวณค่าความคลาดเคล่ือน 1.6.1 คา่ ความคลาดเคลื่อนสัมบรู ณ์ 1.6.2 ค่าความคลาดเคลื่อนสัมพทั ธข์ องยา่ นวัด 1.6.3 คา่ ความแม่นยา 1.6.4 ความเท่ียงตรง 1.7 คลาสของเคร่ืองวดั ไฟฟ้า 1.8 วธิ ีการบารุงรักษาเครอื่ งวัดไฟฟ้า 1.9 สรปุ สาระสาคญั การวดั (Measurement) หมายถึง กระบวนการที่ทาการเปรยี บเทยี บปริมาณท่ีไมท่ ราบค่ากับค่ามาตรฐานท่ี กาหนด ความถกู ตอ้ งหรือความแม่นยา (Accuracy) หมายถึง ความใกลเ้ คียงกนั ระหว่างคา่ ที่วดั ได้กับคา่ ทีเ่ ปน็ จรงิ ความละเอยี ด (Resolution) หรอื ความสามารถแยกแยะ หมายถึง ความสามารถของเคร่อื งวัดจะตอบสนอง ตอ่ การวัดค่าท่เี ปลี่ยนแปลงน้อยที่สดุ ความเทย่ี งตรง (Precision) หมายถึง ความสามารถของเคร่ืองวัดทวี่ ัดค่าแต่ละครั้งมคี วามแตกตา่ งของค่าวดั ได้น้อยมาก เมื่อใช้เครื่องมือวัดนัน้ ไปวดั ปรมิ าณของตวั แปรเดิม ความคลาดเคลื่อน (Error) หมายถึง ค่าความแตกต่างระหวา่ งค่าทว่ี ัดได้กบั ค่าทเ่ี ปน็ จริง ความไว (Sensitivity) หมายถึง ความไวในการตอบสนองของเคร่ืองวดั ไฟฟ้าทีม่ ีตอ่ กระแสไฟฟ้าเต็มสเกล มีหนว่ ยเป็นโอหม์ ตอ่ โวลต์ ระบบหนว่ ย SI เปน็ ระบบมาตรฐานนานาชาติ ซ่ึงเรยี กวา่ ระบบเอสไอ (SI ; System international of units) ค่าความคลาดเคลื่อนสัมบรู ณ์ (Absolute Error : e) คือ ปริมาณความแตกต่างระหวา่ งคา่ ทีเ่ ปน็ จริงกบั คา่ ท่ี วัดได้ ค่าความคลาดเคลอ่ื นสัมพัทธ์ของยา่ นวดั (Relative Error : % ความคลาดเคลื่อน) หมายถึง คา่ ท่ีผดิ พลาดไป จากคา่ ท่ีวัดได้เทียบกับค่าท่ีเป็นจริงโดยคิดเป็นรอ้ ยละ คลาสหรือชั้นของเคร่ืองวัดไฟฟา้ (Class of Instruments) หมายถงึ ตัวเลขท่บี อกเปอร์เซ็นตค์ วาม คลาดเคลอ่ื น ของการวัดแตล่ ะย่านวดั (Range)
๒๑ กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 1/18, คาบที่ 1-4/72) 1. ครูช้ีแจงรายละเอยี ดเกี่ยวกบั จุดประสงค์ สมรรถนะและคาอธิบายรายวิชา การวัดผลและประเมนิ ผลการ เรยี น คณุ ลกั ษณะนสิ ยั ทตี่ อ้ งการให้เกิดข้ึน และขอ้ ตกลงในการเรียน 2. ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 1 3. ครใู หห้ นงั สอื เรียน 4. ครนู าเข้าส่บู ทเรียน และครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี น 5. ครสู อนเน้อื หาสาระขอ้ 1.1 – 1.4 6. นักเรยี นทาแบบฝึกหัด 7. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหัด และรว่ มอภิปรายสรปุ บทเรียน กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 2/18, คาบที่ 5-8/72) 1. เตรียมความพร้อมและถามทบทวนเน้ือหา 2. ครูนาเข้าสบู่ ทเรยี น และครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรียน 3. ครูสอนเนอ้ื หาสาระขอ้ 1.5 – 1.8 4. นักเรยี นทาแบบฝกึ หัด 5. ครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝกึ หัด และรว่ มอภปิ รายสรปุ บทเรียน 6. ใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั ิตามใบงานท่ี 1 ขณะนกั เรยี นปฏิบตั ิใบงานท่ี 1 ครจู ะสงั เกตการทางานกลุ่ม 6. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 1 สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยที่ 1, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียน 2. แหล่งการเรยี นรู้ หนังสอื วารสาร และการสืบคน้ จากอินเทอร์เนต็ เก่ียวกบั เคร่ืองวัดไฟฟา้ เบ้ืองตน้ หน่วยการวดั มาตรฐานการวัด ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสาเรจ็ ของผ้เู รียน 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 2. ผลการปฏบิ ัตใิ บงานที่ 1 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 1 การวดั และการประเมินผล การวดั ผล การประเมนิ ผล (ใชเ้ ครอ่ื งมือ) (นาผลเทยี บกับเกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test) หนว่ ยที่ 1 (ไวเ้ ปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลังเรยี น) 2. แบบสังเกตการทางานกลุม่ และนาเสนอผลงานกล่มุ เกณฑผ์ ่าน 60% 3. แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 1 เกณฑ์ผ่าน 50% 4. ใบงานที่ 1 เกณฑ์ผ่าน 60% 5. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว่ ยที่ 1 เกณฑผ์ ่าน 50% 6. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ า่ น 60%
๒๒ งานทีม่ อบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหท้ าแบบฝกึ หดั ใหเ้ รยี บรอ้ ย ถูกต้อง สมบูรณ์ มอบหมายให้สบื คน้ เนอ้ื หาสาระเก่ียวกับเคร่ืองวัดไฟฟา้ เบื้องต้น หน่วยการวดั มาตรฐานการวัด เอกสารอา้ งอิง มนตรี เชิญทอง (2558). เครือ่ งวดั ไฟฟ้า. นนทบุรี : ศูนย์หนงั สอื เมืองไทย. บนั ทึกหลงั การสอน 1. ผลการจดั การเรียนรตู้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 2. ผลการเรยี นของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปญั หาที่พบ ............................................................................................................................. ......................................................... ................................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ปญั หา .......................................................................................................................... ............................................................ .............................................................................................................. ........................................................................ .......................................................................................................................................... ........................................... ....................................................................................... ................................................................ ............................... ลงช่ือ............................................... ลงช่อื ............................................... (...............................................) (...................................... .......) ตวั แทนนกั เรยี น ครูผ้สู อน
๒๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 หนว่ ยท่ี...2..... ชื่อวิชา เคร่ืองวัดไฟฟา้ รหัสวิชา 2104-2004 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชื่อหน่วย เครื่องวดั ไฟฟ้ากระแสตรง สอนครัง้ ท่ี 3-5 /18 ช่ือเรื่อง เคร่ืองวดั ไฟฟ้ากระแสตรง จานวน 12 คาบ หวั ข้อเร่อื ง 2.1 เครอ่ื งวดั แบบขดลวดเคลอื่ นที่ 2.2 โวลตม์ ิเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง 2.3 แอมมิเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง สมรรถนะยอ่ ย แสดงความรเู้ กีย่ วกับเคร่อื งวดั ไฟฟ้ากระแสตรง จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1. บอกสว่ นประกอบของเครอื่ งวัดแบบขดลวดเคล่ือนท่ีได้ 2. อธิบายโครงสรา้ งของโวลตม์ เิ ตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรงได้ 4. อธิบายการวัดและการอา่ นค่าแรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรงได้ 5. อธิบายโครงสรา้ งของแอมมิเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงได้ 6. อธบิ ายการขยายย่านวัดของแอมมเิ ตอร์ยา่ นวัดเดยี วแบบซงิ เกลิ ชันตไ์ ด้ 7. อธบิ ายการขยายย่านวดั ของแอมมเิ ตอร์หลายย่านวัดแบบซงิ เกลิ ชันตไ์ ด้ 8. อธิบายการขยายยา่ นวดั ของแอมมเิ ตอรแ์ บบอาร์ตนั ชนั ตไ์ ด้ 9. อธบิ ายการวดั และการอ่านค่าแอมมเิ ตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ ดา้ นทักษะ 1. คานวณการขยายย่านวัดของของโวลตม์ ิเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงได้ 2. คานวณการขยายย่านวัดของแอมมเิ ตอร์ย่านวัดเดียวแบบซิงเกิลชันตไ์ ด้ 3. คานวณการขยายย่านวัดของแอมมเิ ตอรห์ ลายย่านวดั แบบซิงเกิลชันตไ์ ด้ 4. คานวณการขยายยา่ นวัดของแอมมิเตอร์แบบอารต์ ันชนั ต์ได้ 5. ใชง้ านดซี โี วลต์มเิ ตอร์วัดแรงดนั ไฟฟา้ ในวงจรได้ 6. อ่านแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงบนสเกลหนา้ ปัดของดซี ีโวลตม์ เิ ตอรไ์ ด้ 7. ใช้งานดีซีแอมมเิ ตอรว์ ัดกระแสไฟฟ้าในวงจรได้ 8. อา่ นกระแสไฟฟ้าบนสเกลหนา้ ปัดของดีซแี อมมเิ ตอรไ์ ด้ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แสดงออกด้านความสนใจใฝร่ ู้ การตรงต่อเวลา ความซือ่ สตั ย์ สจุ รติ ความมีนา้ ใจและแบ่งบัน ความร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นสว่ นใหญ่
๒๔ เน้อื หาสาระ 2.1 เครอ่ื งวัดแบบขดลวดเคลอ่ื นที่ 2.1.1 พ้นื ฐานขดลวดเคลือ่ นท่ีแบบดารส์ นั วาล 2.1.2 ท่ีรองรบั แกน 2.1.3 แรงทางกลของเครื่องมือวดั 2.1.4 วงจรเทยี บเท่าของเคร่ืองวดั แบบขดลวดเคลือ่ นที่ 2.2 โวลตม์ ิเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง 2.2.1 โครงสร้างโวลต์มิเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง 2.2.2 การขยายยา่ นวดั โวลตม์ ิเตอร์ 2.2.3 โวลต์มเิ ตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบหลายย่านวัด 2.2.4 การตอ่ โวลต์มเิ ตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 2.2.5 การอา่ นสเกลของโวลต์มเิ ตอร์ 2.3 แอมมเิ ตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 2.3.1 โครงสร้างของแอมมเิ ตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง 2.3.2 การขยายย่านวัดของแอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 2.3.3 การขยายย่านวัดของแอมมิเตอรห์ ลายยา่ นวดั แบบซิงเกิลชันต์ 2.3.4 การขยายย่านวัดของแอมมเิ ตอร์แบบอารต์ นั ชนั ต์ 2.3.5 การใช้งานแอมมเิ ตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง 2.4 สรุปสาระสาคญั 1. การดัดแปลงดาร์สันวาลมิเตอร์ให้เป็นโวลต์มิเตอร์ทาได้โดยการเพิ่มตัวต้านทางอันดับต่ออันดับ ร่วมกับดาร์สันวาลมิเตอร์หรือต้องการดัดแปลงให้โวลต์มิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้าได้สูงข้ึนตัวต้านทานอันดับทาหน้า ท่ี จากัดจานวนกระแสไฟฟา้ ที่ไหลผ่านเข้าโวลต์มิเตอร์ไม่เกินกว่าค่ากระแสไฟฟ้าเดิมที่มิเตอรท์ นได้การปรับเปล่ียนค่า ความต้านทานของตัวต้านทานอันดับทาให้โวลต์มิเตอร์สามารถวัดปริมาณแรงดันไฟฟ้าได้เปลี่ยนไปการคานวณค่า ตา่ งๆของโวลตม์ เิ ตอร์คานวณไดจ้ ากสตู ร EFS = IFS (RS + RM) RS = EFs – RM IFs การต่อโวลต์มิเตอร์วัดค่าแรงดันไฟฟ้าในวงจร โวลต์มิเตอร์ต้องต่อขนานกับวงจรไฟฟ้าเสมอการวัด แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงน้ันขณะต่อโวลต์มิเตอร์คร่อมจุดวัดต้องคานึงถึงข้ัวโวลต์มิเตอร์และขั้วแรงดันไฟฟ้าท่ีตก ครอ่ มจุดนน้ั การต่อวดั ขั้วต้องตรงกนั โดยใช้หลกั ดงั น้บี วกต่อกับบวก และลบกับตอ่ ลบ ขนาดของโวลต์มเิ ตอร์ที่สรา้ งขึ้นมาใช้งานมีหลายขนาดการเลือกโวลต์มเิ ตอร์มาใช้งานต้องเลือกยา่ นวัดคา่ ให้ เหมาะสมกับปริมาณกบั กระแสไฟฟ้าท่ที าการวัดเพื่อใช้เข็มช้ีชี้ค่าในยา่ นที่เหมาะสมไม่ต่าเกินไปหรือสูงเกนิ ไปเพราะ อาจทาใหโ้ วลตม์ เิ ตอร์ชารุดเสียหายได้ 2. แอมมิเตอร์มโี ครงสรา้ งมาจากดาร์สนั วาลมิเตอรป์ ระกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คอื ขดลวด เคล่ือนที่แบบแม่เหล็กถาวร และตัวตา้ นทานชันต์ 3. ตวั ต้านทานชนั ต์ตอ่ ขนานกับดาร์สนั วาลมเิ ตอร์เพ่ือขยายย่านวัดของขดลวดเคลอื่ นท่แี บบแมเ่ หลก็ ถาวรเพื่อทาเป็นแอมมเิ ตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง มี 2 วิธี คือใช้ตัวต้านทานชนั ต์แบบตัวเดยี วหรือแบบ ซงิ เกลิ ชนั ต์และ ใช้ตวั ตา้ นทานแบบอาร์ตนั ทาใหแ้ อมมเิ ตอร์สามารถวัดปรมิ าณกระแสไฟฟ้าไดเ้ พ่ิมข้นึ
๒๕ 4. แอมมิเตอร์จะต้องต่ออนุกรมกบั โหลดในวงจร และตอ่ ใหถ้ ูกขั้ว ถ้าต่อผิดขัว้ จะทาให้เข็มตกี ลบั และ เกดิ การเสยี หายได้ กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ท่ี 3/18, คาบที่ 9-12/72) 1. ครูทบทวนเน้ือหาการสอน 2. ให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยท่ี 2 4. ครูนาเข้าสู่บทเรยี น และครูแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี น 5. ครสู อนเนอ้ื หาสาระข้อ 2.1 6. นักเรียนทาแบบฝึกหดั 7. ครูและนักเรยี นรว่ มกันเฉลยแบบฝกึ หดั และรว่ มอภิปรายสรปุ บทเรยี น กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 4/18, คาบท่ี 13-16/72) 1. ครูทบทวนเน้ือหาการสอน 2. ครสู อนเนือ้ หาสาระขอ้ 2.2 3. นกั เรยี นทาแบบฝกึ หดั 4. ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลยแบบฝึกหัด และรว่ มอภิปรายสรุปบทเรียน 5. นกั เรียนปฏบิ ตั ิใบงานที่ 2 ครูจะสังเกตการทางานกลุ่ม กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 5/18, คาบที่ 17-20/72) 1. เตรียมความพร้อมและถามทบทวนเนื้อหา 2. ครูสอนเนื้อหาสาระขอ้ 2.3 4. นกั เรยี นทาแบบฝกึ หดั 5. ครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภิปรายสรุปบทเรยี น 6. ให้นักเรยี นปฏิบตั ิตามใบงานที่ 3 ครจู ะสังเกตการทางานกลุ่ม 7. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 2 สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยที่ 2, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน 2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนังสอื วารสารเกย่ี วกับ และการสืบค้นจากอนิ เทอร์เน็ต เกีย่ วกบั เคร่อื งวัดไฟฟา้ กระแสตรง และการใช้งาน ผลงาน/ช้ินงาน/ความสาเร็จของผเู้ รยี น 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 2 2. ผลการปฏิบตั ใิ บงานท่ี 2 และ 3 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 2
๒๖ การวดั และการประเมนิ ผล การประเมินผล (นาผลเทยี บกบั เกณฑแ์ ละแปลความหมาย) การวัดผล (ไวเ้ ปรยี บเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) (ใชเ้ ครือ่ งมอื ) เกณฑ์ผ่าน 60% 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre–test) หน่วยท่ี 2 เกณฑผ์ ่าน 50% 2. แบบสังเกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑ์ผา่ น 60% 3. แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 2 เกณฑ์ผา่ น 50% 4. ใบงานท่ี 2-3 เกณฑ์ผ่าน 60% 5. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว่ ยท่ี 2 6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง งานทม่ี อบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนอื เวลาเรยี น ให้ทาแบบฝกึ หดั ใหเ้ รียบรอ้ ย ถูกตอ้ ง สมบูรณ์ มอบหมายใหส้ บื คน้ เนอื้ หาสาระเก่ียวกบั เครื่องวดั ไฟฟา้ กระแสตรง และการใช้งาน เอกสารอ้างอิง มนตรี เชญิ ทอง (2558). เคร่ืองวดั ไฟฟา้ . นนทบรุ ี : ศนู ย์หนังสือเมืองไทย. บนั ทึกหลงั การสอน 1. ผลการจัดการเรยี นรู้ตามแผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 2. ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปญั หาท่ีพบ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 3. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................ ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ลงชื่อ............................................... ลงชื่อ........................................ ....... (...............................................) (.............................................) ตวั แทนนกั เรียน ครผู ้สู อน
๒๗ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 หน่วยท่ี...3..... ชอ่ื วิชา เครื่องวดั ไฟฟา้ รหสั วชิ า 2104-2004 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชอ่ื หน่วย เคร่ืองวดั ไฟฟ้ากระแสสลับ สอนครัง้ ที่ 6-8 /18 ชื่อเรอ่ื ง เคร่ืองวัดไฟฟ้ากระแสสลับ จานวน 4 คาบ หัวข้อเรื่อง 3.1 เครื่องวดั ไฟฟา้ แบบเรียงกระแสไฟฟา้ 3.2 เครื่องวัดไฟฟา้ แบบอเิ ล็กโทรไดนาโมมิเตอร์ 3.3 เคร่อื งวัดไฟฟา้ แบบแผน่ เหลก็ เคล่ือนที่ 3.4 เครอ่ื งวัดไฟฟ้าแบบเทอร์มอคัปเปิล 3.5 เครอ่ื งวดั ไฟฟา้ แบบไฟฟา้ สถิต สมรรถนะย่อย แสดงความรู้เก่ยี วกับเคร่อื งวัดไฟฟ้ากระแสสลบั จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1. อธิบายหลกั การทางานของเครอ่ื งวดั ไฟฟา้ แบบเรียงกระแสไฟฟ้าได้ 2. อธบิ ายหลักการทางานของเครอ่ื งวัดไฟฟ้าแบบอิเลก็ โทรไดนาโมมิเตอร์ได้ 3. อธบิ ายหลักการทางานของเครื่องวัดไฟฟ้าแบบแผ่นเหลก็ เคลื่อนท่ีได้ 4. อธิบายหลักการทางานของเคร่ืองวัดไฟฟ้าแบบเทอร์มอคัปเปิลได้ 5. อธิบายหลักการทางานของเครื่องวัดไฟฟ้าแบบไฟฟา้ สถิตได้ ดา้ นทกั ษะ 1. ใช้งานเอซโี วลตม์ เิ ตอรว์ ัดแรงดันไฟฟา้ ได้ 2. อา่ นแรงดันไฟฟา้ บนสเกลหนา้ ปดั ของเอซีโวลต์มเิ ตอร์ได้ 3. ใช้งานเอซแี อมมเิ ตอรว์ ดั กระแสไฟฟา้ ในวงจรได้ 4. อา่ นกระแสไฟฟ้าบนสเกลหนา้ ปดั ของเอซแี อมมเิ ตอร์ได้ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แสดงออกดา้ นความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซอื่ สตั ย์ สุจริต ความมีนา้ ใจและแบง่ บนั ความร่วมมือ/ยอมรบั ความคิดเหน็ ส่วนใหญ่ เน้อื หาสาระ 3.1 เครอ่ื งวดั ไฟฟ้าแบบเรียงกระแสไฟฟา้ 3.1.1 เครือ่ งวัดแบบเรยี งกระแสครงึ่ รูปคลน่ื (Half–Wave Rectifier) 3.1.2 เครอ่ื งวดั แบบเรียงกระแสเตม็ รปู คล่ืน (Full–Wave Rectifier) 3.2 เครื่องวดั ไฟฟา้ แบบอเิ ล็กโทรไดนาโมมเิ ตอร์ 3.2.1 หลักการทางาน 3.2.2 การนาไปใชง้ าน
๒๘ 3.3 เครื่องวดั ไฟฟ้าแบบแผน่ เหล็กเคล่อื นที่ 3.3.1 แบบแรงดูด 3.3.2 แบบแรงผลัก 3.3.3 แบบแรงดูดและผลักร่วมกัน 3.4 เคร่ืองวัดไฟฟ้าแบบเทอร์มอคัปเปิล 3.4.1 โครงสรา้ งและหลักการทางาน 3.4.2 การนาไปใช้งาน 3.5 เครอ่ื งวัดไฟฟา้ แบบไฟฟา้ สถิต 3.5.1 โครงสรา้ ง 3.3.2 หลักการทางาน 3.6 สรปุ สาระสาคัญ การวัดปริมาณไฟฟ้ากระแสสลับต้องใช้มิเตอร์วัดไฟกระแสสลับ จึงจะสามารถวัดปริมาณไฟฟ้านั้น ๆ ออกมาได้ มิเตอร์วัดปริมาณไฟฟ้ากระแสสลับสามารถสร้างได้จากมิเตอร์หลายแบบมิเตอร์แต่ละแบบมีโครงสร้าง และคุณสมบัตแิ ตกต่างกันไปแต่ละลักษณะโดยเฉพาะเครอื่ งวดั ไฟฟา้ แบบเรยี งกระแสไฟฟ้า (Rectifier instrument) โดยใช้ไดโอดเป็นอุปกรณ์ในการเรียงกระแสไฟฟ้า (Rectifier) มี 2 แบบ คือ แบบการเรียงกระแสไฟฟ้าคร่ึงรูปคล่ืน (Half–Wave Rectifier) แบบการเรียงกระแสไฟฟ้าเตม็ รูปคลนื่ (Full–Wave Rectifier) เครื่องวัดไฟฟ้าแบบอิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร์ (Electro dynamometer) มีโครงสร้างเหมือนกันแบบ ขดลวดเคล่อื นที่ (PMMC) แตท่ าการเปลย่ี นจากแม่เหลก็ ถาวรเป็นแม่เหล็กไฟฟ้า ซงึ่ แยกออกเปน็ 2 ชุด ขดลวดชุดที่ อยู่กบั ทเี่ รยี กว่า “ขดกระแสไฟฟ้า” ขดลวดเคลอื่ นท่เี รยี กวา่ “ขดแรงดนั ไฟฟ้า” เคร่ืองวัดไฟฟ้าแบบแผ่นเหล็กเคล่ือนที่ (Moving iron instrument) มีโครงสร้างประกอบด้วยแผ่น เหล็กอ่อน 2 แผ่น เป็นแผ่นเหล็กเคลื่อนทก่ี ับแผน่ เหล็กอยู่กบั ท่ี สปริง และเข็มชี้ตดิ อยู่กับขดลวดเคลือ่ นที่ เครื่องวัดไฟฟ้าแบบเทอร์มอคัปเปิล (Thermocouple instrument) มีหลักการทางาน โดยอาศัย ความร้อนท่ีเกิดจากการจ่ายกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความร้อนท่ีมีค่าความต้านทานภายใน ความร้อนที่ได้มีค่า เทา่ กบั I2R แลว้ ส่งมายังเทอร์มอคัปเปิลจะเปน็ ตัวส่งสัญญาณท่ีเป็นแรงดันไฟฟา้ ไปยงั ขดลวดเคล่อื นทท่ี าใหเ้ ข็มชเ้ี กิด บา่ ยเบนไป เคร่อื งวัดแบบไฟฟ้าสถติ ประกอบด้วย แผ่นตัวนา 2 ชุด และสปรงิ ชุดท่ีหนง่ึ เปน็ แผ่นตวั นาเคล่อื นทท่ี า การติดตั้งบนแบริง (Bearing) และมีเข็มชี้ติดอยู่ สามารถหมุนได้ แผ่นตัวนาชุดที่สองเป็นแผ่นตัวนาอยู่กับท่ีและ สปรงิ ทาหน้าทสี่ าหรับทาให้เกดิ แรงบิดตา้ น กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 6/18, คาบที่ 21-24/72) 1. ครูทบทวนเน้อื หาการสอน 2. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 3 4. ครนู าเขา้ สู่บทเรยี น และครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียน 5. ครูสอนเนือ้ หาสาระขอ้ 3.1-3.2 6. นักเรยี นทาแบบฝึกหดั 7. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหัด และรว่ มอภิปรายสรุปบทเรียน
๒๙ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 7/18, คาบที่ 25-28/72) 1. ครทู บทวนเนอ้ื หาการสอน 2. ครูสอนเนื้อหาสาระข้อ 3.3-3.4 3. นักเรยี นทาแบบฝึกหดั 4. ครูและนักเรยี นรว่ มกันเฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรยี น 5. นกั เรียนปฏบิ ตั ใิ บงานที่ 4 ครจู ะสงั เกตการทางานกลุ่ม กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาหท์ ่ี 8/18, คาบที่ 29-32/72) 1. เตรียมความพรอ้ มและถามทบทวนเนือ้ หา 2. ครสู อนเนื้อหาสาระขอ้ 3.5 4. นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั 5. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝกึ หัด และร่วมอภปิ รายสรปุ บทเรียน 6. ใหน้ ักเรยี นปฏิบัติตามใบงานท่ี 5 ครจู ะสังเกตการทางานกลมุ่ 7. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 3 สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 3, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียน 2. แหล่งการเรยี นรู้ หนงั สอื วารสาร และการสืบค้นจากอินเทอรเ์ น็ต เกยี่ วกับเคร่ืองวดั ไฟฟ้ากระแสสลับ ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาเรจ็ ของผเู้ รียน 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 3 2. ผลการปฏบิ ัตใิ บงานท่ี 4 และ 5 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว่ ยที่ 3 การวดั และการประเมินผล การวดั ผล การประเมนิ ผล (ใช้เครื่องมือ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test) หนว่ ยที่ 3 (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน) 2. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ ่าน 60% 3. แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 3 เกณฑ์ผา่ น 50% 4. ใบงานที่ 4-5 เกณฑ์ผา่ น 60% 5. แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 3 เกณฑ์ผา่ น 50% 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ า่ น 60% งานทม่ี อบหมาย งานทีม่ อบหมายนอกเหนอื เวลาเรยี น ใหท้ าแบบฝกึ หัดใหเ้ รยี บร้อย ถูกต้อง สมบูรณ์ มอบหมายใหส้ ืบคน้ เนอื้ หาสาระเกีย่ วกับเครื่องวัดไฟฟา้ กระแสสลบั และการใช้งาน
๓๐ เอกสารอ้างอิง มนตรี เชิญทอง (2558). เคร่ืองวัดไฟฟา้ . นนทบรุ ี : ศนู ย์หนงั สอื เมืองไทย. บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาที่พบ .............................................................................................. ........................................................................................ ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 3. แนวทางการแกป้ ญั หา .............................................................................................................................................................................. ........ .............................................................................................................. ........................................................................ ............................................................................................................................... ...................................................... ........................................................................................................................................... ........................................... ลงชื่อ............................................... ลงช่อื ............................................... (...............................................) (...................................... .......) ตัวแทนนักเรียน ครูผสู้ อน
๓๑ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 หนว่ ยท่ี...4..... ช่ือวิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหสั วชิ า 2104-2004 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชอ่ื หน่วย เคร่อื งวดั ความต้านทาน สอนคร้ังท่ี 9 /18 ชอ่ื เร่อื ง เครอื่ งวดั ความตา้ นทาน จานวน 4 คาบ หัวข้อเร่ือง 4.1 โอหม์ มเิ ตอร์ 4.2 เมกโอห์มมเิ ตอร์ สมรรถนะยอ่ ย แสดงความรเู้ ก่ียวกบั เคร่ืองวดั ความตา้ นทาน จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1. บอกกฎของโอหม์ ได้ 2. อธบิ ายโครงสร้างของโอห์มมิเตอรไ์ ด้ 3. บอกลักษณะสเกลของโอห์มมเิ ตอรไ์ ด้ 4. บอกการใชง้ านโอห์มมเิ ตอรไ์ ด้ 5. อา่ นคา่ สเกลจากการวัดของโอหม์ มเิ ตอร์ได้ 6. บอกลักษณะการใชง้ านของเมกโอห์มมิเตอร์ได้ 7. อธิบายหลักการทางานของเมกโอห์มมเิ ตอร์ได้ ดา้ นทักษะ วัดและอ่านคา่ ความต้านทานได้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซอื่ สัตย์ สจุ ริต ความมนี ้าใจและแบ่งบนั ความรว่ มมือ/ยอมรับความคิดเห็นสว่ นใหญ่ เน้อื หาสาระ 4.1 โอห์มมิเตอร์ 4.1.1 โครงสร้างของโอห์มมเิ ตอร์ 4.1.2 สเกลของโอห์มมิเตอร์ 4.1.3 การใช้งานโอหม์ มิเตอร์ 4.1.4 วธิ ีอ่านค่าความตา้ นทาน 4.2 เมกโอห์มมเิ ตอร์ 4.3 สรปุ สาระสาคญั การหาค่าความต้านทานของตวั ต้านทานด้วยวิธีการคานวณดว้ ยกฎของโอห์มมีความยุ่งยากในการ คานวณหาคา่ ยง่ิ กรณีที่ต้องการทราบค่าความต้านทานหลาย ๆ คา่ ยง่ิ เกดิ ความยุ่งยากมากข้ึน จึงดัดแปลงมิเตอร์ให้ สามารถวัดค่าความต้านทานออกมาได้โดยตรง เรียกว่าโอห์มมิเตอร์ โครงสร้างของโอห์มมิเตอร์ประกอบด้วย มิลลิ
๓๒ แอมมิเตอร์ แบตเตอร่ี และตวั ต้านทานจากัดกระแสไฟฟ้าในวงจร และเปลี่ยนสเกลของมลิ ลิแอมมเิ ตอร์ให้เป็นสเกล โอห์ม ทาได้โดยกาหนดค่าความตา้ นทานจากค่าน้อยไปหาค่ามาก โอหม์ มิเตอร์ทสี่ ร้างมาใชง้ าน สามารถวัดค่าความต้านทานได้กว้างตงั้ แตค่ า่ ตา่ เป็นโอห์ม () ถงึ ค่า สูง เป็นเมกโอห์ม (M) โดยใช้สเกลแสดงค่าความต้านทานที่วัดเพียงสเกลเดียว การอ่านค่าความต้านทานได้ ถูกต้อง ต้องนาค่าความต้านทานท่ีอ่านได้บนสเกลไปคูณกับย่านท่ีต้ังไว้ เช่น 1, 10, 100, 1k หรือ 10k เป็นต้น สิ่งสาคัญก่อนการใช้โอห์มมิเตอร์คือต้องทาการปรับแต่งโอห์มมิเตอร์ให้พร้อมใช้งานโดยช็อตปลาย สายวัดเข้าด้วยกัน และปรับปุ่มปรับโอห์มให้เข็มช้ีชี้ท่ีตาแหน่ง 0 พอดี จึงจะสามารถวัดค่าความต้านทานได้ ถูกต้อง เมกโอห์มมิเตอร์เป็นโอห์มมิเตอร์ท่ีใช้วัดค่าความต้านทานสูง ๆ เป็นเมกโอห์ม โครงสร้างของ เมกโอห์มมิเตอร์แตกต่างจากโอห์มมิเตอร์ปกติตรงที่ภายในเมกโอห์มมิเตอร์มีเครื่องกาเนิดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง แทนแบตเตอร่ีจ่ายแรงดันไฟฟ้า การวัดค่าความต้านทานต้องหมุนเครื่องกาเนิดแรงดันไฟ เพ่ือจ่ายแรงดันไฟฟ้าเข้า วงจร จึงสามารถวดั คา่ ความต้านทานได้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 9/18, คาบที่ 33-36/72) 1. ครูทบทวนเนอ้ื หาการสอนท่ผี ่านมา 2. ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยที่ 4 3. ครูนาเข้าสบู่ ทเรียน และครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรียน 4. ครูสอนเนือ้ หาสาระข้อ 4.1 – 4.2 5. นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดเป็นกลุม่ ขณะนักเรยี นทาแบบฝึกหดั ครูจะสงั เกตการทางานกลุม่ 6. ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัติตามใบงานที่ 6 ครจู ะสงั เกตการทางานกลุ่ม 7. ครูและนักเรียนรว่ มกันเฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภิปรายสรปุ บทเรียน 8. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 4 สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 4, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียน 2. แหล่งการเรยี นรู้ หนงั สือ วารสาร และการสบื ค้นจากอินเทอรเ์ น็ต เก่ียวกบั เครื่องวดั ความตา้ นทาน ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเรจ็ ของผู้เรยี น 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 4 2. ผลการปฏิบัตใิ บงานท่ี 6 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 4
๓๓ การวดั และการประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมินผล (ใช้เครอ่ื งมือ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre–test) หน่วยท่ี 4 (ไวเ้ ปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลงั เรียน) 2. แบบสังเกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกล่มุ เกณฑ์ผา่ น 60% 3. แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 4 เกณฑ์ผ่าน 50% 4. ใบงานที่ 6 เกณฑผ์ า่ น 60% 5. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยท่ี 4 เกณฑ์ผ่าน 50% 6. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผา่ น 60% งานทมี่ อบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทาแบบฝกึ หดั ใหเ้ รยี บร้อย ถูกต้อง สมบูรณ์ มอบหมายให้สบื ค้น เนือ้ หาสาระเกี่ยวกับเครื่องวัดความต้านทานต่างๆ เอกสารอ้างอิง มนตรี เชญิ ทอง (2558). เครื่องวัดไฟฟ้า. นนทบรุ ี : ศูนย์หนงั สือเมืองไทย.
๓๔ บันทึกหลงั การสอน 1. ผลการจดั การเรยี นรตู้ ามแผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปญั หาที่พบ .............................................................................................. ........................................................................................ ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... .......................................................... ............................................................................................. ............................... 3. แนวทางการแกป้ ญั หา ........................................................................................................... ........................................................................... .............................................................................................................. ........................................................................ ............................................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ลงช่ือ............................................... ลงชอ่ื ............................................... (...............................................) (...................................... .......) ตัวแทนนักเรียน ครูผู้สอน
๓๕ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 หน่วยท่ี...5..... ช่อื วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหสั วชิ า 2104-2004 เวลาเรียนรวม 72 คาบ ชอ่ื หน่วย มัลติมิเตอรแ์ ละดิจิตอลมิเตอร์ สอนคร้ังท่ี 10 /18 ชอื่ เรื่อง มลั ติมิเตอรแ์ ละดจิ ิตอลมเิ ตอร์ จานวน 4 คาบ หวั ข้อเร่อื ง 5.1 มลั ตมิ ิเตอร์ 5.2 ดจิ ิตอลมเิ ตอร์ สมรรถนะยอ่ ย แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั มัลติมเิ ตอร์และดิจติ อลมิเตอร์ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ด้านความรู้ 1. บอกสว่ นประกอบของมลั ตมิ เิ ตอรไ์ ด้ 2. บอกส่วนประกอบสเกลหนา้ ปัดของมัลติมเิ ตอร์ได้ 3. อธิบายการใช้มลั ติมเิ ตอรว์ ดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 4 อธบิ ายการใชม้ ลั ติมิเตอร์วดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลับได้ 5. อธบิ ายการใช้มลั ตมิ ิเตอรว์ ดั กระแสไฟฟา้ กระแสตรงได้ 6. อธิบายการใชม้ ัลติมิเตอร์วัดความตา้ นทานได้ 7. บอกข้อควรระวงั ในการใชม้ ลั ติมิเตอรไ์ ด้ 8. อธิบายการหลกั ทางานเบื้องต้นของดิจิตอลมิเตอร์ได้ 9. บอกลักษณะการใช้งานของดจิ ิตอลมลั ตมิ ิเตอรไ์ ด้ ดา้ นทกั ษะ 1. ใช้มัลตมิ เิ ตอร์วัดค่าความตา้ นทานได้ 2. ใชม้ ัลตมิ เิ ตอร์วัดแรงดนั ไฟฟ้าได้ 3. ใชม้ ัลติมิเตอรว์ ดั กระแสไฟฟา้ ได้ 4 อ่านคา่ สเกลย่านวดั ของมัลตมิ ิเตอร์ได้ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แสดงออกด้านความสนใจใฝร่ ู้ การตรงต่อเวลา ความซอ่ื สัตย์ สุจริต ความมีนา้ ใจและแบ่งบัน ความร่วมมอื /ยอมรับความคิดเหน็ สว่ นใหญ่ เน้อื หาสาระ 5.1 มัลตมิ เิ ตอร์ 5.1.1 สว่ นประกอบของมลั ติมิเตอร์ 5.1.2 ส่วนประกอบสเกลหนา้ ปดั ของมัลตมิ ิเตอร์ 5.1.3 การใชม้ ัลตมิ เิ ตอร์
๓๖ 5.2 ดิจิตอลมเิ ตอร์ 5.2.1 หลกั การทางานเบ้ืองต้นของดิจิตอลมเิ ตอร์ 5.2.2 ดิจิตอลมลั ติมิเตอร์ 5.2.3 ขอ้ ควรระวังและการเตรียมใช้งานดจิ ิตอลมลั ตมิ เิ ตอร์ 5.3 สรปุ สาระสาคญั มัลติมิเตอร์ เป็นเครื่องวัดอเนกประสงค์ สามารถวัดค่าปริมาณไฟฟ้าได้หลายปริมาณในเครื่องวัด เดียวกนั โดยใชส้ วิตช์เลอื กย่านวัด (Selector Switch) เลือกวงจรของมิเตอร์ มัลตมิ ิเตอร์สามารถทาเปน็ มิเตอร์ได้ 4 ชนิด คือโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) โวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ (ACV) มิลลิ–แอมมิเตอร์ไฟฟ้า กระแสตรง (DCmA) และโอหม์ มเิ ตอร์ (Ω) การใชม้ ัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC VOLTAGE) จะต้องปรับต้ังมัลติมิเตอร์ย่านวัด DCV และขนานกับแหลง่ จา่ ยหรอื ตอ่ ขนานกับโหลดทีต่ ้องการวัด การใช้มัลติมิเตอร์วดั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลับ มีวิธีการเหมือนกบั การวดั แรงดันไฟฟา้ กระแสตรง แต่ไม่ จาเป็นตอ้ งคานึงถงึ ขั้วบวก หรอื ข้ัวลบ การใชม้ ลั ติมเิ ตอรว์ ัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง จะต้องต่ออันดบั กับวงจรและแหลง่ จ่ายไฟ ขว้ั ของ มัลติมิเตอร์ (ดีซีแอมมิเตอร์) จะต้องต่อให้ถูกต้อง มิเช่นนั้นเข็มมิเตอร์จะตีกลับ อาจทาให้มิเตอร์เสียได้ และควร ปรับต้ังย่านวัดให้เหมาะสมกับค่าที่ทาการวัด ย่านวัด DCA หรือ DCmA มีทั้งหมด 4 ย่าน คือ 50mA, 2.5mA, 25mA และ 0.25 A (250mA) การใช้มัลติมิเตอร์วัดความต้านทาน การนาโอห์มมิเตอร์ไปใช้วัดความต้านทานทุกคร้ังทุกย่านวัด จะต้องทาการปรับ 0 โอหม์ เสมอ และควรปรับตงั้ ยา่ นวัดใหเ้ หมาะสมกบั คา่ ที่ทาการวดั ดิจิตอลมิเตอร์ เป็นเครื่องวัดท่ีแสดงผลเป็นตัวเลข มีข้อดี เช่น ด้านความเร็ว ความแม่นยา ความ ละเอียด ลดความผิดพลาดจากการอ่านค่าของผู้ใช้ มีฟังก์ชันต่าง ๆ ให้เลือกมาก มีระบบป้องกันวงจรภายในดี เป็นตน้ ดจิ ติ อลมัลติมิเตอร์ เป็นเครอื่ งวัดเอนกประสงคท์ ่ีแสดงผลเปน็ ตัวเลข สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้หลาย อย่าง เชน่ วัดแรงดันไฟฟ้ากระสลับ วัดแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง การวดั ค่าความต้านทานวัดกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ วดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง วัดความถี่ วดั ความจไุ ฟฟา้ เป็นต้น กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 10/18, คาบท่ี 37-40/72) 1. ครทู บทวนเนอ้ื หาการสอนที่ผา่ นมา 2. ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยท่ี 5 3. ครูนาเขา้ ส่บู ทเรียน และครูแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียน 4. ครสู อนเนื้อหาสาระขอ้ 5.1-5.2 5. นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดเปน็ กลุม่ ขณะนักเรียนทาแบบฝกึ หดั ครูจะสังเกตการทางานกลุ่ม 6. ให้นกั เรียนปฏบิ ัตติ ามใบงานท่ี 7 ครูจะสังเกตการทางานกล่มุ 7. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยแบบฝกึ หัด และรว่ มอภิปรายสรุปบทเรียน 8. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยที่ 5
๓๗ สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 5, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน 2. แหล่งการเรยี นรู้ หนงั สอื วารสารและการสบื ค้นจากอนิ เทอร์เนต็ เก่ยี วกับมลั ติมิเตอร์และดิจติ อล มิเตอร์ ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผเู้ รียน 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 5 2. ผลการปฏิบัติใบงานที่ 7 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 5 การวดั และการประเมนิ ผล การวัดผล การประเมินผล (ใช้เคร่ืองมอื ) (นาผลเทียบกับเกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test) หน่วยที่ 5 (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลงั เรยี น) 2. แบบสงั เกตการทางานกล่มุ และนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 60% 3. แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 5 เกณฑผ์ ่าน 50% 4. ใบงานท่ี 7 เกณฑ์ผ่าน 60% 5. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หน่วยที่ 5 เกณฑผ์ ่าน 50% 6. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผา่ น 60% งานที่มอบหมาย งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทาแบบฝกึ หดั ใหเ้ รียบรอ้ ย ถูกต้อง สมบูรณ์ มอบหมายให้สบื ค้น เนื้อหาสาระเกี่ยวกบั มัลติมิเตอรแ์ ละดจิ ติ อลมเิ ตอร์ เอกสารอา้ งองิ มนตรี เชิญทอง (2558). เคร่ืองวดั ไฟฟ้า. นนทบรุ ี : ศนู ย์หนังสอื เมืองไทย.
๓๘ บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ตามแผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 2. ผลการเรยี นของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ......................................................... ................................................................................................................................... ................................................... ................................................................................................... ................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 3. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................ ..................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ................................... ............ (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครผู สู้ อน
๓๙ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 หน่วยที่...6..... ชอื่ วิชา เครื่องวดั ไฟฟา้ รหัสวิชา 2104-2004 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ช่ือหน่วย เครื่องวดั ความตา้ นทานแบบบรดิ จ์ สอนครั้งท่ี 11/18 ชอ่ื เรอื่ ง เครือ่ งวดั ความต้านทานแบบบรดิ จ์ จานวน 4 คาบ หัวข้อเรอ่ื ง 6.1 วงจรบรดิ จ์สมดุล 6.2 วงจรบริดจ์ไม่สมดุล 6.3 เครือ่ งวัดความต้านทานแบบวที สโตนบรดิ จ์ สมรรถนะยอ่ ย แสดงความร้เู กย่ี วกับเคร่ืองวัดความตา้ นทานแบบบรดิ จ์ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1. อธบิ ายวงจรบรดิ จส์ มดลุ ได้ 2. คานวณคา่ ความต้านทานในวงจรบริดจ์สมดุลได้ 3. อธบิ ายวงจรบริดจไ์ ม่สมดุลได้ 4. อธบิ ายหลกั การทางานเครอ่ื งวัดความตา้ นทานแบบวีทสโตนบริดจไ์ ด้ 5. อา่ นคา่ ความต้านทานจากเคร่ืองวดั ความตา้ นทานแบบวที สโตนบริดจไ์ ด้ ดา้ นทกั ษะ ใชเ้ ครอื่ งวัดแบบวีทสโตนบริดจ์วดั ค่าความต้านทาน ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงตอ่ เวลา ความซ่อื สตั ย์ สุจริต ความมีน้าใจและแบ่งบนั ความรว่ มมอื /ยอมรบั ความคิดเหน็ สว่ นใหญ่ เนอื้ หาสาระ 6.1 วงจรบริดจส์ มดลุ 6.2 วงจรบริดจ์ไมส่ มดลุ 6.3 เครอื่ งวดั ความตา้ นทานแบบวีทสโตนบรดิ จ์ กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 11/18, คาบที่ 41-44/72) 1. ครูทบทวนเนอ้ื หาการสอนทผี่ า่ นมา 2. ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยท่ี 6 3. ครนู าเขา้ สูบ่ ทเรียน และครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรยี น 4. ครสู อนเนือ้ หาสาระข้อ 6.1 – 6.3 5. นกั เรยี นทาแบบฝึกหดั เปน็ กลมุ่ ขณะนกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดครจู ะสงั เกตการทางานกล่มุ 6. ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ติ ามใบงานที่ 8 ครูจะสงั เกตการทางานกลุม่ 7. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหัด และรว่ มอภปิ รายสรุปบทเรยี น
๔๐ 8. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยท่ี 6 สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยที่ 6, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรยี น 2. แหล่งการเรยี นรู้ หนงั สอื วารสารและการสืบคน้ จากอินเทอร์เนต็ เกี่ยวกับเครื่องวัดความตา้ นทานแบบ บรดิ จ์ ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาเร็จของผู้เรยี น 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 6 2. ผลการปฏบิ ัตใิ บงานที่ 8 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หน่วยที่ 6 การวดั และการประเมินผล การวัดผล การประเมนิ ผล (ใชเ้ คร่ืองมือ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre–test) หน่วยที่ 6 (ไวเ้ ปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลังเรยี น) 2. แบบสังเกตการทางานกลุม่ และนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑ์ผา่ น 60% 3. แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 6 เกณฑผ์ า่ น 50% 4. ใบงานที่ 8 เกณฑ์ผ่าน 60% 5. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว่ ยที่ 6 เกณฑ์ผ่าน 50% 6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผ่าน 60% งานทม่ี อบหมาย งานท่มี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทาแบบฝึกหัดใหเ้ รยี บร้อย ถูกต้อง สมบูรณ์ มอบหมายให้สืบคน้ เนอ้ื หาสาระเกี่ยวกับเคร่ืองวัดความตา้ นทานแบบบรดิ จ์ เอกสารอา้ งองิ มนตรี เชิญทอง (2558). เคร่ืองวัดไฟฟ้า. นนทบรุ ี : ศนู ย์หนังสือเมืองไทย.
๔๑ บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการจดั การเรยี นร้ตู ามแผนการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 2. ผลการเรยี นของนักเรียน/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................ ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ........................................ ....... (...............................................) (.............................................) ตัวแทนนักเรียน ครูผ้สู อน
๔๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7 หนว่ ยท่ี...7..... ชื่อวิชา เครือ่ งวดั ไฟฟา้ รหัสวชิ า 2104-2004 เวลาเรียนรวม 72 คาบ ชอ่ื หน่วย เครอ่ื งวัดกาลังไฟฟ้า สอนครง้ั ท่ี 12-13/18 ชื่อเร่ือง เครอื่ งวัดกาลงั ไฟฟ้า จานวน 8 คาบ หวั ขอ้ เรื่อง 7.1 วัตตม์ เิ ตอร์ 7.2 วาร์มิเตอร์ 7.3 วตั ตอ์ าวร์มิเตอร์ สมรรถนะยอ่ ย แสดงความร้เู ก่ียวกบั เครื่องวดั กาลังไฟฟ้า จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1. คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าได้ 2. อธิบายโครงสร้างของวัตตม์ ิเตอร์แบบอเิ ล็กโทรไดนาโมมเิ ตอรไ์ ด้ 3. อธบิ ายการต่อใช้งานวัตตม์ เิ ตอรไ์ ด้ 4. การอา่ นค่ากาลังไฟฟ้าจากวัตตม์ เิ ตอรไ์ ด้ 5. อธิบายการต่อใชง้ านวาร์มเิ ตอรไ์ ด้ 6. อธิบายโครงสร้างและหลกั การทางานของวตั ตอ์ าวร์มเิ ตอร์ได้ ดา้ นทักษะ 1. ตอ่ วงจรวัตตม์ ิเตอร์วัดกาลงั ไฟฟา้ ได้ 2. อ่านค่ากาลงั ไฟฟ้าทีว่ ดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. ตอ่ วงจรกิโลวตั ตอ์ าวร์มิเตอรว์ ัดพลงั งานไฟฟ้าได้ 4. อา่ นคา่ พลังงานไฟฟ้าท่วี ดั จากกิโลวตั ต์อาวรม์ ิเตอรไ์ ด้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกดา้ นความสนใจใฝร่ ู้ การตรงต่อเวลา ความซือ่ สตั ย์ สจุ รติ ความมนี า้ ใจและแบ่งบนั ความร่วมมอื /ยอมรบั ความคิดเหน็ ส่วนใหญ่ เนื้อหาสาระ 7.1 วตั ตม์ ิเตอร์ 7.1.1 โครงสร้างของวัตต์มิเตอร์ 7.1.2 การตอ่ ใช้งานวัตต์มเิ ตอร์ 7.1.3 การวัดและการอ่านค่ากาลังไฟฟ้า 7.2 วาร์มเิ ตอร์ 7.3 วัตตอ์ าวร์มิเตอร์ 7.3.1 โครงสรา้ งวตั ต์อาวร์มิเตอร์ 7.3.2 หลกั การทางานวัตต์อาวรม์ ิเตอร์
๔๓ 7.4 สรุปสาระสาคญั กาลังไฟฟ้าสามารถหาได้ 2 วิธีคือการใช้การวัดแรงดันและกระแสในวงจรนามาคานวณโดยใช้สูตร คานวณกาลังไฟฟ้า อกี วธิ ีหนึ่งใช้วตั ตม์ ิเตอร์ ต่อวัดกาลังไฟฟา้ ในวงจรโดยตรง ช่วยลดความยุ่งยากในการวัดค่าลงได้ วัตต์มิเตอร์ท่ีสร้างข้ึนมาใช้งานใช้หลักการของอิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร์ มีขั้วต่อวัด 4 ข้ัว ขั้ววัด 2 ข้ัวแรก เป็นของ ขดลวดคงที่หรือขดลวดกระแส ขั้ววัดอีก 2 ข้ัวท่ีเหลือเป็นของขดลวดเคล่ือนที่หรือขดลวดแรงดัน การบ่ายเบนของ เข็มชีข้ ึน้ อยกู่ บั ภาระทต่ี อ่ วงจรและแรงดนั ท่ีป้อนให้วงจร การต่อใช้งานวัตต์มิเตอร์ ต้องระวังในเร่ืองการต่อวัด ไม่ให้กระแสผ่านเข้าขดลวดคงที่หรือขดลวด กระแสมากเกินกว่าพิกัดของวัตต์มิเตอร์ที่บอกไว้และต้องไม่ให้แรงดันป้อนเข้าขดลวดเคลื่อนท่ีหรือขดลวดแรงดัน เกินกว่าพิกัดของวัตต์มิเตอร์ท่ีบอกไว้ ดังนั้นก่อนต่อวัตต์มิเตอร์เข้าวงจรจึงควรตรวจสอบท้ังแรงดันและกระแสของ วงจรก่อนเสมอ เพ่ือป้องกันการชารุดเสยี หายของวตั ตม์ เิ ตอร์ วาร์มิเตอร์คือวัตต์มิเตอร์แบบหนึ่งใช้วัดค่ากาลังไฟฟ้าของวงจรไฟกระแสสลับ แต่แตกต่างจากวัตต์ มิเตอรธ์ รรมดาตรงทก่ี าลังไฟฟา้ ที่วัดออกมาได้ เป็นกาลังไฟฟ้าท่ีเกดิ จากวงจรท่ีมีสว่ นประกอบของค่าความเหนี่ยวนา หรือค่าความจุ มีกระแสที่เกิดข้ึนใช้ในการหาค่ามีมุมต่างไป 90 กาลังไฟฟ้าท่ีได้อยู่ในรูป EI sin หน่วยที่วัดได้เป็น วาร์ (Var) วตั ต์อาวร์มิเตอร์เป็นวัตต์มิเตอร์อีกแบบหนึ่งวัดคา่ ออกมาเป็นกิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh) ถูกสร้างข้ึนมาให้ ใชง้ านสาหรับวดั กาลังไฟฟ้ากระแสสลับตามบา้ นเรือน ในโรงงานอุตสาหกรรมและที่อื่น ๆ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ่ี 12/18, คาบที่ 45-48/72) 1. ครูทบทวนเนื้อหาการสอนที่ผา่ นมา 2. ให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยที่ 7 3. ครูนาเข้าสู่บทเรียน และครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรียน 4. ครูสอนเนอ้ื หาสาระข้อ 7.1 – 7.2 5. ให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ติ ามใบงานที่ 9 ครจู ะสังเกตการทางานกลุ่ม 6. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภิปรายสรุปบทเรยี น กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาหท์ ี่ 13/18, คาบที่ 49-52/72) 1. ครูทบทวนเนื้อหาการสอนทผี่ ่านมา 2. ครูสอนเน้อื หาสาระข้อ 7.3 3. ให้นกั เรียนปฏิบัตติ ามใบงานท่ี 10 ครจู ะสงั เกตการทางานกลมุ่ 4. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบฝกึ หัด และรว่ มอภปิ รายสรปุ บทเรยี น 5. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 7 สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยท่ี 7, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรยี น 2. แหลง่ การเรียนรู้ หนังสือ วารสาร และการสบื คน้ จากอินเทอรเ์ น็ต เกย่ี วกบั เคร่ืองวัดกาลงั ไฟฟ้า ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเร็จของผเู้ รียน 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝึกหดั หน่วยที่ 7 2. ผลการปฏิบตั ิใบงานท่ี 9-10 3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post–test) หนว่ ยที่ 7
๔๔ การวดั และการประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมินผล (ใช้เครือ่ งมือ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑ์และแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test) หน่วยที่ 7 (ไว้เปรยี บเทียบกับคะแนนสอบหลงั เรียน) 2. แบบสงั เกตการทางานกลมุ่ และนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑ์ผา่ น 60% 3. แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 7 เกณฑ์ผ่าน 50% 4. ใบงานท่ี 9-10 เกณฑ์ผ่าน 60% 5. แบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 7 เกณฑ์ผ่าน 50% 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผา่ น 60% งานท่ีมอบหมาย งานที่มอบหมายนอกเหนอื เวลาเรียน ให้ทาแบบฝกึ หัดให้เรียบร้อย ถูกต้อง สมบูรณ์ มอบหมายให้สบื ค้น เน้อื หาสาระเก่ยี วกับเครื่องวัดกาลังไฟฟ้า เอกสารอ้างอิง มนตรี เชิญทอง (2558). เคร่ืองวดั ไฟฟา้ . นนทบรุ ี : ศนู ย์หนังสอื เมืองไทย.
๔๕ บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการจดั การเรยี นรตู้ ามแผนการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 2. ผลการเรียนของนกั เรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่ีพบ ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 3. แนวทางการแกป้ ญั หา ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ลงช่ือ............................................... ลงชื่อ............................................... (...............................................) (.................................... .........) ตัวแทนนักเรยี น ครผู ู้สอน
๔๖ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 8 หนว่ ยที่...8..... ชื่อวิชา เครอ่ื งวัดไฟฟา้ รหสั วชิ า 2104-2004 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ชอ่ื หน่วย เคร่ืองกาเนิดสญั ญาณและออสซลิ โลสโคป สอนคร้งั ที่ 14-15/18 ชื่อเรอ่ื ง เครอื่ งกาเนิดสญั ญาณและออสซิลโลสโคป จานวน 8 คาบ หวั ขอ้ เรอื่ ง 8.1 เคร่ืองกาเนดิ สญั ญาณ 8.2 ออสซิลโลสโคป สมรรถนะยอ่ ย แสดงความรเู้ กยี่ วกบั เครื่องกาเนิดสัญญาณและออสซิลโลสโคป จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1. อธิบายการใชง้ านเครอ่ื งกาเนดิ สญั ญาณได้ 2. บอกป่มุ ปรบั ออสซิลโลสโคปไมน่ อ้ ยกว่า 10 ปุ่มได้ 3. อธิบายการเตรียมออสซลิ โลสโคปกอ่ นใช้งานได้ 4. อา่ นคา่ แรงดันไฟฟา้ จากจอภาพออสซลิ โลสโคปได้ 5. อา่ นคา่ คาบเวลาจากจอภาพออสซลิ โลสโคปได้ 6. คานวณค่าความถจ่ี อภาพออสซลิ โลสโคปได้ 7. คานวณคา่ มมุ เฟสจอภาพออสซิลโลสโคปได้ ดา้ นทกั ษะ 1. ปรับตาแหนง่ ปุม่ ปรับต่าง ๆ ให้ออสซิลโลสโคปพร้อมใชง้ านได้ 2. ใช้ออสซิลโลสโคปวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงได้ 3. ใชอ้ อสซลิ โลสโคปวดั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั ได้ 4. ใชอ้ อสซลิ โลสโคปวัดคาบเวลาได้ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ สุจรติ ความมนี ้าใจและแบ่งบัน ความมวี นิ ัย ความมีมนษุ ยสัมพนั ธ์ ความรับผดิ ชอบ และความเชอื่ มั่นในตนเอง เน้อื หาสาระ 8.1 เครอื่ งกาเนดิ สัญญาณ 8.1.1 ปุ่มปรับ ข้วั ต่อของเครื่องกาเนิดสัญญาณ 8.1.2 ขัน้ ตอนการใช้งานเคร่ืองกาเนิดสัญญาณ 8.2 ออสซิลโลสโคป 8.2.1 ปุ่มปรับ ขวั้ ตอ่ และหน้าท่ีการทางานของออสซลิ โลสโคป 8.2.2 การเตรยี มออสซลิ โลสโคปก่อนใช้งาน 8.2.3 การวดั แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงดว้ ยออสซลิ โลสโคป 8.2.4 การวดั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั ดว้ ยออสซิลโลสโคป
๔๗ 8.2.5 การวดั คาบเวลาและการคานวณความถี่ 8.2.6 การวัดเฟสและคานวณมุมเฟส กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ท่ี 14/18, คาบท่ี 53-56/72) 1. ครทู บทวนเนื้อหาการสอนท่ีผ่านมา 2. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 8 3. ครูนาเข้าสู่บทเรยี น และครูแจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี น 4. ครูสอนเน้ือหาสาระขอ้ 8.1 5. ใหน้ ักเรียนปฏบิ ัติตามใบงานที่ 11 ครูจะสังเกตการทางานกลุ่ม 6. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภปิ รายสรุปบทเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 15/18, คาบท่ี 57-60/72) 1. ครทู บทวนเนอื้ หาการสอนท่ีผา่ นมา 2. ครสู อนเน้อื หาสาระข้อ 8.2 3. ให้นักเรยี นปฏบิ ตั ติ ามใบงานที่ 12 ครูจะสงั เกตการทางานกลุม่ 4. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหัด และร่วมอภปิ รายสรปุ บทเรียน 5. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 8 ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ หนังสือเรียน หน่วยที่ 8, PowerPoint ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรยี น 2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนังสือ วารสาร และการสบื ค้นจากอินเทอร์เน็ต เก่ียวกบั เครื่องกาเนดิ สญั ญาณและ ออสซลิ โลสโคป ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสาเรจ็ ของผเู้ รยี น 1. ผลการทาและนาเสนอแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 8 2. ผลการปฏบิ ัติตามใบงานท่ี 11-12 3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว่ ยที่ 8 การวัดและการประเมนิ ผล การวดั ผล การประเมนิ ผล (ใช้เครอ่ื งมือ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย) 1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test) หน่วยท่ี 8 (ไว้เปรยี บเทียบกับคะแนนสอบหลังเรียน) 2. แบบสังเกตการทางานกลมุ่ และนาเสนอผลงานกล่มุ เกณฑผ์ า่ น 60% 3. แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 8 เกณฑ์ผ่าน 50% 4. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หน่วยที่ 8 เกณฑผ์ า่ น 50% 5. ใบงานที่ 11-12 เกณฑ์ผา่ น 60% 6. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑผ์ ่าน 60%
๔๘ งานทมี่ อบหมาย งานทม่ี อบหมายนอกเหนอื เวลาเรียน ใหท้ าแบบฝึกหัดใหเ้ รียบรอ้ ย ถูกตอ้ ง สมบูรณ์ มอบหมายให้สืบค้น เนือ้ หาสาระเกย่ี วกบั เคร่ืองกาเนิดสัญญาณและออสซลิ โลสโคป เอกสารอ้างองิ มนตรี เชิญทอง (2558). เครื่องวัดไฟฟ้า. นนทบรุ ี : ศนู ย์หนงั สือเมืองไทย. บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการจัดการเรยี นร้ตู ามแผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ...................................................................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนักเรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาท่ีพบ .............................................................................................. ........................................................................................ ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... 3. แนวทางการแกป้ ญั หา .............................................................................................................................................................................. ........ .............................................................................................................. ........................................................................ ............................................................................................................................... ...................................................... ............................................................................................................................. ......................................................... ลงช่ือ............................................... ลงชือ่ ............................................... (...............................................) (...................................... .......) ตัวแทนนักเรียน ครผู ู้สอน
๔๙ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 9 หน่วยท่ี...9..... ชอ่ื วิชา โปรแกรมเอ็นซพี ้ืนฐาน รหสั วิชา 2102-2009 เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ช่อื หน่วย เครื่องวัดไฟฟ้าเฉพาะทาง สอนคร้งั ที่ 16-17/18 ชอื่ เรื่อง เคร่อื งวดั ไฟฟ้าเฉพาะทาง จานวน 8 คาบ หวั ข้อเร่ือง 9.1 เครอ่ื งวัดความถี่ 9.2 เครื่องวัดลาดับเฟส 9.3 เครอ่ื งวัดความเร็วรอบ 9.4 เครอ่ื งวัดความเขม้ ของแสง 9.5 เคร่อื งวัดกระแสไฟฟ้าแบบแคลมปอ์ อน สมรรถนะยอ่ ย แสดงความรเู้ กี่ยวกับเคร่ืองวดั ไฟฟา้ เฉพาะทาง จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1. อธิบายการใช้งานเคร่อื งวดั ความถไ่ี ด้ 2. อธิบายการใช้งานเคร่ืองวดั ลาดับเฟสได้ 3. อธบิ ายการใช้งานเคร่ืองวัดความเรว็ รอบได้ 4. อธบิ ายการใชง้ านเครื่องวัดความเข้มของแสงได้ 5. อธิบายการใชง้ านเครอ่ื งวัดกระแสไฟฟ้าแบบแคลมป์ออนได้ ด้านทกั ษะ 1. ใช้งานเครื่องวดั ความถแี่ บบก้านส่นั และแบบเข็มชี้บา่ ยเบนได้ 2. อ่านคา่ บนสเกลไดถ้ กู ตอ้ ง 3. ใชเ้ ครอื่ งวดั ลาดบั เฟสเพอื่ วัดลาดับเฟสได้ 4. ใชง้ านเครื่องวัดความเร็วรอบได้ถกู ตอ้ ง 5. ใชเ้ คร่ืองวัดความส่องสวา่ งได้อยา่ งถูกต้อง 6. วดั และบอกความส่องสว่างสถานทต่ี า่ ง ๆ ได้ 7. ใชง้ านแคลมป์ออนมิเตอร์ไดถ้ ูกต้อง 8. นาไปประยกุ ต์ใช้งานแคลมปอ์ อนมเิ ตอร์ได้ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงออกด้านความสนใจใฝร่ ู้ การตรงต่อเวลา ความซอื่ สตั ย์ สจุ ริต ความมนี ้าใจและแบ่งบัน ความมีวินัย ความมีมนษุ ยสมั พันธ์ ความรบั ผิดชอบ และความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง
๕๐ เนื้อหาสาระ 9.1 เครอ่ื งวดั ความถี่ 9.1.1 เครื่องวดั ความถี่แบบก้านส่ัน 9.1.2 เครอื่ งวดั ความถ่แี บบเข็มชีบ้ า่ ยเบน 9.1.3 เคร่อื งวัดความถแี่ บบดิจทิ ัล 9.2 เคร่ืองวดั ลาดบั เฟส 9.2.1 เครอ่ื งวดั ลาดับเฟสแบบอาศัยการเหน่ยี วนา 9.2.2 เครื่องวัดลาดับเฟสแบบอาศยั หลอดไฟ 9.3 เครอื่ งวัดความเรว็ รอบ 9.4 เครอ่ื งวดั ความเขม้ ของแสง 9.5 เครือ่ งวัดกระแสไฟฟ้าแบบแคลมป์ออน 9.6 สรปุ สาระสาคัญ เคร่ืองวัดความถ่ี (Frequency Meter) ทาหน้าท่ีวัดความถ่ีของระบบไฟฟ้า หน่วยวัดเรียกว่า เฮิรตซ์ (Hertz: Hz) การตอ่ ใช้งานเหมอื นกับโวลต์มเิ ตอร์ เครื่องวัดลาดับเฟส (Phase Sequence Indicator) ใช้สาหรับตรวจสอบการเรียงลาดับเฟสของ แรงดันไฟฟ้า 3 เฟส (Three Phase Voltage) รวมถึงการขาดหายไปของเฟสใดเฟสหน่งึ ของระบบไฟฟ้า เพ่อื ป้องกนั การหมุนผดิ ทศิ ทางของมอเตอร์ 3 เฟส เครื่องวัดความเร็วรอบ (Tachometer) ใช้สาหรับวัดรอบการหมุนของมอเตอร์ เครื่องกาเนิดและ เครอื่ งจกั รกลตา่ ง ๆ มีหน่วยวัดเป็นรอบตอ่ นาที (Revolution Per Minute; rpm) เคร่ืองวัดความเข้มของแสง (Lux Meter) หรือ ลักซ์มิเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับวดั ความเข้มของ แสง หรือความสวา่ งของแสง จงึ เรียกอีกช่อื หน่ึงว่า Illuminometer อุปกรณ์รบั แสงจะใช้โฟโตเ้ ซลล์ชนดิ Selenium Photo Cell ทมี่ ีประสทิ ธิภาพและความไวสงู เครื่องวัดกระแสไฟฟ้าแบบแคลมป์ออน (Clamp on AC Ammeter) ทางานเหมือนกับหม้อแปลง กระแสไฟฟ้าโดยมีขดลวดปฐมภูมินาไปคล้องเข้ากับสายไฟ ทาให้เกิดการเหน่ียวนาได้กระแสไฟฟ้าไหลในขดลวด ทุติยภมู ิ โดยกระแสไฟฟ้านี้จะเปน็ สัดสว่ นกบั กระแสไฟฟ้าท่ีขดลวดปฐมภูมิ และนาไปป้อนให้วงจรเรียงกระแสไฟฟ้า เพือ่ เปล่ยี นไฟฟา้ กระแสสลับเป็นไฟฟา้ กระแสตรง ป้อนใหข้ ดลวดเคลื่อนท่ี กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 16/18, คาบท่ี 61-64/72) 1. ครทู บทวนเนือ้ หาการสอนทผี่ ่านมา 2. ให้นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยท่ี 9 3. ครูนาเข้าส่บู ทเรียน และครแู จ้งจุดประสงค์การเรียน 4. ครูสอนเน้อื หาสาระข้อ 9.1-9.3 5. ให้นกั เรยี นปฏบิ ัตติ ามใบงานที่ 13-15 ครจู ะสงั เกตการทางานกลุ่ม 6. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันเฉลยแบบฝึกหดั และร่วมอภิปรายสรุปบทเรยี น กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 17/18, คาบที่ 65-68/72) 1. ครทู บทวนเนื้อหาการสอนทผี่ ่านมา 2. ครสู อนเนือ้ หาสาระข้อ 9.4-9.5 3. ใหน้ กั เรียนปฏบิ ัติตามใบงานที่ 16-17 ครจู ะสังเกตการทางานกลมุ่ 4. ครูและนักเรยี นร่วมกันเฉลยแบบฝกึ หดั และร่วมอภปิ รายสรปุ บทเรียน 5. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 9
Search