โครงงานกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในการแข่งขันทักษะวิชาการ ระดับภาคเหนอื ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ เรือ่ ง “เปิดกรวุ ดั วรนาถบรรพต ; วดั เกา่ สมัยสุโขทัย” โดย ๑. นายชัยวัฒน์ ทับทมิ สว่าง ๒. นางสาวกนกวรรณ ลพิ ัด ๓. นางสาวปยิ าภร เฟอ่ื งฟู ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 คุณครทู ป่ี รึกษา นางกลุ ยา กอศรีพร ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรยี นเทศบาลวัดวรนาถบรรพต สังกดั สานกั การศึกษา เทศบาลนครนครสวรรค์ อาเภอเมืองนครสวรรค์ จงั หวัดนครสวรรค์
ก กิตติกรรมประกาศ โครงงาน เรื่อง “เปิดกรุวดั วรนาถบรรพต ; วัดเก่าสมัยสุโขทัย” เป็นโครงงานที่ศึกษาประวัติ ความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ี สาคัญของวัดวรนาถบรรพตโดยนาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาเป็นเคร่ืองมือในการค้นหาประเด็นท่ี ต้องการศึกษา รวบรวมหลักฐาน ประเมินคุณค่าของหลักฐาน ตีความหลักฐาน และเรียบเรียงหรือ นาเสนอเรื่องราวที่ศึกษาบนพ้ืนฐานความเป็นเหตุเป็นผล พร้อมท้ังวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็น ระบบ คณะผู้จัดทาจึงเกิดแรงบันดาลใจท่ีจะศึกษาเพื่อให้นักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพตได้ ทราบถึงประวัติความเป็นมา โบราณสถานและโบราณวัตถุที่สาคัญ รวมท้ังก่อให้เกิดความรัก ความ ภาคภูมใิ จ และเห็นคณุ ค่าของวดั วรนาถบรรพต ในการจัดทาโครงงานคร้ังนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ทางคณะผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณ คุณครูกุลยา กอศรีพร คุณครูที่ปรึกษาโครงงานนี้ รวมท้ังได้ให้คาแนะนาตลอดจนตรวจแก้ไข ข้อบกพรอ่ งตา่ งๆ ด้วยความเอาใจใสเ่ ปน็ อยา่ งยิง่ นอกจากน้ีผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณพระราชรัตนเวที (ประเสริฐ โชติธมฺโม ป.ธ.๗, ดร.) เจ้าอาวาสวัดวรนาถบรรพต พระอารามหลวง, พระครูนิภาภัทรกิจ,ดร. (สามารถ ฐิตสทฺโธ) ผู้ช่วยเจ้า อาวาสวัดวรนาถบรรพต พระอารามหลวง, พระสมศักดิ์ กิตฺติธมฺโม พระวิปัสสนาจารย์ วัดวรนาถ บรรพต พระอารามหลวง และนายจิรวัฒน์ วัฒนาอุดม ผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล วัดวรนาถบรรพตที่กรุณาให้ความอนุเคราะห์ในการให้ข้อมูล และเปิดโอกาสให้คณะผู้จัดทาได้จัดทา โครงงานน้ขี น้ึ สุดท้ายน้ีขอบขอบคุณคณะครู พี่ๆ น้องๆของโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพต และบุคลากร ทกุ ท่านทใ่ี ห้ความชว่ ยเหลอื และเปน็ กาลังใจในการดาเนนิ กิจกรรมต่างๆ ในการจดั ทาโครงงานในคร้งั นี้ คณะผู้จดั ทา
ข โครงงาน “เปิดกรุวัดวรนาถบรรพต ; วัดเกา่ สมยั สโุ ขทัย” ผู้ศกึ ษาคน้ ควา้ ๑. นายชัยวฒั น์ ทับทมิ สวา่ ง ท่ีปรึกษา สถานบนั การศกึ ษา ๒. นางสาวกนกวรรณ ลพิ ัด ระดับชน้ั ๓. นางสาวปยิ าภร เฟ่อื งฟู กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระยะเวลาในการทาโครงงาน นางกุลยา กอศรีพร โรงเรยี นเทศบาลวดั วรนาถบรรพต สงั กัดสานักการศกึ ษา เทศบาลนครนครสวรรค์ อาเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ – กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕6๕ บทคัดย่อ ในการศึกษาค้นคว้าโครงงาน เรื่อง “เปิดกรุวัดวรนาถบรรพต ; วัดเก่าสมัยสุโขทัย” มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต เพื่อศึกษาหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ท่ีสาคัญของวัดวรนาถบรรพต และเพื่อเผยแพร่ความรู้ให้นักเรียนโรงเรียนเทศบาล วัดวรนาถบรรพตได้เกิดความภาคภูมิใจ และเห็นคุณค่าของวัดวรนาถบรรพต อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา จาแนกเป็น หลักฐานทางประวัติศาสตร์เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต ได้แก่ ศิลาจารึกวัดเขากบ, เจดยี ์แบบทรงสุโขทยั ของวดั วรนาถบรรพต, วิหารพระพทุ ธไสยาสนข์ องวัดวรนาถ- บรรพต, รอยพระพุทธบาทจาลองข้างซ้าย รวมทั้งหนังสือ วารสาร และเอกสารอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้อง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนี้ จาแนกเป็น การสารวจ การสืบค้น การเผยแพร่ความรู้ และ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงงาน เร่ือง “เปิดกรุวัดวรนาถบรรพต ; วัดเก่าสมัยสุโขทัย” ผลการศกึ ษาพบว่า ๑. การศกึ ษาประวัติความเป็นมาของวดั วรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า วัดวรนาถบรรพต ต้ังเม่ือ พ.ศ. ๑๙๖๒ สันนิษฐานว่า “วัดน้ีสร้าง ขึ้นในสมัยสุโขทัย” เนื่องจากพบหลักฐานทางประวัติในสมัยสุโขทัยปรากฏอยู่มายืนยัน ได้แก่ รอยพระพุทธบาทจาลองบนยอดเขากบ, เจดีย์ใหญ่ทรงระฆังครอบ, พระพุทธไสยาสน์ และเจดีย์บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุบนยอดเขากบ เป็นต้น นอกจากน้ียงั พบศิลาจารึกสมยั สโุ ขทัย ๒ หลัก คอื หลักศิลา จารึกหลักท่ี ๒๐ และ หลักศิลาจารึกหลักที่ ๒1 ผู้ค้นพบ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารง- ราชานุภาพได้กล่าวถึงพญาบาลเมืองสร้างวัดเขากบมีเจดีย์วิหารขุดตระพังปลูกบัวนานาพรรณเพื่อเป็น พทุ ธบูชาปลูกต้นพระศรีมหาโพธ์ิในรามอาวาส สร้างพุทธปฏิมาดูงามนักงามหนาในวิหาร เพ่ืออุทิศส่วน กุศลให้แก่พญารามผู้น้องซึ่งมาส้ินพระชนม์ลง ณ สถานที่แห่งนี้ ซ่ึงได้สิ้นพระชนม์ในระหว่างทา ศึกสงครามกบั หวั เมืองฝ่ายใต้
ค ๒. การศกึ ษาหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ทส่ี าคญั ของวดั วรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีสาคัญของวัดวรนาถบรรพต จาแนกเป็น ศิลาจารึกวัดเขากบ, เจดีย์แบบทรงสุโขทัยของวัดวรนาถบรรพต, วิหารพระพุทธไสยาสน์ ของวดั วรนาถบรรพต และรอยพระพุทธบาทจาลองขา้ งซ้ายของวัดวรนาถบรรพตซึ่งจัดเปน็ หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์สมัยกรุงสุโขทัยท้ังสิ้นจนทางกรมศิลปากรได้ข้ึนทะเบียนเป็นโบราณสถาน และ โบราณวัตถเุ รยี บร้อยแลว้ ๓. การเผยแพร่ความรู้ให้กับนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพตได้เกิดความ ภาคภมู ใิ จ และเหน็ คุณค่าของวัดวรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า 3.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถ- บรรพต จาแนกเป็น ด้านประวัติศาสตร์ ด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และด้านหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต โดยมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับความคิดเห็นมาก ทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า โดยระดับมากอันดับแรก ได้แก่ ด้านประวัติศาสตร์ รองลงมา ดา้ นหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ และด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต ตามลาดับ 3.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ จาแนกเป็น ด้านความหมายของวิธีการประวัติศาสตร์ และด้านข้ันตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยมีระดับความ คิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า โดยระดับมากอันดับแรก ได้แก่ ด้านความหมายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ รองลงมาด้านขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ ตามลาดับ
สารบัญ ง กิตตกิ รมประกาศ หนา้ บทคดั ย่อ สารบญั ก สารบญั ตาราง ข สารบัญภาพ ง บทที่ ๑ บทนา จ ฉ ทมี่ าและความสาคัญของโครงงาน ๑ วัตถุประสงค์ ๑ ขอบเขตของการศกึ ษา ๑ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ ๒ ผลท่คี าดวา่ จะได้รับ ๓ บทที่ ๒ เอกสารท่เี กี่ยวข้อง ๔ บทท่ี ๓ วิธกี ารศกึ ษา ๕ บทที่ ๔ ผลการศึกษา ๒๑ บทท่ี ๕ สรุปผลและอภปิ รายผล ๒๔ บรรณานกุ รม ๓๔ ภาคผนวก ๓๘ ภาคผนวก ก การแสวงหาความรู้เกยี่ วกบั ประวตั ิวดั วรนาถบรรพต ๔๐ ภาคผนวก ข ภาพหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ของวัดวรนาถบรรพต ๔๑ ภาคผนวก ค ภาพการเผยแพรค่ วามร้กู บั กลุ่มตัวอยา่ ง ๔๑ ภาคผนวก ง แบบสอบถามความคิดเหน็ ๔๒ ภาคผนวก จ ตารางสถิติแบบสอบถามความคดิ เหน็ ๔๒ ๔๓
จ สารบัญตาราง ตาราง หนา้ ๑ แสดงการวิเคราะห์ข้อมลู ในการศกึ ษา ๒๓ ๒ แสดงจานวนและรอ้ ยละสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ๒๖ ๓ แสดงค่าเฉลี่ย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานของการวเิ คราะหข์ ้อมลู ๒๗ เกย่ี วกับการศึกษาประวตั ิความเปน็ มาของวัดวรนาถบรรพ โดยภาพรวม ๔ แสดงคา่ เฉลย่ี สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของการวเิ คราะหข์ ้อมลู ๒๗ เกย่ี วกบั การศกึ ษาประวตั ิความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพ ด้านประวัตศิ าสตร์ ๕ แสดงคา่ เฉล่ยี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานของการวิเคราะห์ข้อมลู ๒๘ เกย่ี วกับการศกึ ษาประวตั ิความเปน็ มาของวัดวรนาถบรรพ ด้านหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ๖ แสดงคา่ เฉลย่ี สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของการวิเคราะห์ข้อมูล ๒๙ เกย่ี วกับการศกึ ษาประวตั ิความเปน็ มาของวัดวรนาถบรรพ ด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ความเปน็ มาของวัดวรนาถบรรพต ๗ แสดงค่าเฉลย่ี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการวิเคราะหข์ ้อมูล ๓๑ เกยี่ วกบั การศกึ ษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยภาพรวม ๘ แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการวเิ คราะห์ข้อมูล ๓๑ เกย่ี วกับการศึกษาวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ด้านความหมายของวธิ ีการประวตั ิศาสตร์ ๙ แสดงคา่ เฉลี่ย ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของการวเิ คราะห์ข้อมลู ๓๒ เก่ยี วกบั การศึกษาวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ ด้านขั้นตอนวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์
ฉ สารบญั ภาพ ภาพ หน้า ๑ ศิลาจารึกวดั เขากบ ๘ 2 จารกึ วดั เขากบ ดา้ นที่ ๑ ๙ 3 จารกึ วัดเขากบ ดา้ นที่ ๒ ๙ ๔ เจดียบ์ รรจุพระบรมธาตุ เป็นเจดยี ์แบบทรงสุโขทัย (อดตี ) ๑0 ๕ เจดยี ์บรรจุพระบรมธาตุ เป็นเจดียแ์ บบทรงสโุ ขทยั (ปจั จุบัน) ๑๐ 6 วิหารพระพุทธไสยาสน์ของวดั วรานาถบรรพต ๑๒ 7 วิหารพระพุทธบาทจาลอง วัดวรนาถบรรพต ๑๔ 8 สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงเสด็จเปน็ การส่วนพระองคบ์ นยอดเขากบ ๑๔ 9 รอยพระพุทะบาทจาลองสมัยสโุ ขทัยวัดวรนาถบรรพต ๑๕ 10 กรอบแนวคิดในการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ๒๐
บทที่ ๑ บทนำ ที่มำและควำมสำคญั ของโครงงำน ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องราวของมนุษย์ ตั้งแต่เริ่มปรากฏตัวข้ึนมาในพ้ืนพิภพจนกระทั่งถึง ปจั จุบนั เป็นเร่อื งราวที่บันทกึ ว่ามนุษยไ์ ด้ทาอะไรมาแลว้ บ้าง หรอื ได้พยายามทาอะไรมาบ้าง เป็นบันทึก ความเป็นอยู่ของมนุษย์ในยุคสมัยต่างๆ เช่น การปกครอง ความเป็นอยู่ ศาสนา ศิลปะ และ วิทยาศาสตร์ (ปรีชา ศรีวาลัย. ๒๕๓๖: ๓) เมื่อได้ศึกษาประวัติศาสตร์แล้วประวัติศาสตร์สามารถช่วย มนุษย์ในการตัดสินใจ (Decision Making) เม่ือจาเป็นต้องเผชิญกับปัญหาสาคัญ ๆ ท้ังน้ีโดยอาศัยแนว ประสบการณ์ของมนุษย์ในอดีตในการตัดสินใจว่า ควรจะปฏิบตั ิอย่างไรกับปญั หาที่ประสบอยู่ในปัจจบุ ัน เพื่อให้เกิดผลดีท่ีสุดสาหรับอนาคต นอกจากน้ีการศึกษาประวัติศาสตร์ทาให้เราสามารถนาเหตุการณ์ หรือรายละเอียดน้ันมาประกอบเข้าเป็นเหตุผลในการอธิบายถึงเรื่องราวความเป็นมาของส่ิงต่าง ๆ ได้ เป็นอย่างดี และช่วยทาให้เราเกิดความเพลิดเพลิน บุคคลที่ศึกษาประวัติศาสตร์เพ่ือประโยชน์ด้านน้ีมี ความรู้สึกสนุกสนานและเพลิดเพลินอยู่กับการจดจาปีที่เกิด เหตุการณ์สาคัญๆ ภูมิหลัง (Background Information) ให้เราศึกษาเร่ืองราวต่าง ๆ โดยรอบตัวเราได้อย่างน่าสนใจ และเป็นการศึกษาเร่ืองราว ในอดตี ไดอ้ ยา่ งมีระบบ (นนั ทนา กปลิ กาญจน,์ ๒๕๔๒ : ๔) จากการศึกษาสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่ือง เวลา ยุคสมัย และวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ รวมท้ังหน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน ทาให้ สามารถวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธร์ ะหวา่ งยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ไทย และความตอ่ เนือ่ งระหวา่ งยุคสมัย ต่าง ๆ กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ไทย ตระหนักถึงความสาคัญในความต่อเน่ืองของเวลา และยุคสมัยน้ัน ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตร์ไทยตามเวลาและยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์ ตั้งแต่สมัยก่อนอาณาจักรสุโขทัยจนถึงสมัยปัจจุบันอย่างเป็นระบบด้วยวิธีการทาง ประวตั ศิ าสตร์ (ศิริพร ดาบเพชร และคณะ, ๒๕๕๑) ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นคณะผู้ศึกษาจึงสนใจท่ีจะทาโครงงาน เรื่อง “เปิดกรุวัดวรนำถ บรรพต ; วัดเกำ่ สมยั สุโขทัย” ข้นึ เนื่องจากวัดวรนาถบรรพตเป็นวดั เกา่ แกข่ องจังหวัดนครสวรรค์ และ เป็นวัดประจาของโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพต ภายในบริเวณวัดมีปูชนียสถานและปูชนียวัตถุ มากมายซึ่งจัดเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีสาคัญทั้งท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็น ลายลักษณ์อักษรโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ทาให้สามารถร้ือฟ้ืนเรื่องราวในอดีตได้อย่างถูกต้อง สมบูรณ์ นา่ เชอ่ื ถอื รวมทัง้ เกิดความรักและความภาคภมู ใิ จเกีย่ วกบั วัดวรนาถบรรพตได้ วตั ถุประสงค์ ๑. เพอื่ ศึกษาประวัติความเปน็ มาของวัดวรนาถบรรพต ๒. เพ่อื ศึกษาหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ที่สาคัญของวัดวรนาถบรรพต ๓. เพ่ือเผยแพร่ความรู้ให้นักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพตได้เกิดความภาคภูมิใจ และเหน็ คณุ ค่าของวดั วรนาถบรรพต
๒ ขอบเขตของกำรศกึ ษำ ๑. ขอบเขตด้ำนเน้อื หำ ๑.๑ ประวัติวัดวรนาถบรรพต อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ศึกษาจากหลักฐานทาง ประวตั ศิ าสตร์ จาแนกเปน็ ๑.๑.๑ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ ๑.๑.๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต จาแนกเปน็ ๑) ศิลาจารกึ วัดเขากบ ๒) เจดยี แ์ บบทรงสโุ ขทัยของวดั วรนาถบรรพต ๓) วหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ของวดั วรนาถบรรพต ๔) รอยพระพทุ ธบาทจาลองข้างซา้ ย ๑.๒ วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรม์ ที ง้ั หมด ๕ ขั้นตอน จาแนกเป็น ๑.๒.๑ การกาหนดหัวเร่อื งที่จะศกึ ษา ๑.๒.๒ การรวบรวมหลกั ฐาน ๑.๒.๓ การประเมินคณุ ค่าของหลักฐาน ๑.๒.๔ การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และการจัดหมวดหม่ขู อ้ มลู ๑.๒.๕ การเรียบเรียงหรอื การนาเสนอ ๒. กลุม่ ตัวอย่ำง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพต ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา ๒๕๖๖๕ จานวน 9๙ คน ๓. ตวั แปรท่ศี กึ ษำ ๓.๑ ตัวแปรต้น ได้แก่ วิธีการทางประวัติศาสตร์เพ่ือนาไปใช้ในการศึกษาประวัติความ เปน็ มาของโบราณสถาน และโบราณวัตถุท่ีสาคัญ รวมถึงบทบาทสาคัญของวัดวรนาถบรรพต ๕ ขน้ั ตอน จาแนกเปน็ ๓.๑.๑ การกาหนดหัวเรือ่ งท่ีจะศึกษา ๓.๑.๒ การรวบรวมหลักฐาน ๓.๑.๓ การประเมนิ คณุ คา่ ของหลักฐาน ๓.๑.๔ การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และการจัดหมวดหมขู่ ้อมลู ๓.๑.๕ การเรยี บเรยี งหรอื การนาเสนอ ๓.๒ ตัวแปรตาม ได้แก่ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ของวัดวรนาถบรรพตเกี่ยวกับประวัติ ความเปน็ มา โบราณสถานและโบราณวตั ถทุ สี่ าคญั และบทบาทสาคญั ของวัดวรนาถบรรพต จาแนกเปน็ ๓.๒.๑ ศิลาจารึกวัดเขากบ ๓.๒.๒ เจดียแ์ บบทรงสุโขทัยของวัดวรนาถบรรพต ๓.๒.๓ วิหารพระพุทธไสยาสน์ของวัดวรนาถบรรพต ๓.๒.๔ รอยพระพทุ ธบาทจาลองข้างซ้ายของวดั วรนาถบรรพต
๓ นยิ ำมศัพทเ์ ฉพำะ ๑. ประวัติศาสตร์ หมายถึง วิชาว่าด้วยเรื่องราวที่เกิดข้ึนในอดีตของสังคมมนุษย์ อันสืบ เนื่องมาจากพฤติกรรมของมนุษย์และมีผลมาถึงสังคมมนุษย์โดยส่วนรวม และมนุษย์ในอดีตก็ได้ทิ้ง ร่องรอยและหลักฐานไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเพ่ือทาความเข้าใจว่าได้เกิดเหตุการณ์ใดขึ้นบ้างในอดีตซึ่ง อนั ควรแกก่ ารนามาศึกษา ๒. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทาของมนุษย์ในอดีต เป็นสิ่งท่ี นามาใชเ้ พอื่ ศึกษาค้นคว้าหาความจริงท่ีเกิดข้นึ ในอดีตต้องอาศยั เคร่ืองมือเครื่องใช้ โดยอาศัยการสังเกต จดจา บนั ทึก หรือเลา่ สบื ตอ่ กันไว้ ๓. หลกั ฐานทางประวัติศาสตรเ์ กยี่ วกับประวตั ิความเป็นมาของวดั วรนาถบรรพต จาแนกเป็น ๓.๑ ศิลาจารึกวัดเขากบ หมายถึง แผ่นศิลาท่ีมีการจดบันทึกประวัติความเป็นมาของ วัดวรนาถบรรพตในสมัยสุโขทัย จัดเป็นหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์เน่ืองจากมีการใช้ตัวอักษรบันทึก เร่ืองราวเหตุการณ์ต่างๆ ไว้ นอกจากนี้ยังเป็นหลักฐานชั้นต้น หรือข้ันปฐมภูมิ (Primary sources) ท่ีมี การบนั ทกึ หรอื คาบอกเล่าของผพู้ บเหน็ เหตุการณ์หรือผทู้ ่เี กี่ยวข้องกบั เหตกุ ารณ์โดยตรง ๓.๒ เจดยี ์แบบทรงสโุ ขทัยของวัดวรนาถบรรพต หมายถงึ หลักฐานทางประวตั ิศาสตรช์ ัน้ ต้น หรือข้ันปฐมภูมิ (Primary sources) ซึ่งเก่ียวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ก่อสร้างขึ้นเพ่ือบรรจุอัฐิธาตุ และเป็นที่เคารพบูชาระลึกถึงพระพุทธเจ้า เป็นเจดีย์ทรงระฆังหรือดอกบัวคว่า มีลักษณะมีรูปทรงสูง สวยงาม มกี ารประดิษฐฐ์ านสงู ซอ้ นกนั หลายชนั้ ๓.๓ วิหารและพระนอนใหญ่ของวัดวรนาถบรรพต หมายถึง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ช้ันต้น หรือขั้นปฐมภูมิ (Primary sources) เป็นพระพุทธรูปปางนอนอยู่ในพระอิริยาบถนอน ตะแคง ข้างขวา หลบั พระเนตร พระเศยี รหนุนพระเขนย พระหตั ถ์ ซ้ายทอดทาบไปตามพระกายเบื้องซ้าย พระ หัตถ์ขวาหงายวาง อยู่ที่พื้นข้างพระเขนย พระบาททั้ง ๒ ตั้งซ้อนกัน และปูชนียวัตถุท่ีล่าค่ามีความ สวยงามมากมีความยาวถึง ๑o วาเศษ ก่อสร้างข้ึนเพ่ือเป็นที่เคารพเลื่อมใสของสาธุชนทั่วไป และเป็น พระพุทธรูปในสมยั สโุ ขทัยเกี่ยวขอ้ งกับพระพุทธศาสนาแบบเถรวาททร่ี ับอิทธพิ ลมาจากลังกาและพม่า ๓.๔ รอยพระพุทธบาทจาลองข้างซ้ายของวัดวรนาถบรรพต หมายถึง รอยเท้าของ พระพุทธเจ้าใช้เป็นสัญลักษณ์แทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก่อนที่จะมีการสร้างพระพุทธรูป เกิดขึ้นในสมัยกรงุ สุโขทัยเนื่องจากลังกาทวีปได้ส่งรอยพระพุทธบาทจาลองท้ังส้ิน ๒ รอยด้วยกันมาเป็น บรรณาการแด่พระเจ้าลิไท โดยรอยซ้ายประดิษฐานไว้ที่ยอดเขาปากพระบาง คือเขากบ นครสวรรค์ รอยขวานาขึ้นไปยังเมืองสโุ ขทยั ประดษิ ฐานไว้ทว่ี ดั ตระพงั ทอง ๔. วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงทาง ประวัติศาสตร์ซ่ึงเกิดจากวิธวี ิจัยเอกสาร เพ่ือให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ บนพ้ืนฐานความ เป็นเหตุเป็นผล และการวิเคราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยขั้นตอนต่างจาแนกเป็น ดงั น้ี ๔.๑ การกาหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา หมายถึง การกาหนดปัญหา หรือสมมติฐาน เป็นการ กาหนดเป้าหมายหรือประเด็นคาถามที่ต้องการศึกษา ในขอบเขตของคาถามเก่ียวกับการศึกษาอะไร ช่วงเวลาไหน สมัยใด เพราะเหตใุ ด
๔ ๔.๒ การรวบรวมหลักฐาน หมายถึง การรวบรวมหลักฐานประเภทต่างๆ เป็นการรวบรวม หลักฐานท้ังที่เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ซ่ึงได้แก่ วัตถุโบราณ ร่องรอยถ่ินที่อยู่ อาศยั หรอื การดาเนนิ ชีวิต ๔.๓ การประเมินคุณค่าของหลักฐาน หมายถึง การตรวจสอบ ประเมินค่าความน่าเชื่อถือ ของหลกั ฐาน และการตคี วามหลกั ฐานอยา่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผล มคี วามเป็นกลาง และปราศจากอคติ ๔.๔ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการจดั หมวดหมู่ขอ้ มลู หมายถึง การสรุปข้อเท็จจรงิ เพื่อ หาคาตอบ ด้วยการเลือกสรรข้อเท็จจริงจากหลักฐานอย่างเคร่งครัด โดยไม่ใช้ค่านิยมของตนเอง ไป ตดั สินพฤติกรรมของคนในอดตี โดยพยายามเขา้ ใจความคดิ ของคนในยคุ น้นั ๔.๕ การเรียบเรียงหรือการนาเสนอ หมายถึง การเสนอเร่ืองที่ศึกษาอย่างน่าสนใจ อธิบาย อย่างสมเหตุสมผล โดยใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย มีความต่อเน่ือง มีการอ้างอิงข้อเท็จจริงเพ่ือให้ได้งานทาง ประวตั ศิ าสตร์ท่ีมีคุณค่าและมีความหมาย ผลที่คำดวำ่ จะได้รับ ๑. ทาให้เกิดความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาในอดีตของวัดวรนาถบรรพต อาเภอเมือง จงั หวัดนครสวรรค์ ๒. ทาให้เกดิ ความรู้เก่ียวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญของวัดวรนาถบรรพต อาเภอเมือง จังหวดั นครสวรรค์ ๓. ทาให้นักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพตได้เกิดความรู้ เกิดความภาคภูมิใจ และเหน็ คณุ ค่าของวัดวรนาถบรรพต อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครสวรรค์
บทที่ ๒ เอกสารที่เกีย่ วข้อง ในการศึกษาค้นคว้าครงั้ นี้ คณะผูจ้ ัดทาได้ศึกษาจากหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์เก่ียวกับประวัติ ความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต และเอกสารงานอื่นที่เกี่ยวข้องด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ตามลาดบั ดงั นี้ ๑. ความหมายของประวัตศิ าสตร์ 2. ประวัตคิ วามเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต 3. หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรเ์ กยี่ วกับประวัตคิ วามเปน็ มาของวดั วรนาถบรรพต 3.๑ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 3.๑.๑ ความหมายของหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ 3.๑.๒ ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 3.๒ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรเ์ กย่ี วกบั ประวตั คิ วามเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต 3.๒.๑ ศิลาจารึกวัดเขากบ 3.๒.๒ เจดยี แ์ บบทรงสุโขทัยของวดั วรนาถบรรพต 3.๒.๓ วหิ ารพระพุทธไสยาสนข์ องวดั วรนาถบรรพต 3.๒.๔ รอยพระพุทธบาทจาลองขา้ งซา้ ยของวัดวรนาถบรรพต 4. วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ 4.๑ ความหมายของวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ 4.๒ วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ 4.๒.๑ การกาหนดหัวเร่ืองท่จี ะศึกษา 4.๒.๒ การรวบรวมหลกั ฐาน 4.๒.๓ การประเมินคุณค่าของหลักฐาน 4.๒.๔ การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และการจัดหมวดหมู่ขอ้ มลู 4.๒.๕ การเรยี บเรยี งหรือการนาเสนอ
๖ ๑. ความหมายของประวัตศิ าสตร์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ให้ความหมายของประวัติศาสตร์ไว้ว่า “วิชาว่าด้วยเหตุการณ์ท่ีเป็นมาหรือเร่ืองราวของประเทศชาติเป็นต้นตามที่บันทึกไว้เป็นหลักฐาน ” (พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒) วฒุ ิชัย มูลศลิ ป์ และดรุณี แก้วม่วง (๒๕๒๙: ๑) กล่าวว่า ประวตั ิศาสตร์เป็นเรอ่ื งที่เกี่ยวข้องกับ มนุษย์โดยตรง เก่ยี วข้องกับอดตี เหตุการณ์ต่างๆ อนั สืบเนื่องมาจากพฤติกรรมของมนุษย์และมผี ลมาถึง สงั คมมนษุ ยโ์ ดยส่วนรวม ซ่ึงนกั ประวัติศาสตรพ์ จิ ารณาแลว้ วา่ มีความสาคัญมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ สังคม หรือววิ ฒั นาการของสังคมมนษุ ยใ์ นแต่ละยคุ แตล่ ะสมยั อนั ควรแก่การนามาศกึ ษา ผ่องศรี จ่ันห้าว และคณะ (๒๕๔๖: ๒) ประวัติศาสตร์เป็นเร่ืองราวที่เกิดข้ึนในอดีตของสังคม มนุษย์ที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลา แม้ว่าอดีตจะเป็นสิ่งท่ีผ่านพ้นไปแล้ว แต่มนุษย์ในอดีตก็ได้ท้ิงร่องรอย และหลักฐานไว้ให้อนุชนรนุ่ หลงั ได้ศึกษา เพื่อทาความเข้าใจว่าได้เกิดเหตกุ ารณ์ใดข้ึนบ้างในอดีต สาเหตุ ท่เี กิด รวมทั้งผลกระทบจากสิ่งท่เี กิดข้นึ จนทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในสงั คมเร่ือยมาจนถงึ ปัจจุบัน จากการศึกษาความหมายของประวัติศาสตร์ สรุปได้ว่า ประวัติศาสตร์ หมายถึง วิชาว่าด้วย เรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีตของสังคมมนุษย์ อันสืบเน่ืองมาจากพฤติกรรมของมนุษย์และมีผลมาถึงสังคม มนุษย์โดยส่วนรวม และมนษุ ย์ในอดีตก็ได้ทิ้งรอ่ งรอยและหลักฐานไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเพ่ือทาความ เข้าใจวา่ ไดเ้ กิดเหตุการณใ์ ดขนึ้ บ้างในอดีตซึ่งอนั ควรแก่การนามาศึกษา 2. ประวัตคิ วามเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต วัดวรนาถบรรพต เดิมชื่อ วัดกบ หรือ วัดเขากบ สมัยสุโขทัยช่ือว่า วัดปากพระบาง เป็นพระ อารามหลวงสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ชื่อสามัญ วัดวรนาถบรรพต,วัดเขากบ,วัดปากบาง ที่ตั้ง เลขที่ ๑๘๘ ถนนธรรมวิถี ตาบลปากน้าโพ อาเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ เป็นพระอารามหลวง ช้ันตรี ชนิดสามัญ เจ้าอาวาสในปัจจุบัน คือ พระราชรัตนเวที รองเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ วดั วรนาถบรรพตจัดต้ังข้นึ เมื่อ พ.ศ. 1962 ในสมยั สุโขทัย ผู้สร้าง คอื พญาบาลเมือง สร้างขึ้นเพื่ออุทิศ แด่พญารามผู้น้อง ซ่ึงได้ส้ินพระชนม์ในระหว่างทาศึกสงครามหัวเมืองฝ่ายใต้ ตามหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ปรากฏในศิลาจารึก 2 หลัก ซ่ึงทางกรมศิลปากรได้ไปจากยอดเขาใกล้กับรอยพระพุทธ- บาทจาลอง และได้จากเมืองนครชุมจังหวัดกาแพงเพชร ซึ่งกล่าวถึงพระเจ้าลิไทกษัตริย์สุโขทัยองค์ท่ี 5 ได้ทรงพระกรุณ าโปรดเกล้าให้ นาพระพุทธบ าทจาลองจากลังกาซึ่งส่งม าให้ เป็ นบรรณ าการนาไป ประดิษฐานไว้บนยอดเขากบดังปรากฏในปจั จบุ ัน สมัยสุโขทัยสร้างรอยพระพุทธบาทจาลอง เจดีย์ใหญ่ ภายในเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระพุทธรูปหินปางนาคปรก สมัยเชียงแสน พระพุทธไสยาสน์ ยาว 10 วาเศษ อุโบสถหลวงพ่อทอง ในพ.ศ. 2464 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดารงราชานุภาพได้ คน้ พบวัดวรนาถบรรพต พระยาบาลเมือง สร้างวัดเขากบ มีเจดีย์ วิหาร ขุดตระพงั ปลูกบัวนานาพรรณ เพือ่ เป็นพทุ ธบชู า ปลูกตน้ พระศรมี หาโพธ์ิในรามอาวาส สรา้ งพุทธปฏิมา เพ่ืออทุ ศิ ส่วนกุศลให้แก่พระยา รามผู้เป็นน้อง ซ่ึงมาส้ินพระชนม์ลง ณ เมืองพระบาง (ปัจจุบันคือ จังหวัดนครสวรรค์) ไม่เพียงได้รบั ยก ย่องจากกรมการศาสนา และมหาเถรสมาคมให้เป็นวดั พัฒนาตัวอย่างในปี พ.ศ. 2509 เท่านั้น หากวัด แหง่ นีย้ งั มีความเก่าแกแ่ ละทรงคณุ คา่ อยา่ งยิง่ ของจงั หวัดนครสวรรค์ (อ้างใน https://th.wikipedia.org/wiki/วดั วรนาถบรรพต)
๗ 3. หลกั ฐานทางประวัติศาสตรเ์ ก่ียวกับประวัติความเปน็ มาของวดั วรนาถบรรพต 3.๑ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 3.๑.๑ ความหมายของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ วิทยา ปานะบุตร (๒๕๔๔ : ๔๑) กล่าวถึงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการ กระทาของมนษุ ย์ในอดตี เป็นสิง่ ทีน่ ามาใช้เพ่อื ศกึ ษาคน้ ควา้ หาความจริงท่เี กดิ ข้ึนในอดีต วุฒิชัย มูลศิลป์ และดรุณี แก้วม่วง (๒๕๒๙: ๑๒) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง สิ่งท่ี เปน็ ข้อเทจ็ จรงิ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในอดีตโดยอาศัยการสังเกต จดจา บันทกึ หรอื เลา่ สืบตอ่ กันไว้ พลับพลงึ คงชนะ (๒๕๔๖: ๒๗) หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นการศึกษาเร่ืองราวท่ีเกดิ ข้นึ ใน อดีต โดยเฉพาะเหตุการณ์ประวัติศาสตร์น้ันต้องอาศัยเคร่ืองมือเครื่องใช้ซึ่งเป็นร่องรอยการกระทาของ มนุษย์แต่ละยุคสมัยเป็นหลักฐานในการศกึ ษายอ้ นกลบั ไปสู่สมยั นนั้ ๆ จากการศึกษาความหมายหลักฐานทางประวัติศาสตร์ สรุปได้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทาของมนุษย์ในอดีต เป็นส่ิงที่นามาใช้เพื่อศึกษาค้นคว้าหาความจรงิ ที่เกิดขึ้น ในอดตี ต้องอาศยั เครอื่ งมอื เครื่องใช้ โดยอาศัยการสงั เกต จดจา บนั ทึก หรือเล่าสบื ตอ่ กนั ไว้ 3.๑.๒ ประเภทของหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ (วทิ ยา ปานะบตุ ร. ๒๕๔๔: ๔๑) จาแนกได้ ดังนี้ ๑) ประเภทของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ แบ่งตามยคุ สมัย แบ่งไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท ดังน้ี ๑. หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ คือ ร่องรอยการกระทาของมนุษย์ในอดีต ซ่ึง ยังไม่รู้จักการใช้ตัวอักษรบันทึกเรื่องราว หลักฐานประเภทนี้ ได้แก่ โครงกระดูกของมนุษย์ ภาพเขียนสี ตามผนงั ถ้า และเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ของมนุษย์ยุคหนิ และยุคโลหะ เป็นต้น ๒. หลกั ฐานสมัยประวตั ิศาสตร์ คอื ร่องรอยการกระทาของมนษุ ยใ์ นอดีต ซึ่งเกดิ ใน สมัยท่ีมนุษย์รู้จักใช้ตัวอักษรบันทึกเร่ืองราวเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว เช่น ศิลาจารึก พงศาวดาร และ หนังสือของทางราชการ ฯลฯ และยังรวมถึงโบราณสถานและโบราณวัตถุต่างๆ ท่ีเกิดในสมัยท่ีมนุษย์ รูจ้ ักใช้ตวั อักษรอกี ดว้ ย ๒) ประเภทหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จาแนกตามระดับความสาคัญ (พลับพลึง คงชนะ. ๒๕๔๖: ๒๗) แบง่ ได้เป็น ๒ ประเภท คอื ๑. หลักฐานช้ันต้น หรือข้ันปฐมภูมิ (Primary sources) หมายถึง บันทึกหรือคา บอกเล่าของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ท่ีเก่ียวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง เช่น จารึก จดหมายเหตุ บันทึก การเดนิ ทัพ เอกสารการปกครอง รวมทัง้ หลกั ฐานทางโบราณคดี ได้แก่ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ๒. หลักฐานช้ันรอง หรือข้ันทุติยภูมิ (Secondary sources) หมายถึง ผลงานที่ เขียนหรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากการเกิดเหตุการณ์นั้นแล้ว โดยอาศัยคาบอกเล่าของผู้อื่น หรือจาก หลักฐานชั้นต้นต่างๆ เช่น พงศาวดาร ตานาน สารนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ เป็นต้น หลักฐานช้ันรอง แม้ว่า จะได้รบั การเช่ือถือน้อยหว่าหลักฐานชั้นตน้ แต่มีประโยชน์ในการศึกษาเพ่ือปูพ้ืนฐานความเข้าใจก่อนที่ จะศกึ ษาเอกสารชน้ั ต้นโดยตรงซง่ึ ทาใหเ้ ขา้ ใจเร่อื งราวท่ีทาการศกึ ษาไดร้ วดเรว็ ๓) ประเภทหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จาแนกตามลักษณะอักษร (พลับพลึง คงชนะ. ๒๕๔๖: ๒๙) แบง่ เป็น ๒ ลกั ษณะ คอื ๑. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร (Written sources) หมายถงึ หลักฐานทมี่ ีการ บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเร่ืองราวต่างๆ เช่น การจารึกไว้บนแผนศิลา การบันทึกตานาน
๘ พงศาวดาร จดหมายเหตุไว้ในใบลานหรือบนกระดาษ แผนท่ีพร้อมคาอธิบาย รวมท้ังการพิมพ์ใน หนังสอื พิมพ์ เป็นตน้ หลักฐานท่เี ป็นลายลักษณอ์ ักษรน้ี ถือไดว้ ่าเป็นหลกั ฐานสมยั ประวตั ิศาสตร์ ๒. หลักฐานท่ีไมเ่ ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร (Unwritten sources) หลักฐานประเภทน้ีมี ทั้งหลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ ซ่ึงนักประวัติศาสตร์อาจศึกษาด้วยตนเอง หรือต้องอาศัยการตีความจากนสาขาอ่ืนๆ เช่น นักมานุษยวิทยา นักโบราณคดี นักภูมิศาสตร์ เป็นต้น หลักฐานประเภทน้ี ได้แก่ หลักฐานทางโบราณสถาน โบราณวัตถุ หลักฐานทางด้านศิลปะ เช่น ภาพ จติ รกรรมฝาผนงั บ้านเรอื น หลกั ฐานประเภทโสตทัศน์ นาฏศิลป์ คาบอกเลา่ เป็นตน้ 3.๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกย่ี วกับประวตั คิ วามเปน็ มาของวัดวรนาถบรรพต 3.๒.๑ ศิลาจารึกวัดเขากบ จากจารึกวัดเขากบ – ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย กล่าวไว้ ดงั นี้ (อา้ งองิ : http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=215) ภาพ 1 ศลิ าจารึกวัดเขากบ ถ่ายเม่ือ ๙ มถิ ุนายน 25๖๕ ศิลาจารึกหลักนี้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงได้มาจากบน เขากบท่ีเหนือปากน้าโพทางฝ่ังตะวันตก ใกล้กับรอยพระพุทธบาทของพระธรรมราชาท่ี ๑ ซึ่งใน ศลิ าจารึกนครชุมเรยี กว่า “พระบาทลักษณะ ณ ท่ีปากยมพระบาง” ในปลาย พ.ศ. ๒๔๖๔ ครง้ั พระองค์ เสด็จกลับมาจากมณฑลพายัพ และเสด็จแวะประทับท่ีน่ัน แล้วได้รับสั่งให้ส่งลงมายังหอพระสมุดฯ ลักษณะเป็นหินทรายสูง ๘๐ ซม. กว้าง ๔๗ ซม. ด้านข้าง ๖ ซม. แต่เดิมทีเห็นจะสูงกว่าน้ีมาก เพราะ ทอ่ นบนไดห้ ักหายไปเสีย และไม่ทราบวา่ มากนอ้ ยเท่าใด จารึกทั้ง ๔ ด้านแต่ด้านข้างเลือนเตม็ ทีจนอ่าน ไม่ได้เลย เพยี งแตร่ วู้ า่ เป็นรอยจารกึ เท่านั้น ด้านที่ ๑ เป็นเรื่องสร้างรามเจดีย์และรามวิหาร ท่ีรามอาวาสบนยอดเขาสุมนกูฏ คือเขากบ น้นั เอง ผู้สร้างพระเจดยี แ์ ละวิหาร ขออุทิศสว่ นกุศลให้พระยาพระราม ผ้เู ป็นน้อง ชื่อผู้สรา้ งไม่ปรากฏใน คาจารึก หรือบางทีอาจปรากฏอยู่ในท่อนท่ีหักหายไปก็ได้ แต่สันนิษฐานได้โดยง่าย เพราะในพระราช- พงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ มีความปรากฏว่า “ศักราช ๗๘๑ กุนศกมีข่าวมาว่า พระมหา- ธรรมราชาธิราชเจ้า นฤพาน และเมืองเหนือท้ังปวงเป็นจลาจล แล้วจึงเสด็จข้ึนไปเถิงเมืองพระบาง คร้ังน้ันพระยาบาลเมือง และพระยามรามออกถวายบังคม” ดังนี้ สันนิษฐานว่า พ่ีของพระยาพระราม เห็นจะเป็นพระยาบาลเมืองน่ันเอง พระรามเจดีย์ พระรามวิหาร และศิลาจารึกหลักนี้จะได้สร้างและ จารกึ ทหี ลงั จ.ศ. ๗๘๑ หรือ พ.ศ. ๑๙๖๒ ดา้ นที่ ๒ เหน็ จะไดจ้ ารึกภายหลังด้านท่ี ๑ เปน็ เร่อื งผใู้ ดผหู้ นึ่ง ไม่ปรากฏชื่อ ได้บาเพ็ญบุญกุศลต่างๆ แล้วแวะไปเท่ียวเสาะแสวงหาพระธาตุจนถึงเมืองอินเดียและ ลังกา แตจ่ ะไดจ้ ารึกภายหลงั ก่ีปไี มป่ รากฏชัด
๙ ภาพ 2 จารึกวัดเขากบ ดา้ นที่ ๑ ภาพ 3 จารกึ วดั เขากบ ด้านท่ี ๒ ทีม่ า; จารกึ วดั เขากบ – ฐานข้อมลู จารึกในประเทศไทย http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=215 สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครสวรรค์ (อ้างอิงจาก ; http://[email protected]) กล่าวถึง ศิลาจารึกหลักที่ ๒๑ ว่าเป็นช่ือศิลาจารึกรอยพระพุทธบาทจาลอง เหมือนจอมเขาสุมนกูฏ บรรพตเมืองพระบาง คือ วัดเขากบ อาเภอเมืองฯ จังหวัดนครสวรรค์ เป็นศิลาแผ่นสี่เหล่ือมผืนผ้า ยาว ๒๐๒ ซม. กว้าง ๑๑๖ ซม. ตรงกลางเป็นรอยพระพุทธบาทค้นพบเม่ือปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ท่ีเมืองนครชุม จังหวัดกาแพงเพชร โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ (มนต์ชัย เทวัญวโรปกรณ์ ๒๕๒๖ : ๘๑๑) ใจความในศิลาจารึกกล่าวถึงพญาธรรมาธริ าชแหง่ กรุงสุโขทัยไดน้ าเอารอยพระพุทธบาทจาลอง ที่ได้มาจากลังกาทวีปมาประดิษฐานไว้บนยอดเขาปากพระบาง คือ ยอดเขากบ จังหวัดนครสวรรค์ สาหรับเร่ืองรอยพระพุทธบาทน้ี ชาวลังกาอธิบายตานานมีอยู่ในเร่ืองมหาวงศ์ว่า คร้ังหน่ึงพระพุทธเจ้า เสด็จไปยังลังกาทวีปทรงส่ังสอนพวกชาวเกาะจนเกิดความเล่ือมใส แล้วจะเสด็จกลับไปยังมัชฌิม ประเทศ จึงทาปาฏิหาริย์เหยียบรอยพระพุทธบาทประดิษฐานไว้บนยอดเขา สาหรับให้ชาวลังกาบูชา ต่างพระองค์ อนึ่งการสร้างรอยพระพุทธบาทจาลองท่ีเกิดข้ึนในอาณาจักรสุโขทัย ตามหลักฐานในศิลา จารึกเร่ิมคร้ังแรกเม่ือปี พ.ศ. ๑๙๐๒ โดยพระเจ้าลิไทกษัตริย์องค์ท่ี ๕ แห่งราชวงศ์สุโขทัยทรงเอาอย่าง คติเมืองลังกาทวีป และทรงถือแบบรอยพระพุทธบาทท่ีประดิษฐานไว้เหนือจอมเขาสุมนกูฏบรรพตเป็น หลัก จึงได้ต้ังชื่อจอมเขาต่างๆ ในอาณาจักรสุโขทัยท่ีพระองค์ให้ประดิษฐานพระพุทธบาทจาลองไว้ให้ ช่ือจอมเขาสุมนกูฏบรรพตอย่างลังกา ดังรอยพระพุทธบาทจาลองเหนือจอมเขาสุมนกูฏบรรพตเมือง พระบาง คือ รอยพระพุทธบาทจาลองบนยอดเขากบ จงั หวัดนครสวรรคน์ นั่ เอง จากการศึกษาศิลาจารึกวัดเขากบ สรุปได้ว่า ศิลาจารึกวัดเขากบ หมายถึง แผ่นศิลาท่ีมีการ จดบันทึกประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพตในสมัยสุโขทัย จัดเป็นหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์ เน่ืองจากมีการใช้ตัวอักษรบันทึกเร่ืองราวเหตุการณ์ต่างๆ ไว้ นอกจากนี้ยังเป็นหลักฐานชั้นต้น หรือขั้น ปฐมภูมิ (Primary sources) ที่มีการบันทึกหรือคาบอกเล่าของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับ เหตุการณ์โดยตรง
๑๐ 3.๒.๒ เจดีย์แบบทรงสุโขทยั ของวดั วรนาถบรรพต ภาพ 4 เจดีย์บรรจพุ ระบรมธาตุ เปน็ เจดยี แ์ บบทรงสโุ ขทัย วดั วรนาถบรรพต ตาบลปากนาโพ อาเภอเมอื ง จังหวดั นครสวรรค์ ท่ีมา; http://nsn.onab.go.th ภาพ 5 เจดยี บ์ รรจพุ ระบรมธาตุ เปน็ เจดียแ์ บบทรงสโุ ขทัย ณ วดั วรนาถบรรพต ถา่ ยเมื่อ 14 มถิ นุ ายน 2๕๖๕ ๑) ความหมายของเจดยี ์ (อา้ งองิ ; http://th.wikipedia.org/wiki/เจดยี )์ เจดีย์ (ภาษาบาลี : เจติย , ภาษาสันสกฤต : ไจติยะ) หรือ สถูป (ภาษาบาลี : ถูป , ภาษา สันสกฤต : สฺตูป) เป็นส่ิงก่อสร้างในพุทธศาสนา พบได้ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชีย ดังน้ันเจดีย์ หมายถึงสงิ่ ก่อสร้างหรือส่งิ ของทสี่ รา้ งขน้ึ เพ่ือเปน็ ทีเ่ คารพบชู าระลกึ ถึง
๑๑ สถูป หมายถึงส่ิงก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างข้ึนเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เพ่ือให้ลกู หลานและผเู้ คารพนบั ถอื ได้สักการบชู า ถือกนั ว่ามบี ุคคลที่ควรบรรจุอัฐธิ าตุไวใ้ นสถปู เพื่อเปน็ ที่ สักการะของมหาชนอยู่เพียง ๔ พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจก พุทธเจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรด์ิ สาหรับประเทศไทย คาว่า สถูป และ เจดีย์ เรามัก รวมเรยี กว่า “สถปู เจดยี ์” หรือ “เจดีย์” มีความหมายเฉพาะ ถึงสง่ิ ก่อสร้างในพุทธศาสนาทสี่ ร้างข้นึ เพื่อ บรรจอุ ัฐิ หรอื เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูป หรือเพ่ือเป็นที่ระลึก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ในสมัยหลังลงมาคง มีการสร้างสถานท่เี พอื่ บรรจอุ ัฐิธาตุ และเพอ่ื เคารพบชู าระลกึ ถึงพรอ้ มกนั ไปดว้ ย ๒) พทุ ธเจดีย์สมัยสโุ ขทยั จาแนกได้ตามลกั ษณะรปู ทรงดงั นี้ (อ้างอิง ; http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/art1.htm) ๒.๑ พระเจดีย์ทรงดอกบัวตูม หรือเรียกกันว่า ทรงพุ่มข้าวบิณ ฑ์ หรือทรงทนาฬ ต้ังอยู่เหนือเรือนธาตุส่ีเหลี่ยมย่อไม้ย่ีสิบ ท่ีเรือนธาตุลางองค์มีการจัดซุ้มพระพุทธรูปยืนทั้ง ๔ ทิศ พระ เจดีย์ทรงดอกบัวตูมมีรูปทรงสูงเด่นสง่างาม ฐานช้ันล่างมีแผนผังส่ีเหล่ียมจัตุรัสซ้อนลดหลั่นกัน ๓ หรือ ๔ ช้ัน ถัดขึ้นไปเป็นฐานแวน่ ฟ้าซ้อนกันค่อนข้างสูงรองรับเรือนธาตุ นักโบราณคดีและนักประวัตศิ าสตร์ ศิลปะพากันยกย่องว่า พระเจดีย์ทรงบัวตูม เป็นสถาปัตยกรรมแบบสุโขทัยแท้ที่ศิลปินสุโขทัยคิด แบบอย่างของตนข้ึน พระเจดีย์แบบน้ีนิยมสร้างไว้ตามเมืองต่าง ๆ ในสมัยสุโขทัยเท่าน้ัน ไม่มีการสร้าง ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยาเลย ๒.๒ เจดีย์ทรงระฆัง หรือดอกบัวคว่ามักเรียกกันโดยทั่วไปว่า แบบลังกา ตามทฤษฎีเดิมเช่ือว่า ได้รับอิทธิพลมาจากลังกาโดยตรง แต่ถ้าพิจารณาในแง่ของแบบอย่างศิลปะแล้ว จะเห็นว่าอิทธิพลทาง ศลิ ปะของลังกามีไม่มากนัก เพราะในระยะท่ีอิทธิพลของพระพุทธสาสนาหินยานจากลังกาทวีปหลง่ั ไหล เข้ามาสู่ศรีสัชนาลัยนั้น อิทธิพลศิลปะอินเดียได้เข้ามาก่อนแล้ว มีรูปทรงสูงสวยงาม มีการประดิษฐ์ฐาน สูงซ้อนกันหลายช้ัน การประดิษฐ์บัวปากระฆัง การทารูปทรงระฆังให้พองออกในตอนบนและคอดใน ส่วนทเ่ี ป็นปากระฆงั เจดีย์บางองค์มกี ารจัดซุ้มประดิษฐานพระพุทธรปู ทง้ั ๔ ทิศ ๒.๓ เจดีย์ทรงพระปรางค์ มีลักษณะรูปทรงคล่ีคลายมาจากอิทธิพลแบบอย่างสถาปัตยกรรม สิขร ของขอมและอนิ เดียผสมผสานกนั แตม่ ไิ ด้ลอกเลยี นแบบมาโดยตรง ๒.๔ เจดีย์บุษบก หรือเจดีย์ทรงวิมาน แผนผังเป็นรูปสี่เหล่ียม ย่อมุมไม้ยี่สิบ และย่อมุมไม้สิบ สองเรือนธาตุมีซุ้มพระพทุ ธรูปทั้ง ๔ ทศิ ส่วนยอดทาเป็นช้ันๆ ซ้อนกันถึง ๙ ชั้น ถัดขน้ึ ไปเป็นรูป อามล กะ ตามแบบยอดสขิ รของอนิ เดยี และยอดบนสุดเปน็ ยอดแหลม เจดียแ์ บบน้พี บอยู่ สามสีอ่ งค์ ๒.๕ เจดีย์จอมแห เจดยี ์แบบจอมแหนี้ ทฐ่ี านทาเป็นกลบี ดอกบัว ๓ ช้นั ชนั้ ท่ี ๓ ทาเป็นซมุ้ คหู า สาหรับประดิษฐานพระพุทธรูปทั้งสี่ด้านสี่ทิศ เรือนพระเจดีย์ทาเป็นรูประฆังครอบปากผาย ออกเป็น แบบระฆัง ๘ เหล่ียม แต่ตอนที่เป็นตัวระฆังไม่กลมอวบอ้วนเหมือนอย่างเจดีย์ทรงระฆังครอบ คือ ทา เป็นอย่างกระโจมมีกลีบยาวเป็นลอนเรียงกันเป็นกลีบ ๆ รอบองค์พระเจดีย์ นับได้ ๒๘ กลีบ จาก ลักษณะของรูปกระโจมเจดีย์ที่คล้ายกับร่างแหท่ีแขวนตากแดดแขวนไว้กับเสากระโดง จึงเรียกกันว่า เจดียจ์ อมแห ๒.๖ เจดีย์ทรงปราสาท เป็นเจดีย์แบบหลายยอด ลักษณะโดยท่ัวไปมีฐานสี่เหล่ียมสูง เรือนธาตุ เป็นรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส ประกอบด้วยซ้มุ ประดิษฐานพระพุทธรูปปางประทับยืนทั้ง ๔ ทิศ แต่ละซุ้มนิยมจัด เสาแบนและหน้าบันซ้อนกันสองชั้น ลวดลายประดับซุ้มประดิษฐ์เป็นรูปใบไม้หรือขนนกยาวๆ เรียง ลดหลั่นกันซุ้มละ ๗ อัน เหนือเรือนธาตทุ าเปน็ ฐาน ๘ เหลี่ยม ตรงส่วนท่เี ป็นบัวปากระฆงั นิยมทาเป็น \"บัว
๑๒ กลุ่ม\" องค์ระฆังตอนบนพองออกมากกว่าส่วนท่ีเป็นปากระฆัง มีลาย \"รัดอก\" หรือ \"รัดเอว\" คาดเป็น เคร่ืองประดับ ไม่มบี ัลลังก์ เหนือองค์ระฆังทาเป็นบัวกลุ่มอกี สองชั้นกอ่ นท่ีจะถึงปลียอด ตามมุมเจดีย์ทั้งส่ี มกี ารประดิษฐเ์ จดยี ์บริวารสีเ่ หล่ยี มขนาดเล็ก หรอื \"สถูปิกะ\" วริ ัช บริรักษเ์ ลศิ (๒๕๒๕: ๕๓-๕๙) กล่าวถงึ เจดยี ์ใหญส่ มัยสุโขทยั ไว้วา่ ในมีสมัยสโุ ขทัยเป็นราช ธานี มีเจดีย์รูปแบบและขนาดต่างๆสร้างขึ้นไว้เป็นอันมากทั้งที่ตัวเมืองสุโขทัยและบรรดาเมืองอ่ืนๆ ที่ เป็นเมืองโบราณร่วมสมัยสาหรับเจดีย์ใหญ่วัดวรนาถบรรพต สันนิษฐานตามศิลาจารึกของพระเจ้าลิไท เรื่องสร้างพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ โดยมีความเช่ือว่าพระบรมสารีริกธาตุหาได้ในลังกาทวีป จึงสร้างเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ให้บุคคลได้พากันมากราบไหว้บูชา เจดีย์ที่สร้างสมัยสุโขทัย ถ้าพิจารณาโดยรูปลักษณ์สัณฐานแล้วทาอย่างพระสถูปลังกาแทบทั้งส้ิน ดังเจดีย์ใหญ่วัดวรนาถบรรพต ซึ้งสร้างรูปแบบเจดีย์ทรงระฆังครอบ เจดีย์แบบน้ีที่ฐานทาเป็นเหล่ียมสูงข้ึนไปถึงตอนที่คล้ายระฆังเป็น บัลลังก์เสาหาน บัวถลาและปล้องไฉน ที่ปล้องไฉนทาเป็นวงแหวนซ้อนรวมกันสูงข้ึนไปยอดแหลมเจดีย์ แบบนี้คาดกันว่าได้แบบอย่ามาจากลังกา ซ่ึงสร้างกันในสมัยสุโขทัย เพื่อให้เป็นสัญลักษณ์ของ พระพุทธศาสนา และถือว่าเป็นธรรมเนียมประเพณีการสร้างเจดีย์สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันน้ี เจดีย์ ใหญ่วัดวรนาถบรรพต มีขนาดฐานกว้างด้านละ ๓o เมตร สูงจากรากฐานถึงยอดเจดีย์ประมาณ ๓๕ เมตร เปน็ เจดีย์เก่าสมยั สโุ ขทัยที่ทางกรมศิลปากรไดข้ นึ้ ทะเบยี นเป็นโบราณวัตถแุ ล้ว จากการศึกษาเจดีย์แบบทรงสุโขทัย สรุปได้ว่า เจดีย์แบบทรงสุโขทัยของวัดวรนาถบรรพต หมายถึง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ชั้นต้น หรือข้ันปฐมภูมิ (Primary sources) ซึ่งเก่ียวข้องกับ เหตุการณ์โดยตรง ก่อสร้างขึ้นเพอ่ื บรรจุอัฐิธาตุและเป็นท่เี คารพบชู าระลึกถึงพระพุทธเจ้า เป็นเจดีย์ทรง ระฆงั หรือดอกบัวควา่ มลี ักษณะมีรปู ทรงสูงสวยงาม มกี ารประดษิ ฐ์ฐานสงู ซ้อนกันหลายช้ัน 3.๒.๓ วหิ ารพระพุทธไสยาสน์ของวดั วรนาถบรรพต ภาพ ๖ วิหารพระพุทธไสยาสน์ของวัดวรนาถบรรพต ถ่ายเมอื่ วนั ที่ 14 มิถุนายน 2๕๖๕
๑๓ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ความหมายของไสยาสน์ไว้ว่า “พระพุทธรูปในท่านอนว่า พระไสยาสน์ หรือ พระพุทธไสยาสน์, เรียกพระพุทธรูปปางนอนวา่ พระปาง ไสยาสน์ หรือชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถนอน ตะแคงข้างขวา หลับพระเนตร พระเศียร หนุนพระเขนย พระหัตถ์ ซ้ายทอดทาบไปตามพระกายเบ้ืองซ้าย พระหัตถ์ขวาหงายวาง อยู่ที่พ้ืนข้าง พระเขนย พระบาทท้ัง ๒ ตงั้ ซอ้ นกัน” (พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒) พระพุทธรูปในสมัยสุโขทัย (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๒๐) งานศิลปกรรมสมัยสุโขทัย เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทท่ีรับอิทธิพลมาจากลังกาและพม่า นิยมแบ่งพระพุทธรูป สุโขทยั ออกเปน็ ๔ หมวด คอื (อา้ งองิ http://www.kroobannok.com/674) ๑. หมวดแรก เป็นพระพุทธรูปที่มีอิทธิพลของศิลปะปาละ ซึ่งรับผ่านมาจากอาณาจักรพุกาม ในประเทศพม่ามีลักษณะพระพักตร์กลม พระโอษฐ์ยิ้ม พระวรกายอวบอ้วน ชายสังฆาฏิสั้นอยู่เหนือ พระถัน ๒. หมวดใหญ่ หมายถึง หมวดที่มีการสร้างอย่างแพร่หลาย ได้รับอิทธิพลในการสร้างจาก ศิลปะลังกา และพัฒนารูปแบบจนมีลักษณะเฉพาะของตัวเองเกิดข้ึน ซึ่งถือกันว่างามที่สุดของศิลปะใน ประเทศไทย ลักษณะท่ีสาคัญของพระพุทธรปู หมวดใหญ่คอื นยิ มแสดงปางมารวชิ ัย ประทับนั่งขัดสมาธิ ราบเหนือฐานหน้ากระดานเกลี้ยง มีพระพักตร์รูปไข่ ขมวดพระเกศาเล็ก พระรัศมีเป็นเปลว พระขนง โก่ง พระเนตรเหลือบลงตา่ พระนาสิก โดง่ พระโอษฐ์ยิม้ ชายสังฆาฏิ ยาวลงมาจรด พระนาภี ๓. หมวดกาแพงเพชร พบมากแถบเมอื งกาแพงเพชร มลี ักษณะคล้ายหมวดใหญ่ แต่มสี ว่ นที่ ตา่ งกัน ไดแ้ ก่ พระนลาฏ (หน้าผาก) กว้าง พระหนุเสย้ี ม ขมวดพระเกศาเล็กมาก พระรัศมเี ปน็ เปลวสูง ๔. หมวดพระพทุ ธชินราช ได้แก่ พระพุทธรูปสกลุ ชา่ งเมอื งพษิ ณโุ ลก ซง่ึ มีลักษณะทตี่ ่างจาก หมวดใหญ่เลก็ น้อยคือ พระพักตรอ์ วบอว้ นมากกวา่ และทส่ี าคญั คือ การทาปลายน้ิวพระหัตถ์ทั้ง ๔ ยาว เสมอกนั ซ่งึ เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของพระพทุ ธรูปในหมวดนี้ วิหารพระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) เป็นปูชนียวัตถุที่สร้างในสมัยสุโขทัยตั้งอยู่ติดกับเจดีย์องค์ ใหญ่สมยั สุโขทยั ภายในบริเวณวัดวรนาถบรรพต พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) องค์น้เี ป็นปชู นียวตั ถทุ ่ลี ่า ค่ามีความสวยงามมากมีความยาวถึง ๑o วาเศษ เป็นของเก่า ที่ศักด์ิสิทธ์ิ และมีอภินิหารเป็นที่เคารพ เล่ือมใสของสาธุชนท่ัวไป แต่เน่ืองจากวิหารพระพุทธไสยาสน์เดิมได้ชารุดทรุดโทรมและเล็กแคบไม่ เหมาะสม พระเดชพระคุณพระราชพรหมาภรณ์ รองเจ้าคณะภาค ๔ เจ้าอาวาสวัดวรนาถบรรพตพระ อารามหลวง จึงได้บูรณปฏิสังขรณ์วิหารให้กว้างสวยงามจัดบริเวณให้สะอาดร่มร่ืนเหมาะแก่การท่ี สาธุชนโดยท่ัวไปจะเข้าไปบาเพ็ญกุศล พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) นี้กรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็น โบราณวตั ถแุ ล้ว (พระราชพรหมาภรณ์. ๒๕๔๙: หนา้ ๑๖) จากการศึกษาวิหารพระพุทธไสยาสน์ของวัดวรนาถบรรพต สรุปได้ว่าวิหารพระพุทธไสยาสน์ ของวัดวรนาถบรรพต หมายถึง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ช้ันต้น หรือขั้นปฐมภูมิ (Primary sources) เป็นพระพุทธรูปปางนอนอยู่ในพระอิริยาบถนอน ตะแคงข้างขวา หลับพระเนตร พระเศียรหนุนพระ เขนย พระหัตถ์ ซ้ายทอดทาบไปตามพระกายเบ้ืองซ้าย พระหัตถ์ขวาหงายวาง อยู่ที่พื้นข้างพระเขนย พระบาทท้ัง ๒ ต้ังซอ้ นกัน และปชู นยี วัตถุท่ีล่าค่ามีความสวยงามมากมีความยาวถึง ๑o วาเศษ ก่อสรา้ ง ขึ้นเพ่ือเป็นท่ีเคารพเลื่อมใสของสาธุชนท่ัวไป และเป็นพระพุทธรูปในสมัยสุโขทัยเก่ียวข้องกับ พระพทุ ธศาสนาแบบเถรวาททีร่ ับอิทธพิ ลมาจากลังกาและพมา่
๑๔ 3.๒.๔ รอยพระพุทธบาทจาลองข้างซ้ายของวัดวรนาถบรรพต ภาพ ๗ วหิ ารพระพุทธบาทจาลอง วดั วรนาถบรรพต ถ่ายเมือ่ วนั ที่ 14 มิถนุ ายน 2๕๖๕ ภาพ ๘ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ ทรงเสดจ็ เปน็ การสว่ นพระองค์บนยอดเขา วัดวรนาถบรรพต ถา่ ยเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2๕๖๕
๑๕ ภาพ ๙ รอยพระพุทธบาทจาลอง สมัยสโุ ขทัย วดั วรนาถบรรพต ถา่ ยเม่ือวันท่ี 14 มิถนุ ายน 2๕๖๕ ตานานรอยพระพุทธบาท (อ้างอิง www.wattrimacaram.com/รอยพระพุทธบาทจาลอง. html) รอยพระพุทธบาทจาลองโดยความเชื่อท่ีว่า “รอยพระพุทธบาท” หมายถึง รอยเท้าของ พระพุทธเจ้า มีมาต้ังแต่สมัยอินเดียโบราณ ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก่อนท่ีจะมีการสร้างพระพุทธรูป เม่ือภายหลังจากท่ีมีการสร้างพระพุทธรูปข้ึน รอยพระพุทธบาทได้ กลายเป็นสัญลักษณ์เพื่อแสดงถึงความเป็นดินแดนสิริมงคล ซึ่งก็คือดินแดนที่พระพุทธองค์ได้เสด็จ ดาเนนิ ไปถงึ รอยพระพุทธบาทเป็นสัญลักษณ์แทนองค์สัมมาสัมพุทธเจ้า สร้างขึ้นเพ่ือเป็นเคร่ืองหมายแห่ง การเสด็จเข้ามาบาเพ็ญพุทธกิจ และเครื่องหมายแห่งการเสด็จเข้ามา ส่วนวงกลมในรอยพระบาท คือ ธรรมจักร นนั้ อาจเป็นเคร่อื งหมายแหง่ คาสอนท่ีประทานไว้ เปรียบได้กบั ล้อหมุนพาเขา้ ไปหาความเจริญ การเคารพบูชาสถานที่ และวัตถุอันมีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าเป็นส่วนพระองค์น้ัน คงเริ่มมีขึ้น ตั้งแต่ คร้ังท่ีพระองค์ยังมีพระชนม์ชีพอยู่ สถานท่ีหลายแห่งในอินเดียซึ่งมีความเชื่อกัน ว่าพระพุทธองค์ เคยเสด็จไปนั้น ได้กลายเป็นปูชนียสถาน ที่มีผู้คนไปนมัสการ บูชาแทนตัวพระพุทธเจ้า ในขณะที่ไม่ได้ ประทับอยู่ ณ ท่ีนั้น ซึ่งบางแห่งมีความเชื่อว่า มีร่องรอยการสัมผัสของพระพุทธองค์อยู่อย่างถาวร เป็น สกั ขีพยานถึงการได้เสด็จมา และเป็นที่ระลึกถึงพระองค์ และพระธรรมซึ่งพระองค์ได้ประทานไว้แก่โลก ดังน้นั อาจกลา่ วได้วา่ รอยพระบาทของพระพุทธเจา้ เป็นปูชนียวตั ถุท่ีชาวพทุ ธไดก้ ราบไหวบ้ ูชา มาตัง้ แต่ สมัยพุทธกาลจนปัจจุบัน รองจากพระพุทธรูปและพระสถูปเจดีย์แล้ว รูปและรอยพระพุทธบาท ดู เหมือนจะเป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระพุทธเจ้าที่ บูชากันโดยแพร่หลายท่ีสุด ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ใน สมัยโบราณยังไม่มกี ารสร้างรูปเคารพ หรือตัวแทนของพระพุทธเจ้า จึงทาให้มีการสร้างสัญลักษณ์ต่างๆ แทน เช่น ถ้าจะกล่าวถึงตอนทพ่ี ระพุทธเจ้าตรัสรู้น้นั จะสลักเปน็ ภาพต้นโพธิ์ และมีพุทธบลั ลงั กอ์ ยูใ่ ตต้ ้น โพธิ์ มีการสรา้ งธรรมจักร ซึง่ หมายถงึ ตอนทพ่ี ระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม เป็นต้น ต่อมาจงึ มีการสร้าง รอยพระพุทธบาทเป็นเจติยสถานเกิดข้ึน ซ่ึงเกิดจากคติ 2 คติ คือ คติของชาวอินเดียและคติของชาว ลังกา และไดม้ กี ารแพรห่ ลายไปยังดนิ แดนใกล้เคยี งท่ีมีการนบั ถือพุทธศาสนา
๑๖ พระกฐินพระราชทาน วัดวรนาถบรรพต พระอารามหลวง (๒๕๕๖) กล่าวถึงรอยพระพุทธบาท จาลองข้างซ้ายของวัดวรนาถบรรพตไว้ว่า ส่วนศิลาจารึกหลักที่ ๒๑ ช่ือศิลาจารึกรอยพระพุทธบาท จาลอง เหมือนจอมเขาสุมนกูฏบรรพตเมืองพระบาง คือ วัดเขากบ อาเภอเมืองฯ จังหวัดนครสวรรค์ เป็นศิลาแผ่นสี่เหลื่อมผืนผ้า ยาว ๒๐๒ ซม. กว้าง ๑๑๖ ซม. ตรงกลางเป็นรอยพระพุทธบาทค้นพบเมื่อ ปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ที่เมืองนครชุม จังหวัดกาแพงเพชร โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงรา ชานภุ าพ (มนต์ชัย เทวญั วโรปกรณ์ ๒๕๒๖ : ๘๑๑) ใจความในศิลาจารึกกล่าวถึงพญาธรรมิกราช คือ พระเจ้าลิไทแห่งกรุงสุโขทัยได้นาเอารอยพระ พุทธบาทจาลองท่ีได้มาจากลังกาทวปี มาประดิษฐานไว้บนยอดเขาปากพระบาง คือ ยอดเขากบ จังหวัด นครสวรรค์ สาหรับเรื่องรอยพระพุทธบาทนี้ ชาวลังกาอธิบายตานานมีอยู่ในเร่ืองมหาวงศ์ว่า คร้ังหน่ึง พระพุทธเจ้าเสด็จไปยังลังกาทวีปทรงสั่งสอนพวกชาวเกาะจนเกิดความเล่ือมใส แล้วจะเสด็จกลับไป ยงั มัชฌิมประเทศจงึ ทาปาฏิหารยิ ์เหยียบรอยพระพุทธบาทประดษิ ฐานไว้บนยอดเขา สาหรับให้ชาวลงั กา บูชาต่างพระองค์ อนึ่ง การสร้างรอยพระพุทธบาทจาลองท่ีเกิดข้ึนในอาณาจกั รสุโขทัย ตามหลักฐานในศิลาจารึก เร่ิมคร้ังแรกเม่ือปี พ.ศ. ๑๙๐๒ โดยพระเจ้าลิไท กษัตริย์องค์ที่ ๕ แห่งราชวงศ์สุโขทัยทรงเอาอย่างคติ เมอื งลงั กาทวปี และทรงถือแบบรอยพระพุทธบาทที่ประดิษฐานไว้เหนือจอมเขาสุมนกฏู บรรพตเปน็ หลัก จึงได้ต้ังช่ือจอมเขาต่างๆ ในอาณาจักรสุโขทัยที่พระองค์ให้ประดิษฐานพระพุทธบาทจาลองไว้ให้ช่ือว่า จอมเขาสุมนกูฏบรรพตอย่างลังกา ดังรอยพระพุทธบาทจาลองเหนือจอมเขาสุมนกูฏบรรพตเมืองพระ บาง คอื รอยพระพุทธบาทจาลองบนยอดเขากบ จังหวัดนครสวรรค์น่ันเอง แต่จากหลักฐานทางเมืองสุโขทัยกล่าวว่า รอยพระพุทธบาทจาลองท่ีพระเจ้าลิไทนามาในสมัย น้ัน เป็นรอยพระพุทธบาทท่ีทางลังกาทวีปได้ส่งมาเป็นบรรณาการแก่กรุงสุโขทัยที่ได้จัดส่งพระสงฆ์ไทย ไปเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาและได้ตั้งนิกายสยามวงศ์ขึ้นที่ลังกาสมัยน้ัน รอยพระพุทธบาทจาลองทสี่ ่งมามี ๒ รอยด้วยกัน คือรอยซ้ายประดิษฐานไว้ที่ยอดเขาปากพระบาง คือ เขากบ นครสวรรค์ รอยขวานาขึ้น ไปยังเมืองสุโขทัย ประดิษฐานไว้ที่วัดตระพังทอง ซึ่งยังคงมีหลักฐานปรากฏอยู่ในปัจจุบันน้ีก็เป็น หลักฐานอีกทางหน่ึง อย่างไรก็ตามรอยพระพุทธบาทจาลองบนยอดเขากบก็ถือว่าเป็นสมบัติอันล้าค่า ของวดั และของชาวจงั หวดั นครสวรรค์ จากการศึกษารอยพระพุทธบาทจาลองข้างซ้ายของวัดวรนาถบรรพต สรุปได้ว่า รอยพระพุทธ- บาทจาลองข้างซ้ายของวัดวรนาถบรรพต หมายถึง รอยเท้าของพระพุทธเจ้าใช้เป็นสัญลักษณ์แทนองค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก่อนที่จะมีการสร้างพระพุทธรูปเกิดข้ึนในสมัยกรุงสุโขทัยเน่ืองจากลังกา ทวีปได้ส่งรอยพระพุทธบาทจาลองท้ังส้ิน ๒ รอยด้วยกันมาเป็นบรรณาการแด่พระเจ้าลิไท โดยรอยซ้าย ประดิษฐานไว้ท่ียอดเขาปากพระบาง คือเขากบ นครสวรรค์ รอยขวานาข้ึนไปยังเมืองสุโขทัย ประดษิ ฐานไวท้ ีว่ ัดตระพังทอง
๑๗ 4. วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 4.๑ ความหมายของวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ กรมวิชาการ( ๒๕๔๖) กล่าวว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการ แสวงหา ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ซ่ึงจากการวิจัยเอกสารและหลักฐานประกอบอ่ืนๆ เพ่ือให้ได้มาซึ่งองค์ ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์บนพื้นฐานของความเป็นเหตุเป็นผลและการวิเคราะห์เหตุกา รณ์ต่างๆ อยา่ งเป็นระบบ ทุติยาภรณ์ ภูมิดอนม่ิง (๒๕๕๑) กล่าวว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง การแสวงหา ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์โดยวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ถูกพัฒนาข้ึนเพื่อใหผ้ ู้ทตี่ อ้ งการศกึ ษาเร่อื งราว ในอดีตไดศ้ ึกษาด้วยความถกู ตอ้ งและเข้าใจมากท่ีสุด เรณู ภัยนันท์ (๒๕๓๖,อ้างถึงในอัจฉราพร ตันบรรจง, ๒๕๔๖) กล่าวว่าวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์โดยยึดหลักเกณฑ์ หรือแนวทางปฏิบัติท่ีผู้ศึกษาใช้เป็นแนวทางในการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์อย่าง ถูกต้องตามขอ้ เท็จจรงิ และเป็นประโยชน์ จากการศึกษาความหมายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ สรุปได้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ซึ่งเกิดจากวิธีวิจัยเอกสาร เพ่ือให้ ได้มาซึ่งองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ บนพ้ืนฐานความเป็นเหตุเป็นผล และการวิเคราะห์เหตุการณ์ ตา่ งๆอยา่ งเป็นระบบ 4.๒ วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ประกอบด้วยขั้นตอน ๕ ข้ัน ดังน้ี ๑. การกาหนดจุดมุ่งหมาย โดยการตั้งประเด็นคาถาม เช่น ศึกษาเรื่องอะไร ในช่วงเวลาใด ทาไมหรือทาเพราะอะไร เพอื่ เป็นแนวทางในการแสวงหาคาตอบอยา่ งมเี หตผุ ล ๒. การคน้ หาและรวบรวมหลักฐานเพ่ือหาขอ้ มลู จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์จากแหลง่ ตา่ งๆ ๓. การวิเคราะห์หลักฐาน เพื่อตรวจสอบและประเมินค่าความน่าเชื่อถือของหลักฐานท่ี รวบรวมไว้ ๔. การสรปุ ข้อเท็จจรงิ เพ่อื ตอบคาถามหรอื ตอบจุดมุ่งหมายท่ีกาหนด ๕. การนาเสนอ เพื่ออธิบายเรอ่ื งที่ศึกษาอยา่ งสมเหตสุ มผล กรมวิชาการ (๒๕๔๖) ไดก้ ล่าวถึงวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ว่ามีลาดบั ขั้นตอนดงั นี้ ๑. การกาหนดเป้าหมายหรือประเด็นคาถามท่ีต้องการศึกษา แสวงหาคาตอบ (ศึกษาอะไร ช่วงเวลาไหน สมัยใดและเพราะเหตใุ ด) ๒. การค้นหาและรวบรวมหลักฐานประเภทต่างๆ ทั้งท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลาย ลกั ษณ์อักษรซง่ึ ไดแ้ ก่ วตั ถโุ บราณร่องรอยถิ่นที่อยอู่ าศยั หรือการดาเนินชีวิต ๓. การวิเคราะห์หลักฐาน (การตรวจสอบหลักฐาน การประเมินความน่าเช่ือถือ การประเมิน คณุ คา่ ของหลักฐาน) และการตีความอยา่ งเปน็ เหตุเป็นผลมคี วามเปน็ กลางและปราศจากอคติ ๔. การสรุปข้อเท็จจริงเพอ่ื ตอบคาถามด้วยการเลอื กสรรข้อเท็จจริงจากหลกั ฐานอย่างเคร่งครัด โดยไม่ใช่ค่านิยมไปตัดสินพฤติกรรมของคนในอดีตโดยพยายามเข้าใจความคิดของคนในยุคน้ันหรือนา ตัวเขา้ ไปอยู่ในยุคสมัยที่ตนศกึ ษา
๑๘ ๕. การนาเสนอเรื่องที่ศึกษาและอธิบายได้อย่างสมเหตุสมผล โดยใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่ายมีความ ต่อเนื่องและน่าสนใจตลอดจนมีการอ้างอิงข้อเท็จจริงเพื่อให้ได้งานทางประวัติศาสตร์ท่ีมีคุณค่าและมี ความหมาย วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วยข้นั ตอน ดงั น้ี ข้ันตอนท่ี 1 การต้ังประเด็นที่จะศึกษา นับว่าเป็นขั้นตอนแรกของวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่ นักประวัติศาสตร์ หรือผู้สนใจทางประวัติศาสตร์มีความสนใจอยากรู้ เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ตอนใด ตอนหนงึ่ โดยตั้งประเดน็ คาถามว่า ศกึ ษาเรอ่ื งอะไรในชว่ งเวลาใด ทาไมจงึ ตอ้ งศกึ ษา ขั้นตอนท่ี 2 สืบค้นและรวบรวมข้อมูล ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ท่ีสามารถสอบสวนเข้าไปให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงท่ีเกิดขึ้นได้ ประกอบด้วยหลักฐาน ทไี่ ม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ คาบอกเล่าของผู้เห็นเหตุการณ์ และหลักฐาน ที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ศิลาจารึก จดหมายเหตุ บันทึกและเอกสารต่างๆ ในการสะสม และ รวบรวมข้อมูล ต่าง ๆ เหล่านี้ นักประวัติศาสตร์จาเป็นต้องใช้วิจารณญาณของตนสารวจ เนื่องจาก ข้อมูลแต่ละประเภทเป็นผลิตผลที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นโดยมีจุดประสงค์ท่ีแตกต่างกัน ดังน้ันต้องค้นหา ต้นตอหรือสาเหตุของข้อมูลอย่างลึกซึ้งเท่าที่จะทาได้ เพ่ือป้องกันมิให้ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ถูก บดิ เบือน ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนาข้อมูลท่ีได้สืบค้น รวบรวม คัดเลอื ก และประเมินไวแ้ ล้วนามาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซ่ึงนักประวัติศาสตร์ต้องใช้ เหตผุ ลเป็นแนวทางในการตีความเพือ่ นาไปสกู่ ารค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ท่ีถกู ต้อง ขนั้ ตอนที่ 4 การคดั เลือกและประเมินขอ้ มูล นักประวัติศาสตร์จะตอ้ งนาข้อมูลท่ไี ดร้ วบรวมไว้ มาคัดเลือก และประเมินเพ่ือค้นหาความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับข้อเท็จจริงทาง ประวัติศาสตรท์ ตี่ อ้ งการทราบ ขั้นตอนท่ี 5 การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับอันเป็นผลมาจากการ วิเคราะห์และการตีความข้อมูล หรืออธิบายข้อสงสัย เพ่ือนาเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบ ตลอดจนความรู้ ความคิดใหม่ท่ีได้จากการศกึ ษาค้นคว้าในรูปแบบการรายงานอย่างมีเหตผุ ล (อ้างอิง;http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/malaiwan_c /historym1/unit01_04.html) วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ประกอบดว้ ย 5 ขั้นตอน ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดเป้าหมาย จัดเป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคาถามที่ต้องการศึกษา นกั ประวตั ิศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวตั ิศาสตร์ในเรื่อง น้ันๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคาถามหลักท่ีนักประวัติศาสตร์ควรคานึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทาไมและเกิดขึ้น อยา่ งไร ข้นั ตอนท่ี 2 การรวบรวมขอ้ มลู หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีให้ข้อมูล มที ั้งหลักฐานที่เป็นลาย ลักษณ์อักษรและหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรมี ทั้งท่ีเป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) และหลักฐาน ชั้นรอง(ทุติยภูมิ) การรวบรวมข้อมูลนั้น หลักฐานชั้นต้นมีความสาคัญและความน่าเชื่อถือมากกว่า หลักฐานชนั้ รอง แต่หลักฐานชัน้ รองอธบิ ายเรื่องราวให้เข้าใจได้ง่ายกว่าหลักฐานชนั้ รอง ในการ รวบรวม ข้อมูลประเภทต่างๆดังกล่าวข้างต้น ควรเร่ิมต้นจากหลักฐานชั้นรองแล้ว จึงศึกษาหลักฐานช้ันต้น ถ้า
๑๙ เป็นหลักฐานประเภทไม่เป็นลายลักษณ์อกั ษรกค็ วร เริ่มต้นจากผลการศึกษาของนักวิชาการที่เชี่ยวชาญ ในแต่ละด้าน ก่อนไปศึกษาจากของจริงหรือสถานท่ีจริงการศึกษาประวัติศาสตร์ท่ีดีควรใช้ ข้อมูลหลาย ประเภทข้ึนอยู่กับว่าผู้ศึกษาต้องการศึกษาเร่ืองอะไร ดังน้ันการรวบรวมข้อมูลท่ีดีจะต้องจดบันทึก รายละเอียดต่างๆ ทงั้ ข้อมลู และ แหล่งข้อมูลให้สมบูรณแ์ ละถกู ตอ้ งเพ่ือการอ้างอิงทีน่ ่าเชื่อถือ ข้ันตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบ หลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเช่ือถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐาน และวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนท้ังสองจะกระทาควบ คู่กันไป เน่ืองจากการตรวจสอบหลักฐานต้อง พจิ ารณาจากเน้ือหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานน้นั และในการวพิ ากษ์ข้อมูลกต็ ้องอาศัยรปู ลักษณะของ หลักฐานภายนอกประกอบด้วยการ วิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอกการวิพากษ์หลักฐาน (external criticism) คือ การพิจารณาตรวจสอบหลักฐานท่ีได้คัดเลือกไว้แต่ละชิ้นว่ามีความน่าเช่ือถือ เพียงใด แต่เป็นเพียงการประเมินตัวหลักฐาน มิได้มุ่งท่ีข้อมูลในหลักฐาน ดังน้ันขั้นตอนนี้เป็นการสกัด หลักฐานที่ไม่น่าเช่ือถือออกไปการวิพากษ์ ข้อมูลหรือวิพากษ์ภายในการวิพากษ์ ข้อมูล (internal criticism) คือ การพิจารณาเนื้อหาหรือความหมายท่ีแสดงออกในหลักฐานเพื่อประเมินว่าน่าเช่ือถือ เพียงใด โดยเน้นถึงความถูกต้อง คุณค่า ตลอดจนความหมายท่ีแท้จริง ซึ่งนับว่ามีความสาคัญต่อการ ประเมินหลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร เพราะข้อมูลในเอกสารมีท้ังที่คลาดเคลื่อน และมีอคติของผู้ บนั ทึกแฝงอยู่ หากนักประวตั ิศาสตร์ละเลยการวิพากษ์ขอ้ มูลผลที่ออกมาอาจจะผิดพลาดจากความเป็น จริง ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลกั ฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานวา่ ผู้สร้างหลักฐานมี เจตนาที่แทจ้ รงิ อยา่ งไร โดย ดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทกึ และรปู รา่ งลักษณะโดยทว่ั ไปของประดษิ ฐ- กรรม ต่างๆเพ่ือให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ตามในการ ตีความ หลักฐาน นักประวัติศาสตร์จึงต้องพยายามจับความหมายจากสานวนโวหาร ทัศนคติความเช่ือ ฯลฯ ของผู้เขียนและสังคมในยุคสมัยน้ันประกอบด้วย เพื่อทีจะได้ทราบว่าถ้อยความน้ันนอกจากจะ หมายความตามตัวอกั ษรแลว้ ยงั มีความ หมายท่แี ท้จรงิ อะไรแฝงอยู่ ข้ันตอนท่ี 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทาง ประวัตศิ าสตร์ซึ่งผ้ศู กึ ษาคน้ ควา้ จะตอ้ ง เรียบเรียงเรอื่ ง หรอื นาเสนอข้อมลู ในลักษณะที่เปน็ การตอบหรือ อธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความร้ใู หม่ ความคิดใหม่ที่ไดจ้ ากการศึกษาค้นควา้ น้ันในขั้นตอน นี้ ผู้ศึกษาจะต้องนาข้อมูลท่ีผ่านการตีความมาวิเคราะห์ หรือแยกแยะเพ่ือจัดแยกประเภทของเร่ืองโดย เร่ืองเดียวกันควรจัดไว้ด้วยกัน รวมทั้งเร่ืองที่เกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กัน เรื่องท่ีเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและ กัน จากน้ันจึงนาเร่ืองทั้งหมดมาสังเคราะห์หรือรวมเข้าด้วยกัน คือ เป็นการจาลองภาพบุคคลหรือ เหตุการณในอดีตขึน้ มาใหม่ เพือ่ ให้เห็นความสัมพันธ์และความต่อเน่ือง โดยอธิบายถงึ สาเหตตุ ่างๆ ท่ีทา ให้เกิดเหตุการณ์ เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น และผล ทั้งน้ีผู้ศึกษาอาจนาเสนอเป็นเหตุการณ์พื้นฐานหรือเป็น เหตุการณเ์ ชิง วิเคราะหก์ ไ็ ด้ ข้นึ อยู่กับจดุ มุง่ หมายของการศกึ ษา
๒๐ จากการศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ สรุปได้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วย ขั้นตอน ๕ ขัน้ ดังนี้ ๑. การกาหนดหัวเรื่องท่ีจะศึกษา หมายถึง การกาหนดปัญหา หรือสมมติฐาน เป็นการ กาหนดเป้าหมายหรือประเด็นคาถามท่ีต้องการศึกษา ในขอบเขตของคาถามเก่ียวกับการศึกษาอะไร ชว่ งเวลาไหน สมัยใด เพราะเหตุใด ๒. การรวบรวมหลักฐาน หมายถึง การรวบรวมหลักฐานประเภทต่างๆ เป็นการรวบรวม หลักฐานท้ังที่เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ซ่ึงได้แก่ วัตถุโบราณ ร่องรอยถ่ินที่อยู่ อาศัยหรอื การดาเนินชีวติ ๓. การประเมินคุณค่าของหลักฐาน หมายถึง การตรวจสอบ ประเมินค่าความน่าเชื่อถือ ของหลกั ฐาน และการตีความหลักฐานอยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล มีความเป็นกลาง และปราศจากอคติ ๔. การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และการจัดหมวดหมขู่ ้อมลู หมายถงึ การสรุปข้อเท็จจริงเพื่อ หาคาตอบ ด้วยการเลือกสรรข้อเท็จจริงจากหลักฐานอย่างเคร่งครัด โดยไม่ใช้ค่านิยมของตนเอง ไป ตัดสินพฤติกรรมของคนในอดีต โดยพยายามเขา้ ใจความคดิ ของคนในยคุ น้นั ๕. การเรียบเรียงหรือการนาเสนอ หมายถึง การเสนอเรื่องท่ีศึกษาอย่างน่าสนใจ อธิบาย อย่างสมเหตุสมผล โดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย มีความต่อเน่ือง มีการอ้างอิงข้อเท็จจริงเพ่ือให้ได้งานทาง ประวตั ิศาสตรท์ ม่ี ีคณุ คา่ และมีความหมาย กรอบแนวคิดในการศึกษา ในการศึกษาครั้งน้ี คณะผู้จดั ทาได้ศึกษาจากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์เก่ียวกับประวัติความ เปน็ มาของวดั วรนาถบรรพตดว้ ยวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ ตามกรอบแนวคิดท่แี สดงในภาพ 11 ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ 1. การกาหนดหัวข้อ เก่ยี วกับประวตั ิความเปน็ มาของ 2. การแสวงหาความรู้ 3. การวิเคราะห์และประเมนิ คุณคา่ วัดวรนาถบรรพต ๑. ศิลาจารึกวัดเขากบ ของหลกั ฐาน ๒. เจดยี แ์ บบทรงสุโขทัยของ 4. การตีความและสังเคราะหข์ ้อมูล 5. การนาเสนอขอ้ มูล วดั วรนาถบรรพต ๓. วหิ ารพระพุทธไสยาสนข์ อง วดั วรนาถบรรพต ๔. รอยพระพุทธบาทจาลองขา้ งซา้ ย ของวดั วรนาถบรรพต ภาพ 1๐ กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา
บทท่ี ๓ วิธกี ารศกึ ษา การศึกษาโครงงานในคร้งั นี้ มีความมุ่งหวังเพื่อศึกษาประวัติวัดวรนาถบรรพตจากหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตร์ทั้งด้านโบราณสถาน และโบราณวัตถุท่ียังคงหลงเหลืออยู่เก่ยี วกบั ประวัติความเป็นมาของ วัดวรนาถบรรพต ซึ่งสามารถนาความรู้ที่ได้รับน้ีไปเผยแพร่ความรู้ให้แก่นักเรียนโรงเรียนเทศบาล วัดวรนาถบรรพตได้เกิดความภาคภูมิใจ และเห็นคุณค่าของวัดวรนาถบรรพต มีวิธกี ารดาเนินการศึกษา ดังนี้ ๑. อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการศึกษา ๒. เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา ๓. ข้ันตอนในการศกึ ษา ๔. วิเคราะห์ขอ้ มูลในการศกึ ษา 1. อุปกรณท์ ่ใี ช้ในการศกึ ษา ๑. ข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต ได้แก่ ศิลาจารึกวัดเขากบ, เจดีย์แบบทรงสุโขทัยของวัดวรนาถบรรพต, วิหารพระพุทธไสยาสน์ของวัดวรนาถ บรรพต, รอยพระพทุ ธบาทจาลองข้างซ้าย รวมทั้งหนังสือ วารสาร และเอกสารอืน่ ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง ๒. แบบสอบถามความคดิ เห็น โครงงาน เรื่อง “เปดิ กรุวดั วรนาถบรรพต ; วดั เกา่ สมยั สุโขทยั ” 2. เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการศึกษา เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บการรวบรวมข้อมูลของการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ การสารวจ การสืบค้น การเผยแพร่ความรู้ และการทาแบบสอบถามความคิดเหน็ จาแนกเปน็ ๑. การสารวจพ้ืนท่ีบริเวณวัดวรนาถบรรพตเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา และเก็บรวบรวม ขอ้ มูลโดยถ่ายภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีสาคัญ เช่น วัตถุโบราณ ร่องรอยถนิ่ ที่อยู่อาศัยหรือการ ดาเนนิ ชีวิต และจดบนั ทึกขอ้ มลู ทไี่ ดศ้ ึกษาจากพื้นทจ่ี ริง ๒. การสืบค้นข้อมูลเพ่ิมเติมจากหนังสือวารสาร เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสืบค้นข้อมูล ทส่ี าคัญตา่ งๆ จากอนิ เทอร์เน็ต 3. การเผยแพร่ความรู้ประวัติวัดวรนาถบรรพต และหลักฐานสาคัญของวัดวรนาถบรรพตท่ี ยังคงหลงเหลอื อยู่ให้แก่นกั เรยี นกล่มุ ตวั อยา่ งโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพต 4. การทาแบบทดสอบความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนเทศบาล วดั วรนาถบรรพต ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ จานวน 9๙ คน
๒๒ 3. ข้ันตอนในการศกึ ษา ๑. การกาหนดหัวข้อ เป็นการกาหนดเป้าหมายหรือประเด็นที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต โดยกาหนดขอบเขตเก่ียวกับการศึกษาหรือการต้ังประเด็นคาถาม เพือ่ เป็นแนวทางในการแสวงหาคาตอบอยา่ งมเี หตุผล จาแนกเปน็ ๑.๑ ศึกษาเร่ืองอะไร ๑.๒ ทาไมจงึ ศกึ ษา เพราะเหตุใด ๑.๓ เหตุการณท์ ่ีศกึ ษาอยู่ในชว่ งเวลาใด ๑.๔ มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีสาคัญใดบ้างสะท้อนถึงประวัติความเป็นมาของ วัดวรนาถบรรพต ๑.๕ วัดวรนาถบรรพตมีบทบาทสาคัญตอ่ ชุมอย่างไร ๒. การแสวงหาความรู้ เป็นการรวบรวมหลักฐานประเภทต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองท่ีเรา ต้องการศึกษาค้นควา้ ทั้งที่เปน็ หลกั ฐานลายลักษณอ์ กั ษรและหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณอ์ ักษร ซง่ึ ไดแ้ ก่ วตั ถุโบราณ ร่องรอยถ่ินท่อี ยูอ่ าศยั หรือการดาเนินชวี ติ ของวดั วรนาถบรรพต จาแนกเป็น ๒.๑ การสารวจพื้นที่บริเวณวัดวรนาถบรรพต และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยถ่ายภาพ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่สี าคัญ เช่น วัตถโุ บราณ ร่องรอยถิ่นที่อยอู่ าศัยหรือการดาเนินชีวติ และจด บนั ทึกขอ้ มลู ที่ได้ศึกษาจากพืน้ ทจี่ รงิ ๒.๒ การหาข้อมูลเพิ่มเติมจากหนังสือวารสาร เอกสารต่างๆ ที่เก่ียวข้อง รวมท้ังสืบค้น ข้อมูลท่ีสาคัญต่างๆ จากอินเทอร์เน็ต ๒.๓ การทาแบบทดสอบความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนเทศบาล วัดวรนาถบรรพต ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ จานวน 9๙ คน ๓. การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าของหลักฐาน เป็นการตรวจสอบประเมินค่าความ น่าเช่ือถือของหลักฐาน และการตีความหลักฐานอย่างเป็นเหตุเป็นผล มีความเป็นกลาง และปราศจาก อคติ แบง่ ออกเป็น ๒ ลักษณะ จาแนกเป็น ๓.๑ การวิเคราะห์และประเมินคณุ คา่ หลักฐานจากภายในหรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า “การ วิพากษ์ข้อมูล (internal criticism)” เป็นการพิจารณาเน้ือหาหรือความหมายที่แสดงออกในหลักฐาน เพอ่ื ประเมนิ ว่านา่ เชือ่ ถอื เพยี งใด โดยเน้นถงึ ความถูกต้อง คุณค่า ตลอดจนความหมายทแี่ ท้จรงิ ซ่ึงนบั ว่า มีความสาคัญต่อการประเมินหลักฐานที่เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร เพราะขอ้ มูลในเอกสารมีทั้งที่คลาดเคลือ่ น และมีอคติของผู้บันทึกแฝงอยู่ หากนักประวัติศาสตร์ละเลยการวิพากษ์ข้อมูลผลท่ีออกมาอาจจะ ผดิ พลาดจากความเป็นจริง ๓.๒ การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าหลักฐานจากภายนอกหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “การวิพากษ์หลักฐาน (external criticism)” เป็นการพิจารณาตรวจสอบหลักฐานที่ไดค้ ัดเลือกไวแ้ ตล่ ะ ชิน้ วา่ มีความนา่ เชอื่ ถอื เพยี งใด แต่เป็นเพียงการประเมินตวั หลักฐาน มิไดม้ ุ่งทีข่ ้อมูลในหลกั ฐาน ๔. การตีความและสังเคราะห์ข้อมูล เป็นการสรุปข้อเท็จจริงเพ่ือหาคาตอบด้วยการเลือกสรร ข้อเทจ็ จริงจากหลักฐาน เพ่ือจะนาเสนอส่วนใดบ้างและเพ่ิมเติมเนื้อหาสว่ นที่ขาดไปใหถ้ ูกต้องครบถ้วน ๕. การนาเสนอข้อมูล เป็นการนาเสนอเรื่องท่ีศึกษาอย่างสมเหตุสมผล โดยใช้ภาษาที่เข้าใจ งา่ ย มีความตอ่ เนื่อง มีการอ้างองิ ขอ้ เทจ็ จรงิ เพื่อให้ได้งานทางประวตั ิศาสตร์ที่มีคุณค่าและมีความหมาย
4. วิเคราะหข์ ้อมลู ในการศึกษา ๒๓ ตาราง ๑ แสดงการวเิ คราะห์ข้อมูลในการศึกษา ผลการดาเนนิ งาน วัตถปุ ระสงค์ เครื่องมือ ๑. ทาให้เกดิ ความรู้ ทใ่ี ช้ในการศึกษา เก่ยี วกับประวัติความ เป็นมาในอดีตของ ๑. เพ่ือศึกษาประวตั ิความ ๑. การสารวจ วดั วรนาถบรรพต อาเภอเมือง เปน็ มาของวดั วรนาถ ๒. การสืบคน้ จังหวัดนครสวรรค์ บรรพต ๓. การเผยแพร่ความรู้ ๒. ทาให้เกิดความรู้ เกย่ี วกบั หลกั ฐานทาง ๒. เพื่อศกึ ษาหลักฐานทาง ๔. การทาแบบสอบถาม ประวตั ิศาสตร์ท่ีสาคัญ ของวัดวรนาถบรรพต ประวัติศาสตร์ทีส่ าคญั ความคิดเหน็ อาเภอเมือง จงั หวัด นครสวรรค์ ของวัดวรนาถบรรพต ๓. ทาใหน้ ักเรยี นโรงเรยี น ๓. เพื่อเผยแพร่ความร้ใู ห้ เทศบาลวัดวรนาถ- บรรพตได้รับความรู้ เยาวชนร่นุ หลังใน เกดิ ความภาคภูมิใจ และเหน็ คณุ คา่ ของ ท้องถนิ่ ได้เกิดความ วดั วรนาถบรรพต อาเภอเมือง จงั หวัด ภาคภูมใิ จ และเห็น นครสวรรค์ คณุ คา่ ของ วัดวรนาถบรรพต
บทท่ี ๔ ผลการศกึ ษา ในการนาเสนอผลการศึกษา โครงงาน เรื่อง “เปิดกรุวัดวรนาถบรรพต ; วัดเก่าสมัยสุโขทัย” คณะผ้ศู ึกษาจงึ ลาดบั การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดงั ต่อไปน้ี การนาเสนอผลการศึกษา ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาประวัติความเปน็ มาของวดั วรนาถบรรพต ตอนที่ 2 ผลการศกึ ษาหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ทส่ี าคญั ของวดั วรนาถบรรพต ตอนท่ี 3 ผลการเพื่อเผยแพร่ความรู้ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพต ไดเ้ กดิ ความภาคภมู ใิ จ และเหน็ คณุ ค่าของวดั วรนาถบรรพต ตอนที่ 1 ผลการศกึ ษาประวัตคิ วามเปน็ มาของวัดวรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า วัดวรนาถบรรพต ต้ังเม่ือ พ.ศ. ๑๙๖๒ สันนิษฐานว่าวัดนี้สร้างข้ึนในสมัย สุโขทัย เนือ่ งจากพบหลักฐานทางประวัติในสมัยสุโขทัยปรากฏอยู่มายืนยัน ได้แก่ รอยพระพุทธบาทจาลอง บนยอดเขากบ เจดีย์ใหญ่ ทรงระฆังครอบ พระพุทธไสยาสน์ เจดีย์บรรจพุ ระบรมสารีรกิ ธาตุบนยอดเขากบ เป็นต้น ดงั ปรากฏในศลิ าจารึกสมัยสุโขทัย ๒ หลัก คอื หลักศลิ าจารกึ หลักท่ี ๒๐ ผู้คน้ พบ คอื พระเจ้าบรม วงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ ซ่ึงค้นพบเม่ือปลายปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ท่ียอดเขากบจากข้อความในศิลา จารึกหลักที่ ๒๐ ได้กล่าวถึงพญาบาลเมืองสร้างวัดเขากบ มีเจดีย์วิหารขุดตระพังปลูกบัวนานาพรรณเพ่ือ เป็นพุทธบูชา ปลูกต้นพระศรีมหาโพธ์ิ สร้างพุทธปฏิมาดูงามนักงามหนาในวิหาร เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ พญารามผู้น้องซ่งึ มาสนิ้ พระชนม์ลง ณ สถานที่แหง่ น้ี ซ่งึ ได้สน้ิ พระชนมใ์ นระหว่างทาศกึ สงครามกับหัวเมือง ฝา่ ยใต้ ปัจจบุ ันวัดวรนาถบรรพต พระอารามหลวง (วัดกบ) เป็นพระอารามหลวง ช้นั ตรี ชนดิ สามญั ต้ังอยู่ เลขที่ ๑๘๘ ถนนธรรมวิถี ตาบลปากน้าโพ อาเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ต้ังวัดเมื่อวันท่ี ๒๑ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระอารามหลวง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๔ แต่เนื่องจากวัดวรนาถบรรพต หรือวัดเขากบเป็นวัดเก่าแก่สมัยสุโขทัย และเคยเป็น วัดร้างมานานจนในปี พ.ศ. ๒๔๑๕ หลวงพ่อทองได้เดินธุดงค์จากจังหวัดอุตรดิตถ์ผ่านมาพบเห็นสภาพวัด เขากบเป็นวัดร้าง ท่านได้รับการขอร้องจากชาวบ้าน และนิมนต์ให้อยู่บูรณะวัดร้างมาเป็นวัดที่มีพระสงฆ์ ขึ้นมาอีกคร้ังหนึ่ง ต่อมาคณะสงฆ์ได้ส่งพระสมุห์ทองใบ (พระครูนิวิฐธรรมคุณ) มาช่วยเหลือหลวงพ่อและ ได้รบั แต่งต้งั เป็นเจ้าอาวาสสืบต่อมาต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๔๘๕ ถงึ พ.ศ.๒๕๐๖ เมื่อพระครูนิวิฐธรรมคุณ (ทองใบ) มรณภาพลง คณะสงฆ์จังหวดั นครสวรรคจ์ ึงไดแ้ ต่งต้ังใหพ้ ระมหาวศิ ิษฏ์ ปญฺญาปโชโต ป.ธ.๖ วดั นครสวรรค์ มาดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ จนถึง พ.ศ. 2555 ด้วยพระเดชพระคุณได้รับ พระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชัน้ เทพในราชทินนามท่ี “พระเทพญาณมุนี” รองเจ้าคณะภาค ๔ นับต้ังแต่พระเดชพระคุณมาเป็นเจ้าอาวาสได้บูรณปฏิสังขรณ์จนวัดวรนาถบรรพต ได้รับคัดเลอื กให้เป็นวัด พัฒนาตัวอย่างของกรมการศาสนา เม่ือ พ.ศ.๒๕๐๙ และได้รับการคัดเลือกให้เป็นวัดพัฒนาดีเด่น โดยได้ รับประทานพัดพัฒนาและประกาศนียบัตรจากสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๓ และปัจจุบันน้ีพระราชรัตนเวที (ประเสรฐิ โชติธมฺโม ป.ธ.๗, ดร.) เป็นเจ้าอาวาสวดั วรนาถบรรพต พระอารามหลวง ตัง้ แต่ พ.ศ. 2555 – ปัจจุบนั
๒๕ ตอนที่ 2 ผลการศึกษาหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ ่สี าคญั ของวัดวรนาถบรรพต จากการวิเคราะห์และประเมินคณุ ค่าของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีสาคัญของวัดวรนาถบรรพต พบวา่ มีความนา่ เชือ่ ถอื อยู่ในระดบั มาก ผู้ศกึ ษาจึงนาเสนอผลการศึกษาหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ที่สาคัญ ของวัดวรนาถบรรพต ดังนี้ ๑. ศิลาจารึกวัดเขากบ ผลการศึกษา พบว่า ศิลาจารึกวัดเขากบหลักนี้ได้มีผู้ค้นพบ คือ สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงได้มาจากบนเขากบท่ีเหนือปากน้าโพทางฝั่งตะวันตก ใกล้กับรอยพระพุทธบาทของพระธรรมราชาที่ ๑ ใจความในศิลาจารกึ กล่าวถึงพญาธรรมิกราช คือ พระเจ้า ลิไทแห่งกรุงสุโขทัยได้นาเอารอยพระพุทธบาทจาลองท่ีได้มาจากลังกาทวีป มาประดิษฐานไว้บนยอดเขา ปากพระบาง ตามหลักฐานในศิลาจารึก เร่ิมคร้ังแรกเม่ือปี พ.ศ. ๑๙๐๒ โดยพระเจ้าลิไท กษัตริย์องค์ท่ี ๕ แห่งราชวงศ์สโุ ขทัยทรงเอาอย่างคติเมืองลังกาทวปี รอยพระพุทธบาทจาลองที่พระเจ้าลิไทนามาในสมัยนั้น เป็นรอยพระพุทธ-บาทท่ีทางลังกาทวีปไดส้ ่งมาเป็นบรรณาการแก่กรุงสุโขทยั ที่ไดจ้ ัดสง่ พระสงฆ์ไทยไปเผย แผ่พระพุทธศาสนาและได้ต้ังนิกายสยามวงศ์ขึ้นท่ีลังกาสมัยน้ัน รอยพระพุทธบาทจาลองท่ีส่งมามี ๒ รอย ด้วยกัน คือรอยซ้ายประดิษฐานไว้ท่ียอดเขาปากพระบางคือเขากับ นครสวรรค์ รอยขวานาข้ึนไปยังเมือง สโุ ขทัย ประดิษฐานไวท้ ี่วัดตระพังทอง ซ่ึงยงั คงมีหลักฐานปรากฏอยู่ในปัจจบุ ันนี้ก็เป็นหลักฐานอีกทางหนึ่ง อย่างไรก็ตามรอยพระพุทธบาทจาลองบนยอดเขากบก็ถือว่าเป็นสมบัติอันล้าค่าของวัดและของชาวจังหวัด นครสวรรค์ ๒. เจดีย์แบบทรงสุโขทัยของวัดวรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบวา่ เจดีย์ใหญ่วัดวรนาถบรรพต สันนิษฐานตามศิลาจารึกของพระเจ้าลิไท เร่ืองสร้างพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ โดยมีความเช่ือว่า พระบรมสารีริกธาตุหาได้ในลังกาทวีป จึงสร้างเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ให้บุคคลได้พากันมากราบ ไหว้บูชา เจดีย์ท่ีสร้างสมัยสุโขทัย ถ้าพิจารณาโดยรูปลักษณ์สัญฐานแล้วทาอย่างพระสถูปลังกาแทบทั้งส้ิน ดังเจดีย์ใหญ่วัดวรนาถบรรพต ซ่ึงสร้างรูปแบบเจดีย์ทรงระฆังครอบ เจดีย์แบบนี้ท่ีฐานทาเป็นเหลี่ยมสูงขึ้น ไปถึงตอนท่ีคล้ายระฆังเป็นบัลลังก์เสาหาน บัวถลา และปล้องไฉน ที่ปล้องไฉนทาเป็นวงแหวนซ้อนรวมกัน สูงขึ้นไปยอดแหลมเจดีย์แบบนี้คาดกันว่าได้แบบอย่ามาจากลังกา ซึ่งสร้างกันในสมัยสุโขทัยเพ่ือให้เป็น สัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนา และถือว่าเป็นธรรมเนียมประเพณีการสร้างเจดีย์สืบทอดกันมาจนถึง ปัจจุบันน้ี เจดีย์ใหญ่วัดวรนาถบรรพต มีขนาดฐานกว้างด้านละ ๓o เมตร สูงจากรากฐานถึงยอดเจดีย์ ประมาณ ๓๕ เมตร เป็นเจดีย์เก่าสมัยสุโขทัยท่ีทางกรมศิลปากรได้ข้ึนทะเบียนเป็นโบราณวัตถุเรียบร้อย แล้ว ๓. วิหารพระพุทธไสยาสน์ของวัดวรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า วิหารพระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) เป็นปูชนียวัตถุท่ีสร้างในสมัยสุโขทัยตั้งอยู่ติดกับเจดีย์องค์ใหญ่สมัยสุโขทัยภายในบริเวณ วดั วรนาถบรรพต พระพทุ ธไสยาสน์ (พระนอน) องคน์ ี้เปน็ ปชู นียวัตถทุ ีล่ ่าค่ามคี วามสวยงามมากมีความยาว ถึง ๑o วาเศษ เป็นของเก่าที่ศักด์ิสิทธิ์ และมีอภินิหารเป็นท่ีเคารพเล่ือมใสของสาธุชนทั่วไป แต่เน่ืองจาก วิหารพระพุทธไสยาสน์เดิมได้ชารุดทรุดโทรมและเล็กแคบไม่เหมาะสม พระเดชพระคุณพระราชพรหมา- ภรณ์รองเจ้าคณะภาค ๔ เจ้าอาวาสวัดวรนาถบรรพต พระอารามหลวง จงึ ได้บูรณปฏิสังขรณ์วิหารใหก้ ว้าง สวยงามจัดบริเวณให้สะอาดร่มร่ืนเหมาะแก่การท่ีสาธุชนโดยท่ัวไปจะเข้าไปบาเพ็ญกุศล พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) น้ีกรมศลิ ปากรข้ึนทะเบยี นเปน็ โบราณวตั ถแุ ลว้
๒๖ ๔. รอยพระพุทธบาทจาลองข้างซ้ายของวัดวรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า การสร้างรอย พระพทุ ธบาทจาลองท่ีเกิดขน้ึ ในอาณาจักรสุโขทยั ตามหลักฐานในศิลาจารกึ เรม่ิ ครง้ั แรกเมื่อปี พ.ศ. ๑๙๐๒ ใจความในศิลาจารึกที่ ๒๑ กล่าวถึง พระเจ้าลิไทแห่งกรุงสุโขทัยได้นาเอารอยพระพุทธบาทจาลองท่ีได้มา จากลังกาทวีป มาประดิษฐานไว้บนยอดเขาปากพระบาง คือ ยอดเขากบ จังหวัดนครสวรรค์ สาหรับเรื่อง รอยพระพุทธบาทนี้ ชาวลังกาอธิบายตานานมีอยู่ในเรื่องมหาวงศ์ว่า คร้ังหนึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จไปยังลังกา ทวีปทรงสั่งสอนพวกชาวเกาะจนเกิดความเลื่อมใส แล้วจะเสด็จกลับไปยังมัชฌิมประเทศจึงทาปาฏิหาริย์ เหยียบรอยพระพทุ ธบาทประดิษฐานไว้บนยอดเขา สาหรบั ให้ชาวลงั กาบชู าตา่ งพระองค์ ตอนท่ี 3 ผลการเพ่อื เผยแพรค่ วามรู้ให้นกั เรยี นกลมุ่ ตัวอย่างโรงเรียนเทศบาล วัดวรนาถบรรพตไดเ้ กิดความภาคภูมใิ จ และเหน็ คณุ คา่ ของวัดวรนาถบรรพต ๑. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียน โรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพต ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๕ จานวน 9๙ คน ดังรายละเอยี ดในตาราง ๒ ตาราง ๒ แสดงจานวนและร้อยละสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ขอ้ มูลทั่วไป n = 9๙ จานวนคน ร้อยละ 1. เพศ - ชาย ๕๕ 5๕.๕๕ - หญิง 4๔ ๔๔.๔5 9๙ 100 รวม 2. ระดบั ช้นั - ม.1/1 3๓ ๓๓.๓ - ม.1/2 3๗ 3๗.๔ - ม.1/3 2๙ 2๙.๓ 9๙ 100 รวม จากตาราง ๒ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพต ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ มีจานวนทั้งสิ้น 9๙ คน 1) ด้านเพศ พบวา่ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 5๕.๕๕ และเพศหญิง คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๔.๔5 2) ดา้ นระดับชั้น พบว่า - นกั เรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1/1 คดิ เป็นร้อยละ ๓๓.๓ - นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1/2 คิดเป็นร้อยละ 3๗.๔ - นกั เรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1/3 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2๙.๓
๒๗ ๒. ผลวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต 3 ด้าน นามาหา ค่าเฉล่ีย ( ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังรายละเอียดใน ตาราง ๓ โดยใช้เกณฑใ์ นการวเิ คราะหแ์ ละแปลขอ้ มลู ดงั น้ี คา่ เฉลยี่ 4.51 –5.00 หมายถึง ระดับความคดิ เหน็ มากทสี่ ดุ ค่าเฉล่ีย 3.51 –4.50 หมายถึง ระดบั ความคดิ เห็นมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 –3.50 หมายถึง ระดบั ความคดิ เหน็ ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 –2.50 หมายถึง ระดบั ความคดิ เหน็ น้อย ค่าเฉลย่ี 1.00 –1.50 หมายถึง ระดับความคดิ เห็นนอ้ ยทีส่ ุด ตาราง ๓ แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับการศึกษาประวัติความ เป็นมาของวัดวรนาถบรรพ โดยภาพรวม หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์เกี่ยวกับ n = 9๙ แปลผล ประวตั คิ วามเปน็ มาของวัดวรนาถบรรพต S.D. 1. ดา้ นประวตั ศิ าสตร์ 4.00 0.89 มาก 2. ดา้ นหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 3.96 0.88 มาก 3. ด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ความ 3.96 0.92 มาก เปน็ มาของวดั วรนาถบรรพต รวม 3.97 0.90 มาก จากตาราง ๓ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากทุกด้าน ( = 3.97) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า โดยระดับมากอันดับ แรก ได้แก่ ด้านประวัติศาสตร์ ( = 4.00) รองลงมาด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และด้านหลักฐาน ทางประวตั ศิ าสตร์ความเป็นมาของวดั วรนาถบรรพต ( = 3.96) ตามลาดับ ตาราง ๔ แสดงคา่ เฉลีย่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของการวิเคราะหข์ อ้ มูลเก่ียวกับการศกึ ษาประวัตคิ วาม เปน็ มาของวัดวรนาถบรรต ด้านประวตั ิศาสตร์ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรเ์ กีย่ วกับ n = 9๙ แปลผล ประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต S.D. ด้านประวัติศาสตร์ 1. เป็นเรอื่ งราวท่ีเกดิ ข้ึนในอดตี ของสงั คมมนุษย์ 4.07 0.82 มาก 2. เป็นเรื่องราวอันสืบเน่ืองมาจากพฤติกรรม 3.90 0.86 มาก ของมนุษย์และมีผลมาถึงสังคมมนุษย์โดย สว่ นรวม
๒๘ ตาราง ๔ (ต่อ) แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการศึกษาประวัติ ความเปน็ มาของวัดวรนาถบรรต ด้านประวัตศิ าสตร์ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์เกย่ี วกับ n = 9๙ แปลผล ประวัตคิ วามเปน็ มาของวดั วรนาถบรรพต S.D. 3. เป็นเรื่องราวที่มนุษย์ในอดีตได้ทิ้งร่องรอย 4.04 0.90 มาก และหลักฐานไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศกึ ษา 3.99 มาก 4. เป็นเรื่องราวที่ทาให้คนในยุคปัจจุบันเกิด 0.98 ความเข้าใจเหตุการณ์ในอดีตซึ่งควรแก่การ นามาศึกษา รวม 4.00 0.89 มาก จากตาราง ๔ พบว่า การศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพ ด้านประวัติศาสตร์อยู่ใน ภาพรวมในระดับมาก ( = 4.00) เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า ข้อที่มีรายเฉลี่ยสูงสุด คือ ข้อที่ 1 เป็น เร่ืองราวที่เกิดข้ึนในอดตี ของสงั คมมนษุ ย์ ( = 4.07) รองลงมา คอื ขอ้ ท่ี ๓ เป็นเรือ่ งราวทม่ี นษุ ย์ในอดีตได้ ท้ิงร่องรอยและหลักฐานไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา ( = 4.๐4) ส่วนข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ข้อที่ ๒ เป็น เรื่องราวอันสบื เนื่องมาจากพฤตกิ รรมของมนุษย์และมีผลมาถงึ สงั คมมนุษยโ์ ดยสว่ นรวม ( = ๓.๙๐) ตาราง ๕ แสดงค่าเฉลยี่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของการวเิ คราะห์ข้อมูลเกยี่ วกบั การศกึ ษาประวัติความ เป็นมาของวดั วรนาถบรรพ ดา้ นหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์เก่ียวกับ n = 9๙ แปลผล ประวัติความเปน็ มาของวัดวรนาถบรรพต S.D. ด้านหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ 5. เปน็ รอ่ งรอยการกระทาของมนุษย์ในอดีต 3.86 0.89 มาก 6. เป็นสิ่งท่ีนามาใช้เพ่ือศึกษาหาความจริงท่ี 4.06 0.87 มาก เกิดขึ้นในอดีตต้องอาศัยเครื่องมือเคร่ืองใช้ โดยอาศัยการสังเกต จดจา บันทึก หรือเล่า สบื ต่อกันไว้ รวม 3.96 0.88 มาก จากตาราง ๕ พบว่า การศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพ ด้านหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ อยู่ในภาพรวมในระดับมาก ( = 3.96) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ข้อท่ีมีรายเฉล่ียสูงสุด คือ ข้อที่ 6 เป็นส่ิงที่นามาใช้เพื่อศึกษาหาความจริงที่เกิดข้ึนในอดีตต้องอาศัยเครื่องมือเคร่ืองใช้โดยอาศัย การสังเกต จดจา บันทึก หรือเล่าสืบต่อกันไว้ ( = 4.๐๖) รองลงมา คือ ข้อที่ 5 เป็นร่องรอยการกระทา ของมนุษย์ในอดตี ( = ๓.๘๖) ตามลาดับ
๒๙ ตาราง ๖ แสดงคา่ เฉล่ยี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการวเิ คราะห์ข้อมลู เกย่ี วกบั การศกึ ษาประวัติความ เปน็ มาของวดั วรนาถบรรพ ดา้ นหลักฐานทางประวัติศาสตรค์ วามเป็นมาของวดั วรนาถบรรพต หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรเ์ กีย่ วกับ n = 9๙ แปลผล ประวตั ิความเปน็ มาของวดั วรนาถบรรพต S.D. ด้านหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ความเปน็ มาของ วดั วรนาถบรรพต ศลิ าจารึก 7. เป็นรอ่ งรอยการกระทาของมนุษย์ในอดีต 3.99 0.93 มาก 8. เป็นหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์เน่ืองจากมีการใช้ 4.04 0.๘๔ มาก ตัวอักษรบนั ทึกเรือ่ งราวเหตกุ ารณต์ ่างๆ ไว้ 9. เป็ น ห ลั กฐ าน ชั้ น ต้น ห รือ ขั้น ป ฐม ภู มิ (Primary 3.79 ๑.๐๔ มาก sources) ท่ีมีการบันทึกหรือคาบอกเล่าของผู้พบเห็น เหตกุ ารณ์หรือผู้ที่เกยี่ วขอ้ งกับเหตกุ ารณ์โดยตรง เจดยี แ์ บบทรงสุโขทยั ของวดั วรนาถบรรพต 10. เป็ น ห ลั ก ฐ าน ท างป ระ วัติ ศ าส ต ร์ช้ั น ต้ น ห รือ 3.89 0.96 มาก ข้ั น ป ฐ ม ภู มิ (Primary sources) ซ่ึ งเกี่ ย ว ข้ อ งกั บ เหตุการณโ์ ดยตรง 11.กอ่ สรา้ งขึ้นเพ่ือบรรจุอฐั ธิ าตุ และเป็นที่เคารพบูชาระลึก 3.99 0.97 มาก ถงึ พระพุทธเจ้า เป็นเจดีย์ทรงระฆังหรือดอกบัวคว่า มีลักษณะมีรูปทรง 4.06 0.92 มาก สูงสวยงาม มีการประดษิ ฐฐ์ านสงู ซอ้ นกันหลายชนั้ วิหารและพระนอนใหญ่ของวดั วรนาถบรรพต 12.เป็ น ห ลั ก ฐ าน ท างป ระ วั ติ ศ าส ต ร์ชั้ น ต้ น ห รื อ 4.07 0.77 มาก ขน้ั ปฐมภูมิ (Primary sources) 13.เป็นพระพุทธรูปปางนอนอยู่ในพระอิริยาบถนอน 4.08 0.92 มาก ตะแคงข้างขวา หลับพระเนตร พระเศียรหนุนพระเขนย พระหัตถ์ ซ้ายทอดทาบไปตามพระกายเบื้องซ้าย พระ หัตถ์ขวาหงายวาง อยู่ท่ีพ้ืนข้างพระเขนย พระบาทท้ัง ๒ ตง้ั ซ้อนกนั 14.เป็นปูชนียวตั ถุท่ีล่าคา่ มีความสวยงามมากมีความยาวถึง 3.82 0.91 มาก ๑o วาเศษ ก่อสร้างข้ึนเพื่อเป็นท่ีเคารพเลื่อมใสของ สาธุชนทั่วไป
๓๐ หลักฐานทางประวัตศิ าสตรเ์ กย่ี วกับ n = 9๙ แปลผล ประวัตคิ วามเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต S.D. ด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ความเป็นมาของ 3.97 0.93 มาก วดั วรนาถบรรพต (ตอ่ ) 15.เป็นพระพุทธรูปในสมัยสุโขทัยเก่ียวข้องกับ พระพุทธศาสนาแบบเถรวาทที่รับอิทธิพลมา จากลังกาและพมา่ ด้านรอยพระพทุ ธบาทจาลองขา้ งซา้ ยของ วัดวรนาถบรรพต 3.89 0.96 มาก 3.91 0.89 มาก 16.เป็ น รอ ย เท้ าข อ งพ ระ พุ ท ธ เจ้ าใช้ เป็ น สัญลักษณ์แทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจา้ ก่อนทจ่ี ะมกี ารสรา้ งพระพทุ ธรูป 17.เกิดข้ึนในสมัยกรุงสุโขทัยเนื่องจากลังกาทวีป ได้ส่งรอยพระพุทธบาทจาลองท้ังสิ้น ๒ รอย ด้วยกันมาเป็นบรรณาการแด่พระเจ้าลิไท โดยรอยซ้ายประดิษฐานไว้ที่ยอดเขาปากพระ บาง คือเขากบ นครสวรรค์ รอยขวานาขึ้นไป ยังเมืองสุโขทัย ประดิษฐานไว้ท่ีวัดตระพัง ทอง รวม 3.96 0.92 มาก จากตาราง ๖ พบว่า การศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพ ด้านหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต อยู่ในภาพรวมในระดับมาก ( = 3.96) เมื่อพิจารณา รายข้อพบวา่ ข้อท่ีมรี ายเฉลย่ี สูงสุด คือ ข้อท่ี ๑๔ เป็นพระพุทธรูปปางนอนอยู่ในพระอิริยาบถนอน ตะแคง ข้างขวา หลับพระเนตร พระเศียรหนุนพระเขนย พระหัตถ์ ซ้ายทอดทาบไปตามพระกายเบื้องซ้าย พระ หัตถ์ขวาหงายวาง อยู่ที่พื้นข้างพระเขนย พระบาททั้ง ๒ ต้ังซ้อนกัน ( = 4.08) รองลงมา คือ ข้อท่ี 1๓ เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ช้ันต้น หรือข้ันปฐมภูมิ (Primary sources) ( = 4.0๗) ส่วนข้อท่ีมี ค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ข้อที่ ๙ เป็นหลักฐานช้ันต้น หรือขั้นปฐมภูมิ (Primary sources) ท่ีมีการบันทึกหรือคา บอกเล่าของผ้พู บเห็นเหตกุ ารณ์หรือผ้ทู เี่ ก่ยี วข้องกบั เหตุการณ์โดยตรง ( = 3.79)
๓๑ ๓. ผลวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ 2 ด้าน นามาหาค่าเฉล่ีย ( ) และ ค่าความเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังรายละเอียดในตาราง ๗ โดยใช้เกณฑ์ ในการวิเคราะห์และแปลข้อมูล ดังน้ี คา่ เฉลี่ย 4.51 –5.00 หมายถึง ระดบั ความคดิ เห็นมากทีส่ ุด ค่าเฉลี่ย 3.51 –4.50 หมายถึง ระดับความคิดเหน็ มาก ค่าเฉลย่ี 2.51 –3.50 หมายถงึ ระดับความคดิ เห็นปานกลาง คา่ เฉลย่ี 1.51 –2.50 หมายถงึ ระดบั ความคิดเห็นนอ้ ย ค่าเฉลี่ย 1.00 –1.50 หมายถึง ระดับความคิดเหน็ น้อยทสี่ ดุ ตาราง ๗ แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการศึกษา วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ โดยภาพรวม การศึกษาวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ n = 9๙ แปลผล S.D. 1. ดา้ นความหมายของวิธีการ 4.05 0.86 มาก ประวตั ิศาสตร์ 4.01 0.82 มาก 2. ด้านขน้ั ตอนวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ รวม 4.03 0.84 มาก จากตาราง ๗ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากทกุ ด้าน ( = 4.03) เมอ่ื พิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ โดยระดบั มากอนั ดับแรก ได้แก่ ด้าน ความหมายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ( = 4.๐๕) รองลงมาด้านข้ันตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ ( = 4.0๑) ตามลาดบั ตาราง ๘ แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการศึกษาวิธีการทาง ประวตั ศิ าสตร์ ด้านความหมายของวิธีการประวัติศาสตร์ การศกึ ษาวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ n = 9๙ แปลผล S.D. ด้านความหมายของวธิ ีการประวตั ศิ าสตร์ 1. เป็นกระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริง 4.10 0.๙๐ มาก ทางประวัติศาสตร์ซ่ึงเกิดจากวิธีวิจัยเอกสาร 3.99 0.๘๑ มาก เพ่ือให้ได้มาซ่ึงองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ บนพ้ืนฐานความเป็นเหตเุ ป็นผล 2. เป็นการวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆอย่างเป็น ระบบ รวม 4.05 0.86 มาก
๓๒ จากตาราง ๘ พบว่า การศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ ด้านความหมายของวิธีการ ประวัติศาสตร์อยใู่ นภาพรวมในระดับมาก ( = 4.05) เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า ขอ้ ท่ีมรี ายเฉลย่ี สูงสุด คือ ข้อท่ี 1 เป็นกระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ซ่ึงเกิดจากวิธีวิจัยเอกสาร เพื่อให้ ได้มาซึ่งองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ บนพ้ืนฐานความเป็นเหตุเป็นผล ( = 4.10) รองลงมา คือ ข้อที่ 2 เปน็ การวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ต่างๆอยา่ งเปน็ ระบบ ( = 3.99) ตามลาดบั ตาราง ๙ แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาวิธีการทาง ประวัตศิ าสตร์ ดา้ นขั้นตอนวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ การศึกษาวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ n = 9๙ แปลผล S.D. ด้านขั้นตอนวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ การกาหนดหวั ขอ้ 3. เป็นการกาหนดปัญหา หรือสมมตฐิ าน 3.96 0.92 มาก 4. เป็นการกาหนดเป้าหมายหรือประเด็นคาถามท่ี 3.85 0.91 มาก ต้องการศึกษา ในขอบเขตของคาถามเก่ียวกับ การศึกษาอะไร ช่วงเวลาไหน สมยั ใด เพราะเหตใุ ด การแสวงหาความรู้ 5. เปน็ การรวบรวมหลักฐานประเภทต่างๆ 3.90 0.93 มาก 3.89 0.93 มาก 6. เป็นการรวบรวมหลักฐานท้ังท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรและ ไม่เป็นลายลกั ษณ์อักษร ซง่ึ ได้แก่ วัตถุโบราณ ร่องรอยถ่ิน ที่อยูอ่ าศยั หรอื การดาเนนิ ชีวิต การวเิ คราะห์และประเมนิ คณุ ค่าของหลักฐาน 7. เปน็ การตรวจสอบ ประเมินคา่ ความนา่ เชื่อถือของ 4.17 0.67 มาก หลักฐาน 4.26 0.56 มาก 8. เปน็ การตคี วามหลักฐานอยา่ งเปน็ เหตุเปน็ ผล มคี วามเป็นกลาง และปราศจากอคติ การตคี วามและสังเคราะห์ขอ้ มูล 9. เป็นการสรุปข้อเท็จจริงเพอื่ หาคาตอบ ดว้ ยการเลือกสรร 4.01 0.83 มาก ขอ้ เทจ็ จริงจากหลกั ฐานอย่างเครง่ ครดั โดยไม่ใชค้ า่ นยิ ม ของตนเอง ไปตดั สนิ พฤติกรรมของคนในอดตี โดย พยายามเขา้ ใจความคิดของคนในยุคนั้น
๓๓ การศกึ ษาวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ n = 9๙ แปลผล S.D. ดา้ นข้นั ตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ (ตอ่ ) การนาเสนอข้อมูล 10.เป็นการเสนอเรื่องที่ศึกษาอย่างน่าสนใจ อธิบายอย่าง 4.01 0.89 มาก สมเหตุสมผล โดยใช้ภาษาท่ีเข้าใจงา่ ย มีความต่อเนื่อง มี ก า ร อ้ า ง อิ ง ข้ อ เท็ จ จ ริ ง เพื่ อ ให้ ได้ ง า น ท า ง ประวตั ศิ าสตรท์ ี่มคี ณุ ค่าและมคี วามหมาย รวม 4.01 0.82 มาก จากตาราง ๙ พบว่า การศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ ด้านขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์อยู่ ในภาพรวมในระดับมาก ( = 4.01) เม่ือพิจารณา รายข้อพบว่า ข้อท่ีมีรายเฉล่ียสูงสุด คือ ข้อท่ี ๘ เป็น การตีความหลักฐานอย่างเป็นเหตุเป็นผล มีความเป็นกลาง และปราศจากอคติ ( = 4.26) รองลงมา คือ ข้อท่ี ๗ เป็นการตรวจสอบ ประเมินค่าความน่าเช่ือถือของหลักฐาน ( = 4.17) ส่วนข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ข้อท่ี 4 เป็นการกาหนดเป้าหมายหรือประเด็นคาถามที่ต้องการศึกษา ในขอบเขตของคาถามเกี่ยวกับ การศึกษาอะไร ช่วงเวลาไหน สมยั ใด เพราะเหตใุ ด ( = 3.85)
บทที่ ๕ สรุปผลและอภิปรายผล จากการศึกษาโครงงานคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถ- บรรพต, เพ่ือศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทีส่ าคัญของวัดวรนาถบรรพต และเพ่ือเผยแพร่ความรใู้ ห้ นักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพตได้เกิดความภาคภูมิใจ และเห็นคุณค่าของวัดวรนาถบรรพต เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนี้ จาแนกเป็น การสารวจ การสืบค้น การเผยแพร่ความรู้ และการทา แบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับโครงงาน เรื่อง “เปิดกรุวัดวรนาถบรรพต ; วัดเก่าสมัยสุโขทัย” คณะผศู้ ึกษาสามารถสรุปผลและอภิปรายผลไดด้ งั นี้ สรุปผลและอภิปรายผล ในการศึกษาโครงงานนี้มีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรยี นโรงเรยี นเทศบาลวัดวรนาถบรรพต ระดับชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖๕ จานวน 9๙ คน คณะผู้จัดทาสามารถสรปุ ผลการศกึ ษาได้ดงั น้ี สรุปผลการศกึ ษา ๑. การศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า วัดวรนาถ บรรพต ต้ังเมื่อ พ.ศ. ๑๙๖๒ สันนิษฐานว่า “วัดน้ีสร้างข้ึนในสมัยสุโขทัย” เน่ืองจากพบหลักฐานทาง ประวัติในสมัยสุโขทัยปรากฏอยู่มายนื ยัน ได้แก่ รอยพระพุทธบาทจาลองบนยอดเขากบ, เจดียใ์ หญ่ทรง ระฆงั ครอบ, พระพุทธไสยาสน์ และเจดีย์บรรจพุ ระบรมสารรี ิกธาตุบนยอดเขากบ เป็นต้น นอกจากนี้ยัง พบศิลาจารึกสมัยสุโขทยั ๒ หลกั คือ หลักศลิ าจารกึ หลักท่ี ๒๐ และ หลักศิลาจารกึ หลักที่ ๒1 ผู้ค้นพบ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพได้กล่าวถึงพญาบาลเมืองสร้างวัดเขากบมีเจดีย์ วิหารขุดตระพังปลูกบัวนานาพรรณเพ่ือเป็นพุทธบูชาปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ในรามอาวาส สร้างพุทธ ปฏิมาดูงามนักงามหนาในวิหาร เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่พญารามผู้น้องซงึ่ มาส้ินพระชนม์ลง ณ สถานท่ี แห่งน้ี ซ่ึงไดส้ นิ้ พระชนมใ์ นระหวา่ งทาศึกสงครามกับหัวเมืองฝ่ายใต้ ๒. การศึกษาหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ท่ีสาคัญของวดั วรนาถบรรพต จาแนกเป็น ๒.๑ ศิลาจารกึ วัดเขากบ ผลการศึกษา พบว่า ศลิ าจารกึ วัดเขากบหลักน้ี สมเดจ็ พระเจ้า บรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพทรงได้มาจากบนเขากบที่เหนือปากน้าโพทางฝ่ังตะวันตก ใกล้ กับรอยพระพุทธบาทของพระธรรมราชาท่ี ๑ ใจความในศิลาจารึกกล่าวถึงพระเจ้าลิไทแห่งกรุงสุโขทัย ได้นาเอารอยพระพุทธบาทจาลองที่ได้มาจากลังกาทวปี มาประดิษฐานไว้บนยอดเขาปากพระบาง ตาม หลักฐานในศิลาจารึก เริ่มคร้ังแรกเม่ือปี พ.ศ. ๑๙๐๒ โดยพระเจ้าลิไทกษัตริย์องค์ท่ี ๕ แห่งราชวงศ์ สุโขทัยทรงเอาอยา่ งคติเมืองลังกาทวีป รอยพระพุทธบาทจาลองที่พระเจ้าลิไทนามาในสมัยน้ัน เป็นรอย พระพุทธบาทที่ทางลังกาทวีปได้ส่งมาเป็นบรรณาการแก่กรุงสุโขทัย ที่ได้จัดส่งพระสงฆ์ไทยไปเผยแผ่ พระพุทธศาสนาและได้ตั้งนิกายสยามวงศ์ข้ึนที่ลังกาสมัยน้ัน รอยพระพุทธบาทจาลองที่ส่งมามี ๒ รอย ด้วยกัน คือรอยซ้ายประดิษฐานไว้ท่ียอดเขาปากพระบางคือเขากับ นครสวรรค์ รอยขวานาข้ึนไปยัง เมืองสุโขทัย ประดิษฐานไว้ที่วัดตระพังทอง ซ่ึงยังคงมีหลักฐานปรากฏอยู่ในปัจจุบันน้ีก็เป็นหลักฐานอีก ทางหน่ึง
๓๕ ๒.๒ เจดีย์แบบทรงสุโขทัยของวัดวรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า เจดีย์ใหญ่วัด วรนาถบรรพต สันนิษฐานตามศิลาจารึกของพระเจ้าลิไท เรื่องสร้างพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ โดยมีความเชื่อว่าพระบรมสารีริกธาตุหาได้ในลังกาทวีป จึงสร้างเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ให้ บคุ คลได้พากันมากราบไหว้บูชา เจดยี ์ท่ีสรา้ งสมยั สโุ ขทัย ถา้ พิจารณาโดยรูปลักษณ์สญั ฐานแล้วทาอย่าง พระสถูปลงั กาแทบทง้ั ส้ิน เปรยี บเสมือนเจดยี ์ใหญ่วัดวรนาถบรรพตซึ่งสร้างรปู แบบเจดียท์ รงระฆังครอบ เจดีย์แบบนี้ท่ีฐานทาเป็นเหลี่ยมสูงขึ้นไปถึงตอนท่ีคล้ายระฆังเป็นบัลลงั ก์เสาหาน บัวถลาและปล้องไฉน ท่ีปล้องไฉนทาเป็นวงแหวนซ้อนรวมกันสูงขึ้นไปยอดแหลมเจดีย์แบบนี้คาดกันว่าได้แบบอย่า มาจาก ลังกา ซ่ึงสร้างกันในสมัยสุโขทัยเพื่อให้เป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนา และถือว่าเป็นธรรมเนียม ประเพณีการสร้างเจดีย์สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันน้ี เจดีย์ใหญ่วัดวรนาถบรรพตเป็นเจดีย์เก่าสมัย สโุ ขทยั ทท่ี างกรมศิลปากรไดข้ ึน้ ทะเบยี นเปน็ โบราณวัตถุเรยี บร้อยแลว้ ๒.๓ วิหารพระพุทธไสยาสน์ของวัดวรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า วิหารพระพุทธ ไสยาสน์เป็นปูชนียวัตถุที่สร้างในสมัยสุโขทัยตั้งอยู่ติดกับเจดีย์องค์ใหญ่สมัยสุโขทัยภายในบริเวณวัด วรนาถบรรพต โดยพระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) น้กี รมศิลปากรข้ึนทะเบยี นเป็นโบราณวตั ถแุ ลว้ ๒.๔ รอยพระพุทธบาทจาลองข้างซ้ายของวัดวรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า การ สร้างรอยพระพุทธบาทจาลองท่ีเกิดข้นึ ในอาณาจักรสุโขทัย ตามหลักฐานในศิลาจารึก เริ่มครงั้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ. ๑๙๐๒ ใจความในศิลาจารึกที่ ๒๑ กล่าวถึง พระเจ้าลิไทแห่งกรุงสุโขทัยได้นาเอารอยพระพุทธ บาทจาลองที่ได้มาจากลังกาทวีป มาประดิษฐานไว้บนยอดเขาปากพระบาง คือ ยอดเขากบ จังหวัด นครสวรรค์ สาหรับเรื่องรอยพระพุทธบาทน้ี ชาวลังกาอธิบายตานานมีอยู่ในเรื่องมหาวงศ์ว่า ครั้งหน่ึง พระพุทธเจ้าเสด็จไปยังลังกาทวีปทรงสั่งสอนพวกชาวเกาะจนเกิดความเลื่อมใส แล้วจะเสด็จกลับไป ยังมัชฌิมประเทศจึงทาปาฏิหาริย์เหยียบรอยพระพุทธบาทประดิษฐานไว้บนยอดเขา สาหรับให้ชาว ลังกาบชู าต่างพระองค์ ๓. การเผยแพร่ความรู้ให้นักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพตได้เกิดความภาคภูมใิ จ และเห็นคุณค่าของวัดวรนาถบรรพต ผลการศึกษา พบว่า การเผยแพร่ความรู้ให้นักเรียนโรงเรียน เทศบาลวัดวรนาถบรรพตจากกลุ่มตวั อย่าง นักเรียนได้เกิดความภาคภมู ิใจ และเหน็ คุณค่าของวัดวรนาถ บรรพตโดยการเผยแพร่ความรู้จากคณะผู้จัดทา และตอบแบบสอบถามความคิดเห็นโครงงาน เรื่อง “เปิดกรุวัดวรนาถบรรพต ; วดั เก่าสมยั สโุ ขทยั ” ดังผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดังน้ี 3.1 ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพต ระดับช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ มจี านวนทง้ั สนิ้ 9๙ คน จาแนกเปน็ 1) ดา้ นเพศ พบว่า เพศชายคิดเป็นร้อยละ 5๕.๕๕ และเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ ๔๔.๔5 2) ด้านระดับชั้น พบว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๓ , นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1/2 คิดเปน็ ร้อยละ 3๗.๔ และนักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษา ปที ี่ 1/3 คดิ เป็นร้อยละ 2๙.๓ 3.2 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกบั การศึกษาประวตั ิความเป็นมาของวัดวรนาถบรรต จาแนกเป็น ด้านประวัติศาสตร์ ด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความเปน็ มาของวดั วรนาถบรรพต โดยมรี ะดบั ความคิดเหน็ อยใู่ นระดบั มากทุกด้าน ดังนี้
๓๖ 1) ขอ้ มลู เกี่ยวกับการศึกษาประวตั ิความเป็นมาของวดั วรนาถบรรพ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า โดยระดับมากอันดับแรก ได้แก่ ด้าน ประวัติศาสตร์ รองลงมาด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ความ เปน็ มาของวัดวรนาถบรรพต ตามลาดบั 2) ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยภาพรวม อยู่ในระดับ มากทุกด้าน เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า โดยระดับมากอันดับแรก ได้แก่ ด้านความหมายของ วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ รองลงมาด้านขัน้ ตอนวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ตามลาดับ อภปิ รายผลการศึกษา 1. ในการศึกษาข้อมูลท่ัวไปพบว่า กลุ่มตัวอย่างท่ีตอบแบบสอบถาม พบว่า ส่วนใหญ่เป็น เพศชายคิดเป็นร้อยละ 5๕.๕๕ และเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 4๔.๔๕ และระดับช้ันการศึกษามีจานวน นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1/๒ มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 3๗.๔ รองลงมาคือ นักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1/1 คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๓ และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 คิดเป็นร้อยละ 2๙.๓ 2. จากข้อมลู เกี่ยวกบั การศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต โดยรวมนักเรียน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านประวัติศาสตร์ รองลงมาด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ความเป็นมาของ วัดวรนาถบรรพต ตามลาดับ 2.1 ด้านประวัติศาสตร์ นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ระดับมาก ซ่ึงสอดคล้องกับ การศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับความหมายของคาว่าประวัติศาสตร์ นักเรียนรู้และเข้าใจได้ว่าประวัติศาสตร์ คือ เรื่องราวท่ีเกิดขึ้นในอดีตของสังคมมนุษย์ อันสืบเน่ืองมาจากพฤติกรรมของมนุษย์และมีผลมาถึง สังคมมนุษย์โดยส่วนรวม และมนุษย์ในอดีตก็ได้ท้ิงร่องรอยและหลกั ฐานไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาเพ่ือทา ความเขา้ ใจว่าได้เกิดเหตกุ ารณใ์ ดขน้ึ บ้างในอดตี ซ่งึ อันควรแก่การนามาศึกษา ๒.๒ ด้านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต นักเรียนมี ความคิดเห็นอยู่ระดบั มาก ซง่ึ สอดคล้องการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์วดั วรนาถ- บรรพต จาแนกเป็น ศิลาจารึกวัดเขากบ, เจดีย์แบบทรงสุโขทัยของวัดวรนาถบรรพต, วิหารพระพุทธ ไสยาสน์ของวัดวรนาถบรรพต และรอยพระพุทธบาทจาลองข้างซ้ายของวัดวรนาถบรรพต ซ่ึงหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ดังกล่าวสร้างข้ึนในสมัยกรุงสุโขทัยจริง มีการบันทึกข้อมูลต่างๆ ลงในศิลาจารึกท้ัง เรื่องเจดีย์แบบทรงสุโขทัย วิหารพระพุทธไสยาสน์ และรอยพระพุทธบาทจาลองข้างซ้ายของวัดวรนาถ บรรพต 2.3 ดา้ นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ระดับมากซึง่ สอดคล้อง กับการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกบั ความหมายของคาวา่ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ นักเรียนรู้และเข้าใจได้ว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ คือ ร่องรอยการกระทาของมนุษย์ในอดีต เป็นสิ่งที่นามาใช้เพื่อศึกษา ค้นควา้ หาความจรงิ ท่เี กิดขึ้นในอดีตตอ้ งอาศัยเครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ โดยอาศยั การสังเกต จดจา บันทึก หรือ เล่าสบื ตอ่ กนั ไว้
๓๗ 3. จากข้อมูลเกย่ี วกับการศึกษาวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ 2 ด้าน โดยรวมนักเรียนมีความ คิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านความหมายของวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ รองลงมาดา้ นขน้ั ตอนวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ ตามลาดับ คณะผ้ศู ึกษาจึงขออภิปรายผล เปน็ รายดา้ น ดงั น้ี 3.1 ด้านความหมายของวิธีการประวัติศาสตร์ นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ระดับมาก ซ่งึ สอดคล้องกับการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับความหมายของคาว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์ นักเรียนรู้และ เข้าใจได้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์ คือ กระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ซ่ึง เกิดจากวิธีวิจัยเอกสาร เพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ บนพ้ืนฐานความเป็นเหตุเป็นผล และการวเิ คราะห์เหตุการณต์ า่ งๆอยา่ งเป็นระบบ 3.2 ด้านขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับวิธีการทางประวัติศาสตร์ เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ข้อที่มี รายเฉล่ียสูงสุด คือ การแสวงหาความรู้ นักเรียนสามารถบอกได้ว่า คือ การรวบรวมหลักฐานประเภท ต่างๆ และการนาเสนอข้อมูล นักเรียนสามารถบอกได้ว่า คือ การเสนอเรื่องที่ศึกษาอย่างน่าสนใจ อธิบายอย่างสมเหตุสมผล โดยใช้ภาษาทีเ่ ข้าใจงา่ ย มคี วามต่อเนอ่ื ง มีการอ้างอิงข้อเท็จจริงเพื่อใหไ้ ด้งาน ทางประวัติศาสตร์ท่ีมีคุณค่าและมีความหมาย รองลงมา คือ การแสวงหาความรู้ นักเรียนสามารถบอก ได้ว่า คือ การรวบรวมหลักฐานทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ซ่ึงได้แก่ วัตถุ โบราณ ร่องรอยถิ่นท่ีอยู่อาศัยหรือการดาเนินชีวิต และการตีความและการสังเคราะห์ข้อมูล นักเรียน สามารถบอกได้ว่า คือ การสรุปข้อเท็จจริงเพ่ือหาคาตอบ ด้วยการเลือกสรรข้อเท็จจริงจากหลักฐาน อย่างเคร่งครัด โดยไม่ใช้ค่านิยมของตนเอง ไปตัดสินพฤติกรรมของคนในอดีต โดยพยายามเข้าใจ ความคดิ ของคนในยุคนัน้ ส่วนข้อที่มีค่าเฉล่ียต่าสดุ คือ การกาหนดหัวข้อนักเรยี นสามารถบอกได้วา่ คือ การกาหนดปัญหา หรือสมมติฐาน ปัญหา/อุปสรรค ๑. เอกสารทีเ่ กีย่ วข้องบางสว่ นเป็นเอกสารท่ีขาดแหลง่ ขอ้ มูลทชี่ ดั เจน เชน่ ไม่ระบุ พ.ศ. ทแี่ น่ ชัด, ขาดการอ้างอิงแหล่งข้อมูลหรือบรรณานกุ รม ๒. ในการสืบค้นข้อมูลบางส่วนยังขาดแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือส่งผลถึงข้อมูลในการศึกษา คน้ ควา้ ไมเ่ พียงพอ และขาดความสาคัญในบางส่วนได้ 3. ในการทาแบบสอบถามความคิดเห็น ผู้ตอบแบบสอบถามไม่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูล ทถี่ ูกต้องและชัดเจนในการประเมนิ ข้อเสนอแนะ ๑. ในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของวัดวรนาถบรรพต และหลักฐาน ทางประวตั ิศาสตร์ความเป็นมาของวดั วรนาถบรรพตควรกาหนดกลุม่ ตัวอย่างในการเผยแพร่เพิ่มมากขึ้น เชน่ ชมุ ชนกับวัด เพ่อื ให้เกิดความภาคภมู ใิ จ และเห็นคณุ คา่ ของวดั วรนาถบรรพตได้ ๒. ปูชนียสถานและปูชนียวัตถุที่สาคัญของวัดวรนาถบรรพตควรร่วมมือกันระหว่าง บ้าน วัด และโรงเรยี น เพ่อื ดูแลรักษาใหค้ งอยู่สืบไป เพื่อใหเ้ ยาวชนรนุ่ หลงั ไดเ้ ข้าไปศึกษาตอ่ ไป
บรรณานกุ รม กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธกิ าร. แนวทางการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนตามหลักสตู ร การศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2544. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2546. ทุตยิ าภรณ์ ภมู ดิ อนมง่ิ . ความรู้ความเข้าใจในวิธีการทางประวัติศาสตร์ของครูสังคมศกึ ษาใน จงั หวดั ขอนแก่น. มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. ๒๕๕๑. นันทนา กปิลกาญจน์. ประวัตศิ าสตร์และอารยะรรมโลก. พมิ พ์ครั้งท่ี ๖. กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พรน้ิ ติง้ เฮา้ ส.์ ๒๕๔๒. ปรชี า ศรวี าลัย. ประวตั ศิ าสตร์สากล. พมิ พ์คร้งั ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พรนิ้ ติ้ง เฮ้าส์. ๒๕๓๖. ผอ่ งศรี จ่นั หา้ ว และคณะ. หนังสือเรยี นสาระการเรยี นรพู้ ้ืนฐาน ประวัตศิ าสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ . ๒๕๔๖. พระกฐนิ พระราชทาน วดั วรนาถบรรพต พระอารามหลวง. ๒๕๕๖ พระราชพรหมาภรณ.์ วัดวรนาถบรรพต (พระอารามหลวง) จังหวดั นครสวรรค์. นครสวรรค์: ไพศาลกราฟฟิค, ๒๕๔๙. พลับพลงึ คงชนะ. หนังสอื เรียนสาระการเรยี นรพู้ ้ืนฐาน ประวตั ิศาสตร์ ม.๔ กลมุ่ สาระการ เรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ ตามหลักสูตร การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔. พิมพค์ ร้ังที่ ๑. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ บรษิ ทั พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). ๒๕๔๖. มนตช์ ัย เทวญั วโรปกรณ.์ พลิกประวัตศิ าตรส์ โุ ขทัย ฉบบั ๗๐๐ ปี กาเนิดลายเสือไท.พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรงุ เทพ : เจา้ พระยาการพมิ พ์, ๒๕๒๖. ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร : นานมบี คุ๊ สพ์ ับลเิ คชั่นส์ , ๒๕๔๖. เรณู ภัยนันท.์ สงั คมศกึ ษา ๓ สด. ๑๒๐๑ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี . นครราชสีมา : สถาบัน เทคโนโลยรี าชมงคลวทิ ยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนอื นครราชสีมา. ๒๕๓๖. วิทยา ปานะบตุ ร. ค่มู อื เสริมทกั ษะการเรียนร้ดู ้วยตนเอง ช่วงชัน้ ที่ ๔ ตามหลักสูตร การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พ์ พ.ศ. พัฒนา. ๒๕๔๔. วิรชั บรริ ักษ์เลศิ . “ประวัตวิ ัดวรนาถบรรพต” ในที่ระลกึ เนือ่ งในงานทาบญุ ฉลองอายุครบ ๕ รอบ ๖๐ ปี พระสธุ ธี รรมโสภน. นครสวรรค์ : วิสุทธก์ิ ารพมิ พ์, ๒๕๒๕. วฒุ ิชยั มลู ศลิ ป์ และดรุณี แก้วมว่ ง. คู่มือครวู ชิ าสังคมศกึ ษา ส ๐๒๑ หลักฐานประวตั ิศาสตรใ์ น ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์พัฒนาพานิช. ๒๕๒๙. ศิริพร ดาบเพชร และคณะ. ประวัติศาสตรไ์ ทย ม.๔ - ม.๖. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. ๒๕๕๑. อจั ฉราพร ตนั บรรจง. ผลการสอนโดยวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรต์ ่อการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ ของ นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านโป่งนอ้ ย อาเภอเมืองเชยี งใหม่. เชียงใหม:่ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. ๒๕๔๖.
๓๙ https://th.wikipedia.org/wiki/วัดวรนาถบรรพต : วันที่ ๓ มถิ นุ ายน ๒๕๖๕ http://[email protected] (สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวดั นครสวรรค)์ : วนั ท่ี ๙ มถิ นุ ายน 25๖๕ http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=๒๑๕:วนั ที่ ๙ มถิ ุนายน 25๖๕ http://nsn.onab.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=220:2010-01- 30-14-46-47&catid=94:2010-01-30-06-52-40&Itemid=359 : วนั ท่ี ๙ มิถนุ ายน 25๖๕ http://th.wikipedia.org/wiki/เจดีย์: วนั ท่ี ๕ มิถุนายน ๒๕๖๕ http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/art1.htm: วนั ท่ี ๘ มิถนุ ายน ๒๕๖๕ http://www.kroobannok.com/674: วันท่ี ๘ มถิ ุนายน ๒๕๖๕ www.wattrimacaram.com/รอยพระพุทธบาทจาลอง.html: วนั ท่ี ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๕ http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/malaiwan_c/historym1/ unit01_04.html ; วนั ท่ี 10 มิถุนายน ๒๕๖๕
ภาคผนวก
๔๑ ภาคผนวก ก การแสวงหาความรเู้ กีย่ วกับประวตั ิความเปน็ มาของวัดวรนาถบรรพต อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ภาคผนวก ข ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของวดั วรนาถบรรพต อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครสวรรค์
๔๒ ภาคผนวก ค ภาพการเผยแพรค่ วามรู้กับกล่มุ ตวั อย่าง
Search