Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนวิทยาการคำนวณ ม.5 อักษรเจริญทัศ

หนังสือเรียนวิทยาการคำนวณ ม.5 อักษรเจริญทัศ

Published by sureerat09.09, 2019-05-28 06:00:52

Description: หนังสือเรียนวิทยาการคำนวณ ม.5 อักษรเจริญทัศ

Search

Read the Text Version

9. ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผ้ทู ไี่ ดร้ บั มอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชอ่ื ................................. ) ( ................................ ตาแหนง่ ...... . 10. บันทึกผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)  ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทมี่ ปี ญั หาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้าม)ี )  ปญั หา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข 48

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 2 ส่ือดจิ ทิ ลั กับการดาเนนิ ชวี ิต เวลา 1 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั ว 4.2 ม.5/1 รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแกป้ ญั หาหรอื เพิม่ มลู ค่าให้กบั บรกิ ารหรือผลิตภณั ฑ์ท่ีใชใ้ นชวี ติ จรงิ อย่างสรา้ งสรรค์ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของส่ือดจิ ิทลั ได้ (K) 2. บอกองคป์ ระกอบของสือ่ ดจิ ทิ ลั ได้ (K) 3. ยกตัวอยา่ งประเภทของส่อื ดิจทิ ลั ได้ (K) 4. สรา้ งช้ินงานอธิบายขอ้ ดี-ขอ้ เสยี ของสือ่ ดจิ ิทลั ได้ (P) 5. เหน็ ประโยชนข์ องสือ่ ดจิ ิทัล (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การนาความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล และ พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใชแ้ กป้ ญั หากบั ชีวิตจรงิ 4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ปจั จุบันไดม้ กี ารนาส่อื ดจิ ทิ ัลเข้ามาใช้ในการดาเนินชวี ติ เพราะเปน็ ส่ือท่ีสามารถเข้าถึงขอ้ มูลได้อย่างไม่จากัด โดยเป็นการ นาข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวิดีโอ มาจัดรูปแบบโดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ผสมผสานกับ ความคิดสร้างสรรค์ของผู้สร้างส่ือ เพ่ือผลิตออกมาเป็นส่ือดิจิทัลท่ีตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคไม่ว่าจะเป็น ภาพยนตร์ โฆษณา การต์ ูน เกมออนไลน์ หรือสือ่ การสอน 5. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 7. ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 8. ทักษะการให้เหตุผล 9. ทักษะการคิดสรา้ งสรรค์ 49

6. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงที่ 1 ขนั้ นา ขนั้ ท่ี 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูถามคาถามท้าทายความคิดของนักเรียนว่า “นักเรียนคิดว่าส่ือดิจิทัลในรูปแบบใดมีผลต่อการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ มากทีส่ ดุ ” (แนวตอบ : สื่อดิจิทัลในรูปแบบวิดีโอ เนื่องจากเป็นสื่อที่ได้รับความนิยมเพราะสามารถนาเสนอข้อมูลทุกอย่างได้ท้ัง ขอ้ ความ เสยี ง ภาพน่ิง หรือภาพเคลอ่ื นไหว และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน ดังน้ัน ผู้สูงอายุก็จะ สามารถสืบคน้ ข้อมลู ในการดแู ลสขุ ภาพตา่ ง ๆ เช่น อาหารทค่ี วรรบั ประทาน การออกกาลงั กายทีเ่ หมาะสม) 2. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับส่ือดิจิทัลว่า “ส่ือดิจิทัล คือ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ซ่ึงทางานโดยใช้รหัสดิจิทัล ปัจจุบันการเขียน โปรแกรมถกู แปลงใหอ้ ยู่ในรปู แบบของเลขฐานสองเพื่อใหค้ อมพวิ เตอรเ์ ข้าใจในสง่ิ ทโี่ ปรแกรมเมอรต์ ้องการจะสือ่ สาร” ขั้นสอน ขั้นท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) 1. ครเู ปิดคลปิ วิดีโอ เรื่อง สือ่ ดจิ ิทัลกบั การดาเนนิ ชวี ิต ให้นกั เรียนดพู ร้อมถามนกั เรียนว่า “นกั เรยี นเห็นส่อื ดิจทิ ัลใดบ้างในคลปิ วดิ โี อ” (แนวตอบ : ขอ้ ความ ภาพนิง่ ภาพเคลื่อนไหว เสยี ง) 2. ครูอธิบายกับนักเรียนว่า “มีสื่อดิจิทัลต่าง ๆ ที่นักเรียนพบเห็นในคลิปวิดีโอไม่ว่าจะเป็นข้อความภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง ส่ิงเหล่านี้ถูกนามารวมกันและจัดรูปแบบโดยอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ผสมผสานกับความคิด สรา้ งสรรค์จึงทาใหอ้ อกมาเป็นสอื่ ดิจทิ ัลทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ” 3. ครูอธิบายความรู้เสริมจากเนื้อหาเพื่อขยายความรู้ของผู้เรียน (Com Sci Focus) เกี่ยวกับดิจิทัลคอนเทนต์ว่า “ดิจิทัล คอนเทนต์ คอื สารสนเทศที่มีรูปแบบเป็นดิจิทัล โดยอาศัยการแสดงเน้ือหาผ่านทางอุปกรณ์ดิจิทัลต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สอ่ื สาร โทรทศั น์ โรงภาพยนตร์” 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาเก่ียวกับองค์ประกอบสาคัญของส่ือดิจิทัล 5 ประการ จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.5 หรอื คน้ คว้าขอ้ มลู เพม่ิ เติมจากอนิ เทอรเ์ น็ต ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) 5. ครสู ุ่มนกั เรียน 2-3 คน ออกมาอธบิ ายเกย่ี วกับองคป์ ระกอบสาคญั ของสื่อดจิ ิทัล 5 ประการ โดยนกั เรยี นในช้ันเรียนสามารถ ซักถามเพื่อขยายความเข้าใจได้ ขั้นท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 6. ครูยกตัวอย่างสื่อดิจิทัลประเภทต่าง ๆ ที่พบเห็นได้ในปัจจุบัน โดยมีลักษณะท่ีแตกต่างกันมาให้นักเรียนดูเพ่ือให้นักเรียน เขา้ ใจมากข้ึนวา่ การดารงชวี ติ ในปัจจุบันเกี่ยวขอ้ งกับดิจิทลั อยา่ งไรบา้ ง 7. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า “เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว ดังน้ัน ส่ือดิจิทัลที่มีความหลากหลาย นอกจากให้คุณประโยชน์ท่ีสามารถนาส่ือดิจิทัลมาปรับใช้ในงานได้หลากหลายวิธีและมีคุณภาพคงทน มีโอกาสท่ีจะเกิด ขอ้ ผดิ พลาดได้ยากแลว้ กอ็ าจจะใหโ้ ทษได้อีกด้วย เพราะสื่อดิจิทัลเป็นสิ่งที่สามารถนาไปกระทาความผิดได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็น การนาภาพของบุคคลอื่นมาตดั ต่อเปน็ ภาพลามกอนาจารหรอื การนาผลงานของผู้อน่ื มาใชโ้ ดยไมได้รับอนญุ าต เป็นต้น” 50

8. ครูมอบหมายให้นักเรียนสร้างชิ้นงานโดยใช้โปรแกรมที่ตนเองถนัดเพื่อสร้าง Infographic โดยมีหัวข้อเก่ียวกับข้อดี-ข้อเสีย ของสอ่ื ดจิ ทิ ัล โดยจะต้องมีองค์ประกอบของสื่อดิจทิ ลั มากกวา่ 1 ส่วน 9. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า “การสร้างภาพ Infographic หมายถึง การนาข้อมูลหรือความรู้มาสรุปเป็นสารสนเทศผสมผสานกับ ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องตนเองออกมาในลักษณะของกราฟิกที่ออกแบบแล้วสามารถสื่อให้ผู้ชมดูแล้วเข้าใจง่ายและชัดเจนใน เวลาอันรวดเร็ว” 10. ครตู ัวอยา่ งภาพ Infographic มาให้นักเรียนดูเพือ่ ใหน้ ักเรยี นไดเ้ ขา้ ใจรปู แบบของการสร้างภาพ Infographic มากยิ่งขึ้น ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 11. ครปู ระเมินผลโดยการสงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจในการเรยี น และตรวจสอบการสร้างชิน้ งานของนักเรียน ข้ันสรุป ครูและนกั เรียนสรุปถึงความหมาย องค์ประกอบ ประเภท และข้อดี-ข้อเสียของส่ือดจิ ทิ ัล 7. การวัดและประเมนิ ผล รายการวัด วธิ วี ดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 7.1 การประเมนิ ระหว่างการจดั - แบบประเมินชนิ้ งาน - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ กจิ กรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 1) การสรา้ งช้นิ งาน - ตรวจชิน้ งาน - แบบประเมินคุณลกั ษณะ - ระดบั คุณภาพ 2 อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ Infographic 2) พฤติกรรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรม รายบคุ คล การทางานรายบุคคล 3) คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ - สงั เกตความมวี นิ ัย ความรบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มน่ั ในการทางาน 8. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.5 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง วิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่อื ดจิ ิทัล และเทคโนโลยสี ารสนเทศกับการดาเนินชวี ิต 2) คลิปวิดีโอ เรอื่ ง สอื่ ดจิ ิทัลกับการดาเนินชวี ติ 3) ตวั อย่างภาพ Infographic 4) ตวั อย่างสอ่ื ดิจิทัลประเภทตา่ ง ๆ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ - อินเทอร์เนต็ 51

ตวั อยา่ งภาพ Infographic  แหลง่ ข้อมลู : www.skinnymom.com, www.kapook.com 52

ตวั อยา่ งภาพ Infographic  แหล่งข้อมลู : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จงั หวัดชลบุรี , www.ddc.moph.go.th 53

ตวั อย่างภาพ Infographic  แหล่งข้อมูล : นติ ยสาร Health & Cuisine, www.resource.thaihealth.or.th 54

9. ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาหรือผูท้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชอ่ื ................................. ) ( ................................ ตาแหนง่ ...... . 10. บันทึกผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น  ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)  ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่มี ีปัญหาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้าม)ี )  ปญั หา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข 55

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การดาเนินชีวิต เวลา 1 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั ว 4.2 ม.5/1 รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแก้ปญั หาหรือเพม่ิ มลู ค่าใหก้ บั บรกิ ารหรือผลติ ภัณฑท์ ี่ใชใ้ นชวี ติ จรงิ อย่างสร้างสรรค์ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ (K) 2. บอกประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศกบั การดาเนินชีวิตได้ (K) 3. สบื คน้ ขอ้ มลู โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศได้ (P) 4. สนใจใฝ่รใู้ นการศกึ ษา (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถนิ่ การนาความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล และ พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา เทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใชแ้ ก้ปัญหากับชวี ิตจริง 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ประมวลผลข้อมูล จดั เกบ็ ขอ้ มูล แลกเปลยี่ นข้อมูล หรอื เผยแพรข่ อ้ มูล และปจั จุบันเทคโนโลยสี ารสนเทศ จึงมีความสาคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพ และสมรรถภาพในการดาเนินชวี ติ เปน็ อยา่ งมาก 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวนิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. ม่งุ มั่นในการทางาน 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 7. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 8. ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 9. ทักษะการให้เหตุผล 56

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงท่ี 1 ขนั้ นา ขนั้ ท่ี 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครถู ามคาถามประจาหัวขอ้ วา่ “เทคโนโลยีสารสนเทศมปี ระโยชน์ตอ่ การดาเนนิ ชีวิตอยา่ งไร” (แนวตอบ : เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยอานวยความสะดวกในการจัดการกับข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การ ประมวลผลข้อมูล การจัดเกบ็ ขอ้ มลู การแลกเปลีย่ นขอ้ มูล และการเผยแพรข่ ้อมูล) ขน้ั สอน ขั้นท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนทาการศึกษาภายใต้หัวข้อเทคโนโลยีสารสนเทศกับการดาเนินชีวิต จากหนังสือเรียน รายวิชา พ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.5 พร้อมกับสืบค้นข้อมูลอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นประวัติความเป็นมาของ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือตัวอย่างสารสนเทศท่ีใช้ในชวี ติ ประจาวนั ผ่านทางอินเทอรเ์ นต็ ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain) 2. ครสู ุม่ นักเรียน 2-3 คน ออกมาอธบิ ายเกย่ี วกบั เทคโนโลยีสารสนเทศกับการดาเนินชวี ิต โดยให้เพ่อื นรว่ มช้ันสามารถซกั ถาม เพื่อขยายความเขา้ ใจของนักเรียนให้เข้าใจมากยง่ิ ขน้ึ 3. ครูอธิบายเพ่ิมเติมวา่ “เทคโนโลยสี ารสนเทศ คือ การนาเอาเทคโนโลยีเขา้ มาจดั การกับข้อมูล และข้อมูลในท่ีน้ี คอื ข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว เสยี ง วิดีโอ เป็นต้น” ขน้ั ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 4. ครอู ธิบายกับนักเรียนว่า “เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินชีวิตเป็นอย่างมาก และช่วยให้เกิดผลดี ต่อผู้ใชง้ านได้ทุกระดบั ไม่วา่ จะเป็นด้านการเรียน การทางาน หรอื การใช้งานในชวี ิตประจาวนั ” 5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทาใบงานที่ 1.3.1 เร่ือง ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้นักเรียนอ่านสถานการณ์ท่ี กาหนดให้ พรอ้ มระบุวา่ พบเทคโนโลยีสารสนเทศใดบา้ งในสถานการณ์ จากน้ันให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าเทคโนโลยีสารนเทศที่ พบมีประโยชนต์ ่อการดาเนินชีวิตของตนเองอย่างไร ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 6. ครูประเมนิ ผลโดยการสงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจในการเรียน และตรวจสอบการทาใบงานท่ี 1.3.1 ข้นั สรปุ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรุปประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศท่มี ีตอ่ การดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน 57

7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ วี ดั เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวดั - ตรวจใบงานท่ี 1.3.1 - ใบงานที่ 1.3.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7.1 การประเมินระหวา่ งการจัด - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2 กจิ กรรม การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 1) ประโยชนข์ องเทคโนโลยี - สังเกตความมวี ินัย ความรบั ผดิ ชอบ ใฝเ่ รยี นรู้ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ - ระดับคณุ ภาพ 2 สารสนเทศ และมุ่งม่ันในการทางาน อนั พึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 2) พฤติกรรมการทางาน รายบุคคล 3) คุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์ 8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง วิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดจิ ทิ ัล และเทคโนโลยสี ารสนเทศกับการดาเนนิ ชีวิต 2) ใบงานท่ี 1.3.1 เรอ่ื ง ประโยชนข์ องเทคโนโลยสี ารสนเทศ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ - อินเทอร์เน็ต 58

ใบงานท่ี 1.3.1 เรือ่ ง ประโยชนข์ องเทคโนโลยสี ารสนเทศ คาชแ้ี จง : ให้นักเรียนอ่านสถานการณ์ท่ีกาหนดให้ พร้อมระบุว่าพบเทคโนโลยีสารสนเทศใดจากสถานการณ์ จากน้ันให้ นักเรยี นวิเคราะห์วา่ เทคโนโลยีสารสนเทศท่พี บมปี ระโยชน์ต่อการดาเนนิ ชีวิตอยา่ งไร สถานการณ์ พอใจเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการท่ีห้องคอมพิวเตอร์ โดยมีหน้าที่ดูแลรักษา ซ่อมแซม ให้คาปรึกษา และคาแนะนาเก่ียวกับคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ แต่วันน้ีเคร่ืองปรับอากาศท่ีห้องคอมพิวเตอร์เสีย จึงทาให้พอใจร้อนมาก และต้องใช้พัดลมในการให้ความเย็นแทนไปก่อน จากนั้นคุณแม่ของพอใจ โทรศัพท์เข้ามาหาพอใจและบอกกับพอใจว่า“แม่ได้รับโทรทัศน์ที่ส่งมาแล้ว คุณยายดีใจมาก ต่อไปน้ีไม่ต้องฟังข่าวสารจากวิทยุ หรือเสียงตามสายแล้ว เพราะโทรทัศน์ท่ีส่งมามีภาพ ข้อความ และเสยี งท่ชี ดั เจนเลยทีเดียว” เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีพบ เทคโนโลยสี ารสนเทศที่พบ มีประโยชนต์ อ่ การดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งไร ..................................................... ..................................................... 1. ..................................................................... ..................................................... 2. ..................................................................... ..................................................... 3. ..................................................................... ..................................................... 4. ..................................................................... ..................................................... 5. ..................................................................... ..................................................... 6. ..................................................................... ..................................................... 7. ..................................................................... 8. ..................................................................... 9. ..................................................................... 10...................................................................... 59

ใบงานที่ 1.3.1 เฉลย เร่อื ง ประโยชนข์ องเทคโนโลยีสารสนเทศ คาชแ้ี จง : ให้นักเรียนอ่านสถานการณ์ท่ีกาหนดให้ พร้อมระบุว่าพบเทคโนโลยีสารสนเทศใดจากสถานการณ์ จากน้ันให้ นักเรียนวิเคราะหว์ ่าเทคโนโลยีสารสนเทศทพ่ี บมปี ระโยชนต์ อ่ การดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งไร สถานการณ์ พอใจเป็นเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติการท่ีห้องคอมพิวเตอร์ โดยมีหน้าท่ีดูแลรักษา ซ่อมแซม ให้คาปรึกษา และคาแนะนาเก่ียวกับคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ แต่วันนี้เครื่องปรับอากาศท่ีห้องคอมพิวเตอร์เสีย จงึ ทาให้พอใจรอ้ นมาก และตอ้ งใช้พัดลมในการให้ความเย็นแทนไปก่อน จากนั้นคุณแม่ของพอใจ โทรศัพท์เข้ามาหาพอใจและบอกกับพอใจว่า“แม่ได้รับโทรทัศน์ท่ีส่งมาแล้ว คุณยายดีใจมาก ต่อไปน้ีไม่ต้องฟังข่าวสารจากวิทยุ หรือเสียงตามสายแล้ว เพราะโทรทัศน์ท่ีส่งมามีภาพ ข้อความ และเสียงที่ชดั เจนเลยทเี ดียว” เทคโนโลยีสารสนเทศทพ่ี บ เทคโนโลยสี ารสนเทศทีพ่ บ มปี ระโยชน์ต่อการดาเนินชวี ิตอยา่ งไร ...ค..อ..ม..พ...ิว.เ.ต..อ..ร..์ ................................. ..................................................... 1. .ช..ว่..ย..ล..ด..เ.ว..ล..า.ใ.น...ก..า.ร..ท..า..ง.า..น.................................... ..................................................... 2. .ล..ด..ต..น้..ท...นุ ..ใ.น..ก..า..ร.ด..า..เ.น..ิน..ง..า..น.................................. ..................................................... 3. .ช..่ว..ย..ใ.ห..ก้..า..ร..ส..ื่อ..ส.า..ร..เ.ป..น็..ไ.ป...อ..ย..า่ .ง..ร.ว..ด..เ.ร..ว็ .................... ..................................................... 4. .ช..ว่..ย..ใ.ห..ท้...า.ง..า.น..ร..ว่..ม..ก..ัน..เ.ป..น็..ไ..ป..อ..ย..่า..ง.ร..า.บ...ร.ื่น................. ..................................................... 5. .ช..ว่..ย..ใ.น..ก..า..ร..ต..ดั ..ส..นิ ..ใ.จ............................................ ..................................................... 6. .เ.ส..ร..ิม..ส..ร..า้ .ง..ค..ุณ...ภ..า.พ...ช..ีว.ติ..ท...ด่ี ..ีข..นึ้ ............................... ..................................................... 7. .ส..ร..้า.ง..ค..ว..า.ม..ไ..ด..้เ.ป..ร..ีย..บ..ใ.น..ก..า..ร.แ..ข..่ง..ข..นั ......................... 8. .ส..า..ม..า.ร..ถ..ร..ับ..-.ส..ง่..ไ.ฟ..ล..์ข..้อ..ม..ลู..ไ.ด..้อ..ย..า่..ง..ร.ว..ด..เ.ร..ว็ ................ 9. .ส..า..ม..า.ร..ถ..ส..ืบ..ค..น้..ข..้อ..ม..ลู..ไ..ด..ต้ ..ล..อ..ด..เ.ว..ล..า........................ 10..ท..า..ใ.ห..ท้...ัน..ส..ม..ยั ...แ..ล..ะ..ร.ู้เ.ท...่า.ท...นั ..เ.ท..ค..โ.น..โ..ล..ย..ี .................. 60

9. ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาหรือผูท้ ี่ไดร้ บั มอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชอ่ื ................................. ) ( ................................ ตาแหนง่ ...... . 10. บันทึกผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น  ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)  ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่มี ีปัญหาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้าม)ี )  ปญั หา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข 61

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 4 การเพ่ิมมูลคา่ ใหก้ บั สนิ คา้ และบรกิ าร เวลา 1 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั ว 4.2 ม.5/1 รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแก้ปญั หาหรอื เพิ่มมูลคา่ ให้กบั บริการหรือผลติ ภัณฑท์ ี่ใช้ในชวี ติ จรงิ อย่างสรา้ งสรรค์ 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกเทคโนโลยีทช่ี ่วยเพม่ิ มลู ค่าให้กับสินคา้ และบรกิ ารได้ (K) 2. ออกแบบสนิ ค้าหรอื บริการเพ่อื ยกระดบั และเพิ่มมลู ค่าใหก้ ับสินคา้ ได้ (P) 3. เหน็ ประโยชนข์ องการเพิม่ มลู คา่ ใหก้ บั สินคา้ และบรกิ าร (A) 4. สนใจใฝร่ ้ใู นการศึกษา (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถนิ่ - การนาความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล และ พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชแ้ ก้ปัญหากับชวี ิตจรงิ ได้ - การเพิม่ มลู ค่าใหบ้ รกิ ารหรอื ผลติ ภัณฑ์ 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ปัจจุบนั วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล และเทคโนโลยีสารสนเทศนับเป็นเทคโนโลยีท่ีเข้ามามีบทบาทในการดาเนินชีวิต ของมนุษย์ท่ัวโลก เพราะช่วยให้การดาเนินชีวิตของมนุษย์มีความสะดวกสบายข้ึนและยังช่วยให้การทางานต่าง ๆ ที่นา เทคโนโลยีเข้ามาใช้สาเร็จลุล่วงได้ในเวลาอันรวดเร็ว จะเห็นได้ว่าส่ิงเหล่าน้ีสามารถทาให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันเป็น อย่างมาก ดังน้ัน มนุษย์จึงสามารถนาเทคโนโลยีทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ เทคโนโลยีทางด้านฮาร์ดแวร์ เทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ และเทคโนโลยีดา้ นการจดั การขอ้ มูล ไปช่วยเพิ่มมูลค่าใหก้ บั สนิ คา้ และบรกิ ารได้ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี ินัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. มุง่ ม่นั ในการทางาน 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 7. ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 8. ทกั ษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ 9. ทักษะการสอ่ื สาร 10. ทักษะการให้เหตผุ ล 11. ทักษะการทางานรว่ มกนั 62

6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชั่วโมงท่ี 1 ขัน้ นา ขัน้ ที่ 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครูถามคาถามประจาหัวข้อว่า “การให้บริการรถโดยสารสาธารณะควรนาเทคโนโลยีด้านใดมาช่วยในการเพ่ิมมูลค่าของ การบริการ” (แนวตอบ : ควรนาเทคโนโลยีทางดา้ นฮารด์ แวร์เข้ามาช่วยเพิ่มมูลค่าของการบริการ เน่ืองจากเป็นการสร้างอุปกรณ์ต่าง ๆ เพอ่ื นามาชว่ ยกระบวนการผลติ เพื่อทาให้สามารถสร้างผลิตภัณฑต์ า่ ง ๆ ได้มากขึ้น) ข้นั สอน ขน้ั ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนศึกษาเทคโนโลยีท่ีสามารถนาไปช่วยเพ่ิมมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.5 ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) 2. ครูสุม่ นักเรยี น 2-3 คน มาอธบิ ายความเข้าใจท่ีนักเรียนมีต่อเทคโนโลยีท่ีสามารถนาไปชว่ ยเพิ่มมลู คา่ ใหก้ ับสินคา้ และบริการ 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเพ่ิมมูลค่าให้กับสินค้าและบริการว่า “ในการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการควรคานึงถึงความ ทนทาน ความปลอดภัย ความเหมาะสม และความคดิ สรา้ งสรรค์ เพราะจะทาใหส้ นิ คา้ ที่ไดพ้ ัฒนามีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน” ขน้ั ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration) 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน เพื่อทากิจกรรมท่ีสอดคล้องกับเน้ือหาโดยให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาความรู้ (Com Sci activity) และใหน้ กั เรียนทาการออกแบบสินค้าและเสนอแนวคิด เพื่อยกระดับและเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า OTOP ในจังหวดั ของตน พรอ้ มกับวเิ คราะห์วธิ กี ารในการเพม่ิ คุณภาพสินค้าหรือบริการในแต่ละด้าน เมื่อทากิจกรรมเสร็จเรียบร้อย แล้วให้นักเรยี นส่งตวั แทนกลุ่มออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรยี น ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 5. ครูประเมินผลโดยการสังเกตการตอบคาถาม ความสนใจในการเรียน การทางานร่วมกันภายในกลุ่ม และการทากิจกรรม ทส่ี อดคล้องกบั เนอื้ หา ขนั้ สรปุ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยีสารสนเทศกับการดาเนินชีวิต จากหนังสอื เรยี น เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นได้ทบทวนสาระสาคญั ประจาหน่วยการเรยี นรู้ 2. จากนน้ั ครใู ห้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจของตนเองโดยพิจารณาขอ้ ความวา่ ถูกหรือผดิ แลว้ บันทึกลงในสมดุ หากพิจารณา ว่าขอ้ ความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหวั ข้อที่กาหนดให้ 3. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง วิทยาการคอมพิวเตอร์สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยี สารสนเทศกบั การดาเนนิ ชีวิต 63

4. ครูมอบหมายให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดประจาหน่วยการเรียนรู้ และให้นักเรียนตอบคาถามลงในสมุด และทาชิ้นงาน/ภาระ งาน (รวบยอด) เร่ือง การเพ่ิมมูลค่าสินค้า OTOP โดยให้นักเรียนใช้โปรแกรมที่ตนเองถนัดออกแบบฉลากผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP เพ่อื ยกระดับและเพิ่มมูลค่าใหผ้ ลติ ภณั ฑน์ า่ สนใจมากย่งิ ขนึ้ และนามาสง่ ในช่ัวโมงถดั ไป 7. การวัดและประเมินผล รายการวัด วธิ ีวัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 7.1 การประเมนิ ระหว่างการจัด - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 การทางานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ กจิ กรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 การทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 1) พฤติกรรมการทางาน - สงั เกตพฤติกรรม - ผลงานท่ีนาเสนอ - ระดับคณุ ภาพ 2 - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ รายบคุ คล การทางานรายบุคคล อันพงึ ประสงค์ - ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 2) พฤติกรรมการทางานกลุม่ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบทดสอบหลังเรยี น การทางานกลุ่ม - ประเมนิ ตามสภาพจริง - แบบประเมินชนิ้ งาน/ 3) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ ภาระงาน (รวบยอด) - ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ผลงาน 4) คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - สงั เกตความมวี นิ ัย ความรับผิดชอบ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมัน่ ในการทางาน 7.2 การประเมนิ หลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง วิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทลั และเทคโนโลยี สารสนเทศกับการดาเนนิ ชีวิต - การประเมินช้ินงาน/ - ตรวจชิ้นงาน/ภาระงาน ภาระงาน (รวบยอด) (รวบยอด) เรื่อง การเพิ่มมูลคา่ สนิ ค้า OTOP 8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ - หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.5 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง วิทยาการคอมพิวเตอร์ สอื่ ดิจิทลั และเทคโนโลยสี ารสนเทศกับการดาเนินชีวิต 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ - อนิ เทอรเ์ นต็ 64

9. ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผ้ทู ไี่ ดร้ บั มอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชอ่ื ................................. ) ( ................................ ตาแหนง่ ...... . 10. บันทึกผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)  ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทมี่ ปี ญั หาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้าม)ี )  ปญั หา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข 65

ค่มู อื ครู 01 02 รายวชิ าพื้นฐาน 05 03 เ(ทวทิคยโนาโกลายรี คาํ นวณ) ม.5ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้วี ดั 04 กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) หลักตสัวตู อรยปา่ รงับปรงุ ’60 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สรา้ งอนาคตเดก็ ไทย แจกฟรีเฉพาะครผู สู้ อน ดว้ ยนวตั กรรมการเรยี นรรู้ ะดบั โลก ค่มู อื Mค;รS*ู LOY _EÿD;ETDËI¹þ-T§Ñ @ÊhY;×Í2àTÃ;ÂÕ I¹9þ DTÃJÒTÂLÇ7ÔªEÒ ¾é¹× _°9'Ò¹a;ÇaGÔ·DÂW ¥IÒÈþ9DÒTÊ$µTÃE' U;à·I5¤â¦¹CâÅ«²ÂÕ (ÇÔ·ÂÒ¡Òäӹdz) Á.4 คมู่ อื ครู อจท. ใช้ประกอบการสอนคกู่ บั หนังสอื เรียน เพิ่ม คำแนะนำการใช้ เพิ่ม คำอธิบายรายวชิ า เพ่มิ Pedagogy เพิ่ม Teacher Guide Overview เพม่ิ Chapter Overview เพ่มิ Chapter Concept Overview เพมิ่ เพม่ิ ข้อสอบเนน้ การคดิ กจิ กรรม 21st Century Skills นร. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.4 -;V;9EOB-V T7V M;S*LYO_EDÿ ;ETDI-þ T@Y;h 2T;I9þ DTJTL7E ม.5 ISBN : 978 - 616 - 203 - 767 - 2 เทคโนโลยี -;;V 9E_,GVCL%Z  บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั www.aksorn.com 52.-9 7 8 6 1 6 2 0 3 7 6 7 2 OBV-T7V 'U=GVI บ1ร4โw1ษิท24wรทั 2ถ.w/อนแถ.กัaฟนนkษตนกsรตซะoนเ.์ะrจน0nารา.2วcญิวo6เขmเท2ขตศัต2พ2พนร์ร9อะะ9นนจA9คคทkรsร.(อoจกกตัrำรnรโกงนุ งุAดัเมทเCทตั พTพิ 2มม0หหาคนาสู่ คนารคยร)1012002000 (วิทยาการคำนวณ) โทร./แฟกซ.์ 02 6222 999 (อตั โนมตั ิ 20 คสู่ าย) 00.- -Sh;CS:DCJX$KT=9Wg² >> ราคาเลม่ นกั เรยี นโปรดดจู ากใบสง่ั ซอ้ื ของ อจท. คู่มือครู นร. เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.4 7TCCT7E2T;$TE_EÿD;E[`GR7SI-ÿhIS6 บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั $GCZ LTER$TE_EDÿ ;EI[ 9þ DTJTL7E ¥,<S<=ES<=E*Z @«J«2560¦ 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 10200 โทร./แฟกซ.์ 02 6222 999 (อตั โนมตั ิ 20 คสู่ าย) 8 8 5 8 6 4 9 1 3380106 3.- 7TCMG$S L[7E`$;$GT*$TEJ$X KT%hS;@Yh;2T;@Z9:J$S ET-¯²²® www.aksorn.com Aksorn ACT www.aksorn.com ภาพปกนม้ี ขี นาดเทา่ กบั หนงั สอื เรยี นฉบบั จรงิ ของนกั เรยี น ราคาน้ี เปน็ ของฉบบั คมู่ อื ครเู ทา่ นน้ั ผูเ้ รยี บเรียงคมู่ ือครู นักวชิ าการ STEM เพมิ่ คําแนะนําการใช้ ช่วยสร้างความเข้าใจ เพื่อใช้คู่มือครู Chapter Overview ช่วยสร้างความเข้าใจ และ ได้อยา่ งถกู ตอ้ งและเกดิ ประสิทธภิ าพสงู สุด คําอธิบายรายวิชา แสดงขอบข่ายเน้ือหาสาระของ เห็นภาพรวมในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ า ซ่ึงครอบคลมุ มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชว้ี ดั ตาม แตล่ ะหน่วย ทห่ี ลักสตู รกาํ หนด Pedagogy ช่วยสรา้ งความเขา้ ใจในกระบวนการออกแบบ Chapter Concept Overview ชว่ ยใหเ้ ห็นภาพรวม การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ได้อย่าง มีประสิทธภิ าพ Concept และเนอ้ื หาสําคญั ของหน่วยการเรยี นรู้ Teacher Guide Overview ช่วยให้เห็นภาพรวมของ การจดั การเรยี นการสอนทงั้ หมดของรายวชิ า กอ่ นทจี่ ะลงมอื ขอ้ สอบเนน้ การคดิ /ขอ้ สอบแนว O-NET เพอื่ เตรยี ม สอนจรงิ ความพร้อมของผเู้ รยี นสู่การสอบในระดบั ตา่ ง ๆ กิจกรรม 21st Century Skills กิจกรรมท่ีจะช่วย พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ที กั ษะทจี่ าํ เปน็ สาํ หรบั การเรยี นรแู้ ละการ ดาํ รงชวี ิตในโลกแหง่ ศตวรรษที่ 21 66



ค�ำแนะน�ำกำรใช้ คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5 จัดท�าขึ้นเพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนการจัดการเรียน การสอน เพอื่ พฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและประกนั คณุ ภาพผเู้ รยี น ตามนโยบายของส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) Chapter Overview นาํ นาํ สอน โซน 1สรปุ ประเมนิ โครงสร้างแผนและแนวทางการประเมินผเู้ รยี น ขน้ั นาํ 1หนวยการเรยี นรูท่ี ประจ�าหน่วยการเรียนรู้ วิทยาการคอมพิวเตอร กระตนุ ความสนใจ สอื่ ดจิ ิทลั และเทคโนโลยี Chapter Concept Overview สารสนเทศกบั การดาํ เนนิ ชวี ติ 1. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวย สรปุ สาระสา� คญั ประจา� หน่วยการเรยี นรู้ การเรียนรูท่ี 1 วิทยาการคอมพิวเตอร สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยีสารสนเทศกับ การดาํ เนนิ ชวี ติ เพอื่ วดั ความรเู ดมิ ของนกั เรยี น กอนเขา สูกิจกรรม 2. ครูถามคําถามประจําหัวขอวา “นักเรียนคิด วาวิทยาการคอมพิวเตอรมีความสําคัญตอ เทคโนโลยที ี่จะเกดิ ขึน้ ในอนาคตอยางไร” 3. ครูอธิบายใหนักเรียนฟงเพิ่มเติมวา “ปจจุบัน ผคู นในสงั คมไทยตอ งการอะไรทเี่ รว็ ขน้ึ สะดวก ขึ้น และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังน้ัน เพื่อ ตอบสนองแกความตองการเหลานี้ จึงทําให เกดิ วทิ ยาการคอมพิวเตอรข ้ึน เพ่ือนาํ ไปสูการ คดิ คน ทฤษฎี เทคโนโลยี และนวตั กรรมใหมๆ ” แนวตอบ Big Question วิทยาการคอมพิวเตอร สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยี วิทยาการคอมพิวเตอรเปนศาสตรที่เกี่ยวของ สารสนเทศมีบทบาทสําคัญตอการดําเนินชีวิตของ กับการศึกษาคนควาทฤษฎีการคํานวณทาง ผูค นในสงั คมปจ จุบันเปน อยา งมาก คอมพิวเตอร และทฤษฎีการประมวลผล สารสนเทศตางๆ ซ่ึงประกอบดวยหัวขอท่ีมี ตัวชีว้ ดั ความเกยี่ วขอ งกบั ขนั้ ตอนวธิ ตี งั้ แตร ะดบั นามธรรม ว 4.2 ม.5/1 รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมลู และใช้ความร้ดู า้ นวิทยาการคอมพวิ เตอร์ สือ่ ดจิ ทิ ัล เทคโนโลยสี ารสนเทศในการ ไปจนถึงระดับรูปธรรม ดังนั้น เทคโนโลยีที่จะ เกิดข้ึนในอนาคตจะตองมีประสิทธิภาพ และ แก้ปัญหา หรอื เพม่ิ มูลคา่ ใหก้ บั บรกิ ารหรือผลิตภณั ฑท์ ่ใี ชใ้ นชีวิตจริงอยา่ งสร้างสรรค์ โซน 1 ช่วยครูจัด ตอบสนองตอ ความตองการของคนในสงั คม หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา กำรเรยี นกำรสอน เกร็ดแนะครู แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้แก่ผู้สอน โดยแนะน�าข้นั ตอนการสอน และการจัดกิจกรรมอยา่ งละเอียด การเรียนการสอน เร่อื ง วิทยาการคอมพิวเตอร สือ่ ดจิ ทิ ัล และเทคโนโลยี เพือ่ ให้นกั เรยี นบรรลุผลสมั ฤทธต์ิ ามตัวช้ีวัด สารสนเทศกับการดํารงชีวิต ครูควรเนนใหนักเรียนศึกษาเก่ียวกับการนํา วิทยาการคอมพิวเตอร สือ่ ดิจิทัล และเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาประยกุ ตใชใ ห นำ� สอน สรปุ ประเมนิ เกดิ ประโยชนก บั การดาํ รงชวี ติ ของมนษุ ย รวมทงั้ ตระหนกั ถงึ ผลเสยี ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ จากการใชวิทยาการคอมพิวเตอร ส่ือดิจิทัล และเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิต โซน 2 ชว่ ยครเู ตรยี มสอน ประจาํ วันของมนุษย ประกอบด้วยองค์ประกอบตา่ ง ๆ ที่เป็นประโยชน ์ เพ่ือ โซน 3 ช่วยลดภาระในการสอนของครผู ู้สอน โซน 2 เกรด็ แนะครู T4 ความรเู้ สรมิ สา� หรบั คร ู ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ สงั เกต แนวทางการจดั กจิ กรรม เพอ่ื ประโยชน์ในการจดั การเรียนการสอน ห้องปฏิบัติการ (วิทยาศาสตร) นกั เรยี นควรรู้ คลินกิ ภาษา (ภาษาไทย) หอ้ งพยาบาล (สขุ ศึกษาฯ) ความรเู้ พมิ่ เตมิ จากเนอื้ หา เพอ่ื ใหค้ รนู า� ไปใชอ้ ธบิ ายใหน้ กั เรยี น บรู ณาการอาเซยี น การอธิบายหรือเสนอแนะสิ่งที่ควรระวัง หรือข้อควรปฏิบัติตาม ความรู้เสริม ให้ครูน�าไปใช้เตรียมความพร้อมนักเรียน เพ่ือ เน้ือหาในบทเรียน เข้าสู่ประชาคมอาเซียน เรียนรู้คา� ศัพท์ (วทิ ยาการคํานวณ) อธบิ ายค�าศพั ทท์ ่ีมีในบทเรยี นเพ่มิ เตมิ 68

โดยใช้หนังสอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ม.5 ของบรษิ ทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จา� กดั เปน็ สอื่ หลกั (Core Meterial) ประกอบการสอน และการจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นร ู้ และตวั ชวี้ ดั ของกล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยคูม่ ือครมู อี งค์ประกอบทงี่ า่ ยต่อการใชง้ าน ดังน้ี โซน 1 นาํ สอน สรปุ ประเมนิ โซน 3 ช่วยครเู ตรยี มนักเรียน คอมพิวเตอร นักเรียนคิดวา วิทยาการ 1 วดิทําเยนาินกชาีวรติ คอมพิวเตอรกบั การ ขน้ั สอน ประกอบด้วยแนวทางการจัดกิจกรรม และเสนอแนะ และเทคโนโลยี คอมพวิ เตอรม คี วามสาํ คญั แนวข้อสอบ เพอื่ อา� นวยความสะดวกให้แก่ครผู ู้สอน กบั การดาํ เนนิ ชวี ติ ตอ เทคโนโลยที จ่ี ะเกดิ ขน้ึ ใน วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) เป็น สาํ รวจคน หา อนาคตอยา งไร ศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการค�านวณทาง 1. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนศึกษาความหมาย กิจกรรม 21st Century Skills คอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้าน ของวิทยาการคอมพิวเตอร และคนหาหัวขอ กจิ กรรมท่ีใหน้ กั เรยี นไดป้ ระยกุ ต์ใชค้ วามรมู้ าสรา้ งชนิ้ งาน หรอื ซอฟตแ์ วร์ ฮารด์ แวร์ และเครอื ขา่ ย โดยวทิ ยาการคอมพวิ เตอรจ์ ะประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ท่ีควรศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร ท�ากิจกรรมรวบยอด เพื่อให้เกิดคุณลักษณะที่ระบุในทักษะ คอมพวิ เตอร์ ตัง้ แต่ระดบั นามธรรม หรอื ความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวเิ คราะหแ์ ละการสงั เคราะห์ จากหนงั สือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน เทคโนโลยี แห่งศตวรรษท ่ี 21 ขน้ั ตอนวธิ ี ไปจนถงึ ระดบั รปู ธรรม เชน่ ทฤษฎภี าษาโปรแกรม ทฤษฎกี ารพฒั นาซอฟตแ์ วร์ ทฤษฎี (วิทยาการคํานวณ) ม.5 หรือศึกษาเพิ่มเติม ทางดา้ นฮารด์ แวร์ ทฤษฎีการจัดการข้อมลู ทฤษฎสี อ่ื สารและเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ จากอนิ เทอรเ น็ต ขอ้ สอบเน้นการคดิ การเรียนรู้ศาสตร์ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์จะน�าไปสู่การคิดค้นทฤษฎีและนวัตกรรม 2. ครถู าม คาํ ตอบ กระตนุ ความคดิ ของนกั เรยี นวา ใหม่ ทั้งนี้เพอื่ ตอบสนองตอ่ ความต้องการของการใช้เทคโนโลยขี องคนในสังคม ทต่ี อ้ งการอะไรที่ • ถาหากไมมีวิทยาการคอมพิวเตอรในสังคม ตัวอย่างข้อสอบที่มุ่งเน้นการคิด มีท้ังปรนัย-อัตนัย พร้อม เรว็ ขนึ้ สะดวกขนึ้ และมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ โดยหวั ขอ้ ทคี่ วรศกึ ษาเกย่ี วกบั วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ เฉลยอยา่ งละเอียด มีดงั น้ี ไทยจะเปน อยางไร (แนวตอบ จะไมม เี ทคโนโลยี หรอื นวัตกรรม ขอ้ สอบเนน้ การคิดแนว O-NET ใหมๆ ท่ีตอบสนองความตองการ และจะ ทําใหสังคมไทยเปนสังคมท่ีลาหลังตอการ ตวั อยา่ งขอ้ สอบทมี่ งุ่ เนน้ การคดิ และเปน็ แนวขอ้ สอบ O-NET เปล่ียนแปลง) มที งั้ ปรนยั -อัตนัย พรอ้ มเฉลยอย่างละเอยี ด จะเปน็ โ1ป. รแกการรพมัฒภานษาาซไอพฟทตอ์แนว1ร(P์ กytาhรoพnัฒ) โนปารซแอกฟรมตภ์แวารษ์ดาว้ซยี2ก(Cา)รเโขปยี รนแโกปรรมแภการษมาภจาาษวาาต(่าJงavๆa)ไหมรว่ อืา่ กิจกรรมเสรมิ สร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โปรแกรมภาษา SQL จะตอ้ งเรียนร้ถู ึงหลักการเขยี นโปรแกรม และการออกแบบอัลกอริทึม เพ่ือ ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ออกมาให้มีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน ท้ังที่อยู่ กิจกรรมเสนอแนะแนวทางการเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึง ในรูปแบบของเว็บแอปพลิเคชัน (Web Application) โมบายแอปพลิเคชัน (Mobile Application) ประสงค์ เดสกท์ อ็ ปแอปพลเิ คชนั (Desktop Application) เกม (Games) และการพฒั นาซอฟตแ์ วรท์ ฝี่ งั ตวั ลง บนอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ เชน่ การพฒั นา กิจกรรมทา้ ทาย เว็บแอปพลิเคชันให้ข้อมูลเก่ียวกับการรักษา พยาบาลเบื้องต้นแก่ผู้ท่ีมีอาการเจ็บป่วย การ เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรม เพอื่ ตอ่ ยอดสา� หรบั นกั เรยี น พฒั นาโมบายแอปพลเิ คชนั ในการแจง้ เตอื นภยั ทเ่ี รยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และตอ้ งการทา้ ทายความสามารถใน การพัฒนาเดสก์ท็อปแอปพลิเคชันการบันทึก ระดบั ท่สี ูงขนึ้ ข้อมูลการปฏิบัติงาน การพัฒนาเกมเพ่ือ ส่งเสริมพัฒนาการทางการเรียนรู้ของเด็กท่ีมี กิจกรรมสร้างเสริม พฒั นาการทางสมองช้า การพฒั นาซอฟต์แวร์ ฝังตัวลงบนอุปกรณ์ตรวจจับสภาพอากาศเพ่ือ เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ สา� หรบั นกั เรยี นท่ี การจัดการการเกษตร ควรได้รบั การพัฒนาการเรยี นรู้ หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา 3 กจิ กรรม Geo-Literacy (ภูมิศาสตร) ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรม เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจลกั ษณะ ทางกายภาพของโลก ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม วิทยาการคอมพวิ เตอรม บี ทบาทตอการดาํ เนนิ ชีวติ อยางไร 1 ภาษาไพทอน คือ ภาษาที่ใชในการเขยี นโปรแกรม สามารถรนั ไดท้ังระบบ และน�าความรู้ไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจ�าวันได้ Unix, Windows NT, Windows 2000, Windows XP นอกจากนนั้ ยงั เปน Open (วิเคราะหคําตอบ วิทยาการคอมพิวเตอรเปนศาสตรที่ศึกษา Source ทาํ ใหส ามารถนาํ มาพฒั นาโปรแกรมไดฟ รี โดยไมต อ งเสยี คา ใชจ า ย และ เกี่ยวกับการคนควาทฤษฎีการคํานวณทางคอมพิวเตอร และ ใชงานไดก ับทุกลักษณะงาน ทฤษฎีการประมวณผลสารสนเทศ ซ่ึงถูกนํามาใชคิดคนทฤษฎี หรือนวัตกรรมตางๆ ท่ีตอบสนองความตองการของมนุษย เชน 2 ภาษาซี เปน ภาษาคอมพวิ เตอรท ใ่ี ชส าํ หรบั พฒั นาโปรแกรมทวั่ ไป ถกู พฒั นา การพฒั นาซอฟตแวร การสรางอุปกรณส อ่ื สาร การสรางอปุ กรณ ครง้ั แรกเพอื่ ใชพ ฒั นาระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู กิ ซ โปรแกรมในภาษาซที กุ โปรแกรมจะ ประกอบดวยฟง กช ันอยางนอ ยหนงึ่ ฟงกช นั คือ ฟงกชนั main ซ่งึ จะเริ่มทํางาน โซน 3ทางการแพทย) ที่ฟงกชัน main กอ น และในแตล ะฟงกช ันจะประกอบดว ย - Function Heading ประกอบดว ยชอ่ื ฟง กชัน โซน 2- Variable Declaration สวนประกาศตัวแปร ซึ่งโปรแกรมตองมีการ ประกาศกอนวา จะใชงานอยา งไร จะเก็บคาในรูปแบบใด - Compound Statements สวนของประโยคคําส่ังตางๆ ซึ่งแบงเปน ประโยคเชงิ ซอ น กับประโยคนิพจน T5 สือ่ Digital การแนะนา� แหลง่ คน้ คว้าจากส่อื Digital ตา่ ง ๆ แนวทางการวดั และประเมินผล การเสนอแนะแนวทางในการวดั และประเมนิ ผลนกั เรยี นทส่ี อดคลอ้ ง กับแผนการสอน 69

ค�ำอธิบำยรำยวิชำ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลาเรียน 20 ช่ัวโมง / ปี เทคโนโลยี (วทิ ยำกำรค�ำนวณ) ช้ันมธั ยมศกึ ษำปีที่ 5 ศกึ ษาเกยี่ วกบั วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ สอ่ื ดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การดา� เนนิ ชวี ติ เทคโนโลยกี ารจดั การขอ้ มลู ขอ้ มูล ฐานข้อมูล คลงั ข้อมลู การทา� เหมืองข้อมูล ประมวลผลข้อมูล วทิ ยาการข้อมลู ขอ้ มูลขนาดใหญ่ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และวิทยาการข้อมลู โดยอาศยั กระบวนการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem-based Learning) และการเรยี นรแู้ บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-based Learning) เพอ่ื เนน้ ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบตั ิ ฝึกทกั ษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแกป้ ัญหาวางแผนการ เรียนร ู้ ตรวจสอบการเรยี นร ู้ และน�าเสนอผ่านการท�ากิจกรรมโครงงาน เพอื่ ให้เกิดทกั ษะ ความร้ ู ความเขา้ ใจ และทักษะใน การวิเคราะห์โจทยป์ ญั หา จนสามารถน�าเอาแนวคิดเชงิ คา� นวณมาประยกุ ต์ใชใ้ นการสรา้ งโครงงานได้ เพอื่ ให้ผเู้ รียนสามารถใช้ความรทู้ างดา้ นวิทยาการคอมพิวเตอร ์ ส่อื ดจิ ิทลั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร เพอ่ื รวบรวมข้อมูลในชวี ติ จริงจากแหล่งตา่ ง ๆ และความรูจ้ ากศาสตร์อ่ืนมาประยกุ ต์ใช ้ สร้างความรู้ใหม ่ เข้าใจการเปลยี่ นแปลง ของเทคโนโลยีท่ีมผี ลตอ่ การด�าเนินชีวิต อาชพี สงั คม วัฒนธรรม และใช้อย่างปลอดภยั มีจรยิ ธรรม ตลอดจนน�าความรู้ ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการด�ารงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวน การคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจดั การทักษะในการสอ่ื สาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ เป็นผู้ทมี่ จี ิตวทิ ยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มในการใชว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์ ตวั ช้ีวัด ว 4.2 ม.5/1 รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมลู และใชค้ วามรู้ดา้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ สอื่ ดิจิทลั เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการ แกป้ ญั หาหรือเพม่ิ มูลค่าให้กับบรกิ ารหรอื ผลิตภัณฑ์ที่ใชใ้ นชวี ิตจริงอย่างสร้างสรรค์ รวม 1 ตัวชวี้ ัด 70

Pedagogy คู่มือครู รายวชิ า เ ทคโนโลยี (วทิ ยำกำรคำ� นวณ) ม.5 คู่มือครู รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ม.5 จดั ทา� ขนึ้ เพอ่ื ใหค้ รผู สู้ อนนา� ไปใชเ้ ปน็ แนวทางวางแผนการสอน เพอื่ พฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผเู้ รยี น โดยผสู้ อนสามารถวางแผน การจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 (ฉบับอนุญาต) ท่ีทางบริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จ�ากัด จัดพิมพ์จ�าหน่าย เพ่ือให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนร ู้ (Instructional Design) สอดคลอ้ งตามรูปแบบการเรียนรู้ที่ส�าคัญ 2 รูปแบบ คือ รปู แบบการสอนแบบ 5Es และรปู แบบการสอนแบบ ใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้ รูปแบบกำรสอน 5Es กระตนุ้ ความสนใจ 2 Explore อธิบายความรู้ 4 Expand ตรวจสอบผล 1 Engage 3 Explain 5 Evaluate สา� รวจคน้ หา ขยายความรู้ เลอื กใชว้ ฏั จกั รการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความร ู้ (5Es) เนอื่ งจากเปน็ กระบวนการเรยี นรทู้ ตี่ อ้ งการใหผ้ เู้ รยี นสรา้ งองคค์ วามรู้ ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิ และใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์เปน็ เครอ่ื งมือให้ผู้เรยี นได้ฝกึ วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ์ และทกั ษะการเรยี นรู้แห่งศตวรรษท่ ี 21 โดยเฉพาะทักษะด้านการเรยี นรูแ้ ละนวตั กรรม วธิ กี ำรสอน เทคนคิ กำรสอน ••• การใชก้ รณีตวั อยา่ ง ทกั ษะกำรเรยี นรูท้ ไี่ ด้ ••• ใชค้ า� ถาม การอภิปรายกลมุ่ ยอ่ ย ใช้ผังกราฟกิ การใช้สถานการณ์ • การคดิ เชิงคา� นวณ • การส่ือสาร ใ ชต้ ัวอย่างกรณีศึกษา จ�าลอง • การท�างานร่วมกนั • การแก้ปญั หา • การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ รูปแบบกำรสอนแบบใช้ปัญหำเปน็ ฐำน (Problem-Base Learning: PBL) ก�าหนดปัญหา ด�าเนินการศกึ ษาค้นควา้ สรปุ และประเมนิ คา่ ของค�าตอบ 1 23456 ท�าความเข้าใจปัญหา สังเคราะห์ความรู้ น�าเสนอและประเมนิ ผลงาน เลอื กใชร้ ปู แบบการสอนแบบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (PBL) เพราะเป็นรปู การสอนทใ่ี ห้ผู้เรียนสรา้ งความรูใ้ หม่จากการใช้ปัญหา ทเี่ กดิ ขนึ้ จรงิ ในโลก ซง่ึ เปน็ บรบิ ทของการเรยี นรทู้ ท่ี า� เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ทกั ษะในการคดิ วเิ คราะหแ์ ละคดิ แกป้ ญั หา การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานจงึ เปน็ ผลมาจากกระบวนการทา� งานทต่ี อ้ งอาศัยความเขา้ ใจและการแกไ้ ขปญั หาเปน็ หลัก ซึ่งสอดคล้องกบั วชิ าวิทยาการค�านวณ องคป์ ระกอบพืน้ ฐำนในกำรออกแบบหน่วยกำรเรียนรู้แบบ PBL หวั ข้อ (Topic) สาระส�าคัญ สถานการณ์ (Situation) ค�าถามทเ่ี กยี่ วกบั บทบาทของนักเรยี น กิจกรรมปิดท้าย (Theme) ปัญหา (Student Role) (Culminating Activity) เช่น พลังงาน สถานีพลงั งานในพ้ืนที่ (Problem Question) ผลกระทบของ ทนี่ กั เรยี นอาศยั อยไู่ ดถ้ กู ปดิ ลง นกั เรยี น คือ นักเรียนน�าเสนองานและ วิกฤติพลังงาน ซ่ึงเป็นผลมาจากแสงอาทิตย์ เราจะลดผลกระทบ ประชาชนในพื้นท่ีนั้น หนทางการแกป้ ญั หาของ ต่อมนุษย์และ นกั เรยี นตอ้ งประเมนิ สถานการณ์ ตอ่ พน้ื ทขี่ องเรา ซึ่งอยใู่ นทีมทต่ี ้อง พวกเขาตอ่ คณะกรรมการ ส่ิงแวดล้อม ในการหาแหล่งพลังงานใหม่ จากการปิดสถานี คอยชว่ ยเหลอื ฉกุ เฉนิ ทด่ี แู ลพน้ื ทนี่ ้ี เพอ่ื ตดั สนิ ใจ และแนวทางการแก้ปัญหาใน พลงั งานได้อยา่ งไร ส�าหรับประเด็นที่สูญเสีย การสญู เสยี พลงั งาน พลงั งาน 71

Teacher Guide Overview เทคโนโลยี (วิทยำกำรค�ำนวณ) ม.5 หน่วย ตวั ชว้ี ดั ทกั ษะที่ได้ เวลำทใ่ี ช้ กำรประเมนิ สือ่ ที่ใช้ กำรเรยี นรู้ 1 - รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มลู และใช ้ - ทกั ษะการสื่อสาร - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - หนงั สือเรียน ความรดู้ า้ นวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห ์ - ตรวจใบงาน รายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี วิทยาการ สอ่ื ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยสี ารสนเทศ - ทกั ษะการท�างานรว่ มกัน - ประเมินชิ้นงาน (วิทยาการคา� นวณ) ม.5 คอมพวิ เตอร์ ในการแก้ปัญหาหรือเพ่ิมมูลค่า - ทกั ษะการให้เหตผุ ล - ประเมินการน�าเสนอผลงาน - ใบงาน สือ่ ดจิ ิทัล และ ใหก้ บั บรกิ ารหรอื ผลติ ภณั ฑท์ ใ่ี ช้ - ทกั ษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้ 4 - ส งั เกตพฤติกรรมการ - วิดโี อสอ่ื การสอน ในชีวติ จรงิ อย่างสร้างสรรค์ - ท ักษะการใชเ้ ทคโนโลยี ทา� งานรายบคุ คล - ภ าพประกอบการสอน เทคโนโลยี (ว 4.2 ม.5/1) สารสนเทศ ช่วั โมง - สังเกตพฤติกรรมการ - PowerPoint สารสนเทศกับ การดาำ เนนิ ชวี ิต - ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ ทา� งานกลมุ่ ประกอบการสอน - ป ระเมินคุณลักษณะ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น อนั พึงประสงค์ และหลังเรยี น - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น - QR Code 2 - ร วบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มลู และใช้ - ทักษะการสื่อสาร - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - หนงั สือเรียน ความรดู้ า้ นวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ - ทักษะการคิดวิเคราะห ์ - ตรวจใบงาน รายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี เทคโนโลยี สอื่ ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยสี ารสนเทศ - ทกั ษะการทา� งานรว่ มกนั - ประเมินช้นิ งาน (วิทยาการคา� นวณ) ม.5 การจัดการ ในการแก้ปัญหาหรือเพ่ิมมูลค่า - ทกั ษะการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ - ประเมนิ การน�าเสนอผลงาน - ใบงาน ใหก้ บั บรกิ ารหรอื ผลติ ภณั ฑท์ ใี่ ช้ - ทักษะการใช้เทคโนโลยี 4 - สังเกตพฤตกิ รรมการ - วดิ โี อส่ือการสอน ข้อมูล ในชีวิตจริงอยา่ งสรา้ งสรรค์ สารสนเทศ ท�างานรายบุคคล - ภ าพประกอบการสอน ชว่ั โมง (ว 4.2 ม.5/1) - ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ - สงั เกตพฤตกิ รรมการ - PowerPoint - ทักษะการสงั เกต ทา� งานกลมุ่ ประกอบการสอน - ทกั ษะการแกป้ ัญหา - ประเมนิ คณุ ลักษณะ - แบบทดสอบก่อนเรียน อนั พึงประสงค์ และหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน - QR Code 3 - รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มลู และใช้ - ทักษะการส่ือสาร - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - หนงั สอื เรยี น ความรดู้ า้ นวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห ์ - ตรวจใบงาน รายวิชาพืน้ ฐาน เทคโนโลยี ประมวลผล สอื่ ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยสี ารสนเทศ - ทกั ษะการท�างานรว่ มกนั - ประเมินชิน้ งาน (วิทยาการค�านวณ) ม.5 ขอ้ มูล ในการแก้ปัญหาหรือเพ่ิมมูลค่า - ทักษะการใหเ้ หตผุ ล - ประเมนิ การนา� เสนอผลงาน - ใบงาน ใหก้ บั บรกิ ารหรอื ผลติ ภณั ฑท์ ใ่ี ช้ - ท ักษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ 6 - สังเกตพฤตกิ รรมการ - วดิ โี อสื่อการสอน ในชีวติ จรงิ อยา่ งสร้างสรรค์ - ท กั ษะการใช้เทคโนโลยี ทา� งานรายบคุ คล - ภ าพประกอบการสอน (ว 4.2 ม.5/1) สารสนเทศ ช่ัวโมง - สังเกตพฤติกรรมการ - PowerPoint - ทกั ษะการคิดเชงิ คา� นวณ ทา� งานกลุ่ม ประกอบการสอน - ทักษะการแกป้ ญั หา - ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ท ักษะการคิดอย่างเป็น อนั พึงประสงค์ และหลงั เรียน ระบบ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น - QR Code 4 - ร วบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มลู และใช ้ - ทกั ษะการสื่อสาร - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - หนงั สอื เรยี น ความรดู้ า้ นวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ตรวจใบงาน รายวิชาพืน้ ฐาน เทคโนโลยี วทิ ยาการข้อมลู สอ่ื ดจิ ทิ ลั เทคโนโลยสี ารสนเทศ - ทกั ษะการท�างานร่วมกัน - ประเมินชิ้นงาน (วิทยาการค�านวณ) ม.5 ในการแก้ปัญหาหรือเพ่ิมมูลค่า - ท ักษะการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ - ประเมนิ การนา� เสนอผลงาน - ใบงาน ใหก้ บั บรกิ ารหรอื ผลติ ภณั ฑท์ ใี่ ช้ - ทกั ษะการใช้เทคโนโลยี - สังเกตพฤติกรรมการ - วดิ ีโอสื่อการสอน ในชวี ิตจรงิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ สารสนเทศ 6 ทา� งานรายบคุ คล - ภ าพประกอบการสอน (ว 4.2 ม.5/1) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สงั เกตพฤตกิ รรมการ - PowerPoint - ทกั ษะการใหเ้ หตุผล ชว่ั โมง ทา� งานกลุ่ม ประกอบการสอน - ทักษะการสงั เกต - ประเมินคณุ ลักษณะ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ทักษะการแก้ปญั หา อันพึงประสงค์ และหลงั เรยี น - ท กั ษะการคิดอยา่ งเป็น - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น - QR Code ระบบ 72

สำรบัญ Chapter Title Chapter Chapter Teacher Overview Concept Script หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วทิ ยำกำรคอมพิวเตอร์ Overview สือ่ ดิจิทลั และเทคโนโลยี T2 T4 สำรสนเทศกบั กำรดำ� เนินชวี ติ T3 T20 T5-T9 • วิทยาการคอมพิวเตอร์กบั การดา� เนินชวี ติ T21 T10-T13 • ส่ือดจิ ิทลั กับการด�าเนินชีวติ T42 T14-T15 • เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การด�าเนนิ ชวี ติ T74 T43 T16-T17 • การเพมิ่ มลู คา้ ใหก้ ับสินคา้ และบริการ T75 T18-T19 ท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ท่ ี 1 T22 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เทคโนโลยกี ำรจดั กำรข้อมูล T23-T28 • ข้อมลู T29-T32 • ฐานขอ้ มลู T33-T36 • คลังข้อมูล T37-T39 • การท�าเหมอื งข้อมูล T40-T41 ท้ายหน่วยการเรียนรู้ท ี่ 2 T44 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 ประมวลผลข้อมลู T45-T71 • การประมวลผลข้อมูล T72-T73 ทา้ ยหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 T76 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 4 วิทยำกำรขอ้ มูล T77-T88 • ข้อมลู ขนาดใหญ่ T89-T90 • การวเิ คราะหข์ อ้ มลู T91-T97 • วทิ ยาการข้อมลู T98-T99 ท้ายหน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4 T100 บรรณำนกุ รม 73

Chapter Overview แผนการจัด สือ่ ท่ีใช้ จุดประสงค์ วธิ ีสอน ประเมนิ ทักษะที่ได้ คณุ ลักษณะ การเรยี นรู้ อนั พึงประสงค์ แผนฯ ท่ี 1 - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1. อธบิ ายความหมายของ สบื เสาะหา - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี - มวี ินยั วทิ ยาการ - ห นังสือเรียน รายวิชา วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ ความรู ้ (5Es) ก่อนเรียน สารสนเทศ - ใฝ่เรยี นรู้ คอมพิวเตอร์กบั พืน้ ฐาน เทคโนโลยี ได้ (K) - ส ังเกตพฤตกิ รรม - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ - มงุ่ มั่นใน การด�าเนินชวี ติ (วิทยาการคา� นวณ) ม.5 2. สบื คน้ ขอ้ มลู ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง การท�างานรายบุคคล - ทักษะการสอ่ื สาร การทา� งาน กบั วทิ ยาการ - ประเมนิ คณุ ลักษณะ - ทักษะการท�างาน คอมพวิ เตอร์ได ้ (P) อันพงึ ประสงค์ ร่วมกนั 1 3. เลง็ เห็นถึงความส�าคญั - สงั เกตพฤตกิ รรม ชวั่ โมง ของวิทยาการ การทา� งานกลุม่ คอมพิวเตอร์ (A) - ประเมินการน�าเสนอ ผลงาน แผนฯ ท่ี 2 - หนังสือเรียน รายวชิ า 1. อ ธบิ ายความหมายของ สบื เสาะหา - แบบประเมินชน้ิ งาน - ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี - มวี ินัย พืน้ ฐาน เทคโนโลย ี สอ่ื ดจิ ทิ ลั ได้ (K) ความรู ้ (5Es) - สงั เกตพฤติกรรม สารสนเทศ - ใฝเ่ รยี นรู้ ส่ือดจิ ทิ ัลกับ (วิทยาการค�านวณ) ม.5 2. บอกองค์ประกอบของ การท�างานรายบคุ คล - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - มุ่งมั่นใน การดา� เนินชีวิต - คลิปวดิ ีโอ เรื่อง สื่อ สื่อดจิ ิทัลได ้ (K) - ป ระเมนิ คุณลกั ษณะ - ทกั ษะการให้เหตผุ ล การท�างาน ดจิ ทิ ัลกับการด�าเนินชีวติ 3. ยกตัวอย่างประเภทของ อนั พึงประสงค์ - ท กั ษะการคดิ 1 - ตวั อยา่ งภาพ สอื่ ดิจิทลั ได ้ (K) สร้างสรรค์ infographic 4. ส ร้างชนิ้ งานอธิบาย ชั่วโมง - ต วั อยา่ งส่ือดจิ ทิ ัล ขอ้ ดี-ข้อเสียของ ประเภทตา่ ง ๆ สือ่ ดจิ ิทลั ได ้ (P) 5. เ ห็นประโยชนข์ อง ส่อื ดิจทิ ลั (A) แผนฯ ท่ี 3 - ห นังสือเรยี น รายวิชา 1. อธบิ ายความหมายของ สบื เสาะหา - ต รวจใบงาน เร่ือง - ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี - มีวนิ ยั พืน้ ฐาน เทคโนโลยี เ ทคโนโลยีสารสนเทศได ้ ความรู้ (5Es) ประโยชนข์ อง สารสนเทศ - ใฝเ่ รยี นรู้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5 (K) เทคโนโลยสี ารสนเทศ - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ - มงุ่ มนั่ ใน สารสนเทศกบั - ใ บงาน เรอ่ื ง ประโยชน์ 2. บ อกประโยชนข์ อง - สังเกตพฤติกรรม - ทกั ษะการส่อื สาร การทา� งาน การดา� เนนิ ชวี ติ ของเทคโนโลยี เ ทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การท�างานรายบคุ คล - ทักษะการทา� งาน สารสนเทศ การดา� เนินชวี ติ ได้ (K) - ป ระเมินคณุ ลักษณะ ร่วมกัน 1 3. สบื ค้นขอ้ มลู โดยใช้ อนั พึงประสงค์ เทคโนโลยีสารสนเทศได ้ ช่วั โมง (P) 4. สนใจใฝร่ ู้ในการศกึ ษา (A) แผนฯ ที่ 4 - แบบทดสอบหลังเรยี น 1. บ อกเทคโนโลยที ่ชี ว่ ย สืบเสาะหา - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี - มวี ินยั - หนังสือเรียน รายวชิ า เพ่มิ มูลคา่ ให้กับสนิ คา้ ความร ู้ (5Es) หลงั เรยี น สารสนเทศ - ใฝเ่ รียนรู้ การเพ่ิมมลู คา่ พ้นื ฐาน เทคโนโลยี และบรกิ ารได้ (K) - ตรวจช้นิ งาน/ - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - มุง่ มัน่ ใน ใหก้ ับสินคา้ และ (วทิ ยาการค�านวณ) ม.5 2. ออกแบบสนิ คา้ หรอื ภ าระงาน (รวบยอด) - ท ักษะการประยุกต์ การท�างาน บรกิ าร บรกิ ารเพอ่ื ยกระดบั และ เรือ่ ง การเพมิ่ มลู คา่ ใชค้ วามรู้ เพม่ิ มลู คา่ ให้กบั สินค้า สินคา้ OTOP - ทกั ษะการส่ือสาร 1 ได้ (P) - ป ระเมินการน�าเสนอ - ทกั ษะการใชเ้ หตุผล 3. เ หน็ ประโยชนข์ องการ ผลงาน - ทกั ษะการท�างาน ชั่วโมง เพิ่มมลู ค่าให้กบั สินคา้ - ส ังเกตพฤติกรรม ร่วมกนั และบรกิ าร (A) การทา� งานรายบุคคล 4. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา - ส ังเกตพฤติกรรม (A) การทา� งานกล่มุ - ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ อันพงึ ประสงค์ T2 74

Chapter Concept Overview หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ 1 วิทยาการคอมพิวเตอร์กับการดา� เนินชวี ติ วทิ ยาการคอมพวิ เตอร ์ เปน็ ศาสตรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาคน้ ควา้ ทฤษฎกี ารคา� นวณทางคอมพวิ เตอร ์ และทฤษฎกี ารประมวลผลสารสนเทศ โดยหัวขอ้ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั วทิ ยาการค�านวณ มีดงั นี้ • ก ารพัฒนาซอฟต์แวร์ มีรูปแบบทไ่ี ดร้ บั ความนิยม คือ Waterfall Model ซงึ่ มีขนั้ ตอน ดงั นี้ การวางแผน การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาระบบ การบา� รงุ รกั ษาระบบ • โครงสรา้ งและการควบคมุ ระบบคอมพิวเตอร ์ หนว่ ยรับ หน่วยประมวล หน่วยแสดงผล ข้อมลู ผลขอ้ มลู ข้อมูล • ก ารส่ือสารระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เป็นการศึกษาเก่ียวกับทฤษฎีการสื่อสารข้อมูล โครงสร้าง โปรโตคอลของระบบ เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ การน�าคอมพวิ เตอร์หรอื อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ สม์ าเช่ือมตอ่ ผา่ นเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ • การน�าไปใช้งานดา้ นกราฟกิ เปน็ การประยกุ ต์หลักคณติ ศาสตรม์ าผสานกับการออกแบบช้ินงาน • การประยกุ ต์ใช้งานอยา่ งชาญฉลาด เป็นการสร้างปญั ญาประดษิ ฐเ์ พื่อนา� ไปประยกุ ตใ์ ช้งาน • การค�านวณและประยกุ ต์ใชง้ าน เปน็ การศกึ ษาคน้ คว้า และนา� ไปใชเ้ กี่ยวกับหลกั การค�านวณของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ และการนา� ไปใช้ ในระดับสงู สอ่ื ดิจทิ ลั กบั การดา� เนินชีวิต • องค์ประกอบของสือ่ ดิจิทัล ประกอบด้วยขอ้ ความ เสยี ง ภาพนิง่ ภาพเคล่ือนไหว และวดิ ีโอ • ประเภทของส่ือดิจทิ ลั ทพ่ี บเหน็ ในปจั จุบนั ไดแ้ ก ่ CD Training CD Presentation CD/DVD และ E-Book • ข อ้ ดีและข้อเสียของสื่อดิจทิ ลั ข้อดี คือ ความคงทน น�าไปใชง้ านไดห้ ลากหลายวธิ ี ผสมผสานกบั ส่อื รปู แบบอนื่ ได้ นา� มาปรับแต่งไดง้ ่าย และขอ้ เสยี คือ อาจนา� ไปสกู่ ารกระทา� ผิดไดง้ า่ ย เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การดา� เนินชีวิต เทคโนโลยสี ารสนเทศมปี ระโยชนใ์ นหลายดา้ น เชน่ ลดเวลาการทา� งาน ลดตน้ ทนุ ชว่ ยใหก้ ารสอ่ื สารเปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ ชว่ ยใหก้ ารทา� งาน เปน็ ไปอย่างราบร่นื ช่วยในการตัดสนิ ใจ เสริมสรา้ งคุณภาพชีวิตทีด่ ขี ึ้น สรา้ งความได้เปรยี บในการแขง่ ขนั การเพิม่ มูลคา่ ให้กบั สนิ คา้ และบริการ • เทคโนโลยที างดา้ นฮารด์ แวร ์ นา� มาชว่ ยในกระบวนการผลติ เพอ่ื ใหส้ ามารถสรา้ งผลติ ภณั ฑไ์ ดม้ ากขนึ้ ลดเวลา กา� ลงั แรงงาน และตน้ ทนุ การผลิต • เทคโนโลยีทางดา้ นซอฟต์แวร์ เพอื่ ชว่ ยเพมิ่ ขดี ความสามารถในดา้ นการผลิตสินค้าและบรกิ าร • เ ทคโนโลยดี ้านการจัดการขอ้ มูล ทา� ใหส้ ามารถน�าข้อมูลไปวิเคราะห ์ สงั เคราะห ์ เพ่อื ช่วยเพม่ิ มลู คา่ ให้กับสินค้าและบริการ T3 75

นำ� น�ำ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ นา� 1หนว ยการเรียนรูที่ สวิทอ่ื ยดาิจกทิ าลั รคแลอะมเทพคิวโเนตโอลยรี กระตนุ้ ความสนใจ สารสนเทศกบั การดาํ เนนิ ชวี ติ 1. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวย วิทยาการคอมพิวเตอร สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยี การเรียนรูที่ 1 วิทยาการคอมพิวเตอร สารสนเทศมีบทบาทสําคัญตอการดําเนินชีวิตของ สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยีสารสนเทศกับ ผูค นในสงั คมปจจุบนั เปนอยา งมาก การดาํ เนนิ ชวี ติ เพอื่ วดั ความรเู ดมิ ของนกั เรยี น ตวั ชี้วัด กอ นเขา สูกิจกรรม ว 4.2 ม.5/1 รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มูล และใช้ความรดู้ ้านวิทยาการคอมพวิ เตอร์ ส่ือดจิ ทิ ัล เทคโนโลยีสารสนเทศในการ แก้ปญั หา หรอื เพม่ิ มลู คา่ ให้กบั บรกิ ารหรือผลิตภณั ฑท์ ่ใี ชใ้ นชีวติ จริงอยา่ งสร้างสรรค์ 2. ครถู ามคาํ ถามประจําหวั ขอวา • นกั เรยี นคดิ วา วทิ ยาการคอมพวิ เตอรม คี วาม สําคัญตอเทคโนโลยีที่จะเกิดข้ึนในอนาคต อยา งไร (แนวตอบ วิทยาการคอมพวิ เตอรเ ปนศาสตร ท่ีเกี่ยวของกับการศึกษาคนควาทฤษฎีการ คํานวณทางคอมพิวเตอร และทฤษฎีการ ประมวลผลสารสนเทศตางๆ ซึ่งประกอบ ดวยหัวขอท่ีมีความเกี่ยวของกับขั้นตอน ตง้ั แตร ะดบั นามธรรมไปจนถงึ ระดบั รปู ธรรม ดังน้ัน เทคโนโลยีท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตจะ ตอ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และตอบสนองตอ ความ ตอ งการของคนในสังคม) 3. ครูอธิบายใหนักเรียนฟงเพิ่มเติมวา “ปจจุบัน ผคู นในสงั คมไทยตอ งการอะไรทเี่ รว็ ขน้ึ สะดวก ข้ึน และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังน้ัน เพ่ือ ตอบสนองแกความตองการเหลาน้ี จึงทําให เกิดวทิ ยาการคอมพิวเตอรขน้ึ เพือ่ นําไปสูการ คดิ คน ทฤษฎี เทคโนโลยี และนวตั กรรมใหมๆ ” หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา เกร็ดแนะครู การเรยี นการสอน เรอ่ื ง วทิ ยาการคอมพิวเตอร สอื่ ดจิ ิทลั และเทคโนโลยี สารสนเทศกับการดํารงชีวิต ครูควรเนนใหนักเรียนศึกษาเก่ียวกับการนํา วทิ ยาการคอมพิวเตอร สอ่ื ดิจทิ ัล และเทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกตใชใ ห เกดิ ประโยชนก บั การดาํ รงชวี ติ ของมนษุ ย รวมทงั้ ตระหนกั ถงึ ผลเสยี ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ จากการใชวิทยาการคอมพิวเตอร สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิต ประจาํ วันของมนษุ ย T4 76

นำ� สอน สรปุ ประเมนิ ชวี ติ นักเรียนคิดวา วิทยาการ 1 วดิทําเยนานิ กชาีวริตคอมพวิ เตอรกับการ ขนั้ สอน คอมพวิ เตอรม คี วามสาํ คญั ตอ เทคโนโลยที จ่ี ะเกดิ ขนึ้ ใน วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) เป็น สา� รวจคน้ หา อนาคตอยา งไร ศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการค�านวณทาง 1. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนศึกษาความหมาย คอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้าน ของวิทยาการคอมพิวเตอร และคนหาหัวขอ ซอฟตแ์ วร์ ฮารด์ แวร์ และเครอื ขา่ ย โดยวทิ ยาการคอมพวิ เตอรจ์ ะประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ท่ีควรศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร์ ตง้ั แตร่ ะดับนามธรรม หรอื ความคิดเชงิ ทฤษฎี เช่น การวิเคราะหแ์ ละการสงั เคราะห์ จากหนังสอื เรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน เทคโนโลยี ขนั้ ตอนวธิ ี ไปจนถงึ ระดบั รปู ธรรม เชน่ ทฤษฎภี าษาโปรแกรม ทฤษฎกี ารพฒั นาซอฟตแ์ วร์ ทฤษฎี (วิทยาการคํานวณ) ม.5 หรือศึกษาเพ่ิมเติม ทางดา้ นฮารด์ แวร์ ทฤษฎกี ารจดั การข้อมูล ทฤษฎสี ่ือสารและเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ จากอนิ เทอรเน็ต การเรียนรู้ศาสตร์ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์จะน�าไปสู่การคิดค้นทฤษฎีและนวัตกรรม ใหม่ ทั้งน้ีเพื่อตอบสนองตอ่ ความต้องการของการใชเ้ ทคโนโลยีของคนในสงั คม ที่ตอ้ งการอะไรท่ี 2. ครถู าม คาํ ถาม กระตนุ ความคดิ ของนกั เรยี นวา เรว็ ขน้ึ สะดวกขนึ้ และมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ โดยหวั ขอ้ ทคี่ วรศกึ ษาเกยี่ วกบั วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ • ถาหากไมมีวิทยาการคอมพิวเตอรในสังคม มดี ังนี้ ไทยจะเปนอยางไร (แนวตอบ จะไมม เี ทคโนโลยี หรือนวัตกรรม ใหมๆ ท่ีตอบสนองความตองการ และจะ ทําใหสังคมไทยเปนสังคมที่ลาหลังตอการ เปล่ยี นแปลง) จะเปน็ โ1ป. รแกการรพมฒัภานษาาซไอพฟทตอ์แนว1ร(P์ กytาhรoพnฒั) โนปารซแอกฟรมตภแ์ วารษด์ าว้ซยี2ก(Cา)รเโขปียรนแโกปรรมแภการษมาภจาาษวาาต(า่Jงavๆa)ไหมร่วอืา่ โปรแกรมภาษา SQL จะต้องเรียนรถู้ งึ หลกั การเขียนโปรแกรม และการออกแบบอัลกอรทิ มึ เพ่อื ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ออกมาให้มีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน ท้ังที่อยู่ ในรูปแบบของเว็บแอปพลเิ คชัน (Web Application) โมบายแอปพลิเคชนั (Mobile Application) เดสกท์ อ็ ปแอปพลเิ คชนั (Desktop Application) เกม (Games) และการพฒั นาซอฟตแ์ วรท์ ฝี่ งั ตวั ลง บนอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ เชน่ การพฒั นา เว็บแอปพลิเคชันให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษา พยาบาลเบ้ืองต้นแก่ผู้ที่มีอาการเจ็บป่วย การ พฒั นาโมบายแอปพลเิ คชนั ในการแจง้ เตอื นภยั การพัฒนาเดสก์ท็อปแอปพลิเคชันการบันทึก ข้อมูลการปฏิบัติงาน การพัฒนาเกมเพ่ือ ส่งเสริมพัฒนาการทางการเรียนรู้ของเด็กท่ีมี พฒั นาการทางสมองชา้ การพฒั นาซอฟต์แวร์ ฝังตัวลงบนอุปกรณ์ตรวจจับสภาพอากาศเพื่อ การจัดการการเกษตร หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา 3 ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู วทิ ยาการคอมพวิ เตอรมบี ทบาทตอการดําเนินชีวิตอยางไร 1 ภาษาไพทอน คือ ภาษาท่ใี ชใ นการเขียนโปรแกรม สามารถรันไดท ้ังระบบ Unix, Windows NT, Windows 2000, Windows XP นอกจากนน้ั ยงั เปน Open (วิเคราะหคําตอบ วิทยาการคอมพิวเตอรเปนศาสตรท่ีศึกษา Source ทาํ ใหส ามารถนาํ มาพฒั นาโปรแกรมไดฟ รี โดยไมต อ งเสยี คา ใชจ า ย และ เก่ียวกับการคนควาทฤษฎีการคํานวณทางคอมพิวเตอร และ ใชง านไดก ับทกุ ลักษณะงาน ทฤษฎีการประมวณผลสารสนเทศ ซ่ึงถูกนํามาใชคิดคนทฤษฎี หรือนวัตกรรมตางๆ ที่ตอบสนองความตองการของมนุษย เชน 2 ภาษาซี เปน ภาษาคอมพวิ เตอรท ใ่ี ชส าํ หรบั พฒั นาโปรแกรมทวั่ ไป ถกู พฒั นา การพัฒนาซอฟตแ วร การสรา งอปุ กรณส ื่อสาร การสรางอปุ กรณ ครง้ั แรกเพอ่ื ใชพ ฒั นาระบบปฏบิ ตั กิ ารยนู กิ ซ โปรแกรมในภาษาซที กุ โปรแกรมจะ ทางการแพทย) ประกอบดวยฟงกชนั อยางนอ ยหนงึ่ ฟง กช นั คือ ฟงกช นั main ซ่ึงจะเร่มิ ทํางาน ทฟ่ี ง กชัน main กอ น และในแตละฟงกช นั จะประกอบดวย - Function Heading ประกอบดวยช่อื ฟงกช ัน - Variable Declaration สวนประกาศตัวแปร ซึ่งโปรแกรมตองมีการ ประกาศกอ นวาจะใชง านอยา งไร จะเกบ็ คา ในรปู แบบใด - Compound Statements สวนของประโยคคําส่ังตางๆ ซึ่งแบงเปน ประโยคเชิงซอ นและประโยคนพิ จน T5 77

นำ� สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน ในการพฒั นาซอฟตแ์ วรจ์ ะตอ้ งเลอื กรปู แบบใหเ้ หมาะสมกบั การนา� ไปใชง้ าน โดยรปู แบบ การพฒั นาโปรแกรมทไี่ ดร้ บั ความนยิ มมากทสี่ ดุ คอื Waterfall Model หรอื โมเดลนา�้ ตก เนอื่ งจาก อธบิ ายความรู้ มรี ปู แบบขน้ั ตอนวธิ กี ารดา� เนนิ งานทช่ี ดั เจน และงา่ ยตอ่ การนา� ไปใช้ โดยขน้ั ตอนในการดา� เนนิ งาน ของโมเดลน�้าตก จะเร่ิมดา� เนินงานในข้นั ตอนที่หน่ึงกอ่ น แลว้ จึงดา� เนินงานในขั้นตอนที่สองและ 1. ครูสมุ นักเรยี น 2-3 คน ออกมาอธิบายความ ขั้นตอนถัดไปจนเสร็จ ซ่ึงในการด�าเนินงานนั้นจะไม่สามารถข้ามไปท�าข้ันตอนต่อไปได้เมื่อ หมายและหัวขอที่เกี่ยวของของวิทยาการ ขนั้ ตอนทท่ี า� อยยู่ งั ไมเ่ สรจ็ และไมส่ ามารถยอ้ นกลบั ไปทา� งานขน้ั ตอนกอ่ นหนา้ ได้ แตใ่ นปจั จบุ นั ได้ คอมพวิ เตอร มกี ารปรบั ปกรางุ รรพปู ัฒแบนบาซกอารฟดตา� ์แเนวนิร์แงบานบใหWส้ aาtมeาrfรaถllยอM้ นoกdลelบั1มมาขี แ้นั กต้ไอขนขกน้ั าตรอดนา� ดเนา� นิเนงนิานงานดกงั นอ่ ี้นหนา้ ได้ 2. ครูมอบหมายงานใหนักเรียนแตละกลุมศึกษา รายละเอียดเกี่ยวกับหัวขอตางๆ ท่ีเกี่ยวของ กับวิทยาการคอมพิวเตอร 3. ครูอาจยกตัวอยางโมเดลท่ีมีรูปแบบการ ดาํ เนนิ งานทชี่ ดั เจน เชน โมเดลนาํ้ ตก 1 การวางแผน เป็นข้ันตอนการวางแผน การวางแผน ด�าเนินงาน และรวบรวมความต้องการต่าง ๆ ของผ้ใู ช้งาน 2 การวิเคราะห์ระบบ เป็นการน�าความ ต้องการของผู้ใช้งานมาวิเคราะห์ เพ่ือหาข้อ การวเิ คราะหร์ ะบบ สรุป การออกแบบระบบ 3 การออกแบบระบบ เป็นการออกแบบ รายงาน สว่ นตดิ ตอ่ ความสมั พนั ธต์ า่ ง ๆ ระหวา่ ง ผู้ใชง้ านกบั ระบบ การพฒั นาระบบ 4 การพฒั นาระบบ เปน็ ขนั้ ตอนการลงมอื พฒั นาระบบเพ่อื ให้ได้ซอฟต์แวรท์ ่ตี ้องการ 5 การบ�ารงุ รกั ษาระบบ การบา� รงุ รกั ษาระบบ เป็นการแก้ไขปัญหาท่ีอาจ0เ0ก1ดิ 01100101010001100010100011001010101001 ขไซปอ้อใผฟชิดต้งพาแ์ นลวรา์ทดกี่พบั ฒั รนะบาเบสเรมจ็ อ่ื แน1000ล01000า�0้ว110111000010000111110000010001101001100011001100000110010011100100000011101001100000011101000001111110000001101000110000ภ00100า11111พ00010ท10000 ่ี01001100110.110011011 0ขผ0000110อัง1แ010ง0110ส1W010ด00000งa11ขte0นั้ rตfaอllนMดา�oเdนeนิ l งาน 101001001100111001010101001100010100101010 010101000101001010010110010101001 00101100101010001100010100011001010101001 0010010100100100100101001001001010010100 101001001100111001010101001100010100101010 หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา 010101000101001010010110010101001 4 นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิด 1 Waterfall Model มีขอ ดี คือ มกี ารแบงกระบวนการเปนการนยิ ามความ ขอ ใดไมใชขน้ั ตอนการดาํ เนินงานของ Waterfall Model ตองการ การออกแบบภายนอก การออกแบบภายใน การเขยี นโปรแกรม และ 1. การพัฒนาระบบ การทดสอบ ซึ่งแตละกระบวนการจะถูกตัดขาดออกจากกัน ทําใหงายในการ 2. การวิเคราะหระบบ ควบคุมและติดตามการพัฒนา ทําใหสามารถพัฒนาระบบไดตรงตามเวลาท่ี 3. การออกแบบระบบ กําหนด แตมขี อ เสยี คอื ตองรอใหก ารออกแบบท้ังหมดเสรจ็ สมบูรณกอนจงึ จะ 4. การตรวจสอบระบบ เรมิ่ เขียนโปรแกรมได ตอ งจัดทาํ เอกสารมากทําใหสิ้นเปลืองเวลา ผูใชงานตอ ง 5. การบํารุงรักษาระบบ รอใหร ะบบงานทงั้ หมดเสรจ็ กอ นจงึ จะใชง านได ไมส ามารถนาํ ระบบบางสว นมา (วเิ คราะหค าํ ตอบ การดาํ เนนิ งานของ Waterfall Model แบง ออก ใชงานกอน และเคร่ืองมือท่ีชว ยในการพฒั นาซอฟตแวรในปจ ุบนั มักรวมหลาย ข้ันตอนเขาดว ยกัน จึงไมเ หมาะกับการพฒั นาแบบ Waterfall Model เปน 5 ขนั้ ตอน ไดแ ก การวางแผน การวเิ คราะหร ะบบการออกแบบ ระบบ การพัฒนาระบบ และการบํารุงรักษาระบบ ดังนั้น ตอบขอ 4.) T6 78

นำ� สอน สรุป ประเมนิ 2. โครงสรา้ งและการควบคมุ ระบบคอมพวิ เตอร์ เปน็ การเรยี นรโู้ ครงสรา้ งและสถาปตั ยกรรม ขนั้ สอน ทางดา้ นคอมพิวเตอร์ ท้ังดา้ นฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เชน่ ซอฟตแ์ วรพ์ ืน้ ฐานทค่ี อมพิวเตอรต์ อ้ ง มเี พ่อื ใช้ในการตดิ ต่อสือ่ สารกบั ผู้ใชง้ านทเี่ รียกว่า “ระบบปฏบิ ัตกิ าร” ให้ทา� งานได้เร็วและมีความ อธบิ ายความรู้ เสถียรภาพ มีวงจรคอมพิวเตอร์ที่ใช้เฉพาะงานท่ีเรียกว่า “ไมโครโปรเซสเซอร์” รวมถึงการ แเขล้าะรบหนัสเคถรอือดขร่าหยัสคอเมพพื่อใิวชเตใ้ นอกรา์ รโคดวยบโคครุมงดสแู รล้าคงขวาอมงรปะลบอบดคภอัยมขพอิวงเขตอ้ อมรูล1์จทะต่อี ้อยูใ่งนปเรคะรกือ่ องบคไอปมดพ้วิวยเสต่วอนร์ 4. ครูใหนักเรียนจับกลุม กลุมละ 4-5 คน ประกอบส�าคัญ 3 ส่วน คือ หน่วยรับข้อมูล (Input) หน่วยประมวลผลข้อมูล (Process) และ พรอมสงตัวแทนออกมาจับสลากหัวขอเรื่อง หนว่ ยแสดงผลข้อมลู (Output) โดยหัวขอเรื่องท่กี ําหนดให มดี งั น้ี 1) การพัฒนาซอฟตแวร หนว่ ยรับ หนว่ ยประมวล หน่วยแสดงผล 2) โครงสรา งและการควบคมุ ระบบคอมพวิ เตอร ข้อมลู ผลขอ้ มูล ข้อมูล 3) การสอื่ สารระหวา งเครอ่ื งคอมพวิ เตอร หรอื อปุ กรณส อ่ื สาร ภาพที่ 1.2 ผงั แสดงโครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์ 4) การนาํ ไปใชง านดา นกราฟก และมลั ตมิ เี ดยี 5) การประยกุ ตใ ชงานอยา งชาญฉลาด 6) การคํานวณและการประยุกตใชงานระดับ สูง ขนั้ สรปุ ขยายความเขา้ ใจ 1. ครูเปดโอกาสใหนักเรยี นไดท ําการศกึ ษา และ สืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต ตามหัวขอที่ แตล ะกลมุ ไดร บั มอบหมาย 3. การสอื่ สารระหวา่ งเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ภาพท่ ี 1.3 การส่ือสารระหว่างอุปกรณ์สื่อสารหนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา หรอื อปุ กรณส์ อื่ สาร เปน็ การศกึ ษาเกยี่ วกบั ทฤษฎี การสอื่ สารขอ้ มลู โครงสรา้ ง และโปรโตคอลของ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ การนา� คอมพวิ เตอร์ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ มาเชื่อมต่อ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้สามารถใช้ งานร่วมกัน รวมถึงการน�าคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยสี ารสนเทศไปใหบ้ รกิ ารผา่ นเครอื ขา่ ย อนิ เทอรเ์ นต็ และเครอื่ งมอื ตา่ ง ๆ เชน่ สมารต์ โฟน แท็บเล็ต เพ่ือให้การสื่อสารเป็นไปได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 5 ขอ สอบเนน การคิด นักเรียนควรรู โครงสรา งของระบบคอมพวิ เตอรประกอบดวยอะไรบา ง 1 โครงสรา งของระบบคอมพิวเตอร ประกอบดวยองคป ระกอบ 3 สวน คือ 1. หนวยรับขอมูล หนว ยความจาํ หนวยแสดงผลขอมูล 1. หนวยรับขอมูล เปนหนวยท่ีตอบสนองการสั่งงานจากผูใชแลวรับเปน 2. หนว ยรบั ขอ มลู หนวยประมวลผลขอ มลู หนว ยแสดงผล ขอมลู สัญญาณขอมูล เพื่อสงตอไปจัดเก็บหรือพักไวท่ีหนวยความจํา ซ่ึงอุปกรณที่ 3. หนว ยรับขอมลู หนวยคาํ นวณผลขอ มลู หนว ยความจาํ ทําหนา ทเ่ี ปนหนวยรบั ขอมลู เชน เมาส แปน พมิ พ เคร่อื งสแกน กลอ งดจิ ทิ ลั หนว ยแสดงผลขอ มลู 4. หนว ยรบั ขอ มูล หนว ยประมวณผลขอมูล หนวยความจาํ 2. หนวยประมวลผล เปนหัวใจหลักในการประมวลผลของคอมพิวเตอร หนว ยแสดงผลขอ มูล ซ่ึงจะทําหนาที่ตีความคําสั่งพื้นฐานที่ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร 5. หนวยรับขอมลู หนว ยประมวณผลขอมลู หนว ยควบคมุ หนว ยประมวลผลประกอบดว ย หนว ยควบคมุ (control unit) และหนว ยคาํ นวณ ขอมูล หนว ยแสดงผลขอมูล และตรรกะ (arithmetic logic unit: ALU) ซง่ึ 2 สว นน้ี จะทํางานรว มกนั เพอ่ื ทํางานตา งๆ (วิเคราะหค ําตอบ โครงสรางของระบบคอมพิวเตอรประกอบดว ย 3 สวน ไดแก หนวยรับขอมูล (input) หนวยประมวลผลขอมูล 3. หนว ยแสดงผล เปน หนว ยทใี่ ชใ นการแสดงผลลพั ธท ไี่ ดอ อกมาในรปู แบบ (process) และหนวยแสดงผลขอมลู (output) ดังนนั้ ตอบขอ 2.) ตางๆ กนั ตามแตละอุปกรณ เชน สัญญาณภาพออกสูหนา จอ งานพิมพจ าก เคร่อื งพิมพ T7 79

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สรปุ 4. การนา� ไปใชง้ านดา้ นกราฟก และมลั ตมิ เี ดยี เปน็ การประยกุ ตเ์ อาหลกั การทางคณติ ศาสตร์ ไปผสานเขา้ กบั การออกแบบชนิ้ งานรปู รา่ งตา่ ง ๆ รวมถงึ การจดั การเรอื่ งของภาพนงิ่ ภาพเคลอื่ นไหว ขยายความเขา ใจ และเสียง โดยเฉพาะปัจจุบันในเรอ่ื งของเทคโนโลยีการประมวล ผลภาพ (Image Processing) เปน็ กระบวนการการจดั การวเิ คราะห์ CinoRmeaSlcLiife 2. ใหนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอขอมูล ตามท่ีไดไปสืบคน และเปดโอกาสใหนักเรียน สารสนเทศของรูปภาพ โดยใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เทคโนโลยีประมวล กลุมอื่นสามารถซักถามกลุมที่นําเสนอเพ่ือ เชน่ ระบบการตรวจจบั ใบหนา้ การตรวจจบั ความเคลอ่ื นไหวของ ผลภาพถูกน�ามาประยุกต์ ขยายความรูใ หเขาใจมากย่งิ ขน้ึ วัตถุ ซึ่งมีหลักการที่ส�าคัญ คือ การท�าให้ภาพมีความคมชัด ใช้ในหลายดา้ น ดา้ นระบบ ปราศจากสญั ญาณรบกวน โดยการแบง่ สว่ นของวตั ถทุ ส่ี นใจออก รักษาความปลอดภัยได้น�า 3. ค รู อ ธิ บ า ย เ พ่ิ ม เ ติ ม เ กี่ ย ว กั บ วิ ท ย า ก า ร จากภาพ เพ่ือนา� ภาพวตั ถุทไี่ ดไ้ ปวิเคราะหห์ าข้อมลู เชิงปริมาณ เทคโนโลยปี ระมวลผลภาพ คอมพิวเตอรวา “วิทยาการคอมพิวเตอร ยอ เชน่ ขนาด รูปรา่ ง และทศิ ทางการเคล่อื นท่ขี องวตั ถุ มาใช้ในการจดจา� ลายนว้ิ มอื มาจากวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร โดยเปน ข้อมูลจะมจีกะเาหรน็ ปไดรวะ้ า่มรวะลบผบลตภา่ งาๆพ1ทเป่ีใช็นเ้ ทจ�คานโนวโนลยมกี าากรปรแะลมะวเลปผ็นล ศาสตรท่ีเก่ียวของกับการศึกษาคนควาทฤษฎี หรือการตรวจจับใบหน้า o_O การคํานวณสําหรับคอมพิวเตอรโดยเฉพาะ เพอื่ เฝา ระวงั การกอ่ การรา้ ย และในแงข องศาสตรท เี่ กยี่ วกบั คอมพวิ เตอรน นั้ กระบวนการท่ีต้องท�าซา้� ๆ ในรปู แบบเดมิ ซง่ึ งานในลกั ษณะนี้ ในอาคารสถานที่ต่าง ๆ วิทยาการคอมพิวเตอรถือวาเปนสวนประกอบ หากใช้คนในการวิเคราะห์ จะต้องใช้ก�าลังคนในการท�างานสูง ด้านการเกษตรได้น�ามาใช้ หนง่ึ ในหา ของสาขาวชิ าคอมพวิ เตอร โดยสาขา ใช้เวลาในการวิเคราะห์ข้อมูลนานและอาจจะท�าให้เกิด ในการคดั แยกคณุ ภาพของ ที่เก่ียวของกับคอมพิวเตอรจะประกอบไปดวย ขอ้ ผดิ พลาดขนึ้ ได้ ดงั นน้ั คอมพวิ เตอรจ์ งึ เปน็ องคป์ ระกอบสา� คญั พชื ผลทางการเกษตร สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร สาขาวิศวกรรม ในการทา� หน้าท่วี เิ คราะห์และประมวลผลภาพในระบบต่าง ๆ คอมพิวเตอร สาขาวศิ วกรรมซอฟตแวร สาขา เทคโนโลยสี ารสนเทศ และสาขาคอมพวิ เตอร ธรุ กจิ ” 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับ วิทยาการคอมพิวเตอร และหัวขออ่ืนๆ ที่ เกยี่ วขอ ง หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณาภาพท่ ี 1.4 การใชเ้ ทคโนโลยีประมวลผลภาพในการตรวจจบั ใบหนา้ 6 นักเรียนควรรู ขอ สอบเนน การคิด จงยกตัวอยางการใชวิทยาการคอมพิวเตอรในงานดานกราฟก 1 การประมวลผลภาพ เปนการนําภาพมาประมวลผล หรือคิดคํานวณ และมัลติมเี ดีย ดวยคอมพิวเตอร เพื่อใหไดขอมูลที่เราตองการทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยมขี ั้นตอนตา งๆ ทสี่ ําคัญ คือ การทําใหภาพมีความคมชดั มากขนึ้ การกาํ จัด (วเิ คราะหค าํ ตอบ การนาํ มาประยกุ ตใ ชใ นการทาํ photo retouch สญั ญาณรบกวนออกจากภาพ การแบงสว นของวัตถทุ ่เี ราสนใจออกมาจากภาพ ซง่ึ เปน การตกแตง ภาพใหด ดู กี วา ภาพตน ฉบบั หรอื การเพมิ่ กราฟก เพอื่ นาํ ภาพวตั ถทุ ไ่ี ดไ ปวเิ คราะหห าขอ มลู เชงิ ปรมิ าณ เชน ขนาด รปู รา ง ทศิ ทาง ตกแตงท่ีใชรวมกับภาพ แลวนําไปใชในงานตามความตองการ การเคล่ือนของวัตถุในภาพ จากนั้นเราสามารถนําขอมูลเชิงปริมาณเหลาน้ีไป เชน การทาํ ภาพของผูส งู อายุใหมีวัยท่เี ด็กข้นึ การทาํ ภาพขาวดํา วเิ คราะหแ ละสรา งเปน ระบบ เพอื่ ใชป ระโยชนใ นงานดา นตา งๆ เชน ระบบจดจาํ ใหกลายเปนภาพสี การทาํ ภาพเกาใหกลายเปนภาพใหม) ลายนว้ิ มอื เพอื่ ตรวจสอบวา ภาพลายนวิ้ มอื ทม่ี อี ยนู น้ั เปน ของผใู ด ระบบตรวจสอบ คุณภาพของผลิตภัณฑในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม ระบบคัด แยกเกรดหรอื คณุ ภาพของพชื ผลทางการเกษตร ระบบอา นรหสั ไปรษณยี อ ตั โนมตั ิ เพอ่ื คดั แยกปลายทางของจดหมายทมี่ จี าํ นวนมากในแตล ะวนั โดยใชภ าพถา ยของ รหสั ไปรษณียท ี่อยบู นซอง T8 80

นำ� สอน สรปุ ประเมิน 5. การประยุกต์ใช้งานอย่างชาญฉลาด เป็นการสร้างระบบสารสนเทศท่ีมีความชาญ ขนั้ ประเมนิ ฉลาดหรอื ปัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เพ่ือน�าไปประยกุ ต์ใช้ในการทา� งาน โดย เป็นการพฒั นาระบบสารสนเทศทมี่ แี ม่แบบมาจากมนษุ ยห์ รือการเลียนแบบพฤตกิ รรมของมนุษย์ ตรวจสอบผล ซงึ่ เป็นการเรียนรู้เกย่ี วกับกระบวนการคิด การกระท�า การใหเ้ หตุผล การอนมุ าน การทา� งานของ สมอง และในปจั จบุ นั มกี ารพฒั นาความสามารถของปญั ญาประดษิ ฐ์ เพอื่ ทจ่ี ะนา� เขา้ มาชว่ ยงานใน ครูประเมินผลโดยสังเกตการตอบคําถาม ด้านตา่ ง ๆ มากมาย เชน่ หุ่นยนต์ดแู ลผู้ป่วยและผ้สู งู อายุ หุ่นยนต์เพอ่ื การแพทย์คอยชว่ ยเหลือ ความสนใจในการเรียน การนําเสนอขอมูลและ ในการผ่าตัด หนุ่ ยนต์เพอื่ จดั การดา้ นการผลติ ในภาคอตุ สาหกรรม ตรวจสอบความถูกตองของขอ มลู ภาพท่ี 1.5 การใชป้ ัญญาประดิษฐ์ในงานด้านการแพทย์ หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา 6. การคา� นวณและการประยกุ ต ์ใชง้ าน ระดับสูง เป็นการศึกษาค้นคว้า และน�าไปใช้ เกยี่ วกบั หลกั การคา� นวณของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ และวธิ กี ารนา� คอมพวิ เตอรไ์ ปใชใ้ นงานระดบั สงู ท่ีมีความยากในการน�าไปประยกุ ตใ์ ช้งาน เช่น งานด้านชีวภาพ งานด้านวิทยาศาสตร์ งาน ด้านมัลตมิ เี ดียขัน้ สูง ภาพท่ี 1.6 การนา� คอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ ในงานด้านวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 7 กจิ กรรม ทา ทาย แนวทางการวัดและประเมินผล ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน สืบคนขอมูล เรื่อง ครวู ดั และประเมนิ ผลความเขา ใจของเนอ้ื หา เรอ่ื ง วทิ ยาการคอมพวิ เตอรก บั การประยุกตใชปญญาประดิษฐ แลวเลือกการประยุกตใชปญญา การดาํ เนินชวี ิต จากการนําเสนอ เรอ่ื ง วทิ ยาการคอมพวิ เตอร โดยศึกษาเกณฑ ประดิษฐในดานตางๆ 1 ดา น จากท่ีกาํ หนดให ดงั น้ี การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการนําเสนอผลงานที่อยูในแผนการ จดั การเรยี นรู หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 - ดา นการแพทย - การอุตสาหกรรม แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน - ดานการเกษตร - ดา นการศกึ ษา คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องท่ี - ดานการอุปโภคบริโภค แลวจัดทํารูปเลมรายงานและปายนิเทศ เพ่ือนําเสนอหนา ตรงกับระดบั คะแนน ช้นั เรยี น ลาดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนอื้ หา   2 ความคดิ สร้างสรรค์   3 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน   4 การนาไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชือ่ ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ............/................./................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ T9 ตา่ กวา่ 8 ปรับปรงุ 81

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั นาํ นักเรียนคิดวา สื่อดิจิทัล 2 สื่อดิจทิ ัลกบั การดําเนนิ ชวี ติ ในรูปแบบใดมีผลตอการ กระตนุ ความสนใจ ดูแลสุขภาพของผูสูงอายุ ส่อื ดจิ ทิ ลั (Digital Media) ท่นี �ามาใช้ในการดา� เนนิ ชวี ิต มากทสี่ ดุ เปน็ การนา� เอาขอ้ ความ ภาพนง่ิ ภาพเคลอ่ื นไหว เสยี ง และวดิ โี อ 1. ครูใชค ําถามกระตุนความคิดของนกั เรียนวา มผสาจานัดรกูปบั แคบวบามคโดดิ ยสอราา้ ศงสัยรเทรคคด์ โนา้ นโลดยจิ ีททิ าลั งคดอ้านนเคทอนมตพข์ 1ิวอเงตผอสู้ รร์ า้ ผงสสมอื่ • นกั เรยี นคดิ วา สอ่ื ดจิ ทิ ลั ในรปู แบบใดมผี ลตอ เพือ่ ผลิตเปน็ ส่ือดจิ ิทลั ท่ีตอบสนองตอ่ ความต้องการของผบู้ ริโภค เช่น ภาพยนตร์ โฆษณา การ์ตูน การดแู ลสุขภาพของผูส งู อายุมากทส่ี ุด เกมออนไลน์ สื่อการสอน ซึ่งส่ือดิจิทัลเป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาทดแทนส่ิงท่ีมีอยู่เดิม เพ่ือให้ (แนวตอบ สอ่ื ดจิ ทิ ลั ในรปู แบบวดิ โี อ เนอื่ งจาก ราคาถูกลงและรักษาไว้ซ่งึ คณุ ภาพ เออ้ื ประโยชน์ต่อการใชง้ าน และการไดม้ าซ่งึ สื่อดิจทิ ลั จะตอ้ ง เปนสื่อที่ไดรับความนิยม เพราะสามารถ ประกอบด้วยเนื้อหา โปรแกรม และอปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการสรา้ งสื่อ นาํ เสนอขอ มูลทกุ อยางไดทั้งขอ ความ เสียง ในปจั จบุ นั ความตอ้ งการผลงานทางดา้ นสอ่ื ดจิ ทิ ลั มจี า� นวนมาก โดยเฉพาะเมอื่ ทกุ คนในสงั คม ภาพนง่ิ หรอื ภาพเคลอ่ื นไหว และสอดคลอ ง สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดง้ า่ ยผา่ นเทคโนโลยจี ากทกุ ทไี่ ดอ้ ยา่ งไมจ่ า� กดั ทา� ใหท้ กุ หนว่ ยงาน ทกุ องคก์ ร กบั วถิ ชี วี ติ ของคนในปจ จบุ นั ดงั นนั้ ผสู งู อายุ ทุกสาขาวิชาชีพ ต้องการน�างานทางด้านสื่อดิจิทัลมาน�าเสนอต่อผู้บริโภค เพื่อให้ผู้บริโภคได้เข้า สามารถสืบคนขอมูลในการดูแลสุขภาพ ถงึ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ของตนได้โดยตรง รวดเรว็ และถูกตอ้ ง ท�าใหร้ ปู แบบของสอื่ ดจิ ทิ ลั มกี ารพัฒนา ตางๆ เชน อาหารท่ีควรรับประทาน การ และแข่งขันกันมากขึ้น ทงั้ ในดา้ นเน้ือหา เทคโนโลยี รูปแบบ รวมถึงความคิดสรา้ งสรรค์ เพอื่ ให้ ออกกาํ ลังกายทเี่ หมาะสม) ส่ือดิจทิ ลั ช่วยสร้างมูลคา่ เพิ่มกับสนิ ค้าและบริการของตน 2. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับสื่อดิจิทัลวา “ส่ือ ดิจิทัล คือ ส่ืออิเล็กทรอนิกสซ่ึงทํางานโดย ใชรหัสดิจิทัล ปจจุบันการเขียนโปรแกรมถูก แปลงใหอยูในรูปแบบของเลขฐานสองเพื่อ ใหคอมพิวเตอรเขาใจในส่ิงท่ีโปรแกรมเมอร ตองการจะสือ่ สาร” หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณาCom Sciภาพท่ ี 1.7 การน�าเสนอส่อื ดิจิทลั ในรูปแบบต่าง ๆ Focus ´Ô¨Ô·ÑŤ͹෹µ (Digital Content) ดจิ ทิ ัลคอนเทนต์ คอื สารสนเทศทม่ี ีรปู แบบเป็นดิจิทลั โดยอาศยั การแสดงเนอื้ หาผา่ น ทางอปุ กรณ์ดจิ ิทัลต่าง ๆ เช่น คอมพวิ เตอร์ อปุ กรณส์ ื่อสาร โทรทัศน์ โรงภาพยนตร์ 8 เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด ครูอาจนําตัวอยางสื่อดิจิทัลตางๆ ท่ีพบเห็นในชีวิตประจําวัน เชน สื่อดจิ ทิ ัลคืออะไร มผี ลตอการดาํ เนนิ ชวี ติ อยางไร ภาพยนตรสัน้ โฆษณา การตูน เกมออนไลน สอ่ื การสอน มาเปดใหน ักเรียนดู (วิเคราะหคําตอบ สื่อดิจิทัลเปนการนําขอความ ภาพน่ิง ภาพ และรวมกันวิเคราะหวาสื่อดิจิทัลแตละชนิดมีความสําคัญตอการดําเนินชีวิต ของมนุษยอยางไร และรวมกันวิเคราะหขอดี-ขอเสียของส่ือดิจิทัลท่ีนํามา เคลื่อนไหว เสียง และวิดีโอมาจัดรูปแบบ โดยอาศัยเทคโนโลยี ยกตัวอยาง ทางดา นคอมพวิ เตอร ซงึ่ ถกู นาํ มาใชผ ลติ เปน สอื่ ดจิ ทิ ลั ทตี่ อบสนอง ตอ ความตอ งการของผูบรโิ ภค เชน ภาพยนตร โฆษณา การต นู นักเรียนควรรู เกมออนไลน สอื่ การสอน ซง่ึ สอื่ ดจิ ทิ ลั เปน สงิ่ ทพ่ี ฒั นาขนึ้ มาเพอื่ ให เออื้ ประโยชนตอ การใชงานของผูใ ชมากทสี่ ดุ ) 1 คอนเทนต หมายถึง สารท่ีผูสง สารสงไปยังผรู ับสารในรปู แบบตา งๆ เชน เนื้อหาของการพูด เน้ือหาของการบรรยาย บทความ หนังสือ คลิปวิดีโอ คลปิ เสยี ง รปู ภาพ อนิ โฟกราฟฟก เพลง ภาพยนตร อยา งใดอยา งหนง่ึ หรอื หลาย อยางรวมกนั โดยใชสอื่ ตา งๆ สงไปยงั ผูร บั สาร T10 82

นำ� สอน สรปุ ประเมนิ 2.1 องคป ระกอบของสื่อดิจทิ ัล ขน้ั สอน 1ก.า รขจ้อดั คทวา� าสมอ่ื1ดเิจปทิ ็นลั สจ่วะนตท้อ่ีเงกป่ียรวะขก้ออบงกดับว้ เยนอื้องหคาป์ รเะพก่ืออบใชส้แา� สคดญั งร5ายปลระะเกอาียรดขดอังนงเี้ รื่องที่น�าเสนอ สา� รวจคน้ หา ซง่ึ ถือว่าเปน็ องค์ประกอบพ้นื ฐานท่ีส�าคัญ 2. เสียง ถกู จัดเกบ็ อยู่ในรูปของสญั ญาณดจิ ทิ ัล โดยสามารถทจี่ ะปรบั แตง่ โดยใช้โปรแกรม 1. ครเู ปด คลปิ วดิ โี อ เรอื่ ง สอ่ื ดจิ ทิ ลั กบั การดาํ เนนิ จัดการดา้ นเสียง เพื่อใหเ้ สยี งทไ่ี ดย้ ินมีความนา่ สนใจ น่าตดิ ตาม ชีวิต ใหนกั เรียนดู พรอ มถามนกั เรียนวา 3. ภาพนงิ่ เปน็ ภาพทไ่ี มม่ กี ารเคลอื่ นไหว โดยอาจเปน็ ภาพถา่ ย ภาพวาด หรอื ภาพทตี่ กแตง่ • นกั เรยี นเหน็ สือ่ ดจิ ทิ ัลใดบางในคลปิ วดิ โี อ ข้ึนมาด้วยโปรแกรมเฉพาะทาง ในปัจจุบันภาพนบั วา่ เป็นสว่ นท่มี ผี ลต่อผคู้ นเป็นอยา่ งมากในการ (แนวตอบ ขอ ความ ภาพนงิ่ ภาพเคล่ือนไหว น�าเสนอผ่านสื่อดิจิทัล ซ่ึงภาพนั้นสามารถใช้ เสียง) สอ่ื ความไดด้ กี วา่ ตวั อกั ษร และสามารถนา� เสนอ ผา่ นสื่อต่าง ๆ ได้งา่ ย 2. ครูอธิบายกับนักเรียนวา “มีสื่อดิจิทัลตางๆ 4. ภาพเคล่ือนไหว เป็นภาพกราฟิกท่ี ที่นักเรียนพบเห็นในคลิปวิดีโอ ไมวาจะเปน มีการเคล่ือนไหวเพ่ือแสดงให้เห็นถึงขั้นตอน ขอความภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว หรือเสียง หรอื ปรากฏการณท์ ่เี กดิ ขน้ึ อย่างตอ่ เนอ่ื ง ทัง้ น้ี ส่ิงเหลาน้ีถูกนํามารวมกันและจัดรูปแบบ เพื่อสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจจาก โดยอาศัยเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอร ผเู้ ข้าชมเนอื้ หา ผสมผสานกับความคิดสรางสรรค จึงทําให 5. วิดโี อ ถือเป็นส่อื ดจิ ทิ ลั ท่ไี ดร้ ับความ ออกมาเปน สื่อดจิ ทิ ัลทม่ี ปี ระสิทธิภาพ” นิยมอย่างมาก เพราะสามารถน�าเสนอข้อมูล ทกุ อยา่ งได้ ทัง้ ขอ้ ความ เสียง ภาพน่ิง ภาพ 3. ครูอธิบายความรูเสริมจากเน้ือหาเพื่อขยาย เคล่อื นไหว ภาพท ี่ 1.8 ส่อื ดจิ ทิ ัลกับการดา� เนินชีวติ ความรูข องผเู รียน (Com Sci Focus) เก่ียวกบั ดิจิทัลคอนเทนตวา “ดิจิทัลคอนเทนต คือ จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ สอ่ื ดจิ ทิ ลั สารสนเทศที่มีรูปแบบเปนดิจิทัล โดยอาศัย ถือว่าเป็นส่ือที่มีบทบาทอย่างมากในโลกยุค การแสดงเน้ือหาผานทางอุปกรณดิจิทัลตางๆ ดจิ ทิ ลั และเปน็ เครอื่ งมอื ทที่ รงอทิ ธพิ ลอยา่ งมาก เชน คอมพิวเตอร อุปกรณสื่อสาร โทรทัศน ในการท�าการตลาด การทา� โฆษณา และยงั มี โรงภาพยนตร” ความสอดคล้องกบั วถิ ชี ีวติ ของผู้คนในทุกวันนี้ ท่ีใช้เวลาอยู่กับโลกออนไลน์นานข้ึนเร่ือย ๆ 4. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนไดศึกษาเก่ียวกับ องคประกอบสําคัญของส่ือดิจิทัล 5 ประการ จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ม.5 หรือคนควาขอมูล เพ่มิ เติมจากอนิ เทอรเน็ต ท้ังเคร่ืองคอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต ซ่ึงข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนผ่านทางส่ือดิจิทัล ในปัจจุบันมีจ�านวนมากจนสามารถน�ามา วิเคราะห์เพ่อื ใช้ประโยชน์ได้อยา่ งหลากหลาย หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา 9 ขอ สอบเนน การคดิ นักเรียนควรรู ขอใดไมใชอ งคประกอบขอ งสื่อดิจทิ ัล 1 ขอ ความ มหี ลายรปู แบบ ไดแก 1. เสยี ง - ขอความที่ไดจากการพิมพ เปนขอความปกติที่พบไดทั่วไป ซึ่งไดจาก 2. ภาพน่ิง 3. ขอความ การพิมพดวยโปรแกรมประมวลผลงาน เชน NotePad, Text Editor, Microsoft 4. อนิ เทอรเ นต็ Word 5. ภาพเคลื่อนไหว - ขอความจากการสแกน เปนขอความในลักษณะภาพ ซึ่งไดจากการนํา (วิเคราะหคําตอบ ส่ือดิจิทัล มีองคประกอบสําคัญ 5 ประการ เอกสารท่พี มิ พไวแลว (เอกสารตนฉบับ) มาทาํ การสแกนดวยเครอ่ื งสแกนเนอร ไดแ ก ขอความ เสยี ง ภาพนิ่ง ภาพเคลอื่ นไหว และวดิ ีโอ ดังนั้น ซ่งึ จะไดผลออกมาเปนภาพ 1 ภาพ ตอบขอ 4.) - ขอความอิเล็กทรอนิกส เปนขอความท่ีพัฒนาใหอยูในรูปของสื่อท่ีใช ประมวลผลได - ขอความไฮเปอรเท็กซ (Hyper Text) เปนรูปแบบของขอความที่ไดรับ ความนยิ มสงู มากในปจ จบุ นั โดยเฉพาะการเผยแพรเ อกสารในรปู ของเอกสารเวบ็ เนอื่ งจากสามารถใชเทคนคิ การลิงก หรือเชอ่ื มขอ ความไปยงั ขอ ความ หรือจดุ อื่นๆ ได T11 83

นาํ สอน สรุป ประเมนิ ขนั้ สอน 2.2 ประเภทของสอ่ื ดิจทิ ลั อธบิ ายความรู เนื่องจากความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีทา� ให้ส่อื ดจิ ิทัลมีมากมายในปัจจุบัน โดยท่ีสื่อดิจิทัล จะมีลักษณะและประสิทธิภาพที่แตกต่างกันในแต่ละประเภท ซึ่งสื่อดิจิทัลท่ีพบเห็นได้ในปัจจุบัน ครสู มุ นกั เรยี น 2-3 คน ออกมาอธบิ ายเกยี่ วกบั มีดังนี้ องคประกอบสาํ คัญของสือ่ ดจิ ทิ ัล 5 ประการ โดย 1. CD Training คือ การสร้างสื่อ CD Training นักเรียนในช้ันเรียนสามารถซักถามเพ่ือขยาย CD Presentation ความเขา ใจได ดิจิทัลในลักษณะท่ีเป็น CD ท่ีใช้ในการสอน CD/DVD การใช้งาน จะมีลักษณะเป็นการสอนการใช้ E-Book ขนั้ สรปุ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เช่น การสอน ใช้โปรแกรมกราฟิก การสอนใช้โปรแกรม ขยายความเขา ใจ งานเอกสารตา่ ง ๆ นอกจากนนั้ CD Training ยังครอบคลุมไปถึงเร่ืองการสอนการท�างาน 1. ครูยกตัวอยางส่ือดิจิทัลประเภทตางๆ ที่ ของโปรแกรมต่าง ๆ โดยจะมีลักษณะเป็นการ พบเห็นไดในปจจุบันโดยมีลักษณะที่แตกตาง สาธติ การท�างานของโปรแกรม กันออกไป มาใหนักเรียนดูเพ่ือใหนักเรียน เขาใจมากข้ึนวาการดํารงชีวิตในปจจุบัน 2. CD Presentation คือ การสร้าง เกี่ยวขอ งกับดิจิทลั อยางไรบาง สื่อดิจิทัลในลักษณะท่ีเป็น CD ท่ีใช้ส�าหรับ ในการน�าเสนอในสถานทตี่ ่าง ๆ เช่น น�าเสนอ 2. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา “เนอื่ งจากความกา วหนา ข้อมูลในที่ประชุม น�าเสนอข้อมูลบริษัทใน ของเทคโนโลยีเปนไปอยางรวดเร็ว ดังน้ัน งานตา่ ง ๆ สื่อดิจิทัลท่ีมีความหลากหลายนอกจากให คุณประโยชนที่สามารถนําส่ือดิจิทัลมาปรับใช 3. CD/DVD คือ การสร้างสื่อดิจิทัล ในงานไดหลากหลายวิธีและมีคุณภาพคงทน ในลกั ษณะที่เปน็ CD และ DVD ภาพยนตร์ มีโอกาสที่เกิดขอผิดพลาดไดยาก แตก็อาจ หรือการ์ตูนต่าง ๆ ที่มีการตัดต่อในลักษณะที่ จะใหโทษไดอีกดวย เพราะส่ือดิจิทัลเปนส่ิง เป็น Movie Clip แล้วนา� มาจดั เรยี งตอ่ กันเปน็ ที่สามารถนําไปกระทําความผิดไดงาย ไมวา ภาพยนตร์ หรอื การ์ตูน 1 เรื่อง จะเปนการนําภาพของบุคคลอื่นมาตัดตอเปน ลกั ษณะ4ท. เี่ ปEน็-Bกoาoรkทา� คเปือน็ หกนางัรสสอืร้าองเิ ลสก็่ือทดริจอิทนัลกิในส1์ ภาพอนาจาร หรือการนําผลงานของผูอ่ืนมา ซงึ่ สามารถสรา้ งโดยการแปลงไฟลเ์ อกสารตา่ งๆ ใชโ ดยไมไ ดรับอนญุ าต” ใหเ้ ปน็ Webpage หรอื เป็น PDF File โดยที่ ผู้ใช้งานสามารถอ่านหนังสือหรือค้นหาข้อมูล ผา่ นทาง E-Book ได้เลย หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา ภาพที ่ 1.9 ส่ือดจิ ทิ ัลประเภทต่าง ๆ 10 นักเรียนควรรู ขอ สอบเนน การคดิ 1 หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส มคี วามแตกตางจากหนงั สือท่ัวไป ดงั นี้ ส่ือดจิ ิทลั ประเภทใดท่ีผูใ ชส ามารถใชงานไดพรอ มกันจํานวนมาก 1. CD หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส หนังสือท่วั ไป 2. DVD ไมใ ชกระดาษ (อนรุ ักษท รพั ยากรปาไม) ใชก ระดาษ 3. E-Book 4. CD Training สรา งใหมีภาพเคล่ือนไหว และใสเ สยี งประกอบได มขี อ ความและภาพประกอบธรรมดา 5. CD Presentation (วิเคราะหคําตอบ E-BooK เปนส่ือดิจิทัลท่ีเปนหนังสือ แกไขและปรับปรงุ ขอมูลไดง าย แกไขปรับปรุงไดยาก อิเล็กทรอนิกส ซ่ึงสามารถสรางโดยการแปลงไฟลเอกสารตางๆ สรา งจดุ เชื่อมโยงออกไปยังขอ มลู ภายนอกได มคี วามสมบูรณใ นตวั เอง ใหเ ปน Webpage หรอื PDF File ซงึ่ เมอื่ ถกู อปั โหลดลงสอื่ ออนไลน จะสามารถใชงานไดพรอมกันเปนจํานวนมาก ดงั นน้ั ตอบขอ 3.) ไมมีขีดจํากัดในการจัดพิมพ สามารถทําสําเนาได มขี ีดจํากดั ในการจัดพิมพ งา ยไมจํากัด อานผา นคอมพวิ เตอร และสงั่ พมิ พผ ลได เปด อา นจากเลม อา นอยา งเดียว หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส 1 เลม สามารถอานพรอ มกนั สามารถอา นได 1 คนตอหนึ่งเลม ไดจ ํานวนมาก สามารถพกพาสะดวกไดค รง้ั ละจาํ นวนมากในรปู แบบ สามารถพกพาลาํ บาก และตอ งเดนิ ทาง ของไฟลค อมพวิ เตอร และสามารถเขา ถงึ โดยไมจ าํ กดั ไปใชที่หองสมุดและศูนยสารนิเทศ เรือ่ งสถานท่แี ละเวลา ตางๆ T12 84

นำ� สอน สรปุ ประเมิน 2.3 ข้อดแี ละข้อเสียของส่ือดิจทิ ัล ขนั้ สรปุ เน่อื งจากความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีทา� ให้ส่อื ดิจิทลั มีมากมายในปจั จุบนั โดยท่สี อื่ ดิจิทัล ขยายความเขา้ ใจ จะมีลักษณะและประสิทธิภาพที่แตกต่างกันในแต่ละประเภท ซึ่งสื่อดิจิทัลท่ีพบเห็นได้ ในปัจจุบัน มขี อ้ ดแี ละขอ้ เสีย ดังน้ี 3. ครูมอบหมายใหนักเรียนสรางช้ินงานโดยใช โปรแกรมท่ตี นเองถนดั เพ่ือสราง Infographic 1 ความคงทน ข้อมลู สื่อดจิ ทิ ลั ที่ สอื่ ดจิ ทิ ลั โดยมีหัวขอเก่ียวกับขอดี-ขอเสียของส่ือดิจิทัล เกบ็ ไวใ้ นดจิ ทิ ลั มเี ดยี จะมคี ณุ ภาพ ข้อดี ขอ้ เสยี โดยจะตองมีองคประกอบของส่ือดิจิทัล มากกวา 1 สว น คงทน การเสอ่ื มสภาพจะใชเ้ วลานาน และโอกาส ส่ือดิจิทัลเป็นส่ิงที่สามารถน�าไป ที่จะเกิดข้อผิดพลาดหรือผิดเพ้ียนจะเกิดข้ึน กระท�าความผิดได้ง่าย เช่น การน�า 4. ครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา “การสรางภาพ ยากกวา่ ขอ้ มลู ทมี่ กี ารเกบ็ แบบตอ่ เนอ่ื ง เชน่ การ ภาพของบุคคลอื่นมาตัดต่อเป็นภาพ Infographic หมายถึง การนําขอมูลหรือ บนั ทกึ ภาพลงในวดี ทิ ศั นแ์ บบแอนะลอ็ ก และการ ลามกอนาจาร หรือการนา� ผลงานของ ความรูมาสรุปเปนสารสนเทศผสมผสานกับ บนั ทกึ ภาพวดี ทิ ศั น ใ์ นระบบดจิ ทิ ลั สา� หรบั แอนะลอ็ ก บุคคลอ่ืนมาท�าซ�้ากับส่ือที่มีลิขสิทธ์ิ ความคดิ สรา งสรรคข องตนเองออกมาในลกั ษณะ ทใี่ ชเ้ ทปในการบนั ทกึ ขอ้ มลู เมอ่ื เทปยดื จะทา� ให้ ถกู ตอ้ ง แตด่ ้วยข้อดีของของสือ่ ดจิ ทิ ลั ของกราฟกท่ีออกแบบ แลวสามารถสื่อให คณุ ภาพของภาพลดลง ที่มีมากมาย ท�าให้แนวโน้มส่ือดิจิทัล ผูชมดูแลวเขาใจงายและชัดเจนในเวลาอัน 2 สามารถนา� ไปใชง้ านไดห้ ลากหลายวิธ ี ข้อมูล สามารถพฒั นาให้มคี ุณภาพดขี ึน้ และ รวดเรว็ ” ทจี่ ดั เกบ็ ในแบบดจิ ทิ ลั เปน็ ขอ้ มลู ทสี่ ามารถแปลง มีราคาลดลงได้อกี อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ไปเปน็ ขอ้ มลู ในรปู แบบอนื่ ได ้ เชน่ ภาพถา่ ยทถี่ า่ ย 5. ครนู าํ ตวั อยา งภาพ Infographic มาใหน กั เรยี น ด้วยกล้องดิจิทัล เมื่อได้เป็นข้อมูลภาพออกมา ดเู พอ่ื ใหน กั เรยี นไดเ ขา ใจรปู แบบของการสรา ง แลว้ สามารถพมิ พอ์ อกมาเปน็ รปู ภาพ หรอื จะให้ ภาพ Infographic มากยง่ิ ขนึ้ เป็นรูปภาพทีแ่ สดงบนหน้าจอคอมพวิ เตอร์กไ็ ด้ 6. ครแู ละนกั เรยี นสรปุ ถงึ ความหมาย องคป ระกอบ 3 สามารถผสมผสานกับส่ือรูปแบบอื่นได้ ประเภท และขอด-ี ขอ เสยี ของสอื่ ดจิ ิทลั เป็นการน�าส่ือดิจิทัลรูปแบบหนึ่งมาผสมผสาน กับสื่อดิจิทัลอีกรูปแบบหนึ่งได้ เช่น การน�าส่ือ ขนั้ ประเมนิ ดจิ ทิ ัลทีเ่ ป็นภาพเคล่ือนไหวมาผสมผสานกบั สื่อ ตรวจสอบผล 1. ครูประเมินผลโดยการสังเกตการตอบคําถาม ความสนใจในการเรยี น 2. ครตู รวจสอบการสรางชน้ิ งานของนักเรียน ดิจิทัลทเี่ ป็นเสยี งจนเกดิ เป็นสื่ออกี รปู แบบหนง่ึ 4 สามารถน�ามาปรบั แตง่ ไดง้ า่ ย โดยจะเปน็ การ ปรับแต่งสอ่ื ดิจิทัลประเภทภาพถ่าย วิดีโอ และ เสยี งใหม้ ีคุณภาพดีกว่าเดมิ ภาพท ี่ 1.10 การน�าภาพส่อื ดิจิทัลมาปรับแตง่ หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา ขอ้ เสยี ของสอ่ื ดจิ ทิ ลั 11 กจิ กรรม สรางเสรมิ แนวทางการวัดและประเมินผล ครใู หน กั เรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 5 คน สบื คน ขอ มลู เพม่ิ เตมิ เรอ่ื ง ครวู ดั และประเมนิ ผลความเขา ใจของเนอ้ื หา เรอ่ื ง สอื่ ดจิ ทิ ลั กบั การดาํ เนนิ ชวี ติ ขอดีและขอเสียของสื่อดิจิทัล แลวจัดทําแผนพับนําเสนอจํานวน จากการสรางช้ินงาน Infographic โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผล 50 ชดุ และแจกนกั เรยี นในโรงเรยี น เพือ่ ใหนกั เรียนทราบถงึ ขอ ดี จากแบบประเมนิ ชิน้ งานทอ่ี ยูในแผนการจัดการเรียนรู หนว ยการเรียนรูท่ี 1 และขอ เสียของส่อื ดิจิทลั และสามารถใชส อ่ื ดิจทิ ลั ไดอ ยา งถูกตอง และปลอดภยั แบบประเมินชิน้ งาน คาช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนประเมนิ ผลงานของนักเรยี น แลว้ ขดี ลงในช่องท่ีตรงกับระดับคะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32   1 ความถกู ต้องของเน้อื หา    2 ความคิดสรา้ งสรรค์   3 การจัดองค์ประกอบสมบูรณ์  4 การนาไปใช้ประโยชน์  5 สง่ งานตรงเวลา  รวม ลงช่อื ................................................... ผ้ปู ระเมิน ............/................./................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ สมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางส่วน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรงุ T13 85

นำ� นำ� สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั นา� เทคโนโลยีสารสนเทศมี 3 ดเทาํ คเนโนนิ โชลวี ยติ สี ารสนเทศกบั การ ประโยชนตอการดําเนิน กระตนุ้ ความสนใจ ชวี ติ อยา งไร การน�าเทคโนโลยีมาใช้ในการด�าเนินชีวิต จะเป็นการน�า 1. ครูถามคําถามประจาํ หัวขอ วา เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดหาข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล • เทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชนตอการ ประมวลผลข้อมูล จัดการและจัดเก็บข้อมูล เรียกใช้หรือ ดําเนนิ ชวี ติ อยา งไร แลกเปลี่ยนขอ้ มลู และเผยแพร่ขอ้ มูล โดยขอ้ มูลทีก่ ล่าวถึงนัน้ เปน็ ได้ท้งั ข้อความ ภาพนง่ิ ภาพ (แนวตอบ เทคโนโลยีสารสนเทศเขามาชวย เคลอ่ื นไหว เสยี ง วิดโี อ และในปัจจุบันขอ้ มูลต่าง ๆ มเี ป็นจา� นวนมาก ดังนน้ั เทคโนโลยที างดา้ น อํานวยความสะดวกในการจดั การกับขอมูล คอมพิวเตอร์จึงมีความส�าคัญเป็นอย่างมากในการเข้ามาด�าเนินการกับข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น การวิเคราะหขอมูลการประมวลผลขอมูล แต่ทั้งนี้การแสวงหาและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันเวลา ประหยัด การจดั เกบ็ ขอ มลู การแลกเปลย่ี นขอ มลู และ คา่ ใชจ้ า่ ย และมปี ระสทิ ธภิ าพ กจ็ า� เปน็ ตอ้ ง การเผยแพรข อ มลู ) อาศัยเทคโนโลยโี ทรคมนาคมร่วมดว้ ย นอกจากนก้ี ารทสี่ ารสนเทศจะกอ่ ให้ ขน้ั สอน เกดิ ประโยชน์สูงสุดตอ่ ผู้ใชง้ านกต็ ้องอาศัย ทง้ั เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี สา� รวจคน้ หา โทรคมนาคม ดงั นน้ั จงึ กลา่ วไดว้ า่ เทคโนโลยี สารสนเทศครอบคลุมหลาย ๆ เทคโนโลยี ครูเปดโอกาสใหนักเรียนทําการศึกษาภายใต หซอลฟักต์แเวชร่น์ 2ฐาเนทขคอ้ โมนลูโลเยคีดรอื้าขนา่ ฮยารอ์ดปุ กแรวณร์์ 1 หัวขอเทคโนโลยีสารสนเทศกับการดําเนินชีวิต จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี อิเล็กทรอนกิ ส์ต่าง ๆ ภาพท ่ี 1.11 เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการด�าเนินชวี ติ (วิทยาการคํานวณ) ม.5 และขอมูลอ่ืนๆ ท่ี เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันมี เก่ียวขอ ง ความส�าคัญในการเพ่ิมประสิทธิภาพและ สมรรถภาพในหลาย ๆ ดา้ น เช่น การลด อธบิ ายความรู้ ตน้ ทนุ หรอื คา่ ใชจ้ า่ ย การเพม่ิ คณุ ภาพของ สนิ คา้ และบรกิ าร การสรา้ งกระบวนการหรอื 1. ครสู มุ นกั เรยี น 2-3 คน ออกมาอธบิ ายเกยี่ วกบั กรรมวธิ ใี หม่ การสรา้ งผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ าร เทคโนโลยีสารสนเทศกับการดําเนินชีวิต โดย ต่าง ๆ ดังนั้นจึงเห็นว่าในปัจจุบันมีการใช้ ใหเ พอื่ นรว มชนั้ สามารถซกั ถามเพอื่ ขยายความ เทคโนโลยีสารสนเทศในเกือบทุกกิจกรรม เขา ใจของนกั เรยี น 2. ครูอธิบายเพ่ิมเติมวา “เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การนําเอาเทคโนโลยีเขามาจัดการกับ ขอมลู และขอมลู ในทน่ี ี้ คอื ขอความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว เสยี ง วดิ โี อ” ขององคก์ รหรอื หนว่ ยงาน เชน่ การแพทย์ การปกครอง สงั คม เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม ภาพที่ 1.12 การน�าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ด้าน การแพทย์ หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา 12 นักเรียนควรรู กิจกรรม ทา ทาย 1 ฮารดแวร คือ สว นทีป่ ระกอบเปน เครือ่ งคอมพิวเตอร รวมอุปกรณตอพวง ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ออกไปสํารวจและ ตางๆ ทีเ่ ก่ยี วของกบั คอมพวิ เตอรท ี่เราสามารถมองเหน็ และสมั ผัสได โดยทว่ั ไป สอบถามเกยี่ วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศมคี วามสาํ คญั และมกี ารนาํ เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลจะมีฮารดแวรหลักๆ ไดแก ตัวเครื่อง จอภาพ ไปใชอยางไรในหนวยงาน หรอื องคก รตางๆ เชน หนว ยงานดา น คยี บอรด และเมาส เกษตรกรรม องคกรทางการศึกษา หนวยงานดานอุตสาหกรรม 2 ซอฟตแ วร คอื สว นทที่ าํ หนา ทเ่ี ปน คาํ สงั่ ทใี่ ชค วบคมุ การทาํ งานของเครอื่ ง เลือกมาอยา งนอ ย 2 หนว ยงาน แลวบันทึกลงในกระดาษ A4 และ คอมพวิ เตอร หรือเรยี กวา โปรแกรม ซอฟตแวรแบง ออกไดเปน 2 ประเภท คือ นําเสนอในรูปแบบที่สวยงาม ซอฟตแ วรร ะบบ (โปรแกรมทคี่ วบคุมการทํางานของฮารดแวร) และซอฟตแวร ประยกุ ต (โปรแกรมทีผ่ ใู ชเ ปนผเู ขียนขึ้นมาใชง าน) กจิ กรรม สรา งเสรมิ T14 ใหนักเรียนสืบคนขอมูลจากแหลงการเรียนรู เชน วารสาร หนังสือ ส่ืออินเทอรเน็ต จากนั้นนําขอมูลเก่ียวกับความสําคัญ ของเทคโนโลยีสารสนเทศตอองคกรและหนวยงานมาสรุปลงใน กระดาษ A4 ในรปู แบบแผนผังมโนทศั น แลวนาํ เสนอในรูปแบบ ทส่ี วยงาม 86

นำ� สอน สรุป ประเมิน เมอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทส�าคญั ตอ่ การด�าเนนิ ชวี ติ และชว่ ยใหเ้ กดิ ผลดี ขน้ั สรปุ ตอ่ ผู้ใชง้ าน องคก์ รและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทนี่ า� เทคโนโลยสี ารสนเทศไปใช้ ซง่ึ เทคโนโลยสี ารสนเทศ มปี ระโยชน์ในด้านต่าง ๆ ดงั น้ี ขยายความเขา้ ใจ 1. ลดเวลาในการทา� งาน โดยเปน็ การนา� เอาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอรท์ งั้ ฮารด์ แวร์ และซอฟตแ์ วร์ มาใชส้ า� หรบั การประมวลผล และจดั เกบ็ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ซงึ่ ทา� ใหส้ ามารถจดั เกบ็ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ และ 1. ครอู ธบิ ายกบั นกั เรยี นวา “เทคโนโลยสี ารสนเทศ จัดเรียง แก้ไข และสบื คน้ ขอ้ มูลได้อยา่ งรวดเร็ว เขามามีบทบาทสําคัญตอการดําเนินชีวิตเปน 2. ลดต้นทุน เนื่องจากระบบสารสนเทศน้ันสามารถจัดการกับงานที่มีความซับซ้อนได้ อยางมาก และชวยใหเกิดผลดีตอผูใชงานได รวดเร็ว ซ่ึงจะช่วยลดระยะเวลาในการทา� งาน และลดต้นทนุ ในการด�าเนนิ งาน ทุกระดับ ทั้งดานการเรียน การทํางานหรือ 3. ช่วยให้การส่ือสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยใช้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การใชงานในชวี ิตประจําวนั ” ท่ีท�าให้เกิดการส่ือสารที่รวดเร็ว และการส่ือสารท่ีรวดเร็วนั้นท�าให้สามารถส่งข้อมูลขนาดใหญ่ ระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์ได้ภายในเวลาอนั รวดเร็วเช่นกนั 2. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําใบงานท่ี 1.3.1 4. ชว่ ยใหก้ ารท�างานรว่ มกนั เปน็ ไปอย่างราบรนื่ โดยชว่ ยในการประสานงานกบั ฝ่ายตา่ ง ๆ เรื่อง ประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ อกี ทั้งชว่ ยเพิ่มความสะดวกในการส่ือสารขอ้ มูล จดั เรียงขอ้ มูล สืบค้นข้อมูล โดยใหนักเรียนอานสถานการณที่กําหนดให และการใชท้ รัพยากรตา่ ง ๆ รว่ มกัน พรอมระบวุ า พบเทคโนโลยสี ารสนเทศใดบาง 5. ชว่ ยในการตดั สนิ ใจ เนอ่ื งจากระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศสามารถประมวลผลและทา� การ ในสถานการณ จากนน้ั ใหนักเรยี นวิเคราะหว า แสดงผลข้อมูลต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารมองเห็นข้อมูลที่มี เทคโนโลยีสารนเทศท่ีพบมีประโยชนตอการ ขนาดใหญ่ได้ชัดเจนย่ิงข้ึน ดําเนนิ ชวี ติ ของตนเองอยา งไร 6. เสริมสร้างคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีขน้ึ เนอ่ื งจากความกา้ วหนา้ ในดา้ นตา่ ง ๆ ของเทคโนโลยีใน ยุคปัจจุบันที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ล้วนอ�านวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งานและท�าให้ 3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปประโยชนของ คุณภาพชีวิตของผู้ใช้งานและบุคคลรอบข้าง เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีตอการดําเนินชีวิต เปล่ยี นแปลงไปในทางทีด่ ขี ึ้น ประจําวัน 7. สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน โดยปัจจบุ ันมอี งค์กร หรอื บริษทั ตา่ ง ๆ จา� นวน ขนั้ ประเมนิ มากที่น�าเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้ใน ตรวจสอบผล 1. ครูประเมินผลโดยการสังเกตการตอบคําถาม ความสนใจในการเรียน 2. ตรวจสอบการทาํ ใบงานท่ี 1.3.1 เรอ่ื ง ประโยชน ของเทคโนโลยีสารสนเทศ การดา� เนนิ งานในสว่ นตา่ ง ๆ ในทางธรุ กจิ ทง้ั การ วเิ คราะหต์ ้นทุน กา� ไร จุดแข็ง จุดอ่อน ซึง่ หาก องค์กรใดรู้จักการน�าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมก็จะสามารถสร้าง ความได้เปรียบในการแขง่ ขันไดม้ าก ภาพท ่ี 1.13 เทคโนโลยีการส่ือสาร หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา 13 ขอ สอบเนน การคิด แนวทางการวัดและประเมินผล ขอใดคือประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศตอองคกรและ ครวู ดั และประเมินผลความเขาใจในเน้ือหา เร่อื ง เทคโนโลยีสารสนเทศกับ หนวยงานทัง้ หมด การดาํ เนนิ ชีวิต จากการตอบคําถามภายในหอ งเรียน และการทําใบงาน เรอ่ื ง ประโยชนข องเทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยศกึ ษาเกณฑก ารวดั และประเมนิ ผลจาก 1. ลดตนทุน ประหยัดเวลาในการทาํ งาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคลที่อยูในแผนการจัดการเรียนรูหนวย 2. ลดตน ทนุ สรา งความไดเ ปรียบในการแขงขัน การเรยี นรทู ี่ 1 3. ประหยัดเวลาในการทํางาน ชว ยในการตดั สินใจ 4. ชว ยในการสื่อสาร สรางความไดเปรียบในการแขงขนั แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล 5. ชว ยในการตัดสนิ ใจ ชว ยสรา งความสัมพนั ธท่ดี ตี อเพอื่ น คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในช่องที่ รวมงาน ตรงกบั ระดับคะแนน (วิเคราะหคําตอบ ประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีตอ องคกรและหนวยงาน ไดแก ลดเวลาในการทํางาน ลดตนทุน ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 ชวยใหการส่ือสารเปนไปไดอยางราบรื่นและรวดเร็ว ชวยในการ 32 ตดั สนิ ใจ เสรมิ สรา งคณุ ภาพชวี ติ ของคนในองคก รใหด ขี นึ้ และชว ย สรา งความไดเปรยี บในการแขงขนั ดงั น้นั ตอบขอ 5.) 1 การแสดงความคดิ เหน็   2 การยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของผู้อืน่   3 การทางานตามหน้าที่ที่ไดร้ บั มอบหมาย   4 ความมีนาใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชือ่ ................................................... ผู้ประเมนิ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ............/.................../................ ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครัง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ T15 ตา่ กว่า 8 ปรบั ปรงุ 87

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ นาํ การใหบริการรถโดยสาร 4 กแาลระเบพร่มิ กิ มาูลรคา่ ให้กับสนิ คา้ สาธารณะควรนาํ เทคโนโลยี กระตนุ ความสนใจ ดานใดมาชวยในการเพ่ิม สารสนเปทจั ศจ1นุบบัันเวปิทน็ ยเาทกคาโรนคโลอยมหี พนวิ ง่ึเทตอเ่ี ขรา้์ มสาอื่ มดบีจิ ททิ บัลาทแลในะกเทาครดโนา� เโนลนิยี มลู คา ของการบรกิ าร ครถู ามคําถามประจําหัวขอวา • การใหบริการรถโดยสารสาธารณะควรนํา ชีวิตของมนุษย์ท่ัวโลก เพราะช่วงเวลาของการใช้เทคโนโลยีใน หลายปท ผ่ี า่ นมาทา� ใหม้ นษุ ยเ์ หน็ วา่ เทคโนโลยมี าชว่ ยทา� ใหก้ ารดา� เนนิ ชวี ติ ของมนษุ ยม์ คี วามสะดวก เทคโนโลยีดานใดมาชวยในการเพิ่มมูลคา สบายขน้ึ และยงั ชว่ ยใหก้ ารทา� งานตา่ ง ๆ ทนี่ า� เทคโนโลยเี ขา้ มาใชส้ า� เรจ็ ลลุ ว่ งได้ในเวลาอนั รวดเรว็ ของการบริการ” และได้ผลลัพธ์เป็นดังท่ีต้องการ อีกทั้งการเข้าถึงเทคโนโลยีในปัจจุบันสามารถเข้าถึงได้ง่าย เหตุ (แนวตอบ ควรนําเทคโนโลยีทางดาน ดว้ ยราคาของอปุ กรณต์ า่ ง ๆ มรี าคาไมส่ งู จงึ ทา� ใหม้ กี ารนา� เทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยแกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ฮารดแวรเขามาชวยเพิ่มมูลคาของการ และเมือ่ มนุษย์สามารถเขา้ ถึงเทคโนโลยี การน�าความรู้ทางด้านวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ สอ่ื ดิจทิ ัล บรกิ าร เนอ่ื งจากเปน การสรา งอปุ กรณต า งๆ และเทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มาประยกุ ตใ์ ชร้ ว่ มกบั การดา� เนนิ ชวี ติ กท็ า� ใหเ้ กดิ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ มากมาย เพื่อนํามาชวยกระบวนการผลิตเพื่อทําให และถูกจัดเกบ็ เข้าไว้ในระบบ และในปจั จบุ นั กม็ ีการน�าข้อมูลต่างๆ ที่เกิดขึ้นเหลา่ นน้ั มาใช้ใหเ้ กดิ สามารถสรา งผลติ ภณั ฑตางๆ ไดมากขึ้น) ประโยชน์ โดยสามารถน�าเทคโนโลยไี ปชว่ ยเพม่ิ มูลค่าให้กบั สนิ คา้ และบริการในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. เทคโนโลยที างดา้ นฮารด์ แวร์ เปน็ การสรา้ งอปุ กรณต์ า่ ง ๆ เพอื่ นา� มาชว่ ยในกระบวนการ ขน้ั สอน ผลิต เพอ่ื ทา� ใหส้ ามารถสรา้ งผลิตภณั ฑ์ต่าง ๆ ได้มากขึน้ อกี ทง้ั ยังเป็นการลดเวลา ก�าลังแรงงาน และต้นทุนการผลิตในระยะยาว อีกท้ังยังเป็นการก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์หรือการบริการใหม่ ๆ ท่ี สาํ รวจคน หา แตกตา่ งออกไป ถือเป็นการเพิ่มมลู คา่ การให้บริการ หรอื ผลติ ภณั ฑ์ เชน่ การน�าหุ่นยนต์มาใช้ใน ครูใหนักเรียนศึกษาเทคโนโลยีท่ีสามารถ นําไปชวยเพิ่มมูลคาใหกับสินคาและบริการ จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ม.5 การผลิตชิ้นส่วนทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ การท�าอปุ กรณท์ ช่ี ่วยในด้านการเกษตร การท�าอุปกรณ์ในการ อ�านวยความสะดวกด้านการเลอื กซือ้ สนิ คา้ หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณาภาพที่ 1.14 การนา� เทคโนโลยมี าช่วยในการผลิตรถยนต์ 14 เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคดิ ครูอาจยกตวั อยางการเพ่ิมมูลคาใหก บั สนิ คาและบรกิ ารในปจ จบุ ัน เพอ่ื ให เทคโนโลยีทางดานฮารด แวร คอื อะไร นกั เรยี นเขา ใจมากขนึ้ เชน รา นขายเครอื่ งดมื่ สมยั นน้ี าํ เครอ่ื งชงเครอ่ื งดมื่ ทอ่ี าศยั (วเิ คราะหค าํ ตอบ เทคโนโลยที นี่ าํ มาใชใ นการสรา งอปุ กรณช นดิ ตา งๆ เทคโนโลยที างดา นฮารด แวรม าชว ยเพมิ่ คณุ ภาพของเครอ่ื งดมื่ และการบรกิ ารให ดขี น้ึ ทาํ ใหเ ครอื่ งดมื่ หนงึ่ แกว มรี าคาสงู ขน้ึ กวา เดมิ และมรี าคาแพงกวา เครอื่ งดมื่ เชน อุปกรณท่ีชวยอํานวยความสะดวก หุนยนต เครื่องจักรกล ที่ชงดว ยมือ เครือ่ งมือกล) นักเรียนควรรู 1 สารสนเทศ คอื ขอ มลู ตา งๆ ทไ่ี ดผ า นการเปลย่ี นแปลง หรอื มี การประมวล หรอื วเิ คราะหผ ล แลว สรปุ ดว ยวธิ กี ารตา งๆ ใหอ ยใู นรปู แบบทมี่ คี วามสมั พนั ธก นั T16 88

นาํ สอน สรุป ประเมนิ 2. เทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ เป็นการพัฒนาซอฟต์แวร์ขึ้นเพื่อช่วยเพิ่มขีดความ ขนั้ สอน สามารถทั้งในด้านการผลิตสินค้าและบริการ โดยเฉพาะด้านสื่อดิจิทัลท่ีท�าให้เข้าถึงสินค้าได้ง่าย เแชล่นะรวกดาเรรสว็ รร้าวงมสถ่ืองึ อกินาโรฟสรกา้รงาสฟอื่ ิกโฆเพษ่ือณกาาอรนัโฆเปษน็ ณกาารทกา�าใรหพเ้ ัฒกดิ นกาาเรวเ็บพไมิ่ ซยตอ์แดลขะาแยอขปอพงสลนิิเคคชา้ แัน1ลในะบกรากิราใชร้ อธบิ ายความรู บรกิ ารต่าง ๆ 1. ครูสุมนกั เรียน 2-3 คน ออกมาอธบิ ายความ ภาพท่ ี 1.15 การพัฒนาเว็บไชต์เพ่ือใช้ในการสั่งซ้ือ ภาพท่ี 1.16 การพฒั นาเวบ็ ไชตเ์ พอ่ื ใช้ในการจดั การ เขาใจที่นักเรียนมีตอเทคโนโลยีที่สามารถนํา สินค้า ข้อมูล ไปชว ยเพิม่ มูลคา ใหกับสนิ คาและบรกิ าร ทงั้ ช่อง3ท.า งเทกาครโสนือ่โลสยารดี สา้ ังนคกมารอจอดันกไาลรนข์ 2อ้หมรลอืู เเวนบ็ อ่ื ไงซจตา์ตกา่ในงปๆจั สจ่งบุ ผนั ลมใหผี ใู้ม้ ชขี ง้ ้อานมเูลทเกคิดโนใหโลมยต่ ตี ลา่ องดๆเวมลาากขซน้ึงึ่ 2. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั การเพม่ิ มลู คา ใหก บั ขอ้ มลู นนั้ จะถกู เกบ็ ไวใ้ นระบบฐานขอ้ มลู ทา� ใหส้ ามารถนา� ขอ้ มลู นน้ั ไปทา� การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ สินคาและบริการวา “ในการเพิ่มมูลคาใหกับ เพื่อน�าข้อมูลมาช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการของตน เช่น การน�าข้อมูลการซ้ือสินค้า สินคาและบริการควรคํานึงถึงความทนทาน ของผู้ใชม้ าวเิ คราะหเ์ พ่อื การจดั โปรโมชัน การน�าขอ้ มลู การใช้งานผลิตภณั ฑข์ องแต่ละคนเพอ่ื นา� ความปลอดภยั ความเหมาะสม และความคิด มาใช้ในการปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงผลติ ภณั ฑ์ให้เหมาะสมกบั ผใู้ ช้งานแต่ละคน สรางสรรค เพราะจะทําใหสินคาที่ไดพัฒนา มีประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขนึ้ ” Com Sci ขน้ั สรปุ activity ขยายความเขา ใจ การเพมิ่ มูลค่าให้กับสินคา้ และบรกิ าร ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 - 5 คน ออกแบบสนิ คา้ หรอื บรกิ ารทน่ี กั เรยี นสนใจมากลมุ่ ละ 1 อยา่ ง พรอ้ มกบั 1. ครูใหนกั เรยี นแบง กลมุ กลุม ละ 4-5 คน เพือ่ วเิ คราะหว์ ธิ กี ารในการเพม่ิ คณุ ภาพสนิ คา้ หรอื บรกิ ารในแตล่ ะดา้ น แลว้ สง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมาน�าเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น ทาํ กจิ กรรม Com Sci activity และใหน กั เรยี น ออกแบบสนิ คา และเสนอแนวคดิ เพอื่ ยกระดบั 15 และเพิ่มมูลคาใหกับสินคา OTOP ในจังหวัด ของตน พรอมกับวิเคราะหวิธีการในการเพิ่ม คุณภาพสินคาหรือบริการในแตละดาน แลว สงตัวแทนออกมานาํ เสนอหนาช้ันเรียน หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา ขอ สอบเนน การคดิ นักเรียนควรรู การเพิ่มมูลคาใหกับสินคาและบริการตองอาศัยเทคโนโลยี 1 แอปพลเิ คชนั คอื โปรแกรมทอี่ าํ นวยความสะดวกในดา นตา งๆ ทอี่ อกแบบ ดา นใดบาง มาสาํ หรบั อปุ กรณเ คลอื่ นท่ี เชน มอื ถอื แทบเลต็ ซงึ่ ในแตล ะระบบปฏบิ ตั กิ ารจะมี ผูพัฒนาแอพพลิเคช่ันข้ึนมากมายเพื่อใหตรงกับความตองการของผูใชงาน 1. ฮารดแวร มีท้ังแอปพลิเคชันดานการศึกษา ดานการส่ือสาร หรือแมแตดานความบันเทิง 2. ซอฟตแวร ตางๆ 3. การจัดการขอมลู 2 สังคมออนไลน คือ การที่มนุษยเช่ือมโยงถึงกันและกันผานระบบ 4. ฮารด แวรและซอฟตแวร อนิ เทอรเ น็ต ในรปู การใหบรกิ ารผา นเวบ็ ไซตเ ชอื่ มโยงบคุ คลตอบคุ คลไวด ว ยกนั 5. ฮารด แวร ซอฟตแวร และการจดั การขอมลู โดยเวบ็ ไซตเ หลา นจี้ ะมพี นื้ ทใี่ หบ คุ คลเขา มาทาํ ความรจู กั กนั ใหบ รกิ ารเครอื่ งมอื ตา งๆ เพอ่ื อาํ นวยความสะดวกในการสรา งเครอื ขา ย สรา งเนอื้ หาตามความสนใจ (วเิ คราะหค าํ ตอบ การเพม่ิ มลู คา ใหก บั สนิ คา และบรกิ ารตอ งอาศยั ของผูใ ช โดยเช่อื มโยงเปนชมุ ชน สามารถแชรต ัวตนและทุกๆ ส่งิ ท่ีสนใจได เทคโนโลยดี า นฮารแ วรเ พอ่ื สรา งอปุ กรณใ นการอาํ นวยความสะดวก เทคโนโลยีดานซอฟตแวรเพ่ือชวยเพ่ิมขีดความสามารถในการ T17 ผลติ สนิ คา และบรกิ าร และเทคโนโลยดี านการจัดการขอมลู เพอ่ื นําขอมูลไปวิเคราะห สังเคราะห และเพิ่มชองทางในการในการ สอ่ื สารทางสงั คมออนไลน ดงั นน้ั ตอบขอ 5.) 89

นำ� สอน สรุป ประเมิน ขนั้ สรปุ Summary ขยายความเขา้ ใจ วิทยาการคอมพิวเตอร สื่อดจิ ทิ ลั และ เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การดาํ เนนิ ชวี ติ 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเน้ือหาเก่ียวกับ วิทยาการคอมพิวเตอร สื่อดิจิทัล และ วทิ กยบั ากกาารรดคาํ อเมนพนิ วชิ เวี ตติ อร สกอ่ื าดรจิดทิาํ เลั นกนิ บั ชกวี าติ ร เทคโนโลยีสารสนเทศกับการดําเนินชีวิต จากหนงั สอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี เป็นศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับการศึกษา เปน็ การนา� เอาข้อความ เสียง ภาพนง่ิ (วิทยาการคาํ นวนณ) ม.5 ค้นคว้าทฤษฎีการค�านวณทางคอมพิวเตอร์ ภาพเคล่ือนไหว และวิดโี อ มาจัดรปู แบบ โดย และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทัง้ ด้าน อาศยั เทคโนโลยที างดา้ นคอมพวิ เตอร์ ผสมผสาน 3. ครใู หน กั เรยี นตรวจสอบความเขา ใจของตนเอง ซอฟตแ์ วร์ ฮารด์ แวร์ และเครอื ขา่ ย โดยจะตอ้ ง กับความคิดสร้างสรรค์ด้านดิจิทัลคอนเทนต์ โดยพิจารณาขอความวาถูกหรือผิดแลวบันทึก ศึกษาในดา้ นการพัฒนาซอฟต์แวร์ โครงสรา้ ง ของผสู้ รา้ งสอ่ื เพอื่ ผลติ เปน็ สอ่ื ดจิ ทิ ลั ทตี่ อบสนอง ลงในสมดุ หากพจิ ารณาขอ ความไมถ กู ตอ งให และการควบคมุ คอมพวิ เตอร์ การสอื่ สารระหวา่ ง ต่อความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค กลับไปทบทวนเน้ือหาตามหัวขอ ท่กี ําหนดให เครอื่ งคอมพวิ เตอรห์ รอื อปุ กรณส์ อ่ื สาร การนา� ไปใชง้ านดา้ นกราฟกิ และมลั ตมิ เี ดยี การประยกุ ต์ 4. ครูใหน กั เรียนทําแบบทดสอบหลังเรยี น ใชง้ านอยา่ งชาญฉลาด สดุ ทา้ ย คอื การคา� นวณ หนว ยการเรียนรูท่ี 1 และการประยุกต์ใช้งานระดบั สูง 5. ครใู หน ักเรียนทาํ แบบฝกหดั ประจํา เทกคบั โกนาโลรยดสีาํ าเนรนิสชนวีเทติ ศ กสานิรคเพา้ มิ่แมลลูะคบา่รใกิ หาก้ รบั หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 เปน็ การนา� เทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยในการ การเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ 6. ครูใหนักเรียนตอบคําถามลงในสมุด และทํา จดั หาขอ้ มลู วเิ คราะหข์ อ้ มลู ประมวลผลขอ้ มลู สามารถนา� เทคโนโลยใี นดา้ นตา่ ง ๆ มาประยกุ ต์ ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง การเพ่ิม จดั การและจดั เกบ็ ขอ้ มลู เรยี กใชห้ รอื แลกเปลย่ี น ใช้งานได้ ซ่ึงเทคโนโลยที ส่ี ามารถนา� มาพฒั นา มลู คา สนิ คา OTOP โดยใหน กั เรยี นใชโ ปรแกรม ขอ้ มูล และเผยแพร่ข้อมูล เพ่ือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ได้แก่ ท่ีตนเองถนัดออกแบบฉลากผลิตภัณฑสินคา เทคโนโลยีทางด้านฮาร์ดแวร์ เทคโนโลยีทาง OTOP CLICK HERE ด้านซอฟต์แวร์ และเทคโนโลยีทางด้านการ จดั การข้อมูล ขน้ั ประเมนิ ตรวจสอบผล ครูประเมินผลโดยการสังเกตการตอบคําถาม ความสนใจในการเรยี น การทาํ งานรว มกนั ภายใน กลมุ และการทาํ กจิ กรรมทสี่ อดคลองกับเนอ้ื หา 16หนังสือเลมเนนื้อี้อหยาูในอราะจหมวีกาางรสปงรตับรปวรจุงพแิจกาไรขณา แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม 21st Century Skills ครวู ดั และประเมนิ ผลความเขา ใจในเนอื้ หา เรอ่ื ง การเพมิ่ มลู คา ใหก บั สนิ คา ครูใหน กั เรียนแบงกลุม กลมุ ละ 4-5 คน รว มกนั สาํ รวจองคก ร และบริการ จากการออกแบบฉลากผลิตภัณฑสินคา OTOP โดยศึกษาเกณฑ หรอื การดาํ เนนิ ชวี ติ ประจาํ วนั ซงึ่ เกย่ี วขอ งกบั วทิ ยาการคอมพวิ เตอร การวัดและประเมินผลจากแบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ท่ีอยูใน ส่ือดิจทิ ลั และเทคโนโลยสี ารสนเทศอยางไร โดยใหแตละกลุมสรปุ แผนการจดั การเรียนรูหนวยการเรียนรูที่ 1 เปนผังมโนทศั น และนาํ เสนอในรปู แบบที่สวยงามและเขาใจงาย แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) รายการ เกณฑ์การประเมนิ (ระดบั คุณภาพ) ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) ดมี าก ไมส่ ามารถใชโ้ ปรแกรม 1. การออกแบบฉลาก ใช้โปรแกรมในการ ใช้โปรแกรมในการ ใชโ้ ปรแกรมในการ ในการออกแบบฉลาก ดี ผลิตภณั ฑส์ นิ คา้ OTOP ผลติ ภณั ฑ์สนิ คา้ OTOP ออกแบบฉลาก ออกแบบฉลาก ออกแบบฉลาก ได้ พอใช้ ผลติ ภณั ฑ์สนิ คา้ OTOP ผลิตภณั ฑ์สินคา้ OTOP ผลติ ภณั ฑ์สินคา้ OTOP ไมส่ ามารถยกระดับและ ปรบั ปรุง เพ่ิมมลู ค่าให้กบั สินคา้ ไดด้ มี าก ไดด้ ี ไดค้ ่อนข้างดี ได้ 2. ยกระดบั และเพมิ่ มลู คา่ ให้ สามารถยกระดบั และ สามารถยกระดับและ สามารถยกระดับและ ไมส่ ามารถออกแบบ ผลิตภณั ฑท์ ่แี ตกตา่ งไป ผลติ ภณั ฑ์ เพ่ิมมลู คา่ ให้กบั สนิ ค้า เพิ่มมลู คา่ ใหก้ ับสินค้า เพิม่ มลู ค่าให้กบั สินค้า จากเดิมได้ ไดด้ มี าก ไดด้ ี ไดค้ อ่ นข้างดี ผลงานมคี วามครบถ้วน สมบูรณน์ ้อย 3. ความคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ สามารถออกแบบ สามารถออกแบบ สามารถออกแบบ ผลิตภณั ฑ์ทีแ่ ตกต่างไป ผลติ ภณั ฑท์ แี่ ตกต่างไป ผลิตภณั ฑ์ทแ่ี ตกตา่ งไป จากเดมิ ไดด้ ีมาก จากเดมิ ไดด้ ี จากเดมิ ไดค้ ่อนขา้ งดี 4. ความสมบรู ณข์ องผลงาน ผลงานมีความครบถว้ น ผลงานมีความครบถว้ น ผลงานมีความครบถ้วน สมบูรณ์ดมี าก สมบูรณค์ ่อนขา้ งดี สมบูรณด์ เี ปน็ บางสว่ น 5. ส่งงานตรงเวลา สง่ ภาระงานภายในเวลา สง่ ภาระงานชา้ กวา่ ส่งภาระงานช้ากว่า ส่งภาระงานช้ากว่า กาหนด 2 วัน กาหนดเกิน 3 วันข้ึนไป ทีก่ าหนด กาหนด 1 วัน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 16 - 20 ดมี าก 10 - 15 ดี 7 - 9 พอใช้ 1 - 6 ปรับปรุง T18 90

นำ� สอน สรปุ ประเมนิ แนวตอบ Self Check 3. ถกู Self Check 1. ถกู 2. ผดิ 4. ถกู 5. ถกู ใหน้ ักเรยี นตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรอื ผิด แล้วบนั ทกึ ลงในสมดุ หากพจิ ารณาขอ้ ความไมถ่ กู ต้อง ให้กลับไปทบทวนเนอ้ื หาตามหัวข้อท่กี า� หนดให้ ถกู /ผิด ทบทวนหัวขอ้ 1. รปู แบบการพัฒนาโปรแกรมทไี่ ดร้ บั ความนิยมมากที่สดุ คือ Waterfall 1 Model หรอื โมเดลน�้าตก 2. สอื่ ดจิ ทิ ลั มีองคป์ ระกอบสา� คัญ คอื ข้อความและเสยี ง 2 3. การนา� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการทา� งานตา่ งๆ จะชว่ ยใหป้ ระสทิ ธภิ าพ บัน ึทกลงในส ุมด 3 ของการทา� งานนน้ั เพมิ่ มากขนึ้ และทา� ใหต้ น้ ทนุ ในการทา� งานเพม่ิ มากขนึ้ 4 เช่นกนั 4. การเพมิ่ มลู คา่ ใหก้ บั สนิ คา้ และบรกิ ารจา� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งนา� เทคโนโลยที างดา้ น ฮารด์ แวร์เข้ามาชว่ ย 5. การจดั ทา� เวบ็ ไซตห์ รอื แอปพลเิ คชนั สา� หรบั สนิ คา้ และบรกิ ารเปน็ การเพมิ่ 4 โอกาสในการเขา้ ถึงสินค้าและบรกิ ารนนั้ ๆ Unit Question 1 หนั เงนื้สืออเหลามอนี้าจอมียูใกนารระปหรัวาบงปสรุงงแตกรไวขจพิจารณา ค�าชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคา� ถามตอ่ ไปนี้ 1 อธบิ ายความสมั พนั ธข์ องวิทยาการคอมพวิ เตอรก์ บั การด�าเนนิ ชวี ิต 2 ยกตวั อย่างการน�างานดา้ นกราฟกิ และมลั ตมิ เี ดยี ไปใช้งานในชวี ติ ประจา� วัน 3 อธบิ ายความสัมพนั ธข์ องส่ือดจิ ิทลั กับการดา� เนินชวี ิต 4 อธบิ ายเก่ียวกับบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศกบั การดา� เนนิ ชวี ติ 5 อธบิ ายถึงวิธีการในการเพม่ิ มลู ค่าให้กบั สินคา้ และบริการ 17 เฉลย Unit Question 1. ในการดําเนินชีวิตจะเกี่ยวของกับศาสตรที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควาทฤษฎีการคํานวณทางคอมพิวเตอร และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ เชน การวิเคราะหและการสังเคราะหข้ันตอนวิธี ไปจนถึงระดับรูปธรรม เชน ทฤษฎีภาษาโปรแกรม การพัฒนาซอฟตแวร ซึ่งนําไปสูการคิดคนทฤษฎีและ นวัตกรรมใหม เพื่อตอบสนองตอ ความตอ งการของการใชเทคโนโลยขี องคนในสงั คมที่รวดเรว็ สะดวกและมีประสทิ ธิภาพมากขึน้ 2. ระบบตรวจจบั ใบหนา ระบบสแกนนว้ิ มอื การตรวจจบั ความเคลอ่ื นไหวของวัตถุ 3. เปนการนาํ เอาขอ ความ ภาพน่ิง ภาพเคลือ่ นไหว เสยี ง และวิดีโอมาจดั รูปแบบ โดยอาศัยเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอรผ สมผสานกับความคดิ สรา งสรรคด า น ดจิ ทิ ัล เชน ภาพยนตร โฆษณา การต นู สอื่ การสอน 4. เปนการนําเทคโนโลยีมาชวยในการจัดหาขอมูล วิเคราะหขอมูล ประมวลผลขอมูล จัดการ และจัดเก็บขอมูล ซ่ึงชวยลดเวลาในการทํางาน ลดตนทุน เน่ืองจากเทคโนโลยีสารสนเทศเหลาน้ีสามารถจัดเก็บงานที่มีความซับซอนไดรวดเร็ว ชวยใหการส่ือสารใหเปนไปอยางรวดเร็ว ชวยใหการทํางานเปนไป อยา งราบร่ืน ชวยในการตดั สนิ ใจ เสริมสรา งคุณภาพชวี ิตใหด ขี ้ึน และสรา งความไดเปรยี บในการแขงขัน 5. ตอ งอาศยั เทคโนโลยดี า นฮารด แวรม าชว ยในกระบวนการผลติ สรา งอปุ กรณท อี่ าํ นวยความสะดวกตอ การผลติ อาศยั เทคโนโลยที างดา นซอฟตแ วร เพอื่ สรา ง สอ่ื หรอื พัฒนาเวบ็ ไซตใ หเ ขา ถึงขอ มูลของสนิ คา ไดง ายและสะดวกขึ้น นอกจากน้ี ตอ งอาศยั เทคโนโลยที างดานการจัดการขอมลู เพอ่ื นาํ ขอ มูลไปวเิ คราะห สงั เคราะห และนาํ ขอ มลู มาปรบั ปรงุ เปลีย่ นแปลงผลิตภัณฑใหม มี ลู คา เพิ่มข้นึ T19 91

PowerPoint 01 02 รายวิชาพนื้ ฐาน 05 03 (เทวทิคยโนาโกลายรี คาํ นวณ) ม.504 หลักตสัวตู อรยปา่รงบั ปรุง’60 PowerPoint ประกอบการสอน บรรจอุ ย่ใู นแผ่น CD และสามารถ ดาวน์โหลดได้จาก www.aksorn.com 92






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook