Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย ประถม

ภาษาไทย ประถม

Published by tanyalaxpohasit, 2020-05-09 03:14:26

Description: ไทย ประถม

Search

Read the Text Version

หนังสอื เรียนสาระความรพู ื้นฐาน รายวชิ าภาษาไทย พท11001 ระดับประถมศกึ ษา หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ี จัดพิมพ์ด้วยเงนิ งบประมาณแผ่นดนิ เพือ่ การศกึ ษาตลอดชีวิตสาหรบั ประชาชน ลขิ สทิ ธ์ิเปน็ ของ สานกั งาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร สานักงานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

หนงั สอื เรยี นสาระความรพู้ ้นื ฐาน รายวชิ าภาษาไทย พท11001 ระดบั ประถมศกึ ษา ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 ลขิ สิทธเ์ิ ป็นของ สานักงาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 1/2555

3 คาํ นาํ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เม่ือวันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอก โรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาข้ึน ตามหลักปรัชญาและความเช่ือพื้นฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญ มีการเรียนรแู ละส่งั สมความรู และประสบการณอยา งตอ เน่ือง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือน นโยบายทางการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพ ทส่ี ามารถสรางรายไดท่มี ั่งค่งั และม่นั คง เปนบุคลากรทม่ี วี นิ ัย เปย มไปดวยคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม และมี จิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั และเนื้อหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรยี นรู ของหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเนื้อหาสาระ เก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพ่ือเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมี ความเก่ียวขอ งสมั พนั ธกนั แตย งั คงหลกั การและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนงั สือทใี่ หผ ูเรียนศกึ ษาคน ควา ความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพ่ือทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปราย แลกเปลี่ยนเรยี นรูกบั กลุม หรือศกึ ษาเพ่มิ เตมิ จากภูมิปญ ญาทอ งถ่ิน แหลงการเรยี นรแู ละสอื่ อืน่ การปรับปรุงหนังสือเรียนในครั้งน้ี ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ สาขาวิชา และผูเก่ียวของในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรู จากส่ือตาง ๆ มาเรียบเรียงเน้อื หาใหค รบถว นสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวชี้วัด และกรอบเนือ้ หาสาระของรายวชิ า สํานกั งาน กศน. ขอขอบคณุ ผมู ีสวนเกย่ี วขอ งทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวงั วา หนังสือเรียนชุดนี้จะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเกี่ยวของในทุกระดับ หากมี ขอ เสนอแนะประการใด สาํ นักงาน กศน. ขอนอมรบั ดวยความขอบคณุ ยิง่

4 สารบญั หนา คํานาํ คาํ แนะนําการใชห นังสือเรยี น โครงสรางรายวชิ า คาํ แนะนาํ การใชแ บบเรยี น โครงสรา งรายวิชาภาษาไทย บทท่ี 1 การฟง และการดู .........................................................................................................1 เรื่องที่ 1 หลักการ ความสําคญั จดุ มงุ หมายของการฟง และการดู .......................................2 เรอ่ื งท่ี 2 การฟงและการดูเพ่อื จับใจความสาํ คญั .................................................................4 เรื่องท่ี 3 การฟงและการดเู พ่อื สรปุ ความ ............................................................................5 เรอ่ื งท่ี 4 มารยาทในการฟง และการดู................................................................................6 บทที่ 2 การพดู ..................................................................................................................7 เรอ่ื งท่ี 1 การพูด ความสาํ คัญของการพดู ...........................................................................8 เรื่องท่ี 2 การเตรียมการพดู และลกั ษณะการพูดที่ดี ...........................................................8 เรื่องท่ี 3 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ.........................................................................................9 เรื่องท่ี 4 มารยาทในการพดู ............................................................................................. 11 บทท่ี 3 การอา น ................................................................................................................12 เรอ่ื งที่ 1 หลักการความสําคัญและจุดมุงหมายของการอาน ............................................. 13 เรอ่ื งที่ 2 การอานรอ ยแกว............................................................................................... 14 เรอ่ื งท่ี 3 การอา นรอ ยกรอง ............................................................................................. 17 เรื่องที่ 4 การเลอื กอา นหนังสอื และประโยชนข องการอาน............................................... 19 เรือ่ งที่ 5 มารยาทในการอา นและสรางนสิ ัยรักการอาน.................................................... 20 บทท่ี 4 การเขยี น ................................................................................................................21 เรื่องที่ 1 หลักการเขียนและความสําคัญของการเขียน ..................................................... 22 เรื่องที่ 2 การเขยี นภาษาไทย ........................................................................................... 23 เรอ่ื งท่ี 3 การเขียนสะกดคําและประสมคาํ ....................................................................... 24 เรือ่ งท่ี 4 การเขียนสอ่ื สาร................................................................................................ 26 เรื่องที่ 5 การเขียนตามรูปแบบ........................................................................................ 29 เรือ่ งท่ี 6 การเขยี นรายงานการคน ควา และอา งองิ ความรู ................................................. 32 เรื่องท่ี 7 การเขียนกรอกรายการ ..................................................................................... 33 เรือ่ งที่ 8 มารยาทในการเขียนและนสิ ัยรกั การเขยี น......................................................... 34

5 บทท่ี 5 หลกั การใชภ าษา.......................................................................................................36 เรื่องท่ี 1 เสียง รูปอกั ษรไทย และไตรยางค...................................................................... 37 เรอ่ื งท่ี 2 ความหมายและหนา ที่ของคํา กลมุ คาํ และประโยค........................................... 41 เรอ่ื งที่ 3 เคร่อื งหมายวรรคตอนและอักษรยอ .................................................................. 46 เรือ่ งท่ี 4 หลักการใชพ จนานกุ รม คําราชาศพั ทแ ละคําสุภาพ ........................................... 50 เรอ่ื งท่ี 5 สาํ นวนภาษา..................................................................................................... 53 เรื่องท่ี 6 การใชท ักษะทางภาษาเปน เคร่ืองมอื การแสวงหาความร.ู ................................... 57 เรื่องที่ 7 ลักษณะของคาํ ไทย คาํ ภาษาถ่ิน และ คําภาษาตางประเทศในภาษาไทย...................................................................... 58 บทท่ี 6 วรรณคดีและวรรณกรรม ...........................................................................................62 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนข องนิทาน นิทานพ้ืนบา น และวรรณกรรมทองถน่ิ .............................................................. 63 เรื่องท่ี 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดีทนี่ า ศกึ ษา............................................. 64 บทที่ 7 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี .....................................................................67 เร่ืองที่ 1 คุณคา ของภาษาไทย. ........................................................................................ 68 เรื่องท่ี 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี ........................................................... 68 เรื่องที่ 3 การเพมิ่ พนู ความรูแ ละประสบการณทางดา นภาษาไทย เพื่อการประกอบอาชีพ...................................................................................... 71 เฉลยแบบฝก หัด ......................................................................................................................... 72 บรรณานุกรม ......................................................................................................................... 81 คณะผจู ดั ทาํ ......................................................................................................................... 83

6 คําแนะนาํ ในการใชหนังสอื เรยี น หนังสือแบบเรียนสาระความรูพ ื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา เปน แบบเรียน ทจี่ ัดทําขนึ้ สาํ หรบั ผูเ รยี นที่เปน นักศึกษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสอื เรยี นสาระความรพู น้ื ฐาน รายวิชาภาษาไทย ผูเรยี นควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา งใหเ ขาใจหวั ขอ สาระสาํ คัญ ผลการเรยี นรูคาดหวังและขอบขา ยเนือ้ หา 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยา งละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด และ ตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมท่กี ําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขา ใจเนื้อหา นั้นใหม ใหเขา ใจกอ นทีจ่ ะศึกษาเรื่องตอไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปน การสรุปความรู ความเขา ใจของเน้ือหา ในเรื่องน้ัน ๆ อีกคร้ัง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเน้ือหาแตละเร่ือง ผูเรียนสามารถนําไป ตรวจสอบกับครแู ละเพอ่ื น ๆ ที่รว มเรียนในวิชาและระดบั เดยี วกนั ได 4. แบบเรยี นเลม น้ีมี 7 บท คือ บทท่ี 1 การฟงและการดู บทท่ี 2 การพดู บทที่ 3 การอาน บทที่ 4 การเขียน บทท่ี 5 หลกั การใชภาษา บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม บทท่ี 7 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ

7 โครงสรา งรายวิชาภาษาไทย พท11001 ระดบั ประถมศกึ ษา สาระคญั การฟง และการดู การพูด การอาน การเขียน หลักการใชภ าษา วรรณคดี และวรรณกรรม เปน พน้ื ฐานของทักษะท่ีใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน ซึ่งตองศึกษาอยา งเขา ใจจึงนําไปใชป ระโยชนไ ดดี ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวัง ผเู รียนสามารถ 1. อธบิ ายรายละเอยี ดของการฟง และการดไู ด 2. อธบิ ายการพดู และการอานในสถานการณต า ง ๆ ได 3. เขยี นไดถ ูกตองตามหลักภาษา 4. ใชห ลักการใชภาษาไดถ กู ตอง 5. อธิบายความหมาย คุณคา และประโยชนของนิทาน นิทานพื้นบาน วรรณกรรมทอ งถ่ิน และวรรณคดบี างเร่อื งได ขอบขายเน้อื หา บทที่ 1 การฟง และการดู บทที่ 2 การพูด บทที่ 3 การอา น บทท่ี 4 การเขียน บทท่ี 5 หลักการใชภ าษา บทท่ี 6 วรรณคดแี ละวรรณกรรม บทที่ 7 ภาษาไทยกับชอ งทางการประกอบอาชพี

1 บทที่ 1 การฟงและการดู สาระสําคัญ การฟงและการดูเปนทักษะสําคญั ทต่ี อ งใชใ นชีวิตประจําวัน หากฟง และดไู ดอ ยา งเขา ใจ จะนําไปใชประโยชนไ ดมาก ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง ผเู รยี นสามารถ 1. อธบิ ายหลกั การ ความสําคัญ จดุ มุง หมายของการฟงและการดูได 2. อธิบายการจับใจความสําคญั จากการฟง และการดไู ด 3. อธิบายการฟงและการดเู พอ่ื สรปุ ความได 4. บอกมารยาทในการฟง และการดูได ขอบขายเนอ้ื หา เรื่องที่ 1 หลกั การ ความสาํ คัญ จุดมงุ หมายของการฟง และการดู เรื่องที่ 2 การฟงและการดเู พอ่ื จบั ใจความสาํ คัญ เรื่องที่ 3 การฟงและการดเู พื่อสรุปความ เรอ่ื งท่ี 4 มารยาทในการฟงและการดู

2 เรอ่ื งท่ี 1 หลักการ ความสาํ คญั จุดมุงหมายของการฟง และการดู 1. หลกั การฟงและการดู การฟงและการดเู ปน การเรียนรูเ รื่องราวตาง ๆ จากแหลง เสยี งและภาพ ทง้ั จากแหลง จรงิ และผา น สื่อตาง ๆ เชน วทิ ยุ โทรทศั น ภาพยนตร คอมพวิ เตอร หนังสอื เปน ตน การฟง และการดูมหี ลักการ ดงั น้ี 1. การฟงและการดูอยา งต้ังใจ จะไดรบั เนอื้ หาสาระถูกตอ งและครบถว น 2. มีจุดมุงหมายในการฟง และการดเู พอ่ื จะชวยใหการฟงและการดมู ปี ระโยชนแ ละมีคณุ คา 3. จดบันทกึ ใจความสําคัญ จะไดศ ึกษาทบทวนได 4. มีพืน้ ฐานในเรือ่ งทฟ่ี ง และดูมากอ นจะไดชวยใหเขาใจเนอื้ หาสาระไดเร็วขน้ึ 2. ความสาํ คัญของการฟงและการดู 1. เพมิ่ ความรูและประสบการณทจ่ี ะนําไปใชประโยชนได 2. เปน การส่อื สารระหวา งกนั ใหเ ขา ใจและปฏิบตั ติ ามได 3. เปน การพฒั นาชีวติ และความเปน อยู โดยนําความรดู านวทิ ยาศาสตร สังคมศาสตร และ มนษุ ยศาสตร มาใชไ ดอ ยางเหมาะสม 3. จดุ มุงหมายของการฟง และการดู 1. เพอ่ื รบั ความรแู ละความบนั เทงิ จากการฟงและการดู 2. เพื่อนําไปใชป ระโยชนในชีวิตประจําวัน อาจจะไปอธิบายหรือสอนตอ หรือจะนําไปประกอบ เปนอาชพี ได 3. เพื่อความเพลดิ เพลิน หรือเพอื่ การผอ นคลาย เชน การฟงเพลง การดูรายการบนั เทิง เปน ตน 4. เพ่ือใชเวลาวางใหเ ปน ประโยชน จุดมุงหมายของแตละทา นอาจจะเหมือนกนั หรอื ไมเ หมอื นกัน ก็ไดและอาจจะมากกวา 1 จดุ มงุ หมายก็ได

3 กิจกรรม ใหผ ูเรยี นตอบคําถามตอไปน้ี 1. ผเู รียนมหี ลักการฟงและการดอู ยางไร 1. _________________________________________________________________ 2. _________________________________________________________________ 3. _________________________________________________________________ 4. _________________________________________________________________ 2. ผเู รียนเห็นวา การฟง และการดมู คี วามสําคญั อยา งไร 1. _________________________________________________________________ 2. _________________________________________________________________ 3. _________________________________________________________________ 4. _________________________________________________________________ 3. ผเู รียนมจี ดุ มุงหมายของการฟงและการดลู ะครโทรทศั นอยา งไร 1. _________________________________________________________________ 2. _________________________________________________________________ 3. _________________________________________________________________ 4. _________________________________________________________________ 4. ผเู รียนนาํ ความรเู กย่ี วกบั การฟงและการดูทไี่ ดศกึ ษาในเรอื่ งที่ 1 ไปใชป ระโยชนไ ดอ ยา งไรบาง 1. _________________________________________________________________ 2. _________________________________________________________________ 3. _________________________________________________________________ 4. _________________________________________________________________ 5. _________________________________________________________________

4 เร่ืองที่ 2 การฟงและการดูเพื่อจบั ใจความสําคญั ในเรอื่ งที่ 2 นีม้ ีเน้อื หาสาระเปน 2 สว นคือ 1. การฟง เพือ่ จบั ใจความสาํ คัญ 2. การดเู พื่อจบั ใจความสาํ คญั ทั้งสองสวนมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1. การฟง เพ่ือจบั ใจความสาํ คญั การฟง เพือ่ จับใจความสําคัญไมใ ชเ รือ่ งยาก ถา ผฟู งปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. ฟงอยางต้ังใจ และมสี มาธิ 2. ฟงใหต ลอดจบความ 3. ฟงอยางมีวิจารณญาณ โดยใชความรูประสบการณของตน มาพิจารณาไตรต รองประกอบ เนอ้ื หาสาระเพอื่ ความถกู ตองหรือมีประโยชนอยางไรบาง วธิ กี ารฟงเพ่อื จบั ใจความสาํ คัญ 1. ต้งั ใจฟง วา เร่ืองอะไร ใครทํา ทาํ เมอื่ ใด ทําทไ่ี หน ทําอยางไร และเกิดผลอยา งไร 2. ทําความเขาใจเน้ือหาสาระ แยกแยะความจริง และขอคดิ เหน็ ในเรือ่ งนน้ั ๆ 3. ประเมินคาเรอ่ื งทฟ่ี ง วา เนื้อหาถกู ตอ ง เหมาะสม มากหรอื นอยเพยี งใด เหมาะสมกบั เพศ และวยั และชว งเวลาของกลมุ ผูฟงหรอื ไม 4. จดบนั ทกึ ใจความสําคัญของเรื่องทฟี่ ง เมื่อทบทวนหรอื เผยแพรใ หผ อู ืน่ ตอไป 2. การดูเพือ่ จับใจความสําคญั หลกั การดู 1. ดูอยา งต้ังใจและมีสมาธใิ นการดู 2. มจี ุดมงุ หมายในการดจู ะทาํ ใหการดปู ระสบผลสาํ เรจ็ ได 3. มีวิจารณญาณ ดแู ลวคิดไตรต รองอยางมเี หตุผล 4. นาํ ไปใชประโยชน คืออาจจะมีการปรบั ใหเหมาะสมกบั เวลา และสถานการณ วธิ ีการดูเพ่ือจบั ใจความสาํ คัญ ดูรายการทีวีโดยภาพรวมและรายละเอียด

5 กจิ กรรม ใหผูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. การฟง เพือ่ จับใจความสาํ คัญ มวี ธิ กี ารอยา งไร 1. _____________________________________________________ 2. _____________________________________________________ 3. _____________________________________________________ 4. _____________________________________________________ 2. การดเู พ่อื จับใจความสาํ คัญ มีวิธีการอยา งไร 1. _____________________________________________________ 2. _____________________________________________________ 3. _____________________________________________________ 4. _____________________________________________________ 3. ใหผ ูเรียนฝก ฟงขาว หรอื สารคดีจากรายการวทิ ยแุ ละบนั ทึกใจความสาํ คัญของเรอื่ งที่ฟงน้นั 4. ใหผูเรียนฝกดูรายการขาวประจําวันหรือขาวในพระราชสํานัก จากสถานีโทรทัศนตาง ๆ และ บันทกึ ใจความสาํ คัญจากการดู เร่ืองท่ี 3 การฟง และการดเู พ่อื สรปุ ความ การฟงและดู เพ่ือสรุปความเปน ขั้นตอนสุดทา ยของกระบวนการฟง และการดู การสรปุ ความ เนน การประมวลเน้ือหาสาระมาใชป ระโยชนในชีวิตประจําวนั วธิ กี ารสรุปความควรทาํ ดงั นี้ การนําสรุปความไปใชประโยชน ซ่งึ มหี ลายวิธี เชน 1. ใชในการศึกษา 2. ใชใ นการเผยแพรโดยการอธิบาย สอน เขียนเปน เอกสาร และตํารา ตวั อยาง การสอ่ื สารทเี่ ปนการสรุปความของการฟงและการดู เชน 1) การโฆษณา การโฆษณาการใชภ าษาใชเ วลานอย คําพดู นอ ย จะเนนการพดู ทสี่ ั้น ๆ ใหไดใจความ ดงั นน้ั การฟง และการดจู ะใชท กั ษะการสรปุ ความและเขาใจสารน้ัน 2) การฟงประกาศ จะสรปุ ความเน้อื หาสาระนนั้ มาปฏบิ ัตโิ ดยจะใชห ลกั ประกาศเรอ่ื ง อะไร เกีย่ วขอ งกบั เราอยางไร และนําไปปฏิบตั อิ ยางไร 3) สรุปการนาํ ขอ มูลมาใชป ระโยชน

6 กจิ กรรม ใหผ เู รยี นดูขา วสารคดี และโฆษณาตาง ๆ จากรายการโทรทศั น ในรอบสัปดาห แลวสรปุ ความแตละ รายการทดี่ ูมานําเสนอในกลมุ เร่ืองที่ 4 มารยาทในการฟง และการดู การมีมารยาทในการฟงและการดู ปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. การฟง 1. ต้งั ใจฟง 2. ไมร บกวนสมาธิของผอู ืน่ 3. ควรใหเกยี รติวิทยากร ไมคุย และไมถามทดสอบความรูผูพดู 4. ฟง ใหจบ 2. การดู 1. ตงั้ ใจดู 2. ไมรบกวนสมาธผิ ูอ่ืน 3. ไมควรฉีกหรอื ทาํ ลายภาพ เอกสารที่ดู 4. ดูแลวใหร ักษาเหมอื นเปน สมบตั ขิ องตนเอง เชน นิทรรศการคอมพิวเตอรห รอื ภาพถา ย เปนตน กิจกรรม ใหผูเรียนนําเสนอตัวอยางลักษณะปฏิบัติตนเปนผูฟง ผูดูท่ีมีมารยาท และไมมีมารยาท มาอยางละ 1 ตัวอยาง

7 บทท่ี 2 การพูด สาระสาํ คญั การพดู เปนการสอ่ื ทค่ี วบคูก ับการฟง การเขา ใจหลกั การ การเตรยี มการพูด การพูดในหลาย ๆ โอกาส และมารยาทในการพดู จะทําใหก ารพูดประสบผลสาํ เรจ็ ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายหลกั การ ความสําคัญ และจุดมุงหมายของการพูดได 2. อธิบายการเตรียมการพูด และลักษณะการพูดได 3. อธิบายการพูดในโอกาสตา ง ๆ ได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 การพดู ความสําคญั ของการพูด เรื่องท่ี 2 การเตรียมการพูด และลักษณะการพูดที่ดี เรื่องท่ี 3 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ เรอื่ งท่ี 4 มารยาทในการพดู

8 เรื่องท่ี 1 การพูด ความสําคัญของการพดู 1. หลกั การพูด หลกั การพูดมี ดงั น้ี 1. การพดู ดว ยภาษาและถอ ยคาํ ที่สภุ าพ ใหเ กยี รติผูฟง 2. พดู ใหตรงประเด็นและใชภาษาท่งี ายตอ การเขา ใจ 2. ความสําคัญของการพดู 1. ใชใ นการสือ่ สารใหเขาใจตรงกัน 2. เพ่ือความรู ใหผูฟงมคี วามรูไดอ ยางหลากหลาย และไปใชป ระโยชนไ ด 3. ไดร ับความเพลิดเพลนิ และแลกเปลีย่ นเน้อื หาสาระ 4. ใชป ระโยชนใ นชีวิตไดอ ยา งเหมาะสมกบั สภาพของตน 3. จดุ มุงหมายของการพูด 1. เพ่อื สอ่ื สารใหผ อู น่ื เขาใจความตอ งการของผูพดู 2. เพ่อื แสดงความรคู วามสามารถของตนเองใหผ ูอน่ื ไดร บั ทราบและนาํ ไปใช ประโยชนได 3. เพื่อแสดงความคดิ เห็นในเรอื่ งใดเร่อื งหนึง่ ของตนเองแกผอู ่ืน กิจกรรม ใหผูเรียนแบงกลุมอภิปราย แสดงความคิดเห็นในประเด็นเกี่ยวกับความสําคัญของการพูดใน ชีวติ ประจาํ วัน หวั ขอ “ พดู ชวั่ ตัวตาย ทาํ ลายมติ ร” เร่อื งที่ 2 การเตรยี มการพูด และลกั ษณะการพดู ทีด่ ี ผเู รียนจะไดศกึ ษารายละเอยี ดโดยแบงเปน 2 สว น คือ 1. การเตรียมการพดู 2. ลกั ษณะการพูดทีด่ ี โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ การเตรยี มการพดู ผพู ดู จะตองเตรียมตวั ใหพรอม ดังนี้ 1. เตรียมสภาพรา งกายใหพรอ มท่ีจะพูด ซึ่งผูพ ูดควรจะทราบกําหนดการลวงหนา และตอ ง พรอ มท่จี ะพดู ในวันน้ัน

9 2. เตรยี มเนอ้ื หาสาระที่จะพูดใหถกู ตอ ง โดยเอาความรูประสบการณข องตน หากไมเ พียงพอ ตอ งคนควา เพม่ิ เติม 3. เตรยี มอปุ กรณ เอกสารหรอื ส่ืออ่ืน ๆ ที่จะใชประกอบการพูดใหเ สร็จทัน และอยูใ นสภาพ พรอ มทจ่ี ะใชงานได 4. เตรยี มการแตงกายใหสภุ าพ และเหมาะสมกับผูฟง ทง้ั นี้เพือ่ เปนการใหเ กียรตผิ ูฟง ลกั ษณะการพูดที่ดี การพูดท่ดี ีจะตอ งดใี นดา นตาง ๆ ดงั น้ี 1. ดดี วยเน้อื หาสาระถูกตอ งเหมาะสมกบั ผฟู ง 2. ดดี ว ยลีลาการพูด 2.1 นา้ํ เสยี ง ไมดงั เกินไปหรือเบาเกนิ ไป การเนน เสยี งหรอื การใชเสยี งสงู ต่ํา เปนตน 2.2 พูดถูกตองตามหลักการใชภ าษา ใชคําควบกล้ํา อักษรควบ อักษรนํา คําสมาส สนธิ เปนตน 2.3 การแบงวรรคตอน การใชอักษรยอหรือการใชคาํ ที่เนน ใหถูกตอ ง 3. ดดี ว ยความพรอม ซึ่งรายละเอยี ดไดกลา วมาแลว ขางตน กิจกรรม ใหผูเรียนยกตัวอยาง ผูที่พูดดีทั้งจากที่พบเห็นในกลุม ชุมชน และจากรายการวิทยุ โทรทัศน พรอ มใหความเหน็ ประกอบวาดีในลักษณะใด เร่ืองท่ี 3 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ การพดู ในโอกาสตา ง ๆ ในระดบั ประถมศกึ ษา จะเปน การศึกษาการพดู ในโอกาสตาง ๆ ดังนี้ 1. การพดู อวยพร 2. การพูดขอบคุณ 3. การพูดแสดงความดีใจ และเสียใจ 4. การพูดตอนรบั 5. การพูดรายงาน 1. การพูดอวยพร การพดู อวยพรเปน การพูดแสดงความในใจ ท่ีจะใหพ รผฟู ง ในโอกาสทีเ่ ปนมงคล เชน อวยพรวันเกดิ อวยพรปใหม หรอื อวยพรใหกับคสู มรส เปน ตน การพดู อวยพร มวี ิธกี ารดงั น้ี

10 1. ใชค ําพดู งา ย ๆ ส้นั ไดใ จความ และนํา้ เสยี งสภุ าพนุม นวล 2. ใชคาํ และขอ ความทีม่ ีความหมายทีด่ ี และเหมาะสมกับโอกาสและผูฟง 3. อางสิง่ ศักดิส์ ิทธิ์อวยพรใหผ ูฟ งในโอกาสน้นั ๆ 4. พดู ใหผูฟ งประทบั ใจ 2. การพูดขอบคณุ การพูดขอบคณุ เปนการพดู ท่จี ะตอบแทนผูท ท่ี าํ ประโยชนให เปน การแสดง ความกตัญู การพดู ขอบคุณ มวี ิธกี าร ดงั น้ี 1. บอกสาเหตทุ ีต่ อ งขอบคุณผูนนั้ ทานไดช วยเหลือหรอื ทําประโยชนอะไรใหก ับผพู ูด 2. พดู ดวยนํ้าเสยี งทส่ี ุภาพนุมนวล นา ฟง และนาประทับใจ 3. หากเปนผูแทนของกลุม คน ผูพูดตอ งเร่ิมตนดว ย “ในนามของกลุม ผม/ดิฉัน ขอบคุณ ท่ี “...................” โดยตองบอกวาขอบคณุ ใคร และขอบคุณเรื่องอะไร 4. การพูดขอบคณุ ควรลงทายดวย หากมีโอกาสตอบแทนผูทีข่ อบคณุ บางในโอกาสหนา 3. การพดู แสดงความดใี จ และเสียใจ การพดู แสดงความดใี จและเสยี ใจ เปนการพดู เพ่ือแสดงออกทางอารมณแสดงความรูส กึ ตอ ผูใดผูหน่งึ ในเรอื่ งตา ง ๆ การพดู แสดงความดีใจและเสียใจ มีดงั น้ี 1. พดู ดว ยการแสดงออกอยา งจรงิ ใจ หา มแกลง ทาํ โดยเดด็ ขาด 2. แสดงออกทางสีหนา แววตา และนํ้าเสียง ใหสอดคลอ งกับการพูดแสดงความดีใจ หรอื การพดู แสดงความเสียใจ 3. หากเปน การพูดแสดงความดีใจ จะตอดวยการอวยพรใหด ียิ่งขึ้น หากเปน การพูดแสดง ความเสียใจ จะตองปลอบใจและทําใหลมื เหตกุ ารณน ้ันโดยเร็ว 4. การพดู ตอนรบั การพูดตอ นรับเปนการพูดยินดีตอ สมาชิกใหม หรือยินดีตอ นรับผูมาเย่ียมเยือน ใหผูฟ ง สบายใจและรสู กึ อบอนุ ท่ีไดมาสถานทน่ี ี้ การพูดตอ นรับ มีวิธกี ารดงั น้ี 1. การพูดในนามของ กลมุ หนว ยงาน องคกรใด จะตอ งกลา วขึ้นตน ดว ยวา “ในนามของ .............ขอตอ นรบั ...........” 2. การพูดดว ยคาํ ท่สี ภุ าพนุมนวลและนาประทับใจ 3. อาจมกี ารแนะนาํ บุคคล สถานที่ ใหผูมาไดท ราบหรอื รจู กั 4. อาจพดู ลงทายดวย ยนิ ดตี อนรบั ในโอกาสหนาอกี

11 5. การพูดรายงาน การพูดรายงาน เปน การนําเสนอเรื่องราว ขอ มูล สถานการณ หรือความกา วหนา ในการ ทาํ งาน ความกา วหนา ของการศึกษาคนควา การพดู รายงาน มีวิธีการดงั น้ี 1. เนอื้ หาสาระท่จี ะพดู ตอ งถูกตอ ง เชื่อถือได และอา งอิงได 2. การนาํ เสนอเนื้อหาสาระตองเหมาะสมกบั ผฟู งและสถานการณท พี่ ดู 3. ใชภาษาเปน ทางการ เพราะเปน งานวิชาการ 4. อปุ กรณ เครือ่ งมือ หรือเอกสารประกอบตอ งเตรียมใหพ รอม 5. ควรเปดโอกาสใหผูฟ งไดซักถามขอสงสัย หรอื ใหอ ธบิ ายเพิ่มเติม เพอื่ ความเขาใจ กจิ กรรม ฝกปฎิบัตกิ ารรา งคํากลาวท่ีจะใชพ ูดในงานตาง ๆ ดังนี้ 1. การพดู อวยพร _____________________________________ 2. การพดู ขอบคุณ ____________________________________ 3. การพูดตอ นรบั _____________________________________ เรื่องที่ 4 มารยาทในการพูด มารยาทในการพดู มลี กั ษณะ ดงั น้ี 1. ใชคําพูดท่สี ภุ าพ และเหมาะสม กบั เวลา สถานที่ และโอกาส 2. หากจะพูดคดั คา นตองคัดคานดว ยเหตุผล หามใชคําพดู ดวยอารมณโ มโหหรอื โกรธ 3. ไมพ ูดใหผ อู ื่นเดอื ดรอ น และทาํ ลายผอู นื่ 4. การพดู ชมผูอน่ื จะตอ งมีบา งเพื่อเปน การใหก ําลังใจ กิจกรรม ใหผ เู รยี นนาํ เสนอตัวอยางผูท่ีไมมีมารยาทในการพูดพรอมอธิบายลักษณะท่ีแสดงถึงการไมมี มารยาทและขอเสนอแนวทางแกไข

12 บทที่ 3 การอา น สาระสาํ คัญ การอานน้ันเปนการเปด ประตไู ปสูโลกกวาง การอานรอยแกวและรอยกรองได ตลอดจนการ เลือกหนงั สอื อานไดเ หมาะสมจะทาํ ใหการอา นมีประสทิ ธิภาพยง่ิ ขนึ้ ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั ผูเรียนสามารถ 1. อธบิ ายหลกั การ ความสําคัญ และจดุ มงุ หมายของการอา นได 2. อา นรอ ยแกวไดถกู ตอ งชัดเจน รวมทง้ั เกบ็ ใจความเม่ืออา นในใจได 3. อา นบทรอ ยกรองที่ใชถ อยคํางาย ๆ ได 4. เลือกหนังสอื อา นและบอกประโยชนข องการอานได 5. บอกมารยาทในการอา นและสรา งนิสัยรกั การอานได ขอบขา ยเน้ือหา เรื่องที่ 1 หลักการ ความสําคัญ และจดุ มงุ หมายของการอา น เรือ่ งท่ี 2 การอา นรอ ยแกว เรื่องที่ 3 การอา นรอ ยกรอง เรื่องท่ี 4 การเลอื กอา นหนังสอื และประโยชนของการอาน เร่ืองท่ี 5 มารยาทในการอานและสรา งนิสัยรกั การอาน

13 เรอ่ื งท่ี 1 หลกั การ ความสาํ คัญ และจดุ มงุ หมายของการอาน 1. หลักการอาน 1. ควรมจี ดุ มงุ หมายในการอานทกุ คร้งั เพอ่ื เปนการประเมนิ หลังการอา นจบแลววา ไดบ รรลุถึง จุดมงุ หมายหรอื ไม 2. เลือกอา นหนังสือตามความสนใจของตน จะไดค วามรูและประสบการณต รงกบั ความตองการ และกระต้อื รอื รน ทจ่ี ะอา น 3. อา นถูกตอ งตามอักขรวิธี ออกเสียง ร และ ล ชัดเจน รวมทั้ง การเวน วรรคท่ีถูกตอ ง ซึง่ การอานประเภทน้ีจะเปนการอานออกเสียง 2. ความสําคญั ของการอาน 1. การอานเปน การรบั สารโดยเนน เนอ้ื หาสาระท่ีหลากหลาย ผูอ า นเลือกที่จะอา นไดต ามความ ตอ งการ 2. การอา นไดความรู ทักษะและประสบการณท่นี ําไปใชป ระโยชนไ ด 3. การอา นเปน การพฒั นาความคดิ ของผอู าน 4. การอา นเปน การใชเวลาใหเกิดประโยชนไ ดท ้ังความรแู ละความเพลิดเพลิน 3. จดุ มุง หมายของการอา น 1. เพ่ือใหเ กิดความรู ตามทีผ่ อู านตอ งการเลอื ก เพราะสามารถอานได 2. เพือ่ ใหเ พลดิ เพลนิ โดยเฉพาะการอา นประเภท จรรโลงใจ เชน นทิ าน นยิ าย นวนิยาย เปน ตน 3. เพอ่ื นําความรูไปประยุกตใ ช โดยศึกษาจากเน้ือหาสาระ หรอื ตวั อยางของผูท ี่ประสบความสําเร็จ และนาํ ไปปฏิบตั ิ 4. เพอื่ ใหเปนบคุ คลทนั สมัย ทนั เหตุการณ มีความรรู อบดาน ซึ่งจะไดจากการอาน กิจกรรม ตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. ในการอานมีหลกั การอยางไรบาง 1. ________________________________________________________________ 2. ________________________________________________________________ 3. ________________________________________________________________ 2. การอานมคี วามสาํ คญั อยา งไร 1. ________________________________________________________________ 2. ________________________________________________________________ 3. ________________________________________________________________

14 3. ผเู รียนมีจุดมงุ หมายในการอานอยา งไรบาง 1. ________________________________________________________________ 2. ________________________________________________________________ 3. ________________________________________________________________ เรือ่ งท่ี 2 การอานรอ ยแกว 1. ความหมายของรอยแกว รอ ยแกว หมายถงึ ขอ ความทเี่ ขียนขึ้นโดยไมไ ดคํานงึ การสมั ผัส ตวั อยางเชน การเขยี นตําราเรยี น การเขียนขา ว การเขยี นประกาศ และการเขยี นขอ ความท่ัว ๆ ไป 2. การอา นรอ ยแกว 2.1 การอานออกเสยี ง มหี ลกั การอา นดังนี้ - อา นออกเสียงใหถ กู ตอ งตามอักขรวิธี - อา นอยางมจี งั หวะ แบงวรรคตอนถูกตอ ง - อานอยา งเขาใจเน้ือเร่อื ง นา้ํ เสยี งจะไดเหมาะสม เชน อา นเรอ่ื งเกีย่ วกับความสขุ เสยี งจะตองสดชน่ื ร่นื เรงิ หากเปนเรือ่ งเศรา น้ําเสยี งจะตอ งเศรา ตามไปดวย เปนตน - อา นเสียงดังฟงชัด 2.2 การอาน ขอ ความ บทความ และเรอ่ื งสั้น ขอ ความ บทความและเรอื่ งสัน้ เปน การอานรอยแกว สว นใหญเ ปน การอานในใจ ซงึ่ ผูอาน จะตอ งจับใจความสําคัญใหไ ด วาเร่ืองทีอ่ า นคอื อะไร กลา วถึงใคร ที่ไหน และเมอ่ื ไร เปน ตน 2.3 การอานจบั ใจความสาํ คญั การอานจับใจความสําคญั ผูอ านเมื่ออานจบแลว จะตอ งจับใจความสําคัญได เชน เร่ืองอะไร เกิดกบั ใคร เมื่อใด และมผี ลอยางไร ตัวอยา งการอานจับใจความสําคญั เรอ่ื ง นาํ รอง นายจิตรพงษ กวางสุขสถิต ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโ ตรเลียมข้ันตนและ กาซธรรมชาติ บริษัท ปตท. เปดเผยวา ปตท. ไดร ว มกับบริษัท เกษมศักดิ์ เทรดดิ้ง ผูประกอบการผลติ เหล็กเพ่ือทดลองใชกา ซธรรมชาติในรูปของกาซธรรมชาติอัดหรือซีเอ็นจี ภายในโรงงาน ซึ่งเนน กลุม โรงงานอตุ สาหกรรมทไี่ มม แี นวทอสงกาซฯ ผานโดยจะทําใหภ าคเอกชนลดตนทนุ การผลติ จากเดมิ ทต่ี อง ใชน ํ้ามันเตาหรอื ดีเซลทีม่ ีราคาสงู (หนังสอื พมิ พเดลนิ ิวส ฉบับวนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ 2552)

15 ใจความสาํ คญั ประธานเจาหนา ที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโตรเลียมเปด เผยวา ปตท. ไดร ว มกับบริษัทเกษมศักดิ์ เทรดด้ิง ทดลองใชก าซธรรมชาติในรปู ของกาซเพื่อลดตนทนุ การผลติ 2.4 การอา นเพื่อแสดงความคดิ เหน็ และสรุปความ การอา นเพื่อแสดงความคิดเห็นของผูอา นตอบทความ ขาว หรือเร่ืองที่อาน การแสดงความ คดิ เห็นสวนมากจะแสดงตอ เนอื้ หาสาระวานาจะจรงิ หรอื ไมนาเปน ไปได หรอื ไมน า จะเกดิ ได เปน ตน สวนการอานเพอ่ื สรุปความเปน การอานแลวนําใจความสําคัญมาสรุปความเปน สํานวนของตนเอง จะเปนการสรุปดว ยวาจาหรือเขยี นกไ็ ด ตวั อยางการอานเพื่อแสดงความคดิ เห็นและสรปุ ความ เรอ่ื ง ภัยแลง ...ยืดเวลาชาํ ระหนี้ นายอนนั ต ภสู ิทธิกุล เลขาธิการสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เปดเผยวา ในทุกปพ น้ื ท่ีเกษตรกรรมในประเทศไทยจะประสบกับสถานการณภ ัยแลงในชว งฤดูหนาวคือตั้งแต เดือนตุลาคม - กุมภาพันธ และตอ เนื่องมาจนถึงฤดูรอ น คือระหวา งเดือนกุมภาพันธ - พฤษภาคม โดยเฉพาะอยางย่ิงเดือนมีนาคม - เมษายน ที่ท่ัวทุกภาคของประเทศไทยตอ งประสบปญ หาภัยแลง และในบางทอี าจเกิดภาวะฝนทิ้งชวงในชว งกลางของฤดูฝนคือ ตั้งแตป ลายเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม โดยจะเปนเวลาประมาณ 1 - 2 สปั ดาห หรืออาจถึง 1 เดอื น “สถานการณภ ัยแลง ปน ้ี ส.ป.ก. เตรียมพรอ มแกไ ขปญ หาในเบ้ืองตนไว คาดวา นอกจากพืชไรแ ละ ขาวนาปท ่ีอาจจะประสบปญหาขาดแคลนน้ําหรือฝนทิ้งชวงแลว พืชชนิดอื่นคิดวาไมนาจะมีปญ หา แตอยางใด สําหรับการดูแลทรัพยากรในชว งแลงอาจจะประสบปญหาบา งในบางพื้นท่ี อยา งไรก็ตาม ส.ป.ก. ไดเ ตรียมการสนบั สนนุ แหลง ทนุ เพื่อการปรบั โครงสรางการผลิตใหม และเหนือส่ิงอ่ืนใด ส.ป.ก. เช่ือมน่ั วา องคความรูท่ีเกษตรกรในเขตปฏริ ปู ท่ดี นิ ไดพัฒนามาอยางตอ เนื่องจะสามารถชว ยใหพ วกเขา รับมือและผา นวกิ ฤตไิ ปไดด วยในทสี่ ุด” นายอนันต กลาว (หนังสอื พมิ พเ ดลนิ ิวส ฉบบั วันท่ี 11 กมุ ภาพนั ธ 2552) ความคดิ เห็นและสรุปความ นบั ไดวา เปน การเสนอวธิ กี ารแกไ ขและชวยเหลือเกษตรกรไดเปนการยืดเวลาชําระหน้ีโดยปรับโครง สรา งของการผลิตใหม เน่อื งจากฝนแลงผลผลติ อาจจะไมม ผี ล การอานจบั ใจความนี้ ครสู ามารถปรบั เปลี่ยนโดยนาํ เหตุการณป จจบุ นั หรอื ที่เกีย่ วของทงั้ ชุมชนมา อา นแทนได

16 กจิ กรรม ตอบคําถามตอไปน้ี 1. ผเู รยี นมีหลักการอา นออกเสยี งอยางไร 1. _________________________________________________________ 2. _________________________________________________________ 3. _________________________________________________________ 4. _________________________________________________________ 2. ใหผ ูเรียนทกุ คนอา นในใจเร่ืองตอ ไปน้ี แลว จับใจความสาํ คัญและเขียนสรุปความ ผนู ํายุวเกษตรกรไทยเตรียมไปญป่ี ุน การประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการฯ โดยมีตัวแทนของ 5 หนวยงาน คือ กรมสงเสริมการ เกษตร สาํ นกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมสงเสริมสหกรณ กรมปศุสัตว และสํานักงาน การปฏิรูปท่ีดินเพื่อการเกษตรกรรมไดม ีมติวา จะใหย ุวเกษตรกรเขา รับการฝก งานตามโครงการฯ ณ ประเทศญปี่ นุ ในปน ี้ จาํ นวน 21 คน ยุวเกษตรกรทีผ่ า นการคัดเลอื กจะตองเขา รับการอบรมพน้ื ฐานการเกษตรและภาษาญี่ปุนโดยกรม สงเสรมิ การเกษตร ในระหวางวันที่ 16 กุมภาพนั ธ 2552 ถงึ 31 มีนาคม 2552 ณ ศูนยสงเสริมเยาวชน เกษตร จ. กาญจนบรุ ี และกาํ หนดเดินทางไปฝกงาน ณ ประเทศญป่ี นุ ในวนั ท่ี 6 เมษายน 2552 (หนงั สือพมิ พเ ดลนิ วิ ส ฉบบั วนั ท่ี 11 กุมภาพันธ 2552) ใจความสําคัญและสรุปความได ดงั นี้ _____________________________________________________________ _____________________________________________________________ _____________________________________________________________ _____________________________________________________________ _____________________________________________________________

17 เรื่องที่ 3 การอานรอยกรอง 1. ความหมายของรอยกรอง รอยกรอง หมายถึง คาํ ประพนั ธแ ตง ขนึ้ โดยมกี ารสมั ผัสใหคลอ งจองกัน 2. การอา นรอ ยกรอง 2.1 การอานคําคลอ งจอง บทกลอมเดก็ และเพลงพ้ืนบาน ใหอา นเปน จังหวะหรือใหคลอ งจอง มีการเอ้อื นคาํ เปน ตน ตัวอยางคาํ คลองจอง ขงิ ก็ราขา กแ็ รง, คนรกั เทา ผืนหนังคนชงั เทา ผืนเสือ่ , โยกเยกเอยนาํ้ ทวมเมฆ เปนตน ตวั อยางบทกลอมเดก็ โอละเหเอย แมจะเหใ หน อนวัน ตนื่ ข้ึนมาจะอาบนาํ้ ทําขวญั นอนวนั เถดิ แมคุณ พอ เนอ้ื เย็นเอย แมมใิ หเ จาไปเลน ท่ที า น้ํา จระเขจะมา มนั จะคาบเจา เขา ถ้ํา เจา ทองคําพอ คณุ ตัวอยางเพลงพ้นื บา น เพลงเก่ยี วขา ว ควา เถิดหนาแมค วา รีบตะบึงถึงคันนา จะไดพ ูดจากันเอย เกยี่ วเถิดหนาแมเ กย่ี ว อยามวั แลเหลียว เคยี วจะบาดมอื เอย 2.2 การอา นกลอนสุภาพ จังหวะในการอานคาํ ในกลอนสุภาพแบง คาํ ตามแผนผัง ดังน้ี 000/00/000/ 000/00/000/ 000/00/000/ 000/00/000/ ภายใน 1 วรรคมี 8 คํา จะอา น3/2/3 หากมี 9 คํา จะอาน 3/3/3 กลอนสุภาพ บทหน่ึงจะมี 2 บาท บาทที่ 1 เรียกวา บาทเอก มี 2 วรรค คอื สดับ, รบั บาทที่ 2 เรยี กวา บาทโท มี 2 วรรค คอื รอง และ สง ดงั นี้

๑ บท สดบั 18 ๐๐๐/๐๐/๐๐๐ บาทเอก รบั บาทโท รอง ๐๐๐/๐๐/๐๐๐ ๐๐๐/๐๐/๐๐๐ สง ๐๐๐/๐๐/๐๐๐ ตัวอยางกลอนสภุ าพ มีคนรักรสถอ ยอรอยจิต ถึงบางพดู พดู ดเี ปน ศรศี ักดิ์ จะถูกผดิ ในมนุษยเ พราะพูดจา แมนพูดช่วั ตวั ตายทาํ ลายมิตร (สนุ ทรภู) กิจกรรม จงตอบคําถามตอ ไปน้ี 1. ความหมายของรอ ยกรองคอื 2. การอา นกลอนสุภาพมีดงั นี้ 3. ผเู รียนจะเลอื กหนงั สอื อา นไดอ ยางไร 1. __________________________________________________ 2. _________________________________________________ 3. _________________________________________________ 4. ประโยชนของการอา นมดี ังนี้ 1. __________________________________________________ 2. __________________________________________________ 3. __________________________________________________

19 เร่ืองท่ี 4 การเลือกอานหนังสือและประโยชนของการอาน 1. การเลอื กอานหนังสือ 1. อานหนงั สือตามความสนใจ หรอื ความตองการซง่ึ สามารถหาอา นไดท ่ีหอ งสมุดประชาชนหรือ ศูนยการเรยี นรูชุมชน หรอื ท่ีอน่ื ๆ 2. การเลือกอานหนังสือกอ นอ่ืนจะตอ งดูทส่ี ารบญั เพ่อื ดเู นอื้ หาวา ตรงกบั ความสนใจ และ ตองการอา นหรือไม 3. อา นเพอื่ หาสาระไตรต รองกาํ หนดความตองการ ใหอา นรายชือ่ หนังสอื ในหนา บรรณานุกรม เพราะจะมรี ายช่ือหนงั สอื ทป่ี ระกอบการเขยี น ซ่ึงจะมเี น้อื หาสาระใกลเคยี งกบั สงิ่ ทีต่ อ งการ 4. พิจารณาจากผเู ขียน วฒุ ิการศึกษาหรอื ประสบการณท าํ ใหเ ช่ือมนั่ ไดว า เปน หนงั สอื ทม่ี คี ุณภาพ 5. ดจู ากชอ่ื หนงั สือที่จะอาน นอกจากพจิ ารณาเนอื้ หาสาระแลว จะตอ งดคู ณุ ภาพการพิมพ ตัวหนังสือ ภาพประกอบ และราคาวาเหมาะสมหรือไม 2. ประโยชนข องการอา น ประโยชนทไ่ี ด 1. ไดรับความรู ความคิด และประสบการณท จ่ี ะนําไปใชป ระโยชนไ ด 2. ไดรับความเพลดิ เพลนิ ผอนคลาย 3. ใชเ วลาวา งใหม ปี ระโยชน กจิ กรรม จงตอบคําถามตอไปน้ี 1. ผูเ รยี นจะเลอื กหนงั สอื อา นไดอยา งไร 1. ................................................................................................................................................ 2. ................................................................................................................................................ 3. ................................................................................................................................................ 2. ประโยชนของการอา น มดี งั น้ี 1. ................................................................................................................................................ 2. ................................................................................................................................................ 3. ................................................................................................................................................

20 เรื่องที่ 5 มารยาทในการอา นและสรา งนสิ ยั รกั การอาน 1. มารยาทในการอาน 1. ไมอา นเสียงดงั รบกวนผอู ่ืน 2. อานเสร็จแลว ควรเก็บหนงั สอื ไวทเี่ ดมิ 3. ไมควรอา นเร่อื งสวนตัวของผูอื่น 4. ไมขีดเขยี นทําลายหนังสือทีเ่ ปน สมบัตขิ องสว นรวม 5. ไมช ะโงกหนาไปอานในขณะทผ่ี ูอ ื่นกําลังอา น 2. การสรา งนสิ ัยรักการอาน 1. อา นหนังสือทตี่ นเองชอบ 2. อานอยางมสี มาธิ และจับใจความได 3. อา นหนงั สือทุกคร้ังท่วี า ง 4. ควรมีหนงั สอื ติดตวั เสมอเพือ่ อานไดท ุกครัง้ ทตี่ องการ 5. ควรอา นและจดบนั ทกึ ขอความ คติท่ีตนเองชอบ กจิ กรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. ผเู รยี นจะมมี ารยาทในการอานอะไรบาง ทนี่ อกเหนอื จากการศกึ ษาขางตน 1. ______________________________________________________ 2. ______________________________________________________ 3. ______________________________________________________

21 บทที่ 4 การเขยี น สาระสาํ คัญ การเขยี นเปน ทักษะสาํ คญั ทฝ่ี กฝนได การเขยี นอกั ษรไทยและการเขียนสะกดคาํ ไดถ กู ตอง จะนาํ ไปสกู ารเขยี นอืน่ ๆ ไดเ ปนอยา งดี ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั ผูเ รียนสามารถ 1. อธบิ ายหลกั การและความสาํ คัญของการเขียนได 2. อธิบายการเขียนอกั ษรไทย สะกดคาํ เขยี นสอื่ สารและเขียนตามรูปแบบตาง ๆ ได 3. อธิบายการเขียนรายงานการคน ควา และอางอิงความรู กรอกรายการได 4. บอกมารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรักการอา น ขอบขายเนือ้ หา เรื่องท่ี 1 หลักการเขยี นและความสําคัญของการเขียน เรื่องที่ 2 การเขียนภาษาไทย เรื่องท่ี 3 การเขียนสะกดคําและประสมคาํ เรอื่ งที่ 4 การเขยี นส่อื สาร เรือ่ งที่ 5 การเขยี นตามรูปแบบ เร่อื งที่ 6 การเขยี นรายงานการคน ควาและอางองิ ความรู เรอ่ื งท่ี 7 การเขียนกรอกรายการ เรอ่ื งที่ 8 มารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรักการเขยี น

22 เรือ่ งท่ี 1 หลกั การเขียนและความสําคัญของการเขียน 1. หลกั การเขยี น 1. ขอ ความทเ่ี ขียนเรียบรอยและสะอาด 2. มีความรู ความเขาใจในเรอ่ื งท่ีเขียน 3. เขยี นถกู ตองตามหลกั ภาษา และสะกดถูกตอ ง 4. มจี ดุ มุงหมายในการเขียน 5. เขียนดวยความรแู ละความสามารถท่ถี า ยทอดความรู ความรสู ึก ตามความตอ งการของตนได 2. ความสาํ คัญของการเขยี น 1. เปน การส่อื สารทจ่ี ะแจง ใหผอู ื่น ไดท าํ งานหรอื ปฏิบตั ิตาม 2. เปน การเผยแพรค วามรู วทิ ยาการใหผอู น่ื ไดท ราบและนําไปใชประโยชน 3. เปน การบนั ทึกสาระสําคญั เพือ่ เปน หลักฐานและนาํ ไปใชประโยชน 4. เปนการเขยี นท่ีสามารถนาํ ไปประกอบอาชีพได เชน การเขียนขาว และการเขยี น นวนิยาย หรอื การเขียนบทละคร เปนตน กจิ กรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. ผเู รยี นมหี ลกั การเขยี นอยางไรบาง ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ 2. การเขยี นนําไปใชประโยชนไดอ ยา งไรบาง ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________

23 เรอื่ งที่ 2 การเขียนภาษาไทย 1. พยญั ชนะ ภาษาไทยมพี ยญั ชนะ 44 ตัว คอื กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรลวศ ษสหฬอฮ 2. สระ สระมี 21 รปู ดงั น้ี ะ เรียกวา วสิ รรชนีย ั เรียกวา ไมห ันอากาศ ็ เรยี กวา ไมไ ตคู า เรยี กวา ลากขาง ิ เรยี กวา พินทอุ ิ ุ เรยี กวา ตนี เหยยี ด ู เรียกวา ตีนคู  เรยี กวา ฝนทอง ํ เรยี กวา นิคหติ , นฤคหติ “ เรยี กวา ฟน หนู เ เรียกวา ไมหนา ใ เรยี กวา ไมมวน ไ เรียกวา ไมมลาย โ เรยี กวา ไมโ อ อ เรียกวา ตวั ออ ย เรียกวา ตัวยอ ว เรียกวา ตัววอ ฤ เรยี กวา ตัวรึ ฤา เรยี กวา ตัวรอื ฦ เรียกวา ตวั ลึ ฦา เรียกวา ตัวลอื

24 3. วรรณยกุ ต มี 4 รปู 1.  เรยี กวา ไมเอก 2.  เรียกวา ไมโ ท 3.  เรยี กวา ไมตรี 4.  เรียกวา ไมจตั วา 4. เลขไทย เปน ตัวอกั ษรท่ใี ชแทนการนบั คอื ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ กจิ กรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ บอกชอื่ สระดงั นี้ 1. ะ เรียกวา _________________________________________________ 2. ุ เรียกวา _________________________________________________ 3. ู เรยี กวา _________________________________________________ 4. เ เรียกวา _________________________________________________ 5. ไ เรยี กวา _________________________________________________ 6. โ เรียกวา _________________________________________________ 7. ย เรียกวา _________________________________________________ 8. ว เรียกวา _________________________________________________ 9. ฤ เรียกวา _________________________________________________ 10. ฦา เรยี กวา _________________________________________________ เรอื่ งท่ี 3 การเขียนสะกดและประสมคํา 1. การเขียนสะกดคํา การสะกดคํา หมายถึง การออกเสียงจาํ แนกคําเพอ่ื ใหทราบสว นประกอบของคาํ 1.1 คาํ ทีม่ ีตวั สะกด เปน คําทป่ี ระสมดว ยพยญั ชนะ สระ และพยญั ชนะทา ยคาํ แบง เปน 8 มาตรา 1.1.1 มาตราแมก ง คอื พยางคท มี่ ีตวั ง สะกด เชน จาง บาง 1.1.2 มาตราแมก ม คือ พยางคท มี่ ตี วั ม สะกด เชน ถม ดม 1.1.3 มาตราแมเ กย คอื พยางคทมี่ ตี ัว ย สะกด เชน เลย ตาย

25 1.1.4 มาตราแมเกอว คอื พยางคท ม่ี ตี ัว ว สะกด เชน สาว เลว แจว 1.1.5 มาตราแมกน คือ พยางคท ม่ี ตี ัว น สะกด เชน กนิ นอน หรอื ทต่ี วั อ่ืนท่ี ทาํ หนาท่แี ละออกเสยี งเหมอื น น สะกด คือ ญ ณ ร ล ฬ เชน จรญู คูณ ขจร มลู และทมิฬ 1.1.6 มาตราแมกก คอื พยางคท มี่ ตี วั ก สะกด เชน มาก จาก หรอื ตวั อนื่ ที่ทาํ หนา ทแ่ี ละออกเสียงเหมอื นมี ก สะกดคือ ข ค ฆ เชน สขุ พรรค และเมฆ 1.1.7 มาตราแมกด คือ พยางคท ม่ี ีตวั ด สะกด เชน กด มด หรอื ตัวอ่นื ที่ทํา หนา ที่และออกเสียงเหมอื นมตี ัว ด สะกด เชน จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ และ ส เชน ดจุ ราช กาซ กฎ นาฏศิลป รฐั ครุฑ วุฒิ มารุต รถ บาท พทุ ธ เพศ เศษ และรส 1.1.8 มาตราแมกบ คอื พยางคท ีม่ ีตัว บ สะกด เชน พบ ลบ หรอื ตัวอ่นื ทที่ าํ หนา ท่ี และออกเสยี งเหมือนมีตัว บ สะกด เชน ป พ ภ เชน ทวีป ภาพยนตร โลภมาก ธูปเทียน นพิ พาน 1.2 คําทไี่ มม ีตวั สะกด เปน คาํ ทป่ี ระสมดว ยพยัญชนะตน สระ หรือคาํ ทมี่ ตี วั สะกดในแม ก กา เชน จะ นํา ไป เปนตน 2. การประสมคาํ เปน การสรางคําโดยใชพ ยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต คาํ พยัชนะ สระ ตัวสะกด วรรณยกุ ต บาน บ า น - ราน ร า น  งาม ง า ม - ล้นิ ล ิ น  การอานออกเสียงสะกด เชน บอ – อา – นอ – บาน บาน อานวา งอ – อา – มอ – งาม งาม อานวา รอ – อา – นอ – ราน – โท – ราน รา น อานวา ลอ – อิ – น – โท – ลนิ้ ล้ิน อา นวา

26 กจิ กรรม จงตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. ใหยกตัวอยางคําท่ีสะกด ดวยแมก ง แมกน แมกม แมก บ และ แมเกย อยา งละ 3 คาํ แมกง _________________________________________________________________ แมก น _________________________________________________________________ แมก ม _________________________________________________________________ แมกบ _________________________________________________________________ แมเ กย _________________________________________________________________ 2. ใหยกตวั อยา งประสมคาํ ที่มีพยัญชนะ สระ และวรรณยุกตมา 5 ตวั 1. _______________________________________________________________ 2. _______________________________________________________________ 3. _______________________________________________________________ 4. _______________________________________________________________ 5. _______________________________________________________________ เรอ่ื งที่ 4 การเขียนสื่อสาร การเขยี นส่ือสาร หมายถงึ การเขยี นท่ผี ูอ น่ื อา นแลว ไดค วามตามจดุ มุง หมายของผเู ขยี น ในระดบั ประถมศึกษานี้ ของผเู รยี น กศน.ควรจะเขยี นสิ่งตา ง ๆ เหลาน้ไี ด 1. การเขียนประวตั ติ นเอง การเขียนประวัติตนเองเปนการเขียนขอความเพื่อแสดงตนใหผ ูอื่นรูจักรายละเอียด เก่ยี วกับเจาของประวตั ิ หัวขอ หลัก ๆ ควรมดี งั นี้

27 ประวัติตนเอง ชือ่ ....................................................นามสกลุ ............................................................................................ เกิดวนั ท.ี่ ...........เดือน ................................... พ.ศ. ................... อายุ ....................................................... สถานภาพสมรส......................................................................................................................................... อาชีพ......................................................................................................................................................... ทีอ่ ย.ู .......................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... สถานท่ที ํางาน .................................................................................................................................................................. ประวตั ิการศกึ ษา .................................................................................................................................................................. ประสบการณใ นการทํางาน .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ความรูค วามสามารถพเิ ศษ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. การเขยี นบันทึกประจําวนั การเขียนบันทกึ ประจาํ วนั เปนการเขียนเกี่ยวกบั ส่งิ ท่ีทํา ทีพ่ บ หรือที่เก่ียวขอ งกับผูอื่นใน วนั นั้น ๆ หลกั การเขยี นบนั ทกึ ประจาํ วนั ไดแก 1. บนั ทึกเปนประจาํ ทุกวนั 2. บนั ทกึ ตามความเปน จรงิ 3. เลือกบันทกึ เฉพาะเร่อื งสําคัญ หรือทต่ี องการจดจํา 4. ใชภ าษา ถอยคํางา ย ๆ อยา งไมเปนทางการ และขอ ความกระชบั 5. อาจแทรกความรูส ึก และความคิดเหน็ ของผูบนั ทกึ ตัวอยา งการเขยี นบันทกึ ประจําวัน วนั ที่ 10 กมุ ภาพันธ 2554 วนั น้ตี ่ืนนอนตอนเชา ตองรีบไปทํางาน ท่ีทํางานมกี ารประชุมเก่ียวกับแผนการทํางานในเดือน มนี าคม ตง้ั แต เวลา 10.00 - 12.00 น. ตอนบา ยทาํ งานท่ยี งั ไมเสร็จใหเ สร็จ กลับบา นและถึงบา น เวลา 18.30 น. รถตดิ มากถงึ ชา กวาทุกวนั เหนอื่ ยกบั การเดนิ ทางมาก

28 3. การเขยี นเลาเรอื่ งเกย่ี วกบั ขา วหรือเหตกุ ารณ การเขียนเลา เร่ือง เปนการเขยี นจากประสบการณตรงใหผ อู ื่นเขา ใจ โดยมหี ลกั การเขยี น ดงั น้ี 1. เขยี นตามความจริง 2. ใชภาษาทจ่ี ะใหผ ูอืน่ เขาใจและละเอยี ดพอท่ีจะอา นเขา ใจ 3. เขียนใหถ ูกตองตามหลักภาษาไทย 4. อาจจะมีเน้ือหาสาระ แสดงความคิดเหน็ หรอื ขอ เสนอแนะอนื่ ๆ ได ตัวอยางการเขียนเลา เรื่อง เหตุการณท ีป่ ระทับใจ เม่อื หยุดงานไดไ ปเท่ียวทะเลทจ่ี ังหวดั ระยอง เรยี กวา บานเพ ขณะท่ีนั่งเลน ริมชายหาด มีเด็กถูก มอเตอรไซตชนจึงเดินไปดูเด็กไดร ับบาดเจ็บเล็กนอย คงจะชนไมแ รง รถมอเตอรไซคขับเลยไปแลว ไมยอมหยดุ ดเู ลย คงคดิ วาไมเ ปนอะไรมาก เราจึงพาเดก็ ไปสงทส่ี ถานอี นามัยท่ีอยูใ กลๆ เจา หนา ท่ีไดทํา ความสะอาดบาดแผลและใสย าให เราไดพาเด็กไปสงที่บาน และเราก็กลับมานั่งชมทะเลที่บานเพตอ จนถึงบาย 4 โมงเยน็ จึงกลับบา น วันน้ีไดทาํ ความดี เปนเหตกุ ารณท ี่ประทับใจท่ไี ดชวยเหลือเพ่อื นมนุษย กจิ กรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. ผเู รียนคดิ วา ในการเขยี นประวตั ติ นเอง ขอความใดสําคัญทส่ี ดุ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ 2. ใหผเู รียนเขียนบันทึกประจําวัน __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________

29 3. ใหผ ูเรยี นเขยี นเลา เรอ่ื งหรือเหตกุ ารณท ีป่ ระทบั ใจ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ __________________________________________________ เรื่องที่ 5 การเขียนตามรปู แบบ การเขยี นตามรูปแบบ เปนการเขียนตามแบบท่กี ําหนด เชน การเขยี นเรียงความ 1. การเขยี นเรยี งความ การเขยี นเรียงความ เปนการแสดงออกทางความคิดและประสบการณข องผเู ขียนเพอื่ ให ผูอน่ื ทราบ ซึ่งมีรปู แบบในการเขียน 1. ช่อื เรอื่ งจะบอกเคา โครงเรอ่ื งได เชน โรงเรียนของฉัน ชุมชนทฉ่ี ันอยู เปนตน 2. การเขยี นเรยี งความจะมอี งคประกอบอยู 3 สว น คือ 1. คํานํา เปน การเรมิ่ ตน ของเรยี งความทเี่ ปน สว นดงึ ดูดใจ ใหส นใจอา นทงั้ เรอ่ื ง 2. เน้อื เรื่อง เปน เนอ้ื หาสาระของเรยี งความท้ังเรอื่ ง จะตอ งคิดโครงเรื่องกอ นจึงจะ เขียนและเขียนรายละเอียดตอ ไป 3. บทสรปุ เปน การสรปุ แกน ของเรอ่ื ง ไมค วรจะยาวมาก 2. การยอความ การยอ ความเปนการสรุปใจความสําคญั จากเร่อื งทอ่ี านดว ยภาษาหรอื สาํ นวนของตนเอง หลกั การยอ ความ 1. ยอ ความตามรปู แบบของการยอ ความ 2. อานเร่อื งที่จะยอจนเขาใจ 3. พจิ ารณาใจความสําคัญและนาํ มาเขยี นเปน ภาษาหรอื สํานวนของตนเอง 4. รปู แบบของการยอ ความ จะมคี ํานาํ เพื่อเขียนทม่ี าเบอ้ื งตน ของยอ ความนัน้ เชน ยอความเร่ือง................................................ของ (ผแู ตง)............................................................... จากหนังสอื .............................................................ความวา ...................................................................... ยอขาวเรอื่ ง………….......................................เขียนโดย................................................................................ จากหนงั สอื ........................................ ความวา............................................................................. ยอหนาตอ มาจะเปนใจความสาํ คัญจากการอาน.........................................................................................

30 ตวั อยางยอ ความ เมอื งโองแนะระวงั ไฟปา นายสุเมธ ชัยเลิศวณิชกุล ผูว าราชการจังหวัดราชบุรี กลา วถึงการรณรงคประชาสัมพันธ ปองกันไฟปา วา เน่ืองจากในขณะนี้เขาสูช ว งที่มีอากาศแหง แลง และมีลมแรง อีกท้ังเปน ระยะเวลาที่ เกษตรกรเก็บเก่ยี วพชื ผลทางการเกษตรแลว และมักจะเผาซากพืช ตอซัง ขา วฟาง อันเปนเหตุใหเ กิด ไฟไหมลุกลามเขา ไปยงั พื้นทีป่ าไม จนกลายเปน ไฟปา สรางความเสียหายแกพ ันธไุ มแ ละสัตวปา รวมทั้ง ทําใหส ภาวะโลกรอนรุนแรงย่ิงข้ึน ดังนั้นจังหวัดราชบุรี จึงขอความรวมมือจากประชาชนในจังหวัด อยาเผาวัสดสุ ่งิ ของใด ๆ อันเปน สาเหตใุ หเ กดิ ไฟปาได และหากพบเห็นไฟปา กรณุ าแจง ใหศูนยปฏิบัติการ ควบคุมไฟปา ภาคกลางทราบดวย (หนงั สือพมิ พเดลนิ ิวส ฉบบั วนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ 2552) ยอ ขาวเร่อื ง เมืองโองแนะระวงั ไฟปาจากหนงั สือพิมพเ ดลินิวส ฉบับวันท่ี 11 กุมภาพันธ 2552 หนา 15 ความวา นายสุเมธ ชัยเลิศวณิชกุล ผูวาราชการจังหวัดราชบุรี จัดใหม ีการรณรงคป ระชาสัมพันธ ใหป ระชาชนระวงั ไฟปา เผาซากพชื ตอซัง ฟางขาว จนเกิดเหตุเปนไฟปาสรางความเสียหายแกพันธุไม สัตวป า และทําใหภาวะโลกรอ น หากพบเหน็ ไฟปา แจง ศูนยปฏบิ ตั ิการควบคุมไฟปา ภาคกลางทราบ 3. การเขียนจดหมาย จดหมายทผี่ เู รียนควรศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษา คือ การเขียนจดหมายกิจธรุ ะ หลกั การเขียนจดหมาย 1. เขียนใหส ะอาดเรียบรอย 2. อา นและเขา ใจความประสงคช ดั เจน 3. ใชภาษาสภุ าพและถกู ตองตามหลกั ภาษา 4. ถูกตองตามรูปแบบการเขยี นจดหมาย รปู แบบการเขียนจดหมายกจิ ธุระ สถานท.่ี .................................................. วัน..........เดอื น.....................ป. ............... เร่ือง ........................................................................ เรยี น ....................................................................... (ขอ ความ) .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... คําลงทาย .............................................. ช่ือผเู ขียนจดหมาย .......................

31 ตัวอยา งการเขยี นจดหมายกจิ ธุระ กลมุ พฒั นาเศรษฐกิจพอเพียง ต.บางใหญ อ. บางใหญ จ.นนทบรุ ี 11140 12 กมุ ภาพันธ 2552 เรือ่ ง ขอยืมอุปกรณกฬี า เรียน ผอู ํานวยการ กศน. อําเภอบางใหญ ดวยกลมุ พัฒนาเศรษฐกิจพอเพยี ง จะใหมกี ารแขง ขันกฬี าภายใน ในวันที่ 20 กมุ ภาพันธ 2552 เวลา 8.00 – 17.00 น. จงึ ใครขอยืมอปุ กรณก ฬี า เพ่ือใชป ระกอบการแขงขนั จาํ นวน 5 รายการ ดังนี้ 1. ลกู ฟตุ บอล 3 ลกู 2. ลกู บาสเกต็ บอล 2 ลูก 3. ไมแบดมินตนั 3 คู 4. เซปกตะกรอ 8 ลกู 5. นกหวีด 5 ตวั โดยจะคืนอุปกรณดังกลา ว ภายในวันท่ี 21 กมุ ภาพนั ธ 2552 จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา ขอแสดงความนับถือ (นายเดชา ไทยจงเจรญิ ) ประธานกลมุ พัฒนาเศรษฐกจิ พอเพยี ง กจิ กรรม 1. ทา นคดิ วาในการเขียนประวัตติ นเอง ขอ ความใดสาํ คญั ที่สดุ เพราะเหตใุ ด 2. เขยี นเรียงความเร่ืองครอบครวั ของฉัน 3. ยอขา วจากหนงั สือพิมพ 1 เรือ่ ง โดยแนบตนฉบบั ขาวดว ย 4. เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ 1 ฉบบั __________________________________________________________ __________________________________________________________ __________________________________________________________ __________________________________________________________ __________________________________________________________

32 เร่อื งท่ี 6 การเขยี นรายงานการคน ควา และอา งอิงความรู 1. การเขียนรายงานการคนควา การเขยี นรายงานเปนการเขียนผลการศึกษาจากการคน ควา เพอ่ื นาํ เสนอผบู ังคบั บัญชา หรือผสู อน หลักการเขียนรายงาน 1. ขอมูลทเี่ ขยี นตอ งเปน ความจริง 2. ขอ มูลใดทีน่ าํ มาจากผรู อู ืน่ ตอ งเขยี นเปน เชงิ อรรถและบรรณานกุ รม 3. เขียนเปน ทางการ ใชภ าษาถกู ตอ ง และชัดเจน สวนประกอบของรายงาน 1. ปกหนา ประกอบดว ยชอื่ เรือ่ ง ช่ือผเู ขียน และนําเสนอผใู ด 2. คํานํา เปน ความเรียงมี 3 สว น คอื ความเปนมาและวตั ถปุ ระสงค สาระของรายงาน ประโยชนท ่ไี ดร ับและขอบคณุ ผูมสี ว นชวยเหลอื 3. สารบัญ 4. เนอ้ื หาสาระ 5. บรรณานุกรม 2 . การเขยี นอางองิ ความรู การเขยี นอางอิงความรู หมายถงึ การเขียนเชิงอรรถและบรรณานกุ รม 1. เชิงอรรถ เชิงอรรถเปนชื่อผเู ขียน ปท พ่ี ิมพและเลขหนาหนงั สือทน่ี าํ ไปใชป ระกอบการเขียน เชน อุทัย ศิริศักด์ิ (2550, หนา 16) การเขียน อา งอิงแบบน้ีจะไมไ ดเขียนชื่อหนังสือ ช่ือหนังสือจะเขียน ในหนาบรรณานุกรม 2. บรรณานุกรม บรรณานกุ รม ประกอบดว ยรายช่อื หนงั สือทใี่ ชป ระกอบการเขียน โดยจะตอ งเขยี น เรียงตามตวั อกั ษรช่ือผแู ตง โดยเขียนชอื่ ผูแ ตง ชือ่ หนังสอื ชอ่ื สถานทพ่ี มิ พ ชอื่ โรงพมิ พแ ละปท พี่ มิ พ เชน กนกอร ทองคํา. การใชภาษาไทย, กรงุ เทพฯ : ไทยววิ ัฒน, 2549. ศริ ิอร ทองอาํ ไพ. หลกั การใชภ าษา, นนทบรุ ี :ไทยเจรญิ , 2550

33 กิจกรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. สวนประกอบของรายงาน มดี งั นี้ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ 2. ขอความในเชงิ อรรถ บอกอะไรบา ง __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ 3. บรรณานุกรม บอกใหเ รารอู ะไรบาง __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ __________________________________________________________________ เรือ่ งที่ 7 การเขยี นกรอกรายการ การกรอกรายการเปน การกรอกแบบฟอรม ของหนวยราชการ หรอื หนว ยงานตาง ๆ ท่ใี หก รอก เพอื่ แสดงขอมูลที่หนวยงานนัน้ ๆ ตองการทราบ เชน การกรอกใบสมคั รเรยี น การกรอกแบบฟอรม การติดตง้ั โทรศพั ท หรอื การกรอกแบบฟอรม การขอใชไ ฟฟา เปนตน หลกั การกรอกแบบรายการ 1. อา นขอความในแบบรายการน้นั ๆ ใหเ ขาใจกอนจะเขียนขอความ 2. เขยี นใหถ กู ตอ งและสะอาด 3. กรอกขอความตามความจริง 4. ใชถ อ ยคาํ สน้ั ๆ และกะทดั รัด 5. ปฏบิ ัตติ ามขอ บังคับ หรอื คําแนะนําของแบบรายการนั้น ๆ

34 แบบรายการทจ่ี ะใชใ นชีวติ ประจําวัน 1. แบบฟอรมธนาณัติ 2. แบบฟอรม สงพสั ดทุ างไปรษณยี  3. แบบฟอรม สมคั รตา ง ๆ 4. แบบฟอรมคํารอ ง 5. แบบฟอรมสญั ญา 6. แบบฟอรมฝากเงนิ แบบฟอรมถอนเงิน ของสถาบนั การเงนิ กิจกรรม ใหผ เู รียนเลือกกรอกแบบรายการ ขา งลางนี้ 2 ชนดิ โดยใชแบบฟอรมจรงิ จากหนว ยงานนน้ั ๆ และจัดเก็บไวใ นสมุดแบบฝก หดั หรือแฟม ขอมลู วชิ าภาษาไทย 1. แบบฟอรม ธนาณตั ิ 2. ใบสงพสั ดทุ างไปรษณีย 3. ใบสมคั รตา ง ๆ 4. ใบคํารอง 5. หนงั สือสญั ญา 6. ใบฝากเงิน ถอนเงนิ ของสถาบนั การเงิน เร่อื งท่ี 8 มารยาทในการเขยี นและนิสยั รักการเขียน 1. มารยาทในการเขยี น 1. เขียนถูกตองและชดั เจนใหผ อู ื่นอา นได 2. เขยี นเชงิ สรา งสรรค ไมเขยี นเพ่อื ทําลายหรอื ทําใหเกดิ ความเสียหายแกผอู ืน่ 3. เขียนในสถานทค่ี วรเขยี น ไมเ ขยี นในท่ไี มสมควร เชน สถานทส่ี าธารณะ 4. เขียนทุกอยา งดว ยขอมูลทเ่ี ปนความจรงิ 5. ไมขดี หรอื เขียนขอ ความในหนังสือ เอกสารและอ่ืน ๆ ทเ่ี ปน ของประชาชนโดยรวม เชน หนังสอื ในศูนยก ารเรยี น หรือหองสมดุ 2. นสิ ยั รักการเขยี น 1. เริ่มตน ดวยการเขียนสงิ่ ทง่ี า ย และไมใชเ วลามาก 2. เขยี นตอเน่อื งจากการเขยี นคร้งั แรก เชน การเขียนบันทกึ ประจําวัน 3. เรมิ่ เขียนดวยขอความที่งา ยและส้นั และกาํ หนดเวลากับตนเอง ใหพ ยายามเขียน ทกุ วันตามระยะเวลาที่พอใจ จะทําใหเ ขยี นไดโดยไมเบอื่ หนาย

35 กจิ กรรม จงตอบคําถามตอ ไปน้ี 1. มารยาทในการเขียนของผเู รยี น มีอะไรบาง 1. ________________________________________________ 2. ________________________________________________ 3. ________________________________________________ 4. ________________________________________________ 5. ________________________________________________ 2. ผเู รยี นจะปฏบิ ตั ติ นอยางไร จึงจะถือวา เปน การสรางนสิ ยั รักการเขยี น 1. ________________________________________________ 2. ________________________________________________ 3. ________________________________________________

36 บทท่ี 5 หลกั การใชภ าษา สาระสาํ คญั หลักการใชภาษาเปน การนาํ ความรทู างภาษามาใชจรงิ ตามลกั ษณะกฎเกณฑของภาษาไทย ซึ่งประกอบดวยอักษรไทย พยางค คําในมาตราตัวสะกด ชนดิ ของคาํ ประโยค และอื่น ๆ ผลการเรยี นรูท ค่ี าดหวงั ผูเ รียนสามารถ 1. อธบิ าย เสียง รูปอกั ษรไทย พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต และไตรยางคไ ด 2. อธิบายการใชคํา ชนิดของคํา หนาท่ีของคํา ประโยค เครื่องหมายวรรคตอนและการใช พจนานุกรมได 3. อธบิ ายสาํ นวน คําพงั เพย สุภาษติ คําราชาศพั ท และคําสุภาพได 4. อธิบายการใชภ าษาอยางเหมาะสมตามกาลเทศะ บุคคล และสถานการณ ขอบขา ยเนื้อหา เรื่องที่ 1 เสยี ง รูปอกั ษรไทยและไตรยางค เรือ่ งที่ 2 ความหมายและหนา ท่ีของคํา กลมุ คําและประโยค เร่ืองที่ 3 เคร่ืองหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ เรอ่ื งท่ี 4 หลกั การใชพ จานกุ รม คาํ ราชาศพั ทแ ละคําสภุ าพ เรอ่ื งที่ 5 สํานวนภาษา เรื่องท่ี 6 การใชทกั ษะทางภาษาเปนเครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรู เร่ืองที่ 7 ลักษณะของคําไทย คาํ ภาษาถ่นิ และคาํ ภาษาตางประเทศในภาษาไทย

37 เรอื่ งที่ 1 เสยี ง รูปอักษรไทย และไตรยางค ผเู รยี นไดศกึ ษารูปอกั ษร คือ พยญั ชนะ 44 ตวั สระ 21 รปู วรรณยกุ ต 4 รปู และเลขไทย ๐ – ๙ แลว ในเรือ่ งที่ 2 การเขียนอกั ษรไทย ซึ่งอยใู นบทท่ี 4 การเขียน ในเร่ืองน้ีผเู รียนจะไดศกึ ษาเสยี งของภาษาไทย คอื เสยี งพยญั ชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยกุ ตตามรายละเอียด ดังน้ี 1. เสยี งพยญั ชนะ เสียงพยัญชนะมี 21 เสยี ง รูปพยญั ชนะ เสียงพยัญชนะ ก ก - กอ ขฃคฅ ฆ ค - คอ ง ง - งอ จ จ - จอ ช ฌ ฉ ช - ชอ ซสศษ ซ - ซอ ดฎ ด - ดอ ตฏ ต - ตอ ทธฑฒถฐ ท - ทอ นณ น - นอ บ บ -บอ ฟ ฟ - ฟอ พภผ พ - พอ ฟฝ ฟ - ฟอ ม ม – มอ

38 รปู พยญั ชนะ เสียงพยญั ชนะ ย ย - ยอ ร ร - รอ ล ล - ลอ ว ว - วอ ฮห ฮ - ฮอ อ อ – ออ พยัญชนะตน ของคาํ บางคาํ มีการนําพยัญชนะมารวมกันแลวออกเสียงพรอ มกัน เรยี กวา “เสยี งควบกล้ํา” มีทใ่ี ชก นั พอยกเปนตัวอยา งได ดังนี้ 1. กว เชน แกวง / ไกว 2. กร เชน กรอบ / กรงุ 3. กล เชน กลอง / กลบั 4. คว เชน ควาย / ควา 5. คร เชน ใคร / ครวญ 6. คล เชน คลอ ย / เคลิ้ม 7. พร เชน พระ / โพรง 8. พล เชน พลอย / เพลง 9. ปร เชน ปราบ / โปรด 10. ปล เชน ปลุก / ปลอบ 11. ตร เชน ตรวจ / ตรอก 12. ทร เชน จนั ทรา / ทรานซสิ เตอร 13. ฟร เชน เฟรน / ฟรี 14. ฟล เชน ฟลุก / แฟลต 15. บล เชน บลอ็ ก / เบลอ 16. ดร เชน ดราฟท

39 2. เสยี งสระมี 24 เสียง โดยแบง เปน เสยี งส้ันและเสยี งยาว สระเสยี งสัน้ สระเสยี งยาว อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อัว 3. เสยี งวรรณยุกต มี 5 เสียง คือ เสยี งสามญั เชน กา เสยี งเอก เชน กา เสยี งโท เชน กา เสยี งตรี เชน กา เสียงจัตวา เชน กา คําไทยทุกคํามเี สียงวรรณยกุ ต แตอ าจไมมีรปู วรรณยกุ ต เชน ขอ หนู หู ตงั

40 4. ไตรยาค คอื อกั ษร 3 หมู ซึง่ แบงตามเสยี ง ดังนี้ 1. อกั ษรสงู มี 11 ตัว คอื ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห 2. อักษรกลางมี 9 ตัว คอื ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ 3. อกั ษรตาํ่ มี 24 ตวั คือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ นพฟภมยรลวฬฮ ตัวอยา งการผันวรรณยุกต อักษร 3 หมู เสียงสามัญ เสียงเอก เสยี งโท เสยี งตรี เสยี งจตั วา อกั ษรกลาง กา กา กา กา กา - กะ กะ กะ - อักษรสงู - ขา ขา - ขา - ขะ ขะ - - อกั ษรตํา่ คา - คา คา - - - คะ คะ - กจิ กรรม จงเตมิ คําและขอความใหถ กู ตอง 1. เสยี งพยัญชนะม_ี _________________เสียง 2. เสียงสระม_ี _____________________เสยี ง 3. เสียงวรรณยกุ ตม _ี ________________เสยี ง 4. นา มีเสียงวรรณยกุ ต ______________________ หมา มเี สียงวรรณยุกต ______________________ กนิ มเี สยี งวรรณยุกต ______________________ สิน มเี สียงวรรณยกุ ต ______________________ พลอย มีเสียงวรรณยุกต ______________________ 5. ไตรยางค คอื ______________________________________________

41 เรอื่ งที่ 2 ความหมายและหนาท่ขี องคํา กลมุ คํา และประโยค คํา หมายถึง เสียงท่ีเปลง ออกมาแลวมีความหมาย จะมีก่ีพยางคก็ได เชน ไก ขนม นาฬิกา เปน ตน พยางค หมายถึง เสยี งท่เี ปลง ออกมาคร้งั หนึง่ จะมคี วามหมายหรือไมม กี ไ็ ด เสยี งที่เปลง ออกมา 1 ครง้ั ก็นบั วา 1 พยางค เชน นาฬกิ า มี 3 พยางค แตม ี 1 คํา แมนาํ้ มี 2 พยางค แตม ี 1 คาํ มคี วามหมายวา ลาํ นํา้ ใหญ ซึง่ เปน ท่รี วมของลาํ ธารทง้ั ปวง ชนิดของคํา คําท่ีใชใ นภาษาไทยมี 7 ชนิด คือ คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คาํ บุพบท คําสันธาน และคาํ อุทาน ซึ่งคําแตละชนดิ มหี นา ท่ีแตกตางกนั ดงั นี้ 1. คาํ นาม คอื คําทีใ่ ชเรียกช่อื คน สัตว สงิ่ ของ สถานทแ่ี ละคาํ ที่บอก กริ ยิ าอาการหรือลักษณะ ตางๆ ทาํ หนา ทเ่ี ปน ประธานหรือกรรมของประโยค ตัวอยาง คาํ ท่ใี ชเ รยี กช่ือ เรียกช่ือสตั ว = แมว ชา ง หมู ทั่วไป เรยี กช่ือสง่ิ ของ = ดนิ สอ พัดลม โตะ คาํ ทใ่ี ชเรยี กช่ือ เรยี กชอ่ื สถานที่ = โรงเรยี น กรุงเทพมหานคร เฉพาะบุคคล เรียกชือ่ คน = สมศักดิ์ พรทพิ ย หรอื สถานท่ี คาํ ท่ใี ชแสดง บอกหมวดหมู = ฝงู กรม กอง โขลง การรวมกนั เปน หมวดหมู บอกอาการหรอื บอก = จะมีคําวา “การ” และ “ความ” คําที่ใชบอกอาการ คุณลกั ษณะทไี่ มม ีตัวตน นําหนา คํากริยา เชน ความสุข หรอื คุณลักษณะที่ ไมมีตัวตน คาํ ท่บี อก นามทใี่ ชตามนามอนื่ ๆ = นาฬกิ า 1 เรือน ลักษณะ เพ่ือบอกลักษณะของ ววั 3 ตัว บาน 3 หลงั

42 2. คําสรรพนาม คอื คําท่ีใชแทนคํานามหรือขอ ความทกี่ ลาวมาแลว ในกรณที ่ีไมต องการกลา ว คาํ นนั้ ซ้ําอีก ทําหนาทเ่ี ชน เดยี วกับคํานาม ตัวอยาง สรรพนามแทน ขา ขาพเจา กระผม ผม เรา อาตมา ฉัน (แทนผพู ูด) ผูพดู /ผูฟงและ เธอ ทาน มงึ เอง็ พระคณุ เจา (แทนผูกาํ ลังพดู ดวยหรือผฟู ง ) ผูท่ีกลา วถงึ เขา พวกเขา พวกมัน (แทนผทู ีถ่ ูกกลา วถึง) สรรพนามที่กําหนด น่ี โนน โนน ใหร ูค วามใกลไกล สรรพนามคําถาม ใคร อะไร ที่ไหน อันไหน 3. คํากรยิ า คอื คาํ ที่แสดงการกระทาํ อยางใดอยา งหน่ึงของคํานาม คําสรรพนาม หรือแสดง การกระทําของประธานในประโยค ใชวางตอจากคาํ ทีเ่ ปน ประธานของประโยค ตัวอยางคาํ กรยิ า ไดแ ก วง่ิ ยนื เดิน น่ัง นอน พูด ไป กนิ เลน ฯลฯ คาํ กรยิ าทตี่ อ งมีกรรม นกั เรียน ซ้อื หนังสอื มารับขางทา ยจึงจะ นายแดง กิน ขาว ไดค วามสมบรู ณ คาํ กริยาไมตอ งมี นกรอ ง กรรมมารบั ขางทาย เธอรอ งไห คาํ กริยาทต่ี อ งอาศัย ฉัน เปน แมบ าน สว นเตมิ เตม็ หรอื เธอ อยู ภูเกต็ ตอ งมีกรรมมารบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook