ก กศน.ตำบลทา่ มะกา กศน.อำเภอทา่ มะกา สำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี
ข
ค คำนำ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ ๒๕๖5 ของ กศน.ตำบลท่ามะกา จัดทำขึ้นเพื่อเป็น แนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖5 โดยยึด แนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี ๒๕๖5 ของสำนักงาน กศน. ตลอดจนบริบทและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ เพื่อกำหนดเป็น แนวทางในการดำเนินงานของ กศน.ตำบลท่ามะกา ให้เป็นไปตามเปา้ หมายท่วี างไวอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ การจัดทำแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลท่ามะกา เล่มนี้ สำเร็จลุล่วงด้วยดีโดยความร่วมมือและ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและผู้เกี่ยวข้องร่วมกันระดมความคิดเห็นโดยนำสภาพปัญหาและผลการ ดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กศน. ตำบลทา่ มะกา เพ่อื สนองความตอ้ งการของประชาชนในชมุ ชนอย่างแท้จริง คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ ๒๕๖5 กศน.ตำบล ท่ามะกา จะเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานของผู้บริหาร บุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย บรรลุตามวัตถุประสงค์และมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กำหนด ตลอดจน เป็นประโยชนต์ ่อผูม้ ีส่วนเก่ยี วขอ้ งตอ่ ไป กศน.ตำบลทา่ มะกา 7 มกราคม ๒๕๖5
สารบัญ ง คำขออนุมตั ิแผนการปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 หน้า คำนำ 1 21 สารบัญ 27 30 บทท่ี ๑ ขอ้ มลู พ้ืนฐานท่วั ไป 1.1 ขอ้ มูลพืน้ ฐานของ ตำบลทา่ มะกา 1.2 ขอ้ มูลพื้นฐานของ กศน.ตำบลทา่ มะกา บทที่ ๒ นโยบายจดุ เนน้ การดำเนินงานของสำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖5 ๒.1 นโยบายเรง่ ด่วนเพ่ือร่วมขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ ๒.๒ ยทุ ธศาสตร์กระทรวง จุดเน้นสำนกั งาน กศน. กศน.จังหวัด กศน.อำเภอ ๒.๓ เป้าประสงค์และตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ บทท่ี ๓ วเิ คราะหข์ ้อมลู ๓.๑ วิเคราะหข์ อ้ มลู สภาพแวดล้อมระดับตำบล (SWOT Analysis) ๓.๒ สรุปสภาพปญั หาความต้องการ สาเหตุ และแนวทางแกไ้ ข/พัฒนาระดับตำบล บทท่ี 4 แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 4.๑ ตารางบญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 4.๒ โครงการตามแผนการจัดสรรงบประมาณ ๑) โครงการสง่ เสรมิ การรูห้ นังสือ ๒) โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานนอกระบบ ๓) โครงการจัดการศกึ ษาศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน (กลมุ่ สนใจ ๓-๓๐ ชม.) ๔) โครงการจัดการศึกษาศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน (อาชีพระยะสั้น ๓๑ ชม.ข้นึ ไป) ๕) โครงการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต ๖) โครงการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน ๗) โครงการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4.๓ โครงการตามจุดเนน้ เฉพาะกจิ ระดับสถานศกึ ษา ๑) โครงการ ๑ อำเภอ ๑ คุณภาพ ๒) โครงการดา้ นภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารดา้ นอาชพี ๔.๔ โครงการตามแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ๑) โครงการประชุมเชิงปฏิบตั ิการจดั ทำแผนงานและการจดั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ๒) โครงการพัฒนาบุคลากรเพอื่ เพมิ่ ประสิทธิภาพการทำงานของสถานศึกษา ๓) โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศข้อมลู สารสนเทศของ กศน.ตำบล 4) โครงการนิเทศการศึกษา 5) โครงการส่งเสรมิ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยรูปแบบบ้านหนงั สือชมุ ชน 6) โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรชู้ ุมชนในระดับตำบล 7) โครงการขบั เคล่ือนการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล ๕ ดีพรีเมี่ยม
จ 8) กิจกรรมเดน่ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 (กิจกรรมขบั เคล่ือนนวตั กรรมทางการศกึ ษา) เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก บญั ชีตาราง คณะผ้จู ดั ทำ
๑ บทที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของตำบลทา่ มะกา ประวตั คิ วามเปน็ มาของตำบล....ท่ามะกา...................... สภาพพ้ืนท่ที ว่ั ไป ตำบลทา่ มะกา เป็นตำบลทช่ี าวบ้านเรยี กขานกนั มานาน โดยเรม่ิ ต้ังขนึ้ พ.ศ.2458 จนถึงปัจจบุ ัน 87 ปี ประชาชนส่วนใหญ่พูดภาษาไทยกลางนับถือศาสนาพุทธ อยู่ในเขตปกครองของอำเภอท่ามะกา ประกอบไป ด้วย 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านท่ามะกา หมู่ 2 บ้านท่ามะกา หมู่ 3 บ้านท่ามะกา หมู่ 4 บ้านท่ามะกา หมู่ 5 บ้านหนองหญ้าปล้อง หมู่ 6 บ้านทุ่งเนื้อ หมู่ 7 บ้านหนองลาน หมู่ 8 บ้านหนองไร่ หมู่ 9 บ้านหนอง แปลงแรต หมู่ 10 บ้านครก หมู่ 11 บา้ นหว้ ยปากงา่ ม อาณาเขต ทิศเหนอื ติดกับ ต.ตอนชะเอม และ ต.ตะคร้ำเอน อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบุรี ทิศใต้ ติดกับ ต.พงตึก อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบรุ ี ทิศตะวันออก ตดิ กบั ต.ยางม่วง ต.ตะคร้ำเอน อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบุรี ทิศตะวนั ตก ติดกบั ต.แสนตอ อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบรุ ี
๒ 1.3 การปกครอง จำนวนประชากรในเขต อบต. 5,363 และจำนวนหลงั คาเรอื น 1,721 หลังคาเรอื น ประชากร เทศบาล...... 8,485 .............(กรณี ตำบลในท่มี ี) มปี ระชากรท้ังส้นิ 8485 คน แยกเป็นชาย 3972 คน และเปน็ หญิง 4513 คน มีจำนวนครวั เรอื นประมาณ 4332 ครัวเรือน แยกเป็นหมู่บา้ นไดด้ งั นี้ หมทู่ ี่ บา้ น ครัวเรอื น ประชากร รวม ชาย หญงิ 1 ทา่ มะกา 2 370 350 720 1 ท่ามะกา 537 432 524 956 2 ท่ามะกา 754 642 733 1357 3 ทา่ มะกา 1341 1209 1490 2699 4 ทา่ มะกา 940 738 794 1532 5 หนองหญา้ ปล้อง 298 214 260 474 10 ครก 460 385 260 474 รวมท้ังส้นิ 4332 3972 4513 8485 1.4 ประชากรตำบล.....ทา่ มะกา.................. มปี ระชากรทงั้ สิ้น 5363 คน แยกเป็นชาย 2628 คน และเป็น 2735 คน มจี ำนวนครวั เรือนทั้งตำบลประมาณ 1721 ครัวเรอื น แยกเป็นหมบู่ า้ นไดด้ ังนี้ หมูท่ ่ี บ้าน ประชากร รวม ช่อื ผ้นู ำ ครวั เรือน ชาย หญงิ 1 บา้ นท่ามะกา นายวนิ ยั เพิ่มพวง 215 359 318 677 2 บ้านทุ่งลาด นายไพศาล จันทวงษ์ 142 237 246 483 5 บ้านหนองหญ้าปลอ้ ง นายมาโนชย์ ทองยอ้ ย 112 184 174 358 6 บ้านดงไมแ้ ดง นางแจ่ม เซีย่ งฉนิ 198 332 291 623 7 บา้ นหนองลาน กำนันสุภาพ จำปาไทย 220 301 303 604
๓ ๘ บา้ นหนองไร นายบงั เอญิ สมนาม 278 532 519 1051 ๙ บ้านหนองแปลงแรต นายจรัญ สอนสรง 258 412 388 800 ๑๐ บ้านตลาดใหม่ นายสมยศ พุทธาราม 116 83 98 181 ๑๑ บา้ นหว้ ยปากง่าม นายสวุ รรณ์ ทองดอนเหมอื น 182 295 291 586 รวมทัง้ ส้ิน 1721 2735 2628 5363 ท่ีมา : ....................................................... ขอ้ มลู ด้านการศึกษาของตำบลทา่ มะกา 1. โรงเรยี น........บ้านหนองลาน..................................สงั กดั .............สปฐ............จำนวน......1......แห่ง 2. ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ ...........อบต.ทา่ มะกา...............สงั กัด..............อบต.ท่ามะกา......จำนวน..... 1.......แห่ง 3. กศน.ตำบล..........ท่ามะกา..............สงั กัด...สำนกั งานกศน.จังหวัดกาญจนบรุ ี......จำนวน....1........ แหง่ 4. ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน...บา้ นท่ามะกา. สังกัด.... ...สำนกั งานกศน.จงั หวดั กาญจนบรุ .ี ......จำนวน.... 1...แห่ง ข้อมูลประชากรในตำบลท่ามะกา จำนวน 11 หมู่บ้าน (เขต อบต.ท่ามะกา , เขตเทศบาลทา่ มะกา) รวมประชากรในเขต อบต.ตำบลท่ามะกาและเทศบาลตำบลทา่ มะกา หมทู่ ่ี บา้ น ครัวเรอื น ประชากร รวม ชาย หญงิ 1-11 ท่ามะกา (เขต อบต.ทา่ มะกา) 1721 2735 2628 5363 ทา่ มะกา (เขตเทศบาลทา่ มะกา) 4332 3972 4513 8485 รวมทั้งสิน้ 6053 6707 7141 13,848
1.5 ขอ้ มูลดา้ นการศึกษาของประชากร เขตตำบลท่ามะกา ๔ ลำดับ การศกึ ษา ประชากร จำนวน (คน) รวม ชาย หญงิ 249 1 ผไู้ มร่ ู้หนังสอื 96 153 162 1939 2 ตำ่ กว่าประถมศึกษา 79 83 778 509 3 ประถมศึกษา 899 1040 156 339 4 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 423 355 18 4259 5 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย / ปวช. 268 241 รวม 6 อนปุ รญิ ญา / ปวส. 83 73 115 7 ปริญญาตรี 135 204 48 583 8 สูงกว่าปรญิ ญาตรี 4 14 327 312 รวม 2040 2219 115 345 1.5.1ข้อมูลดา้ นการศกึ ษาของประชากร เขตเทศบาลทา่ มะกา ลำดบั การศกึ ษา ประชากร จำนวน (คน) ชาย หญิง 1 ผไู้ มร่ หู้ นงั สอื 49 66 2 ต่ำกว่าประถมศึกษา 21 27 3 ประถมศึกษา 228 355 4 มัธยมศกึ ษาตอนต้น 163 164 5 มธั ยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. 165 157 6 อนปุ รญิ ญา / ปวส. 67 48 7 ปรญิ ญาตรี 131 214
๕ 8 สงู กว่าปริญญาตรี 19 28 47 รวม 855 1057 1912 ประชากรกลุ่มเป้าหมาย กลมุ่ วัยเรยี น มีประชากรท่ีอยใู่ นกลุ่มวัยเรียนการศกึ ษาภาคบงั คบั แต่อยนู่ อกระบบโรงเรยี น ชว่ งอายุ 6 -14 ปี ในตำบล...ทา่ มะกา............. จำนวนท้ังหมด .....218 คน ชาย...102...... คน หญงิ ......116 คน แยก เป็นประชากรในแตล่ ะหมู่บ้านดงั ต่อไปนี้ กล่มุ ประชากรวัยแรงงาน แบง่ เป็น 2 กลุ่มย่อย เขตตำบลทา่ มะกา ช่วงอายุ ชาย(คน) หญิง(คน) รวม(คน) นอ้ ยกว่า 1 ปีเต็ม 9 7 16 1 ปเี ตม็ – 2 ปี 30 23 53 3 ปีเตม็ – 5 ปี 43 50 93 6 ปเี ตม็ – 11 ปี 128 140 268 12 ปีเต็ม – 14 ปี 55 67 122 15 ปเี ต็ม – 17 ปี 81 75 156 18 ปเี ต็ม – 25 ปี 218 243 461 26 ปีเตม็ – 49 ปเี ต็ม 837 842 1679 50 ปเี ตม็ – 60 ปีเต็ม 330 379 709 มากกว่า 60 ปีเตม็ ขน้ึ ไป 309 393 702 รวมทง้ั หมด 2040 2219 4259
กลุ่มประชากรวัยแรงงาน แบง่ เป็น 2 กลุ่มย่อย เขตเทศบาลทา่ มะกา ๖ ชว่ งอายุ ชาย(คน) หญิง(คน) รวม(คน) 3 นอ้ ยกวา่ 1 ปีเต็ม 2 1 8 25 1 ปีเตม็ – 2 ปี 4 4 62 45 3 ปเี ต็ม – 5 ปี 17 8 55 139 6 ปเี ต็ม – 11 ปี 28 34 709 457 12 ปเี ตม็ – 14 ปี 24 21 409 15 ปเี ต็ม – 17 ปี 30 25 1912 18 ปีเต็ม – 25 ปี 71 68 รวม(คน) 4248 26 ปเี ตม็ – 49 ปเี ต็ม 319 390 11 50 ปเี ตม็ – 60 ปีเต็ม 199 258 0 0 มากกว่า 60 ปเี ตม็ ข้ึนไป 161 248 0 1 รวมท้งั หมด 855 1057 4259 1.6 จำนวนประชากรจำแนกตามศาสนา หญงิ (คน) -ในเขต อบต. ท่ามะกา ศาสนา ชาย(คน) พุทธ 2036 2212 ครสิ ต์ 4 7 อิสลาม 0 0 ซกิ ข์ 0 0 ฮนิ ดู 0 0 อืน่ ๆ 1 0 รวมทงั้ หมด 2040 2219
จำนวนประชากรจำแนกตามศาสนา ๗ -ในเขตเทศบาลทา่ มะกา รวม(คน) ศาสนา ชาย(คน) หญิง(คน) 1909 1054 พุทธ 855 3 3 0 คริสต์ 1 0 0 0 0 อิสลาม 0 0 0 0 1912 ซกิ ข์ 0 1057 รวม(คน) ฮนิ ดู 0 318 218 อืน่ ๆ 0 5 รวมทง้ั หมด 855 43 - จำนวนประชากรจำแนกตามอาชีพ - 4 -ในเขต อบต. ทา่ มะกา 181 อาชีพ ชาย(คน) หญงิ (คน) 228 ไม่มีอาชพี 90 116 นักเรยี น 102 3 25 นกั ศกึ ษา - - ทำนา 2 3 106 ทำไร่ 18 ทำสวน - ประมง - ปศุสตั ว์ 1 รบั ราชการ 75
๘ พนกั งานรัฐวิสาหกจิ 6 4 10 พนกั งานบริษทั 12 15 27 รับจา้ งทั่วไป 392 319 711 ค้าขาย 97 163 260 ธรุ กจิ ส่วนตวั 46 35 81 อนื่ ๆหรอื ไมร่ ะบุ 14 40 54 รวมทงั้ หมด 855 1057 1912 1.7 การคมนาคม การจราจร การคมนาคมติดต่อระหว่างอำเภอ และจังหวัด รวมทั้งการคมนาคมภายในตำบลและ หมู่บา้ น มีรายละเอยี ดดงั น้ี 1. ทางรถยนต์ มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 (ถนนแสงชูโต) ตัดผ่านเขต อบต. บางส่วน 2. ทางรถไฟ สายบางกอกน้อยธนบุรี – นำ้ ตกไทรโยคนอ้ ย ตัดผา่ น การประปา - มีการประปาหมบู่ า้ น จำนวน 4 แหง่ - ครอบคลุมพื้นทใ่ี หบ้ รกิ ารหมูท่ ี่ 1, 2 , 6 , 7 , 8 ,9 และหมทู่ ่ี 11 - มกี ารประปาภูมิภาค การโทรคมนาคม - มีตู้โทรศพั ทส์ าธารณะ จำนวน 5 เคร่ือง 1.8 ดา้ นเศรษฐกจิ การเกษตรกรรม ประชากรในเขตองคก์ ารบริหารส่วนตำบลท่ามะกาส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทำการ เกษตร เชน่ ปลกู ออ้ ย ,ทำนา , ทำสวน และพืชไร่ต่าง ๆ การปศุสตั วจ์ ะทำควบคูไ่ ปกับการทำการเกษตร โดยวตั ถุประสงค์เพ่ือบรโิ ภคในครวั เรอื นและ เลยี้ งเป็นอาชีพเสริม ได้แก่ โคเน้ือ โคนม ไกเ่ นอื้ และไกไ่ ข่ 1.9 การอุตสาหกรรม - ปั๊มนำ้ มนั จำนวน 1 แหง่ - ปั๊มแกส๊ จำนวน 1 แหง่
๙ - โรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 5 แห่ง ผลติ ภัณฑ์ตำบลทา่ มะกา - ไข่เคม็ ไอโอดนี เป็นสนิ คา้ โอท็อประดบั ห้าดาว หม่ทู ี่ 1 ตำบลทา่ มะกา อำเภอท่ามะกา จงั หวัดกาญจนบรุ ี - กลุ่มทำขนมบา้ นหนองไร่ หมู่ที่ 8 ตำบลท่ามะกา อำเภอท่ามะกา จงั หวดั กาญจนบรุ ี - กลมุ่ น้ำมันเขยี ว หม่ทู ่ี 11 ตำบลท่ามะกา อำเภอท่ามะกา จังหวดั กาญจนบุรี 1.10 ดา้ นสังคม การศกึ ษา - มีสถานศกึ ษาในสงั กัด สพฐ. จำนวน 1 แหง่ ดงั นี้ 1. โรงเรียนบา้ นหนองลาน ครู จำนวน 9 คน นกั เรียนจำนวน 200 คน - มีศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ จำนวน 1 แหง่ ดังน้ี 2. ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กบา้ นห้วยปากงา่ ม ผ้ดู ูแลเด็ก จำนวน 3 คน นักเรียนจำนวน 50 คน 1.11การสาธารณสุข - มีสถานบรกิ ารสาธารณสขุ จำนวน 1 แหง่ การรกั ษาความสงบเรยี บร้อย - สถานตี ำรวจชุมชน จำนวน 1 แห่ง 1.12ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม - ฝาย จำนวน - แหง่ - บ่อน้ำ จำนวน - บ่อ - สระนำ้ จำนวน - บ่อ - คลองสง่ น้ำ จำนวน 3 สาย - คลองธรรมชาติ จำนวน 3 สาย
๑๐ 1.13การเมืองการบรหิ าร ข้อมูลทั่วไปเก่ียวกับศกั ยภาพในตำบล 1. ศักยภาพขององคก์ ารบริหารสว่ นตำบลท่ามะกา จำนวนบคุ ลากร จำนวน 27 คน ลำดับ ชื่อ - สกุล ตำแหน่ง หมายเหตุ ที่ สำนักงานปลัดฯ จำนวน 13 คน 1 พ.จ.ต.เอก รัก จรรยาบรรณ ปลดั องค์การบริหารสว่ นตำบล 2 นางสาวรจุ เิ ลข ทรงประกอบ หวั หนา้ สำนักปลดั 3 นายอาทติ ย์ บญุ มาก นักพัฒนาชุมชนปฏิบตั กิ าร 4 นายพีรศุษม์ ป่ินมณี นกั วชิ าการประชาสัมพันธ์ ชำนาญการ 5 นายรณภพ โพธพิ พิ ธิ เจา้ หนา้ ท่วี ิเคราะห์ฯ 6 นางสาวเครืออรุ ะ กงฉาก เจา้ พนกั งานธุรการชำนาญงาน 7 นางสาวทิวาวรรณ จิตรเพ่ง บุคลากร 8 นายปิยะพงษ์ วงษอ์ ัยรา เจ้าหน้าท่ปี อ้ งกันและบรรเทาฯ 9 นายวน สายบวั นักการ 10 นางสาวศิรวิ รรณ ศริ พิ ฒั นวงษ์ชยั ผู้ช่วยเจา้ หน้าที่ธุรการ 11 นางสาวลดั ดา จำปาไทย พนักงานประจำตึก 12 นายสราวฒุ ิ ผอ่ งใส คนสวน 13 นายสายชล คงทน คนสวน ส่วนการศกึ ษา จำนวน 4 คน 1 นางสาวรจุ ิเลข ทรงประกอบ หัวหนา้ สำนักปลดั รกั ษาการ ผูอ้ ำนวยการกองการศึกษา 2 นางธาราทิพย์ เพชรจนั ทรานุกูล ครผู ้ดู แู ลเด็ก 3 นางจนิ ตนา ชำนาญป่า ผชู้ ว่ ยครดู ูแลเดก็ 4 นางสาวภคั ลณัฐฎ์ น้ำประสานไทย ผู้ชย่ ครดู ูแลเด็ก ส่วนการคลงั จำนวน 6 คน 1 นางสาวติ รี วิไล ผ้อู ำนวยการกองคลัง
๑๑ 2 นางสาวนภัสสร ภู่สอน เจ้าพนกั งานพัสดปุ ฏบิ ตั ิการ เจ้าพนักงานจดั เกบ็ รายได้ 3 นางอัมพร บัวบาน นักวิชาการการเงนิ และบญั ชี เจ้าพนักงานธุรการปฏบิ ัติการ 4 นางสาวรชั นก วงษ์ปญั ญา ผ้ชู ว่ ยเจา้ พนักงานจดั เก็บรายได้ 5 นางสาวปุณสณัฏฐ์ คำแต้ 6 นางสาวสุธาทพิ ย์ เพิ่มทวี ส่วนโยธา จำนวน 6 คน 1 นายกฤษดา มณีกาญจน์ ผอู้ ำนวยการกองช่าง 2 นายอรรถพล พรมสวสั ด์ิ นายชา่ งโยธาชำนาญการ 3 นายอทิ ธพิ ล สมศรี ชา่ งโยธาปฏิบัติงาน 4 นางก่ิงดาว แสงจันทร์ ผช.ธรุ การ 5 นายวโิ ชติ รงุ่ เรอื ง คนงานทัว่ ไป 6 นายสนธยา เขียวลอื ผู้ช่วยชา่ งไฟฟ้า (ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2562) 2.สมาชิกสภาองคก์ ารบริหารสว่ นตำบล จำนวน 22 คน คณะผ้บู รหิ าร ท่ี ชื่อ – สกลุ ตำแหนง่ หมายเหตุ 1 นายออมทรัพย์ วารยี ์ทิพย์ขจร นายก อบต. หมายเหตุ ส.อบต.หมู่ 9 2 นายบังเอิญ สมนาม รองนายก ส.อบต.หมู่ 6 ส.อบต.หมู่ 1 3 นายประพนั ธ์ จำปาไทย รองนายก ส.อบต.หมู่ 2 4 นายวุฒชิ ัย โชควิเชียรฉาย เลขานุการนายก ส.อบต.หมู่ 5 3. สมาชิกสภาองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลท่ามะกา ท่ี ชอ่ื – สกลุ ตำแหน่ง 1 นายชัยวฒั น์ เกยี รตอิ มรเวช ประธานสภา 2 นางแกละ ปล้ืมจติ รองประธานสภา 3 นางสาวพรทพิ ย์ ศรีวลรี ัตน์ สมาชิกสภา 4 นายวสนั ต์ แสงกหุ ลาบ สมาชิกสภา 5 นายปิ่นทอง จันทร์สุข สมาชกิ สภา
6 นายอัฒฑ์ จิตบุญ สมาชกิ สภา ๑๒ 7 นายเพชร วงษ์อัยรา สมาชิกสภา 8 นายสมบูรณ์ สรอ้ ยสน สมาชิกสภา ส.อบต.หมู่ 7 9 นายนัฐพล พลดี สมาชกิ สภา ส.อบต.หมู่ 8 11 นายซู้ รุ่งกระจ่าง สมาชิกสภา ส.อบต.หมู่ 10 12 นายมานพ ชรู าศรี สมาชกิ สภา ส.อบต.หมู่ 612 ส.อบต.หมู่ 7 ส.อบต.หมู่ 11 4.หน่วยเลือกตั้ง จำนวน 9 หน่วย เตน้ ท์ชั่วคราว (1) หน่วยเลือกต้งั ท่ี 1 เตน้ ทช์ ว่ั คราว (2) หน่วยเลือกตง้ั ท่ี 2 เต้นทช์ ว่ั คราว (3) หน่วยเลือกต้ังที่ 3 เต้นท์ชว่ั คราว (4) หน่วยเลอื กตงั้ ที่ 4 ศาลาการเปรียญวัดหนองลานราษฎร์บำรงุ (5) หนว่ ยเลอื กต้ังที่ 5 โรงเรียนบ้านหนองไร่ (6) หนว่ ยเลอื กต้งั ท่ี 6 เตน้ ทช์ ว่ั คราว (7) หน่วยเลอื กต้ังท่ี 7 เต้นทช์ ั่วคราว (8) หน่วยเลอื กตั้งที่ 8 โรงเรียนบา้ นหนองลาน (9) หนว่ ยเลอื กตั้งที่ 9 5.รายไดข้ ององค์การบรหิ ารสว่ นตำบล รายไดข้ ององคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลทา่ มะกา ประจำปีงบประมาณ 2565 จำนวน 32,659,275.96 บาท แยกเป็น - รายไดท้ ่ีองค์การบริหารส่วนตำบลจดั เกบ็ เอง 495,580.99 บาท - รายไดท้ ี่รัฐจดั สรรให้ 14,842,227.97 บาท - เงินอุดหนุนทัว่ ไปจากรฐั บาล 5,031,278.78 บาท - เงินอุดหนุนเฉพาะกิจจากรัฐบาล 12,292,189.00 บาท - รายได้อ่ืนๆ (ดอกเบย้ี เงนิ ฝากธนาคาร) ...........-........... บาท 6.ศกั ยภาพของชุมชนและพ้ืนที่ พืน้ ที่ขององค์การบริหารสว่ นตำบลท่ามะกา เปน็ พ้นื ที่เหมาะแก่การพัฒนา ซงึ่ มีพืน้ ท่ีส่วน หน่งึ อยใู่ นเขตผังเมืองรวมอำเภอท่ามะกา เหมาะในการทำการเกษตรทำไรอ่ ้อย , สวนผลไม้ , พืชผัก , พชื ไร่ ,ปลูกไม้ยืนตน้ , เลีย้ งสตั ว์ และสง่ เสริมพืชผลทางการเกษตร
๑๓ ขอ้ มูลพ้นื ฐาน กศน.ตำบล ประวตั ิ กศน.ตำบลทา่ มะกา 1. ชื่อ กศน. ตำบล…………ท่ามะกา………….................................................................... 2. ทีต่ งั้ /การติดต่อ อบต. ท่ามะกา หมู่ 11 บ้านหว้ ยปากงา่ ม ตำบล.......ท่ามะกา............ อ..ท่ามะกา จ.กาญจนบรุ ี...-........รหสั ไปรษณยี ์ ...71120 3. สังกัด .........ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอท่ามะกา .........สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดกาญจนบุรี .... 4. ประวตั ิ (พอสงั เขป) กศน.ตำบลทา่ มะกา กศน. ตำบลท่ามะกา ได้มีพิธีเปิดป้าย กศน. ตำบลท่ามะกา ขึ้นในวันที่ 16 ตุลาคม 2552 เวลา 09.39 น. มีประธานในพิธีเปิดป้าย กศน. ตำบลท่ามะกา โดยท่าน ส.ส. ปารเมศร โพธารากุล มาเป็น ประธานเปิดในครั้งนี้ พร้อมทั้งมี นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่ามะกา นายเอนก ผ่องเกษม ท่านปลัด อบต. ข้าราชการ อบต. พนักงานและลูกจ้างประจำ อบต. ท่ามะกา สมาชิก อบต. ทุกหมู่บ้าน กลุ่มประชาชน นักศกึ ษา คณะครู กศน. ตำบลทกุ คน เข้าร่วมพิธีเปดิ ใครงั้ น้ี กศน. ตำบลท่ามะกา ได้ดำเนินตามนโยบายของท่าน จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ กศน. ตำบลต้องเป็น สื่อกลางการเรียนรู้โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแหล่งเรียนรู้ราคาถูก ไม่หวังผลตอบแทน มี Tutor Channel ตามนโยบาย กศน. ตำบลทา่ มะกา ICT มี จำนวน 6 เครอ่ื ง เป็นส่อื สารเรียนรู้ทางอินเตอร์เน็ต ตามนโยบาย สมาชกิ ทุกคนร่วมมอื กนั จัดทำพธิ เี ปิดป้ายขึ้น มี อาจารย์ สุภาพ อุ่นใจ เปน็ ครูประจำ กศน. ตำบลท่ามะกา
๑๔ ความเป็นมาและสภาพปจั จบุ นั ของ กศน.ตำบล กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจรุ ินทร์ ลกั ษณวศิ ิษฎ์) ในขณะนน้ั ได้ให้ความสำคญั ในเร่ืองดังกลา่ วจงึ ไดม้ ีนโยบายให้มีการจัดตัง้ กศน. ตำบลข้นึ เป็นศนู ย์การเรียนรรู้ ะดบั ตำบล ยุคใหม่ท่ีมีเคร่ืองมือท่ที ันสมยั ในการดำเนนิ งานโดยการผลกั ดนั งบประมาณโครงการไทยเขม้ แข็งให้แกศ่ ูนย์การ เรียนชมุ ชนหรือ กศน. ตำบล และได้มอบใหส้ ำนักงาน กศน. เร่งรัดพัฒนาและเดินหน้าไปสูค่ วามเป็นศนู ยก์ าร เรยี นรกู้ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของชุมชน เพ่อื ให้ประชาชนท่ัวประเทศไดม้ ีพลังแห่งการ เรยี นรตู้ ลอดชีวติ ไมม่ ีท่ีส้นิ สดุ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการอยา่ งแทจ้ รงิ โดยตั้งเป้าหมายไวว้ า่ ในเดือน กนั ยายน 2553 จะมี กศน. ตำบลครบทง้ั 7409 ตำบลทั่วประเทศ เมื่อวันท่ี 11 ตุลาคม 2552 ประกอบ กบั ระเบียบกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วย การจดั การศึกษาในสถานศกึ ษา สังกดั ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทา่ มะกา มีหนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบดงั น้ี 1. จัดและใหบ้ รกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ส่งเสริมการศึกษาเพ่ือ ส่วนรวมในระบบโรงเรยี นและจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตามความต้องการและสภาพปัญหาของท้องถิ่น 2. จัดและประสานงานให้มีศนู ย์การเรียนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็น เครือข่ายได้อย่างกว้างขวางและทั่วถึง และส่งเสริมให้ชุมชนจัดการศึกษาของตนเองในลักษณะศูนย์การเรียน ชุมชน เพื่อเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษา วางแผนบริการการศึกษาต่อสมาชิกในชุมชน และระหว่าง ชมุ ชน 3. สนับสนุนสิ่งจำเป็นต่าง ๆ ที่ใช้ในการดำเนินงานการศึกษานอกโรงเรียนของเครือข่ายทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน เพ่อื ให้เกดิ กระบวนการเรยี นการสอน และการบริการแก่กลมุ่ เป้าหมาย 4. กำกับดูแล ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกโรงเรยี น
๑๕ สำนกั งานสำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ไดแ้ ต่งตง้ั ให้ ....นางสภุ าพ อ่นุ ใจ.............. ตำแหน่ง .........ครู กศน.ตำบลท่ามะกา.....................มาทำหนา้ ท.ี่ ......สอน ................. ตง้ั แต.่ ........พ.ศ.2551................... ตอ่ มา เมื่อวนั ที่ 9 มกราคม 2553 ศนู ย์การเรียนชมุ ชน ได้เปลี่ยนชื่อเป็น กศน.ตำบล ตาม พระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2551 โดยมีนางสาว/นาย.... นางสุภาพ อนุ่ ใจ เปน็ หวั หน้า กศน.ตำบล ซ่ึงเปล่ียนจากตำแหน่ง ครู ศรช. มาเป็น ครู กศน.ตำบล จนถึง ปจั จบุ ัน 5. ทำเนยี บครู กศน. ตำบลท่ามะกา ลำดับที่ ชอ่ื -สกลุ ตำแหน่ง ระยะเวลาที่ ปฏบิ ัตงิ าน 1 นางสุภาพ อุน่ ใจ ครู กศน.ตำบล มีนาคม 2551 ถึง ปจั จุบนั 6. อาณาเขตติดต่อ ทศิ เหนือ ตดิ กับ ต.ตอนชะเอม และ ต.ตะครำ้ เอน อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบรุ ี ทิศใต้ ติดกบั ต.พงตึก อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบรุ ี ทศิ ตะวนั ออก ติดกับ ต.ยางมว่ ง ต.ตะคร้ำเอน อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบรุ ี ทิศตะวันตก ตดิ กบั ต.แสนตอ อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบรุ ี ตารางท่ี 11 จำนวนบคุ ลากรของ กศน.ตำบลท่ามะกา จำนวน (คน) หมายเหตุ ท่ี ตำแหนง่ 1 1 ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา 2 2 ขา้ ราชการครู 2 3 พนกั งานราชการ 1 3.1 ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น 1 3.2 ครู กศน.ตำบล รวม 7
๑๖ บทท่ี 2 นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ได้กำหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โดยมีแผนย่อยที่เกี่ยวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนได้แก่ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ที่มุ่งเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนา และเสริมสร้าง ศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนา และยกระดบั ศักยภาพวัยแรงงาน รวมถงึ การส่งเสรมิ ศักยภาพวยั ผูส้ งู อายุ การพัฒนาการเรียนรู้ ท่ีตอบสนองต่อ การเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 และพหปุ ัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย ประกอบกบั แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา นโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต และนโยบายเร่งด่วนเรื่องการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นโยบายและจุดเน้น การดำเนนิ งานสำนกั งาน กศน.ประจำปี 2565 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอื่นๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง เช่น แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2568) โดยคาดหวงั วา่ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วง ชีวิตจะได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ให้เป็นคนดี คนเก่งมีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศสูค่ วามม่ันคง มั่งคัง่ และย่ังยนื สำนักงาน กศน. จังหวัดกาญจนบุรีเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตระหนักถงึ ความสำคัญของการพฒั นาคนตลอดชว่ งชวี ติ ไดม้ ุง่ มนั่ ขับเคลื่อนภารกิจ หลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คำนึงถึงหลักการบริหาร จดั การทง้ั ในเรอื่ งหลกั ธรรมาภิบาล หลกั การกระจายอำนาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการทำงานและการ เรียนรู้ ตลอดจนการใช้ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา นอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน การศกึ ษาต่อเน่ือง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเดน็ ใหญ่ ได้แก่ การจดั การเรียนรูค้ ณุ ภาพ การสร้างสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ องคก์ ร สถานศึกษา และแหลง่ เรยี นรู้คณุ ภาพ และการบรหิ ารจัดการคุณภาพ อันจะนำไปสู่การสร้างโอกาสและลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา การยกระดับ คณุ ภาพและเพมิ่ ประสิทธิภาพการให้บริการสำหรับกลุ่มเป้าหมายทุกกล่มุ และสรา้ งความพึงพอใจ ให้กับผู้เรียน ผูร้ บั บริการ หลักการ กศน.เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” ซึ่งได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการ ดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ2565 ดังน้ี 1. ดา้ นการจัดการเรียนรคู้ ณุ ภาพ 1.1 น้อมนำพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติรวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน โครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำรทิ ุกโครงการ และโครงการอนั เก่ยี วเนื่องจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายและจุดเน้นการ ดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.และกระทรวงศึกษาธกิ าร 1.3 ส่งเสริมการจดั การศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งความมัน่ คง การสรา้ งความเข้าใจท่ีถูกต้องในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยดึ มน่ั ในสถาบนั หลักของชาติ รวมถึงการมจี ติ อาสา ผา่ นกิจกรรมตา่ งๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนา ประเทศ สอดคล้องกับบริบทท่เี ปล่ียนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรยี น/ผรู้ บั บริการ รวมถึง ปรับลด ความหลากหลายและความซำ้ ซอ้ นของหลกั สตู ร เช่น หลกั สตู รการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายบนพนื้ ที่
๑๗ 1.5 ปรบั ระบบทดสอบ วดั ผลและประเมินผลโดยเน้นการใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เครือ่ งมือให้ผู้เรียน สามารถเข้าถึงการประเมนิ ผลการเรียนรไู้ ดต้ ามความต้องการ เพอ่ื การสร้างโอกาสในการเรยี นรใู้ ห้ความสำคญั การเทียบระดับการศึกษาและการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ ผูเ้ รยี น ให้ตอบโจทย์การประเมินในระดบั ประเทศและระดับสากล 1.6 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ด้วยตนเองครบ วงจร ตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับ กลุ่มเปา้ หมายที่สามารถเรยี นรูไ้ ด้สะดวก และตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของผู้เรียนได้อย่างหลากหลาย 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสำนักงาน กศน. ตลอดจนพัฒนาสื่อสารการเรียนรู้ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ ง่ายต่อการ สืบคน้ และนำไปใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ได้อย่างถกู ต้องตามกฎหมาย 1.8 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกำกับ ติดตาม ทั้งในระบบ On-Site และ Online รวมท้งั ส่งเสริมการวจิ ยั เพ่อื เป็นฐานในการพัฒนาการดำเนินงานการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั 2. ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับแต่ละช่วงวัย และการจัดการศึกษาและการเรียนร้ทู ่เี หมาะสมกับแตล่ ะกลมุ่ เปา้ หมายและบริบทพน้ื ท่ี 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับ บริบทพื้นที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ DisruptiveTechnology 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้า บริการจากโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน ที่เน้น “ส ่ ง เ ส ริ ม ความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอด ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และ ช่องทางการจำหน่าย 2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชีวิตท่ีเหมาะกบั ช่วงวยั 2.5 ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาทีพ่ ัฒนาทกั ษะทจี่ ำเป็นสำหรับกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ เช่น ผู้พิการ ออทสิ ติก เด็กเร่ร่อน และผดู้ ้อยโอกาสอื่นๆ 2.6 สง่ เสริมการพัฒนาทักษะดจิ ิทลั และทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน.และผู้เรียนเพื่อ รองรบั การพัฒนาประเทศ 2.7 สง่ เสรมิ การสร้างนวัตกรรมของผเู้ รียน กศน. 2.8 สรา้ งอาสาสมัคร กศน.เพอื่ เป็นเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอด ชวี ิตรองรบั การพฒั นาประเทศ 2.9 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน.รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร่ เพื่อให้หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา นำไปใช้ในการพัฒนากระบวนการเรียนร้รู ว่ มกัน 3. ดา้ นองค์กร สถานศึกษาและแหล่งเรยี นรคู้ ณุ ภาพ 3.1 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการ อา่ นและการร้หู นงั สอื ของประชาชน
๑๘ 3.2 ประสานการจัดกิจกรรมและการให้บริการการศึกษาร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์จังหวัด กาญจนบุรี โดยใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ เครอื่ งมือนำวทิ ยาศาสตร์สชู่ ีวิตประจำวนั ในทุกครอบครวั 3.4 สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการสร้างพ้ืนที่การเรียนรู้ในรปู แบบ Public Learning Space/Co- learning Space เพ่อื การสรา้ งนิเวศการเรยี นรู้ให้เกิดขนึ้ สงั คม 4. ดา้ นการบริหารคณุ ภาพ 4.1 การพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตำแหน่งใหต้ รงกับสาย งาน และทกั ษะทจี่ ำเปน็ ในการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ 4.2 ปรับปรุงระบบการจดั สรรทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษาใหม้ ีความครอบคลุมเหมาะสม 4.3 ปรบั ปรงุ ระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เช่น ข้อมูล การรายงานผลการดำเนนิ งาน ข้อมูลเด็กตกหล่นจากการศึกษาในระบบ เด็กเรร่ ่อน ผพู้ กิ าร 4.4 สง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ เคร่อื งมือในการบริหารจดั การอยา่ งเตม็ รูปแบบ 4.5 ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คณุ ภาพ และความโปร่งใสการดำเนนิ งานของภาครัฐ (ITA) 4.6 เสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับข้าราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบต่างๆ เชน่ ประกาศเกียรตคิ ณุ การมอบโล่/วฒุ ิบัตร 4.7 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และสง่ เสริมการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ สำหรบั ประชาชน ทิศทางการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบรุ ี สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ได้กำหนดทิศทางการดำเนินงานปี 2565 โดยใช้การ วเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็งและจดุ อ่อนจากสภาพแวดล้อม ภายในหน่วยงาน รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงาน อันเป็นปัจจัยต่อการ ดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อนำผลไปใช้ในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของหน่วยงานซึ่งได้ผลการ ประเมินสถานการณว์ เิ คราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพพรอ้ มกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานของหน่วยงาน ดงั นี้ 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) 2. ทิศทางการพัฒนาการศึกษาของสำนักงาน กศน.จงั หวดั กาญจนบุรี การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มและศักยภาพ (SWOT Analysis) จดุ อ่อน จุดแขง็ 1. มโี ครงสร้างการบรหิ ารงานและการมอบหมาย 1. อตั รากำลังของหน่วยงานและสถานศึกษา ไม่ งานที่ ชดั เจน เปน็ ไป ตามโครงสร้าง ทำใหก้ ารบรรจแุ ตง่ ตงั้ 2. มีการส่งเสริมสนับสนนุ และอบรมพฒั นาบุคลากร บุคลากรไม่ เพียงพอตามกรอบอตั รากำลังส่งผลให้ อยา่ งต่อเน่ือง การ ปฏบิ ัตงิ านไม่ต่อเนื่อง 3. มีการนิเทศตดิ ตามและพัฒนางาน 2. บคุ ลากร/ครูผู้สอน จบการศกึ ษาไม่ตรงสาขาใน 4. มกี ารสำรวจกลุ่มเปา้ หมายเพอื่ จัดการเรยี น การ ปฏบิ ัติงาน ขาดความรู้/เช่ียวชาญเฉพาะด้าน การสอน 3. บคุ ลากรขาดขวญั และกำลังใจในการปฏบิ ัติงาน และ ขาดความมน่ั คงในอาชพี
๑๙ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น 5. มบี รกิ ารจุดเชอ่ื มโยง ภาคีเครือขา่ ย และ 4. งบประมาณในการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัยมี ให้บริการ เชิงรกุ ถงึ กลมุ่ เป้าหมาย ตอบสนองต่อ น้อย โดยเฉพาะห้องสมดุ ประชาชนจังหวัด ความต้องการ ของประชาชน 6. บคุ ลากรมีความรู้ความสามารถทหี่ ลากหลาย อุปสรรค โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี ยดึ มนั่ ในจรรยาบรรณ วชิ าชพี ครู มีความรบั ผิดชอบ เสยี สละ พร้อม ปฏบิ ตั งิ านตามนโยบายครอบคลุมทกุ พื้นที่ และ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง ภาคี เครือข่าย ยอมรับในศักยภาพ 7. มีระบบเบิกจา่ ยท่ีมปี ระสิทธภิ าพ มีความ น่าเชือ่ ถือ โดยใช้ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในการ สนับสนุน การดำเนนิ งานและมีระเบยี บกฎเกณฑ์ คูม่ อื แบบฟอร์มการเบิกจ่ายท่ชี ัดเจน โดยยึดหลัก ธรรมาภบิ าลและมภี าคเี ครือข่ายให้การสนับสนนุ 8. มีอาคารสถานที่ท่เี หมาะสม เปน็ สดั สว่ น 9. ใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และ ปรัชญาคดิ เปน็ 10. มกี ารบรหิ ารจัดการทีเ่ ป็นระบบและตรวจสอบ ได้ เช่น ระบบประกันคุณภาพ 11. มีการทำงานเป็นทีม โอกาส 1. มภี าคีเครือขา่ ยท่ีเข้มแขง็ และมีส่วนร่วมในการจัด 1. เกดิ โรคระบาด โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 กิจกรรม (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อการดำเนนิ งานอย่าง 2. มอี าสาสมัครในชมุ ชนที่ช่วยเหลอื การดำเนินงาน ตอ่ เนื่อง กศน. 2. สภาวะเศรษฐกิจของผู้เรยี น/ผู้รับบริการไม่เอ้ือ 3. มีการผลติ สื่อ นวตั กรรมดา้ นเทคโนโลยีท่ี ตอ่ การทำกจิ กรรมกลมุ่ เป้าหมายทเ่ี รียนกบั กศน. หลากหลายชว่ ยใน การจดั การเรียนการสอน อพยพไปใชแ้ รงงานต่างถ่ิน 3. นโยบายส่วนกลางมีการเปลยี่ นแปลงบอ่ ยทำให้ การดำเนนิ งานไมต่ ่อเนื่อง 4. กฎ ระเบยี บ วา่ ดว้ ยงาน กศน. ยงั ไม่เอื้อต่อการ จัด การศกึ ษาของ กศน. สง่ ผลตอ่ การดำเนินงานใน ด้านอ่นื ๆ 5. ทักษะดา้ นฝมี ือแรงงาน การประกอบอาชีพยัง ต้อง มีการพัฒนาให้มีทักษะตรงกับความต้องการ ของ ตลาดแรงงาน
๒๐ จุดแขง็ จดุ ออ่ น 6. ครภุ ณั ฑ์ไมเ่ พียงพอ ขาดงบประมาณในการจัดซ้ือ สื่อเทคโนโลยี จากการประเมินสถานการณ์ของหน่วยงาน โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) หน่วยงานควรเสริมสร้างการทำงานเป็นทีมเพ่มิ ประสิทธิภาพของบุคลากรในการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและควรสร้างระบบการจัดการความรู้ขององค์กรการพัฒนางานให้มีคุณภาพและ ผลสมั ฤทธ์ิยิ่งข้นึ และพัฒนาคนโดยเฉพาะผ้ปู ฏิบตั ิงาน โดยมีกระบวนการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ ควบคู่กับ การให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม สำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี กำหนดทิศทางการ ดำเนนิ งานของหน่วยงาน ได้แก่ ปรัชญา วิสยั ทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ดั ความสำเร็จ และกลยุทธ์ ดังนี้ ปรัชญา มุ่งมั่นพัฒนาบุคลากรให้มีความคิดสร้างสรรค์สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลาย รปู แบบ โดยการทำงานรว่ มกับภาคเี ครือข่าย วิสยั ทัศน์ “ประชาชนจังหวัดกาญจนบุรีได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวติ อย่างมคี ุณภาพ สามารถดำรงชวี ิตทเี่ หมาะสมกบั ช่วงวยั บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” พนั ธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกจิ และสังคม เพอื่ ยกระดับการศึกษาและ พัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงและการปรับตัวในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างยงั่ ยืน 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทาง การศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการ เรยี นรแู้ ละบริบทของหนว่ ยงานของสถานศึกษา 3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนำเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทาง และโอกาส การเรียนรู้ รวมถงึ การเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย ให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายอยา่ งทวั่ ถึง 4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหาและประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามี ส่วนร่วม ในการสนับสนุนและจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ใน รปู แบบตา่ งๆ ใหก้ ับประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดีบน หลกั ของธรรมมาภบิ าล มปี ระสิทธภิ าพ ประสิทธผิ ลและคลอ่ งตวั มากยงิ่ ข้ึน
๒๑ 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และจริยธรรมที่ดี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มากยง่ิ ขน้ึ นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งานของ กศน.อำเภอทา่ มะกา ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ได้กำหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โดยมีแผนย่อยท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนได้แก่ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ที่มุ่งเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนา และเสริมสร้าง ศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนา และยกระดับศกั ยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการสง่ เสริมศักยภาพวัยผสู้ งู อายุ การพฒั นาการเรยี นรู้ ที่ตอบสนองต่อ การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปญั ญาของมนุษยท์ ี่หลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา นโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต และนโยบายเร่งด่วนเรื่องการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นโยบายและจุดเน้น การดำเนนิ งานสำนักงาน กศน.ประจำปี 2565 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอ่ืนๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง เช่น แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2568) โดยคาดหวงั วา่ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วง ชีวิตจะได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ให้เป็นคนดี คนเก่งมีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศสคู่ วามมนั่ คง มงั่ ค่ัง และยั่งยืน กศน.อำเภอท่ามะกา เป็นสถานศึกษาท่ีมีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตาม แผนพัฒนาประเทศ และนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่คำนึงถึงหลักการบริหารจดั การท้ังใน เรื่องหลกั ธรรมาภิบาล หลักการกระจายอำนาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร การ มงุ่ เน้นผลสมั ฤทธ์ิ และปฏิบตั กิ ารด้านขอ้ มลู ข่าวสาร การสรา้ งบรรยากาศในการทำงานและการเรยี นรู้ ตลอดจน การใช้ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ่ ได้แก่ การจัดการ เรียนรู้คุณภาพ การสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพและการ บริหารจดั การคุณภาพ อนั จะนำไปสกู่ ารสรา้ งโอกาสและลดความเหลอ่ื มล้ำทางการศกึ ษา การยกระดับคณุ ภาพ และเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสำหรับกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม และสร้างความพึงพอใจ ให้กับผู้เรียน ผูร้ บั บริการ หลักการ กศน.เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : กา้ วแห่งคุณภาพ” ซึง่ ไดก้ ำหนดนโยบายและจุดเน้น การดำเนนิ งาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ2565 ดังนี้ 1.ดา้ นการจดั การเรียนร้คู ุณภาพ 1.1 น้อมนำพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติรวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริทุกโครงการ และโครงการอนั เกย่ี วเน่อื งจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายและจุดเน้นการ ดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน.และกระทรวงศกึ ษาธิการ 1.3 สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมน่ั คง การสร้างความเขา้ ใจท่ีถูกต้องในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลกู ฝงั คุณธรรมจริยธรรม สร้างวินยั จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดมน่ั ในสถาบันหลกั ของชาติ รวมถงึ การมีจติ อาสา ผา่ นกจิ กรรมต่างๆ
๒๒ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนา ประเทศ สอดคลอ้ งกับบรบิ ทที่เปล่ยี นแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรยี น/ผู้รบั บริการ รวมถึง ปรบั ลด ความหลากหลายและความซ้ำซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสตู รการศึกษาสำหรบั กลมุ่ เปา้ หมายบนพืน้ ท่ี 1.5 ปรับระบบทดสอบ วดั ผลและประเมินผลโดยเน้นการใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ เครือ่ งมอื ให้ผู้เรียน สามารถเข้าถึงการประเมินผลการเรียนรูไ้ ด้ตามความต้องการ เพื่อการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ให้ความสำคญั กับการเทียบระดับการศึกษาและการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ ผู้เรียน ให้ตอบโจทยก์ ารประเมินในระดับประเทศและระดับสากล 1.6 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ด้วยตนเองครบ วงจร ตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับ กลุม่ เป้าหมายท่สี ามารถเรยี นรไู้ ด้สะดวก และตอบโจทยค์ วามต้องการของผ้เู รียนได้อย่างหลากหลาย 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสำนักงาน กศน. ตลอดจนพัฒนาสื่อสารการเรียนรู้ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ ง่ายต่อการ สืบคน้ และนำไปใช้ในการจดั การเรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย 1.8 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกำกับ ติดตาม ทั้งในระบบ On-Site และ Online รวมท้งั สง่ เสรมิ การวจิ ยั เพ่ือเปน็ ฐานในการพัฒนาการดำเนินงานการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั 2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับแต่ละช่วงวัย และการจัดการศึกษาและการเรียนร้ทู ่เี หมาะสมกบั แต่ละกลุ่มเป้าหมายและบรบิ ทพื้นที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้องกับ บริบทพื้นที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ DisruptiveTechnology 2.3 ยกระดบั ผลติ ภณั ฑส์ ินคา้ บริการจากโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน ท่ีเนน้ “สง่ เสรมิ ความรู้ สร้างอาชพี เพ่ิมรายได้ และมคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ี” ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานเป็นทย่ี อมรับของตลาด ต่อยอด ภูมิปัญญาท้องถ่นิ เพื่อสรา้ งมูลคา่ เพิม่ พฒั นาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพม่ิ ชอ่ งทางประชาสมั พันธแ์ ละ ชอ่ งทางการจำหน่าย 2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชีวิตทเ่ี หมาะกับช่วงวัย 2.5 ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาที่พัฒนาทกั ษะทีจ่ ำเป็นสำหรบั กลุ่มเป้าหมายพิเศษ เชน่ ผู้พิการ ออทสิ ติก เด็กเร่ร่อน และผดู้ ้อยโอกาสอ่นื ๆ 2.6 ส่งเสรมิ การพัฒนาทกั ษะดจิ ิทลั และทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน.และผู้เรียนเพื่อ รองรบั การพฒั นาประเทศ 2.7 สง่ เสริมการสร้างนวตั กรรมของผเู้ รียน กศน. 2.8 สร้างอาสาสมัคร กศน.เพอ่ื เป็นเครือข่ายในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศึกษาตลอด ชวี ติ รองรับการพัฒนาประเทศ 2.9 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน.รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร่ เพ่อื ให้หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา นำไปใช้ในการพฒั นากระบวนการเรยี นรูร้ ว่ มกัน
๒๓ 3. ดา้ นองค์กร สถานศกึ ษาและแหล่งเรียนรู้คณุ ภาพ 3.1 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการ อา่ นและการรู้หนงั สือของประชาชน 3.2 ประสานการจัดกิจกรรมและการให้บริการการศึกษาร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์จังหวัด กาญจนบรุ ี โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นเครอื่ งมอื นำวิทยาศาสตร์ส่ชู วี ติ ประจำวนั ในทุกครอบครัว 3.3 สง่ เสริมและสนบั สนุนการสรา้ งพ้ืนท่ีการเรยี นรู้ในรปู แบบ Public Learning Space/Co- learning Space เพ่อื การสร้างนิเวศการเรยี นร้ใู หเ้ กิดขน้ึ สังคม 4. ด้านการบริหารคุณภาพ 4.1 การพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตำแหน่งให้ตรงกับสาย งาน และทักษะท่ีจำเปน็ ในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ 4.2 ปรับปรุงระบบการจัดสรรทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษาให้มีความครอบคลมุ เหมาะสม 4.3 ปรบั ปรุงระบบฐานข้อมลู สารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เชน่ ข้อมูล การรายงานผลการดำเนินงาน ข้อมูลเดก็ ตกหล่นจากการศกึ ษาในระบบ เด็กเร่รอ่ น ผู้พิการ 4.4 ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ เคร่อื งมอื ในการบริหารจดั การอย่างเต็มรปู แบบ 4.5 ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คณุ ภาพ และความโปรง่ ใสการดำเนนิ งานของภาครัฐ (ITA) 4.6 เสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับข้าราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบต่างๆ เช่น ประกาศเกยี รติคณุ การมอบโล่/วุฒิบตั ร 4.7 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และส่งเสริมการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตสำหรบั ประชาชน ทิศทางการดำเนินงาน กศน.อำเภอทา่ มะกา กศน.อำเภอท่ามะกา ได้กำหนดทิศทางการดำเนินงานปี 2565 โดยใช้การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน หน่วยงาน รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงาน อันเป็นปัจจัยต่อการดำเนินงาน ของหน่วยงาน เพื่อนำผลไปใช้ในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของหน่วยงานซึ่งได้ผลการประเมิน สถานการณว์ เิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและศักยภาพพรอ้ มกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานของหน่วยงาน ดงั นี้ 1.การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) 2.ทศิ ทางการพัฒนาการศกึ ษาของ กศน.อำเภอทา่ มะกา การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มและศักยภาพ (SWOT Analysis) จดุ แขง็ จุดอ่อน 1. มีโครงสรา้ งการบรหิ ารงานและการมอบหมาย 1. บุคลากร/ครูผู้สอน จบการศกึ ษาไม่ตรงสาขาใน งานท่ี ชัดเจน การ ปฏบิ ัตงิ าน ขาดความรู้/เชี่ยวชาญเฉพาะดา้ น 2. มกี ารสง่ เสรมิ สนับสนนุ และอบรมพัฒนาบุคลากร 2. บุคลากรขาดขวญั และกำลังใจในการปฏบิ ตั งิ าน อย่างต่อเนื่อง และ ขาดความม่นั คงในอาชพี 3. มีการนิเทศตดิ ตามและพัฒนางาน 4. งบประมาณในการจดั การศึกษาตามอัธยาศัยมี 4. มกี ารสำรวจกลมุ่ เปา้ หมายเพอื่ จดั การเรยี น น้อย การสอน
๒๔ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น 5. มบี ริการจุดเช่ือมโยง ภาคีเครอื ข่าย และ อุปสรรค ให้บริการ เชิงรุกถงึ กลุ่มเป้าหมาย ตอบสนองต่อ ความต้องการ ของประชาชน 6. บคุ ลากรมีความรคู้ วามสามารถที่หลากหลาย โดยเฉพาะดา้ นเทคโนโลยี ยึดม่ัน ในจรรยาบรรณ วิชาชีพครู มคี วามรบั ผดิ ชอบ เสียสละ พรอ้ ม ปฏิบตั ิงานตามนโยบายครอบคลมุ ทุก พ้นื ท่ี และ ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง ภาคี เครอื ขา่ ย ยอมรบั ในศกั ยภาพ 7. มอี าคารสถานท่ีทเ่ี หมาะสม เปน็ สดั สว่ น 8. ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และ ปรชั ญาคดิ เป็น 9. มีการบรหิ ารจัดการท่ีเป็นระบบและตรวจสอบได้ เชน่ ระบบประกันคณุ ภาพ 10. มีการทำงานเปน็ ทีม 11.มวี สิ ัยทัศนท์ ่ีชัดเจน 12.คณะกรรมการสถานศึกษามสี ว่ นรว่ มในการจัด การศึกษา โอกาส 1. มภี าคเี ครอื ข่ายที่เข้มแข็งและมีสว่ นรว่ มในการจัด 1. เกดิ โรคระบาด โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 กจิ กรรม (COVID-19) สง่ ผลกระทบต่อการดำเนินงานอย่าง 2. มีอาสาสมคั รในชมุ ชนทีช่ ว่ ยเหลือการดำเนนิ งาน ต่อเน่อื ง กศน. 2. สภาวะเศรษฐกจิ ของผู้เรยี น/ผ้รู ับบรกิ ารไมเ่ อ้ือ 3. มีการผลิตส่อื นวตั กรรมดา้ นเทคโนโลยที ี่ ตอ่ การทำกจิ กรรมกล่มุ เป้าหมายท่ีเรยี นกับ กศน. หลากหลายชว่ ยใน การจัดการเรยี นการสอน อพยพไปใชแ้ รงงานตา่ งถ่ิน 4.มภี มู ิปญั ญาแหลง่ เรยี นรู้ตามชมุ ชน 3. นโยบายส่วนกลางมีการเปลีย่ นแปลงบอ่ ยทำให้ การดำเนินงานไมต่ ่อเน่ือง 4. กฎ ระเบยี บ ว่าด้วยงาน กศน. ยงั ไม่เออ้ื ต่อการ จดั การศกึ ษาของ กศน. ส่งผลต่อการดำเนนิ งานใน ด้านอื่นๆ 5. ทักษะดา้ นฝมี ือแรงงาน การประกอบอาชีพยงั ตอ้ ง มีการพัฒนาให้มที ักษะตรงกบั ความต้องการ ของ ตลาดแรงงาน 6. ครภุ ัณฑ์ไมเ่ พยี งพอ ขาดงบประมาณในการจัดซ้อื สือ่ เทคโนโลยี
๒๕ โอกาส อุปสรรค 7.ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประชาชนใน ชมุ ชนมีความหลากหลายทางวฒั นธรรม จากการประเมินสถานการณ์ของหน่วยงาน โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) หน่วยงานควรเสริมสร้างการทำงานเปน็ ทีมเพิ่มประสิทธภิ าพของบคุ ลากรในการปฏบิ ัตงิ านให้เป็นไป อย่างต่อเนื่องและควรสร้างระบบการจดั การความรู้ขององค์กรการพฒั นางานให้มีคณุ ภาพและผลสัมฤทธ์ิย่ิงขึ้น และพัฒนาคนโดยเฉพาะผู้ปฏิบัติงาน โดยมีกระบวนการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ ควบคู่กับการให้ภาคี เครอื ขา่ ยมสี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรม กศน.อำเภอท่ามะกา กำหนดทศิ ทางการดำเนินงานของหนว่ ยงาน ได้แก่ ปรัชญา วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ เป้าประสงค์ ตัวช้วี ัด ความสำเร็จ และกลยุทธ์ ดงั น้ี ปรัชญา เรียนร้ตู ลอดชีวติ คิดเปน็ เน้นคุณธรรม อตั ลกั ษณส์ ถานศึกษา ใฝ่เรยี นรู้ คูค่ ณุ ธรรม วิสัยทัศน์ “ มุ่งมั่นจัดกิจกรรมให้ประชาชนได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี คุณภาพ สามารถดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิด สงั คมฐานความร้คู คู่ ณุ ธรรม” พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคณุ ภาพ สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพ่อื ยกระดับการศึกษาและ พัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงและการปรับตัวในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างยงั่ ยืน 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทาง การศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการ เรียนร้แู ละบริบทของหน่วยงานของสถานศกึ ษา 3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนำเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทาง และโอกาส การเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจดั และให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ให้กบั ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายอย่างทัว่ ถงึ 4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหาและประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามี ส่วนร่วม ในการสนับสนนุ และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตใน รูปแบบตา่ งๆ ใหก้ ับประชาชน
๒๖ 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดีบน หลกั ของธรรมมาภบิ าล มปี ระสิทธภิ าพ ประสทิ ธิผลและคล่องตวั มากย่ิงขึน้ 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และจริยธรรมที่ดี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มากยิง่ ขนึ้
๒๗ บทที่ 3 วเิ คราะห์ขอ้ มูล (SWOT) ๓.๑ วเิ คราะหข์ อ้ มลู สภาพแวดล้อมระดบั อำเภอ (SWOT Analysis) ผลการวเิ คราะห์ปัจจัยภายในภายนอก ของ กศน.ตำบลทา่ มะกา (SWOT Analysis) จากสภาพการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ผ่านมาของ กศน.ตำบลทา่ มะกา สามารถวิเคราะห์ปัจจยั ภายในภายนอกของ กศน.ตำบลท่ามะกา SWOT Analysis ไดด้ งั นี้ จดุ แขง็ จุดออ่ น 1. ด้านอาคารสถานที่ กศน. ตำบลท่ามะกา ตั้งอยู่ 1. ด้านกลุ่มเป้าหมาย (นักศึกษา) บางรายขาด บรเิ วณพ้ืนที่ใน อบต.ท่ามะกา ไดร้ บั ความอนุเคราะห์ ความรับผิดชอบ ไม่มีวินัยในตนเอง ไม่ปฏิบัติตาม จาก อบต.ท่ามะกา ดำเนินให้จัดกิจกรรมของ กศน. ข้นั ตอน และไม่มกี ารทำงานเป็นกล่มุ ตำบลท่ามะกา และพื้นที่บริเวณ อยู่ในเขตชุมชน 2. กลมุ่ เปา้ หมายมีพ้นื ฐานดา้ นความรู้ทีแ่ ตกต่างกนั สะดวกต่อการตดิ ตอ่ และเออ้ื อำนวยในการให้บริการ 3. ขาดงบประมาณในการปรับปรุงพัฒนา กศน. 2. กศน.ตำบลท่ามะกา เป็นอาคารเฉลิมพระเกียรติ ตำบลใหค้ งทนถาวรและทันสมยั 60 พรรษา สะดวกต่อการจดั กจิ กรรมทุกๆกิจกรรม 4.ครุภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ไม่เพียงพอ ต่อการ ในแตล่ ะดา้ น ดำเนนิ งานและใหบ้ ริการ 3. มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายเพียงพอต่อความ 5.กลุม่ เป้าหมายในพนื้ ทตี่ ำบล บางหมู่ยังไม่ทั่วถึงกัน ตอ้ งการของกล่มุ เปา้ หมาย และไมย่ อมรับและไมท่ นั ดา้ นเทคโนโลยี ยุค 4G 4. ภารกิจหรืองานในหนา้ ทีข่ อง กศน.ตำบลท่ามะกา บางรายไมข่ าดโอกาสทางศกึ ษา มีลักษณะงานที่หลากหลาย น่าสนใจ มีหลาย หลักสตู รหลายวิธี ชว่ ยพฒั นาสงั คมได้ 5.กศน.ตำบลมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย เหมาะสำหรับ การใช้สารสนเทศ ระบบยคุ ดจิ ิทลั มีบริการ wifi ฟรี โอกาส อุปสรรค 1. คนในชุมชนจะมีวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ 1. เกิดโรคระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 คลา้ ยคลงึ กัน ไม่มีความแตกแยกทางวัฒนธรรมและ (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานอย่าง ชนชนั้ ต่อเนอื่ ง 2. การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมท้องถิ่น การ 2. ความเป็นอยู่ของคนในชุมชนจะอยู่กระจัด อนุรกั ษ์วฒั นธรรมพ้นื เมืองของชมุ ชน กระจายตามโรงงานอุตสาหกรรม ทอ้ งไร่ ท้องนา ทำ 3. การเข้าถึงเทคโนโลยีการสื่อสารของคนในชุมชน ใหเ้ ป็นอปุ สรรคในการรวมกล่มุ ทำกจิ กรรม เป็นไปอยา่ งแพรห่ ลาย ทำให้การตดิ ตอ่ ประสานงาน 3. งบประมาณที่จะดำเนินกิจกรรมร่วมกับเครือข่าย กบั ชมุ ชนเปน็ ไปได้งา่ ย นอ้ ย 4. มีการให้บริการด้านอินเทอร์เน็ตมีมากเพียงพอ 4. เทคโนโลยดี ้านคอมพิวเตอร์ ใน กศน.ตำบลยังไม่ กับการให้บริการ เพยี งพอต่อการจัดการเรียนรู้ 5. ปัจจุบัน มีเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาเกี่ยวข้องใน 5. ประชาชนส่วนมากยังขาดทกั ษะความรู้ความ การดำเนินชีวิตมากขึ้น ทำให้ก้าวทันโลกและ ชำนาญในการใชเ้ ทคโนโลยี เหตุการณ์ใหม่ๆอยู่เสมอ 6. ประชาชนในชุมชนมีรายได้หลักเพียงพอต่อการ 6. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของ เลย้ี งชีพความสนใจในการเรียนรู้กิจกรรมอาชีพเสริม กศน.ตำบล เลยมนี ้อย
๒๘ 7. มีการสง่ เสรมิ การพัฒนาอาชีพท่ีถนัดและสง่ เสริม อาชีพให้มีการพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง ๓.๒ สรปุ สภาพปัญหาความต้องการ สาเหตุ และแนวทางแก้ไข สภาพปญั หา/ความต้องการ สาเหตุ แนวทางแก้ไข/พฒั นา 1. มีการประชาสมั พันธเ์ พื่อให้ 1. ประชาชนในตำบลขาดความ ขอ้ อา้ งในด้านเวลา การประกอบ ประชาชนตระหนกั ถงึ ความสำคญั ตระหนัก และไม่ค่อยให้ความ อาชีพ ของการจัดการศึกษาโดยการออก สนใจดา้ นการศกึ ษาเท่าทีค่ วร หน่วยประชาสัมพันธเ์ คลื่อนที่ รับ 2.ประชาชนในตำบลยังวา่ งงาน สมัครนกั ศกึ ษาครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี และไดร้ ับการประกอบอาชพี 2. ประสานความรว่ มมอื กบั ผู้นำ ท้องถิน่ และท้องทใ่ี นการ 3. ปญั หาด้านการประกอบอาชพี เกิดภาวะโรคระบาดโรคติดเช้ือ ประชาสัมพันธ์การรบั สมคั ร ของประชาชน ไวรัส COVID-19 สง่ ผลกระทบ นักเรยี น ทำให้ประชาชนบางส่วนตกงาน 3. จัดกิจกรรมโครงการศนู ยฝ์ ึก - ประชาชนสว่ นใหญ่ในตำบล ไมม่ ีงานทำ รายไดไ้ ม่เพียงพอใน อาชพี ชุมชน เพอื่ ฝกึ อาชพี ระยะสัน้ หวายเหนยี วสว่ นใหญ่ประกอบ การดำรงชพี ใหผ้ ้ทู ี่สนใจเรยี น อาชพี โรงงานอตุ สาหกรรม/ทำไร/่ ทำสวน/ค้าขาย ขาดความรูค้ วามเขา้ ใจในเร่ืองการ 7. จดั กจิ กรรมการจัดการศึกษา ดแู ลสขุ ภาพอยา่ งถกู วิธี เพือ่ พฒั นาทักษะชวี ิต ทเี่ กี่ยวข้อง 4. จำนวนผ้สู ูงอายใุ นชมุ ชนมี การการดูแลรกั ษาสุขภาพสำหรบั ผู้ จำนวนมาก และขาดการตะหนกั รู้ สงู วัย เรือ่ งการดูแลตวั เอง 8. จดั กิจกรรมตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และ 5. ประชาชนในพ้นื ทปี่ ระกอบ ขาดความตะหนัก และขาดความรู้ กจิ กรรมพฒั นาสังคมและชุมชน ท่ี เก่ยี วข้องเกี่ยวการการทำ อาชพี ทำไร/่ ทำสวน/ ขาดความรใู้ น ความเข้าใจในเรือ่ งของการทำ การเกษตรแบบผสมผสาน การทำ ป๋ยุ ชีวภาพ และโคก หนอง นา เรอื่ งของการเกษตรอนิ ทรยี ์ การเกษตรอินทรีย์ และปยุ๋ ชวี ภาพ โมเดล 10. จดั กิจกรรมการจดั การศกึ ษา เนอื่ งจากยงั มกี ารใชส้ ารเคมีที่ ตามอธั ยาศัย กจิ กรรมนันทนาการ สง่ ผลเสียตอ่ สุขภาพในชวี ติ ประจำ เปน็ จำนวนมาก 6. ประชากรผสู้ ูงอายุในตำบลสว่ น เป็นไปตามชว่ งวยั ใหญ่ ตดิ สังคม ติดเพือ่ น และมี
สภาพปัญหา/ความต้องการ ๒๙ ผู้สูงอายบุ างกลมุ่ ที่เกิดอาการลมื สาเหตุ แนวทางแกไ้ ข/พัฒนา หนงั สอื เนื่องจากไม่ไดอ้ า่ นและ กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น สำหรบั เขียนเปน็ เวลานาน ผสู้ งู อายุ
๓๐ บทที่ 4 รายละเอียดแผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.ตำบลทา่ มะกา 4.๑ ตารางบัญชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ลำดบั ที่ ชอ่ื โครงการ งบประมาณ 1. การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐานนอกระบบ - - 2. การศึกษาศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน (กลมุ่ สนใจ ๓-๓๐ ชม.) - - 3. การศกึ ษาศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน(อาชพี ระยะสั้น ๓๑ ชม.ข้ึนไป) 15,865 4. การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 5. การศึกษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชมุ ชน 6. การเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 7. ส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศัยรปู แบบบ้านหนงั สือชุมชน 8. กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น/ห้องสมดุ ชาวตลาด 9. กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน/อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น 10. กศน.ตำบลทา่ มะกา งามตา ประชาชื่นใจ 11. ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจทฤษฎี ใหม่ รวม รวม 11 โครงการ งบประมาณทัง้ สิ้น 15,865 บาท งบดำเนนิ งาน 3,165 บาท งบรายจา่ ยอ่นื 12,700 บาท งบอดุ หนุน บาท หมายเหตุ ตารางบญั ชีใชต้ ารางตามแบบ Microsoft Excel
๓๑ 2) โครงการจัดการศกึ ษาศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (กล่มุ สนใจ ๓-๓๐ ชม.) 1. ชื่อโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชาขนมไทย (เม็ดขนนุ ) หลักสูตร 3 ชัว่ โมง 2. ความสอดคล้องกบั นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนษุ ย์ ชว่ งวัยแรงงาน ขอ้ ที่1 จดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมงี านทำท่ีสอดคล้องกบั ศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด ใหป้ ระชาชนสามารถนำไปประกอบอาชีพได้จรงิ 2.2 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงานสํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ข้อที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพ ระยะสั้นทเี่ น้น New skill Up skill และ Re skill ท่ีสอดคล้องกบั บริบท พ้นื ท่ี ความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ท่ีรองรับ Disruptive Technology และข้อที่ 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่ม รายได้ และมีคุณภาพชีวิตท่ีด”ี ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐาน เป็นทยี่ อมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ือ สรา้ งมลู ค่าเพิ่ม พฒั นาสู่วสิ าหกิจชมุ ชน ตลอดจนเพิ่มชอ่ งทางประชาสมั พันธ์และช่องทางการจาํ หน่าย 3. หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาอาชีพ เป็นกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนรูปแบบหนึ่งที่มุ่งเน้นสนับสนุนให้ ประชาชนไดป้ ระกอบอาชีพมงี านทำ ไมว่ า่ จะเปน็ การประกอบอาชีพอสิ ระ หรือการพฒั นาฝีมือแรงงานเพ่ือเข้า สูต่ ลาดแรงงาน หรือเปน็ การสง่ เสรมิ คุณภาพชีวติ ใหม้ คี วามรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจชุมชน โดยเน้น การบูรณาการให้ สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงาน ทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึงเท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคงจากการสำรวจความต้องการด้านอาชีพ และความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และความพร้อมของชุมชน โดยเพิ่มคุณภาพประชาชนให้ความรู้ ความสามารถในการพัฒนาชีวติ ความเป็นอยูข่ องตนเองและครอบครวั ให้ดขี ้ึน กศน.ตำบลทา่ มะกา ในฐานะเปน็ หนว่ ยงานทม่ี ีความรับผดิ ชอบ การจดั การศึกษานอกโรงเรียน ให้กับ ประชาชนในตำบลท่ามะกา ในรปู แบบตา่ ง ๆ อาทิการจดั กลมุ่ การพัฒนาอาชพี การจัดวชิ าชพี หลักสูตรต่าง ๆ ให้ตอบสนองนโยบายสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน และให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ และ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ตำบลท่ามะกา จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบ พัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชาขนมไทย (เม็ดขนุน) ขึ้น เพื่อให้ความรู้และส่งเสริมใหป้ ระชาชนมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และพัฒนาคุณภาพชีวติ ได้ตามศกั ยภาพ 4. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 4.1 เพอ่ื ใหผ้ เู้ ข้ารับการอบรมมคี วามรู้และความเข้าใจในการทำขนมไทย (เมด็ ขนุน) ได้ 4.2 เพอ่ื ให้ผูเ้ ข้ารบั การอบรมนำความรู้จากการทำขนมไทย (เมด็ ขนนุ ) นำไปสรา้ งเป็นอาชพี ได้
๓๒ 5. เปา้ หมาย 5.1 เชิงปรมิ าณ ประชาชนทวั่ ไปในตำบลทา่ มะกา จำนวน 6 คน 5.2 เชงิ คณุ ภาพ 5.2.1 ผรู้ บั การฝกึ อาชีพมคี วามรู้และความเขา้ ใจเก่ียวกบั การทำขนมไทย (เม็ดขนุน) ได้ 5.2.2 ผู้รับการฝกึ อาชพี นำความรู้ไปใช้ในการทำขนมไทย (เมด็ ขนุน) สร้างเปน็ อาชพี ได้ 6. วิธดี ำเนินงาน กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบ ดำเนินการ 13 ประมาณ 1. ขน้ั วางแผน (Plan) 1. เพ่อื เตรยี มความพร้อม - ผอ.กศน. 21 คน กศน.อำเภอ ทา่ มะกา ธันวาคม - 1.1 วางแผน ในการจดั ทำโครงการ - ครู กศน. 6 คน 2564 กศน.ตำบล 1,600- ปฏบิ ตั งิ าน 2. เพอื่ จัดทำโครงการ อำเภอท่ามะกา 5 คน ท่ามะกา 20 6 คน ม.11 ธันวาคม - 1.2 แต่งตง้ั 2564 บา้ น คณะทำงาน ห้วยปากง่าม 20 ธนั วาคม 1.3 จัดทำโครงการ กศน.ตำบล 2564 ท่ามะกา และขออนุมตั ิโครงการ ม.11 1.4 ประชาสัมพนั ธ์ บา้ น ห้วยปากงา่ ม โครงการ 2. ขั้นดำเนนิ งาน (Do) 1. เพอื่ ให้ผู้เข้ารบั การอบรม - ประชาชน 2.1 ดำเนนิ จัดโครงการ มคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจใน ในตำบล ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ทา่ มะกา (การศึกษาแบบพัฒนา การทำขนมไทย (เม็ดขนุน) อาชพี ระยะส้ัน กลุม่ สนใจ) ได้ วิชาขนมไทย (เม็ดขนนุ ) 2. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรม นำความรู้จากการทำ ขนมไทย (เม็ดขนุน) นำไปสรา้ งเปน็ อาชีพได้ 3. ขั้นตรวจสอบ (Check) 1. เพอ่ื ประเมินความเปน็ ไป - ผอ.กศน. 3.1 การประเมินผล ได้ของโครงการ - ครู กศน. ก่อนดำเนนิ โครงการ 2. เพือ่ ประเมินความ อำเภอท่ามะกา 3.2 การประเมิน กา้ วหน้าของโครงการ - ผู้เขา้ รว่ ม ระหว่างดำเนินโครงการ 3. เพื่อประเมินผลสำเรจ็ โครงการ 3.3 การประเมินเม่ือ ของโครงการ เสรจ็ สนิ้ โครงการ
๓๓ กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบ ดำเนนิ การ ประมาณ 4. ข้ันปรับปรุงแก้ไข 1.เพือ่ ปรบั ปรุง แก้ไข และ - ผอ.กศน. 5 คน 27 กศน.อำเภอ ธันวาคม - ท่ามะกา 2564 (Action) พฒั นาการดำเนินโครงการ - ครู กศน. 4.1 รวบรวมขอ้ มูล อำเภอท่ามะกา วิเคราะหข์ ้อมลู สรุปและ จัดทำรายงานการประเมิน โครงการ 4.2 ประชมุ คณะทำงาน เพือ่ นำเสนอข้อมลู จาก รายงานการประเมนิ โครงการไปใชป้ รับปรงุ แกไ้ ข และพฒั นาการ ดำเนนิ โครงการ 7. งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2565 โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์เพ่ือสนับสนนุ ด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาทีย่ ั่งยืน กิจกรรม ส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น จำนวนเงิน 1,600 บาท (หนึ่งพันหกร้อยบ าทถ้วน) แบ่งเป็น คา่ ใช้จ่ายดงั นี้ - ค่าตอบแทนวิทยากร 3 ช่วั โมง x 200 บาท จำนวน 600 บาท - ค่าวสั ดฝุ ึกในโครงการ จำนวน 1,000 บาท รวม 1,600 บาท หมายเหตุ ขอถัวจา่ ยตามรายการท่จี า่ ยจรงิ 8. แผนการเบิกจ่ายงบประมาณ รวม แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ งบประมาณ ไตรมาส 1 กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (บาท) (ต.ค.–ธ.ค.64) (ม.ค.– ม.ี ค. (เม.ย.–ม.ิ ย. (ก.ค.–ก.ย.65) 65) 65) - 1. ดำเนินการโครงการศนู ย์ฝึก 1,600 1,600 -- อาชพี ชมุ ชน (การศึกษาแบบ พฒั นาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชาขนมไทย (เม็ดขนนุ ) หลกั สตู ร 3 ช่ัวโมง รวม 1,600 1,600 - - -
๓๔ 9. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ อ่นุ ใจ ครู กศน.ตำบลท่ามะกา 9.1 นางสภุ าพ โพธ์เิ งิน ครอู าสาสมัครฯ 9.2 นางสาวภทั รกรณ์ 10. ภาคเี ครือข่าย 10.1. อบต.ท่ามะกา 10.2 ผนู้ ำชมุ ชน 10.3 วัดเขาใหญ่ 11. ความสัมพันธก์ บั โครงการอน่ื 11.1 กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 11.2 โครงการจดั การศึกษาตอ่ เนอื่ ง 11.3 โครงการศูนยก์ ารเรียนร้ตู ลอดชวี ิต 11.4 โครงการศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตย 12. ผลลพั ธ์ ผรู้ ับการอบรมมคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การทำขนมไทย (เมด็ ขนุน) และนำความรไู้ ปใช้ในการ สร้างอาชีพได้ 13. ดชั นชี วี้ ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ช้ีวดั ผลผลติ (Outputs) ร้อยละ 80 ของผูเ้ ข้ารบั การอบรมมีความรแู้ ละความเข้าใจเกี่ยวกับการทำขนมไทย (เม็ดขนนุ ) ได้ 13.2 ตวั ชวี้ ัดผลลพั ธ์ (Outcomes) ร้อยละ 80 ของผ้เู ข้ารับการอบรมนำความรู้ไปใชใ้ นการทำขนมไทย (เม็ดขนนุ ) และนำไปสรา้ ง เปน็ อาชีพได้ 14. การประเมนิ ผลโครงการ 14.1 ประเมินกอ่ นดำเนินโครงการเพ่ือศึกษาความเป็นไปไดข้ องโครงการ 14.2 ประเมินระหวา่ งดำเนินโครงการเพ่ือศึกษาความก้าวหน้าของโครงการ 14.3 ประเมินหลังเสรจ็ สิน้ โครงการเพ่ือศึกษาความสำเร็จของโครงการ
๓๕ 1.ชื่อโครงการ ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน (การศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสนั้ กล่มุ สนใจ) วิชาพวงมาลัยผ้าขาวม้า หลักสตู ร 3 ชว่ั โมง 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ชว่ งวัยแรงงาน ขอ้ ที1่ จดั การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำทส่ี อดคล้องกบั ศักยภาพของชุมชน และความตอ้ งการของตลาด ใหป้ ระชาชนสามารถนำไปประกอบอาชพี ไดจ้ ริง 2.2 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงานสํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ข้อที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพ ระยะสั้นท่เี น้น New skill Up skill และ Re skill ทส่ี อดคล้องกบั บริบท พนื้ ที่ ความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology และข้อที่ 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่ม รายได้ และมคี ุณภาพชีวติ ท่ีด”ี ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐาน เปน็ ท่ยี อมรบั ของตลาด ตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน เพ่ือ สรา้ งมลู ค่าเพ่มิ พฒั นาสู่วสิ าหกิจชมุ ชน ตลอดจนเพ่มิ ช่องทางประชาสมั พนั ธแ์ ละชอ่ งทางการจาํ หนา่ ย 3. หลกั การและเหตผุ ล การจัดการศึกษาอาชีพ เป็นกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนรูปแบบหนึ่งที่มุ่งเน้นสนับสนุนให้ ประชาชนได้ประกอบอาชพี มีงานทำ ไมว่ า่ จะเป็นการประกอบอาชีพอสิ ระ หรอื การพฒั นาฝมี ือแรงงานเพื่อเข้า สตู่ ลาดแรงงาน หรอื เปน็ การส่งเสริมคณุ ภาพชีวติ ให้มคี วามรู้ ความสามารถและทกั ษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแกป้ ญั หาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งแกเ่ ศรษฐกิจชุมชน โดยเนน้ การบรู ณาการให้สอดคล้อง กับศักยภาพด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นพัฒนาคนไทยให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมี คุณภาพ ทั่วถึงเท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคงจากการสำรวจความต้องการด้านอาชีพ และความ เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และความพร้อมของชุมชน โดยเพิ่มคุณภาพประชาชนให้ความรู้ความสามารถในการ พฒั นาชวี ิตความเปน็ อยขู่ องตนเองและครอบครัวใหด้ ีขนึ้ กศน.ตำบลทา่ มะกา ในฐานะเปน็ หน่วยงานท่ีมคี วามรบั ผดิ ชอบ การจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน ให้กับ ประชาชนในตำบลท่ามะกา ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การจัดกลุ่มการพัฒนาอาชีพ การจัดวิชาชีพ หลักสูตรต่าง ๆ ให้ตอบสนองนโยบายสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน และให้สอดคล้องกับสภาวะ เศรษฐกิจ และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ตำบลท่ามะกา จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชาพวงมาลัยผ้าขาวม้า เพื่อให้ความรู้และส่งเสริมให้ ประชาชนมที ักษะ ความรู้ ความสามารถ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตไดต้ ามศกั ยภาพ 4. วัตถุประสงคข์ องโครงการ 4.1 เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ ข้ารบั การอบรมมคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจในการทำพวงมาลยั ผา้ ขาวม้า ได้ 4.2 เพื่อใหผ้ ้เู ขา้ รับการอบรมนำความรู้จากการทำพวงมาลยั ผ้าขาวม้า นำไปสรา้ งเปน็ อาชพี ได้ 5. เป้าหมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ ประชาชนท่วั ไปในตำบลทา่ มะกา จำนวน 6 คน 5.2 เชงิ คุณภาพ 5.2.1 ผู้รบั การฝึกอาชพี มีความรู้และความเข้าใจเก่ยี วกับการทำพวงมาลยั ผ้าขาวม้า ได้ 5.2.2 ผูร้ ับการฝกึ อาชีพนำความรู้ไปใช้ในการทำพวงมาลัยผา้ ขาวม้า สร้างเปน็ อาชีพได้
๓๖ 6. วธิ ีดำเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้ืนที่ ระยะเวลา งบ ดำเนินการ 16 ประมาณ 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1. เพื่อเตรยี มความพร้อม - ผอ.กศน. 21 คน กศน.อำเภอ 1.1 วางแผน ในการจัดทำโครงการ - ครู กศน. ทา่ มะกา ธนั วาคม - 2. เพอ่ื จดั ทำโครงการ อำเภอท่ามะกา 6 คน 2564 ปฏบิ ัตงิ าน กศน.ตำบล 1,600- 5 คน ท่ามะกา 28 1.2 แต่งตง้ั 6 คน ม.11 ธนั วาคม - คณะทำงาน 5 คน 2564 บ้าน - 1.3 จัดทำโครงการ ห้วยปากงา่ ม 28 ธันวาคม และขออนุมัตโิ ครงการ กศน.ตำบล 2564 1.4 ประชาสัมพนั ธ์ ท่ามะกา ม.11 4 มกราคม โครงการ 2565 บา้ น 2. ข้ันดำเนินงาน (Do) 1. เพื่อใหผ้ ้เู ข้ารบั การอบรม - ประชาชน ห้วยปากง่าม 2.1 ดำเนินจัดโครงการ มีความร้แู ละความเขา้ ใจใน ในตำบล กศน.อำเภอ ศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน การทำผลติ ภัณฑจ์ ากเศษผา้ ทา่ มะกา ทา่ มะกา (การศึกษาแบบพัฒนา (พรมเชด็ เท้า) ได้ อาชีพระยะสนั้ กลุ่มสนใจ) 2. เพ่อื ใหผ้ ู้เข้ารับการอบรม วชิ าขนมไทย (เม็ดขนุน) นำความรจู้ ากการทำ ผลิตภณั ฑ์จากเศษผ้า (พรมเชด็ เท้า) นำไปสร้าง เป็นอาชพี ได้ 3. ข้นั ตรวจสอบ (Check) 1. เพื่อประเมินความเป็นไป - ผอ.กศน. 3.1 การประเมินผล ได้ของโครงการ - ครู กศน. ก่อนดำเนนิ โครงการ 2. เพอ่ื ประเมนิ ความ อำเภอท่ามะกา 3.2 การประเมนิ ก้าวหนา้ ของโครงการ - ผเู้ ข้ารว่ ม ระหว่างดำเนนิ โครงการ 3. เพอ่ื ประเมนิ ผลสำเรจ็ โครงการ 3.3 การประเมนิ เมือ่ ของโครงการ เสรจ็ สน้ิ โครงการ 4. ขนั้ ปรบั ปรงุ แก้ไข 1.เพ่ือปรบั ปรงุ แก้ไข และ - ผอ.กศน. (Action) พฒั นาการดำเนนิ โครงการ - ครู กศน. 4.1 รวบรวมขอ้ มูล อำเภอท่ามะกา วิเคราะห์ข้อมลู สรปุ และ จัดทำรายงานการประเมิน โครงการ 4.2 ประชมุ คณะทำงาน เพ่อื นำเสนอข้อมูลจาก รายงานการประเมิน
๓๗ กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบ ดำเนนิ การ ประมาณ โครงการไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการ ดำเนินโครงการ 7. งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2565 โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ สนบั สนุนด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศกึ ษาที่ย่ังยืน กิจกรรม ส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น จำนวนเงิน 1,600 บาท (หนึ่งพันหกร้อยบ าทถ้วน) แบ่งเป็น คา่ ใชจ้ า่ ยดังนี้ - ค่าตอบแทนวทิ ยากร 3 ช่ัวโมง x 200 บาท จำนวน 600 บาท - คา่ วสั ดุฝึกในโครงการ จำนวน 1,000 บาท รวม 1,600 บาท หมายเหตุ ขอถัวจา่ ยตามรายการท่ีจ่ายจรงิ 8. แผนการเบกิ จา่ ยงบประมาณ รวม แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ งบประมาณ ไตรมาส 1 กิจกรรมหลัก ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (บาท) (ต.ค.–ธ.ค.64) (ม.ค.– มี.ค. (เม.ย.–ม.ิ ย. (ก.ค.–ก.ย.65) 65) 65) - 1. ดำเนินการโครงการศูนย์ฝึก 1,600 1,600 -- อาชพี ชุมชน (การศึกษาแบบ พัฒนาอาชีพระยะส้นั กลมุ่ สนใจ) วชิ าผลิตภณั ฑ์จากเศษผ้า (พรมเช็ดเท้า) หลักสตู ร 3 ชว่ั โมง รวม 1,600 1,600 - - - 9. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ อนุ่ ใจ ครู กศน.ตำบลทา่ มะกา 9.1 นางสุภาพ โพธเิ์ งิน ครอู าสาสมัครฯ 9.2 นางสาวภทั รกรณ์ 10. ภาคีเครือขา่ ย 10.1. อบต.ท่ามะกา 10.2 ผูน้ ำชุมชน 10.3 วัดเขาใหญ่
๓๘ 11. ความสัมพนั ธ์กับโครงการอื่น 11.1 กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 11.2 โครงการจัดการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 11.3 โครงการศูนย์การเรียนร้ตู ลอดชีวิต 11.4 โครงการศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาประชาธปิ ไตย 12. ผลลัพธ์ ผรู้ ับการอบรมมีความรูแ้ ละความเข้าใจเกยี่ วกับทำผลติ ภัณฑจ์ ากเศษผ้า (พรมเชด็ เทา้ ) และนำความรู้ ไปใชใ้ นการสรา้ งอาชพี ได้ 13. ดชั นชี วี้ ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ชีว้ ัดผลผลติ (Outputs) รอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ รับการอบรมมีความรู้และความเขา้ ใจเก่ยี วกับการทำผลิตภัณฑจ์ ากเศษผ้า (พรมเชด็ เท้า) ได้ 13.2 ตวั ช้วี ดั ผลลพั ธ์ (Outcomes) รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ข้ารับการอบรมนำความรู้ไปใช้ในการทำผลิตภณั ฑ์จากเศษผา้ (พรมเช็ดเทา้ ) และนำไปสรา้ งเป็นอาชีพได้ 14. การประเมินผลโครงการ 14.1 ประเมนิ ก่อนดำเนนิ โครงการเพ่ือศึกษาความเปน็ ไปได้ของโครงการ 14.2 ประเมินระหวา่ งดำเนินโครงการเพ่ือศึกษาความก้าวหน้าของโครงการ 14.3 ประเมินหลงั เสรจ็ สน้ิ โครงการเพ่ือศกึ ษาความสำเร็จของโครงการ
๓๙ 1.ชื่อโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชา พวงมาลัยจาก ผ้าขาวมา้ จำนวน 3 ชวั่ โมง 2. ความสอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ ชว่ งวยั แรงงาน ขอ้ ท่1ี จดั การศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำทส่ี อดคล้องกบั ศักยภาพของชุมชน และความตอ้ งการของตลาด ใหป้ ระชาชนสามารถนำไปประกอบอาชีพได้จริง 2.2 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงานสํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ข้อที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพ ระยะสั้นทเี่ น้น New skill Up skill และ Re skill ทสี่ อดคล้องกบั บริบท พนื้ ท่ี ความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ท่ีรองรับ Disruptive Technology และข้อที่ 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่ม รายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อ สร้างมูลค่าเพ่ิม พฒั นาสูว่ ิสาหกิจชมุ ชน ตลอดจนเพ่ิมชอ่ งทางประชาสัมพนั ธ์และช่องทางการจําหนา่ ย 3. หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาอาชีพ เป็นกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนรูปแบบหนึ่งที่มุ่งเน้นสนับสนุนให้ ประชาชนไดป้ ระกอบอาชพี มีงานทำ ไม่วา่ จะเปน็ การประกอบอาชีพอสิ ระ หรือการพฒั นาฝมี อื แรงงานเพื่อ เข้าสู่ตลาดแรงงาน หรือเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบ อาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจชุมชน โดยเน้น การบูรณาการให้ สอดคล้อง กับศักยภาพด้านตา่ ง ๆ โดยมุ่งเน้นพฒั นาคนไทยให้ไดร้ ับการศึกษาแบบพัฒนาอาชีพและการมีงาน ทำอย่างมีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียมกัน สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคงจากการสำรวจความต้องการด้านอาชีพ และความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และความพร้อมของชุมชน โดยเพิ่มคุณภาพประชาชนให้ความรู้ ความสามารถในการพัฒนาชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องตนเองและครอบครวั ให้ดีขึ้น กศน.ตำบลทา่ มะกา ในฐานะเป็นหน่วยงานทีม่ คี วามรับผดิ ชอบ การจัดการศึกษานอกโรงเรียน ให้กับ ประชาชนในตำบล ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การจัดกลุ่มการพัฒนาอาชีพ การจัดวิชาชีพหลักสูตรต่าง ๆ ให้ ตอบสนองนโยบายสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน และให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ และความ ต้องการของประชาชนในพื้นที่ตำบลท่ามะกา จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบพัฒนา อาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ) วิชา พวงมาลัยจากผ้าขาวม้า จำนวน 3 ชั่วโมงขึ้น เพื่อให้ความรู้และส่งเสริมให้ ประชาชนมที ักษะ ความรู้ ความสามารถ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตไดต้ ามศักยภาพ 4. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 4.1 เพือ่ ใหผ้ เู้ ข้ารับการอบรมมีความรูแ้ ละความเขา้ ใจในการทำพวงมาลยั จากผา้ ขาวมา้ ได้ 4.2 เพือ่ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมนำความรูไ้ ปใชใ้ นการทำพวงมาลยั จากผา้ ขาวมา้ และสามารถสร้าง อาชีพได้ 5. เปา้ หมาย จำนวน 6 คน 5.1 เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไปในตำบลท่ามะกา
๔๐ 5.2 เชงิ คณุ ภาพ 5.2.1 ผู้รบั การฝึกอาชีพมีความร้แู ละความเข้าใจเก่ยี วกบั วิชาพวงมาลัยจากผา้ ขาวมา้ ได้ 5.2.2 ผรู้ บั การฝึกอาชีพสามารถสรา้ งเปน็ อาชีพเสรมิ /อาชพี หลักสรา้ งรายได้ให้กบั ครัวเรอื นได้ 6. วิธีดำเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เปา้ หมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบ ดำเนินการ ประมา 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1. เพอ่ื เตรียมความพร้อม - ผอ.กศน. 21 คน กศน.อำเภอ ธนั วาคม 1.1 วางแผนปฏบิ ตั ิงาน ในการจดั ทำโครงการ - ครู กศน. ท่ามะกา 2564 ณ 1.2 แตง่ ตัง้ คณะทำงาน 2. เพอ่ื จัดทำโครงการ อำเภอท่ามะกา 1.3 จัดทำโครงการและ กศน.ตำบล - ท่ามะกา ขออนมุ ตั โิ ครงการ 1 เพอื่ ใหผ้ เู้ ข้ารับการอบรม - ประชาชน 6 คน ม.11 4 มกราคม 1,600- 1.4 ประชาสัมพันธ์ 2565 มีความรู้และความเข้าใจใน ในตำบล 5 คน บ้าน โครงการ ท่ามะกา 6 คน ห้วยปากง่าม การทำพวงมาลยั จาก 2. ข้นั ดำเนินงาน (Do) กศน.ตำบล 2.1 ดำเนินจัดโครงการ ผ้าขาวม้าได้ ทา่ มะกา ศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ม.11 (การศึกษาแบบพัฒนาอาชพี 2 เพือ่ ให้ผูเ้ ข้ารบั การอบรม ระยะส้ัน กลุ่มสนใจ) วิชา บ้าน พวงมาลยั จากผ้าขาวมา้ นำความรู้ไปใชใ้ นการทำ ห้วยปากงา่ ม 3. ข้นั ตรวจสอบ (Check) พวงมาลยั จากผ้าขาวมา้ กศน.อำเภอ 3.1 การประเมนิ ผลก่อน ทา่ มะกา และสามารถสร้างอาชีพได้ ดำเนินโครงการ 3.2 การประเมนิ ระหว่าง 1. เพอ่ื ประเมินความเป็นไป - ผอ.กศน. 4 มกราคม - ดำเนินโครงการ 2565 3.3 การประเมินเมือ่ เสร็จ ได้ของโครงการ - ครู กศน. ส้นิ โครงการ 4. ขัน้ ปรบั ปรุงแก้ไข 2. เพอ่ื ประเมนิ ความ อำเภอท่ามะกา (Action) 4.1 รวบรวมขอ้ มูล ก้าวหน้าของโครงการ - ผูเ้ ข้ารว่ ม วิเคราะหข์ ้อมูล สรปุ และ 3. เพอ่ื ประเมินผลสำเรจ็ โครงการ จัดทำรายงานการประเมนิ ของโครงการ โครงการ 1.เพื่อปรบั ปรุง แกไ้ ข และ - ผอ.กศน. 5 คน 10 - พฒั นาการดำเนนิ โครงการ - ครู กศน. มกราคม อำเภอท่ามะกา 2565
๔๑ กิจกรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พืน้ ที่ งบ ดำเนนิ การ ระยะเวลา ประมา 4.2 ประชมุ คณะทำงานเพื่อ นำเสนอข้อมูลจากรายงาน ณ การประเมินโครงการไปใช้ ปรบั ปรงุ แก้ไข และ พฒั นาการดำเนินโครงการ 7. งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2565 โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรม ส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนงบรายจ่ายอื่น จำนวนเงิน 1,600 บาท (หนึ่งพันหกร้อยบาทถ้วน) แบ่งเป็น ค่าใช้จ่ายดงั นี้ - คา่ ตอบแทนวทิ ยากร 3 ชัว่ โมง x 200 บาท จำนวน 600 บาท - ค่าวัสดุฝกึ ในโครงการ จำนวน 1,000 บาท รวม 1,600 บาท หมายเหตุขอถัวจา่ ยตามรายการที่จ่ายจรงิ 8. แผนการเบิกจา่ ยงบประมาณ รวม แผนการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (บาท) (ต.ค.–ธ.ค.64) (ม.ค.– ม.ี ค. (เม.ย.–ม.ิ ย. (ก.ค.–ก.ย.65) 1. ดำเนินการโครงการศนู ย์ฝึก อาชพี ชมุ ชน (การศึกษาแบบ 1,600 - 65) 65) - พฒั นาอาชีพระยะสัน้ กล่มุ สนใจ) วิชา พวงมาลัยผ้าจากขาวม้า 1,600 - 1,600 - - หลกั สูตร 3 ชว่ั โมง 1,600 - รวม 9. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ อนุ่ ใจ ครู กศน.ตำบลทา่ มะกา 9.1 นางสุภาพ โพธิเ์ งนิ ครอู าสาสมัครฯ 9.2 นางสาวภทั รกรณ์ 10. ภาคีเครอื ขา่ ย 10.1. อบต.ทา่ มะกา 10.2 ผ้นู ำชุมชน
๔๒ 10.3 วัดเขาใหญ่ 11. ความสมั พนั ธก์ ับโครงการอน่ื 11.1 กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 11.2 โครงการจัดการศึกษาต่อเน่อื ง 11.3 โครงการศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ลอดชวี ิต 11.4 โครงการศูนย์ส่งเสรมิ และพฒั นาประชาธิปไตย 12. ผลลพั ธ์ ผรู้ ับการอบรมมคี วามรูแ้ ละความเข้าใจเก่ยี วกับการทำพวงมาลัยผ้าขาวม้า และนำความรไู้ ปใชใ้ นการ สรา้ งอาชพี ได้ 13. ดชั นชี ี้วดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ชวี้ ัดผลผลติ (Outputs) ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารบั การอบรมมคี วามรู้และความเขา้ ใจเกยี่ วกับการทำพวงมาลัยผา้ ขาวมา้ ได้ 13.2 ตวั ชี้วัดผลลพั ธ์ (Outcomes) รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ไปใช้ใน การทำพวงมาลยั ผ้าขาวมา้ และสามารถ สร้างอาชีพได้ 14. การประเมนิ ผลโครงการ 14.1 ประเมินก่อนดำเนนิ โครงการเพ่ือศึกษาความเปน็ ไปได้ของโครงการ 14.2 ประเมนิ ระหวา่ งดำเนินโครงการเพื่อศึกษาความก้าวหน้าของโครงการ 14.3 ประเมนิ หลงั เสร็จสนิ้ โครงการเพอื่ ศกึ ษาความสำเรจ็ ของโครงการ
๔๓ 3) โครงการจัดการศกึ ษาศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน (อาชพี ระยะสัน้ ๓๑ ชม.ขน้ึ ไป) 1. ชื่อโครงการ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (การศึกษาแบบชั้นเรียนวิชาชีพ 31 ชั่วโมงขึ้นไป) วิชา ตะกร้า หวายเทียม จำนวน 31 ช่วั โมง 2. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนษุ ย์ ช่วงวยั แรงงาน ขอ้ ที1่ จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนำไปประกอบอาชีพไดจ้ ริง 2.2 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงานสํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ ข้อที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพ ระยะส้นั ทเ่ี น้น New skill Up skill และ Re skill ท่ีสอดคลอ้ งกับบริบท พ้ืนท่ี ความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology และข้อที่ 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพ่ิม รายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อ สร้างมูลคา่ เพ่มิ พัฒนาสวู่ ิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพม่ิ ช่องทางประชาสมั พนั ธแ์ ละช่องทางการจาํ หนา่ ย 3. หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาอาชีพ เป็นกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนรูปแบบหนึ่งที่มุ่งเน้นสนับสนุนให้ ประชาชนไดป้ ระกอบอาชพี มงี านทำไม่ว่าจะเป็นการประกอบอาชีพอสิ ระ หรอื การพฒั นาฝีมอื แรงงานเพ่ือเข้า สู่ตลาดแรงงานหรือเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งแก่เศรษฐกจิ ชุมชน เน้นการบูรณาการให้สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพด้านต่างๆ โดยมุ่งเน้นพัฒนาคนไทย ให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมี คณุ ภาพทว่ั ถึง เท่าเทยี มกัน สามารถสร้างรายได้ ทม่ี ัน่ คง จากการสำรวจความต้องการดา้ นอาชีพ และความ เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และความพร้อมของชุมชน โดยเพิ่มคุณภาพประชาชน ให้ความรู้ความสามารถในการ พัฒนาชีวติ ความเป็นอยขู่ องตนเองและครอบครวั ใหด้ ีขึน้ กศน.ตำบลท่ามะกา ในฐานะเป็นศูนย์การเรียนรู้ มีหน้าที่จัดกระบวนการเรียนรู้ สนับสนุนส่งเสริม ให้กับประชาชนในตำบลท่ามะกา ในรูปแบบต่างๆ อาทิ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การจัดหลักสูตร วิชาชีพต่างๆ ให้ตอบสนองกับนโยบายสำนักงานกศน.และให้สอดคล้องกับสภาวะเหตกุ ารณ์ปัจจุบัน เศรษฐกิจ และสังคม จึงได้ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรพัฒนาอาชีพ (ชั้นเรียนวิชาชีพ) วชิ า ตะกรา้ หวายเทยี ม ขนึ้ ตามความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ีตำบลท่ามะกา วตั ถุประสงค์เพอื่ สง่ เสริมให้ ผู้เรียน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและมีทักษะฝีมือ สามารถนำไปพัฒนาคณุ ภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ ทำให้ผู้เรียนมี อาชพี ทางเลือกสร้างรายไดเ้ สรมิ ใหก้ ับตนเองและครอบครวั ได้ 4. วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 4.1 เพอื่ ให้ผ้เู ข้าเรยี นมคี วามรู้และความเข้าใจในการทำตะกร้าจากหวายเทยี มได้ 4.2 เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นนำความรไู้ ปใชใ้ นการทำตะกร้าหวายเทยี มและสามารถสร้างอาชพี ได้ 5. เป้าหมาย จำนวน 11 คน 5.1 เชงิ ปรมิ าณ ประชาชนทวั่ ไปในตำบลทา่ มะกา
๔๔ 5.2 เชงิ คุณภาพ 5.2.1 ผูเ้ รียนฝึกอาชีพ มีความรแู้ ละความเขา้ ใจเกย่ี วกับการทำตะกร้าหวายเทยี มได้ 5.2.2 ผูเ้ รยี นฝกึ อาชีพ นำทักษะความร้ไู ปฝึกทำตะกร้าหวายเทียม มีอาชีพเสริม เพมิ่ รายได้ 6. วิธดี ำเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พ้นื ที่ ระยะเวลา งบ ดำเนินการ ประมาณ 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1. เพ่ือเตรยี มความพร้อม - ผอ.กศน. 23 คน กศน.อำเภอ 24 - 1.1 วางแผนปฏบิ ัตงิ าน ในการจัดทำโครงการ - ครู กศน. ท่ามะกา ธันวาคม 1.2 แตง่ ต้งั คณะทำงาน 2. เพื่อจัดทำโครงการ อำเภอท่ามะกา 2564 1.3 จัดทำโครงการ และ ขออนมุ ัตโิ ครงการ 1.4 ประชาสัมพนั ธโ์ ครงการ 2. ขั้นดำเนินงาน (Do) 1. มคี วามรูแ้ ละทักษะการ - ประชาชน 11 คน กศน.ตำบล ระหวา่ งวันที่ 7,900 ท่ามะกา หมทู่ ี่ 6 - 14 2.1 จัดโครงการศูนย์ฝึก ทำตะกรา้ หวายเทียม ใน 11 บา้ นหว้ ย มกราคม ปากง่าม 2565 อาชีพชุมชน (การศึกษา 2. นำความรทู้ ่ีได้รับปรบั ตำบลทา่ มะกา แบบชั้นเรียนวิชาชีพ 31 ใชใ้ นชีวติ ประจำวันและนำ ชั่วโมงขึ้นไป)หลักสูตร ไปเป็นอาชีพทางเลือก ตำบลทา่ มะกา วิชา ตะกร้าหวายเทียม รายได้เสริมให้กบั ตนเองและ จำนวน 31 ชัว่ โมง ครอบครัวได้ 3. ขน้ั ตรวจสอบ (Check) 1. เพ่ือประเมนิ ความ - ผอ.กศน. 5 คน กศน.ตำบล ระหวา่ งวันท่ี - 3.1 การประเมนิ ผลก่อน เป็นไปได้ของโครงการ - ครู กศน. 11 คน ทา่ มะกา หมทู่ ่ี 6 - 14 - ดำเนินโครงการ 2. เพอ่ื ประเมนิ ความ อำเภอท่ามะกา 11 บ้านหว้ ย มกราคม 3.2 การประเมนิ ระหวา่ ง กา้ วหนา้ ของโครงการ - ผู้เข้าร่วม ปากงา่ ม 2565 ดำเนนิ โครงการ 3. เพ่ือประเมนิ ผลสำเรจ็ โครงการ ตำบลทา่ มะกา 3.3 การประเมินเมื่อเสรจ็ ของโครงการ สน้ิ โครงการ 4. ขน้ั ปรับปรงุ แกไ้ ข 1. เพ่อื ปรับปรงุ แก้ไขและ - ผอ.กศน. 5 คน กศน.อำเภอ 20 (Action) พัฒนาโครงการ - ครู กศน. ท่ามะกา มกราคม 4.1 รวบรวมข้อมลู อำเภอท่ามะกา 2565 วิเคราะห์ข้อมูล สรปุ และ จัดทำรายงานการประเมนิ โครงการ 4.2 ประชุมคณะทำงาน เพือ่ นำเสนอข้อมูลจาก รายงานการประเมนิ
๔๕ กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมาย พ้ืนที่ ระยะเวลา งบ ดำเนินการ ประมาณ โครงการไปใชป้ รบั ปรุง แกไ้ ข และพัฒนาโครงการ 7. งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2565 โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเ์ พื่อสนับสนุนด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรม ส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น จำนวนเงิน 7,900 บาท (เจ็ดพันเก้าร้อยบาทถ้วน) แบ่งเป็น คา่ ใช้จ่ายดังน้ี - ค่าตอบแทนวิทยากร ชวั่ โมง x 200 บาท จำนวน 6,200 บาท - คา่ วสั ดฝุ กึ ในโครงการ จำนวน 1,700 บาท รวม 7,900 บาท หมายเหตุ ขอถวั จ่ายตามรายการท่ีจา่ ยจรงิ 8. แผนการเบิกจา่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลัก รวม ไตรมาส 1 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ไตรมาส 4 งบประมาณ (ต.ค.–ธ.ค. (ก.ค.–ก.ย. 65) ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 (บาท) 64) (ม.ค.– ม.ี ค. 65) (เม.ย.–มิ.ย. 65) - 1. ดำเนินการจดั โครงการศนู ย์ 7,900 - 7,900 - - ฝกึ อาชีพชมุ ชน (การศกึ ษาแบบ 7,900 ชนั้ เรียนวชิ าชีพ 31 ช่ัวโมงข้ึน - 7,900 - ไป) หลกั สูตร วิชา ตะกรา้ หวาย เทยี ม จำนวน 31 ช่ัวโมง อุ่นใจ ครู กศน.ตำบลท่ามะกา โพธเิ์ งิน ครอู าสาสมัครฯ รวม 9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ 9.1 นางสุภาพ 9.2 นางสาวภทั รกรณ์ 10. ภาคเี ครอื ขา่ ย 10.1. อบต.ท่ามะกา 10.2 ผนู้ ำชุมชน 10.3 วดั เขาใหญ่
Search