Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาศิลปศึกษา ม.ปลาย

วิชาศิลปศึกษา ม.ปลาย

Description: วิชาศิลปศึกษา ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ รายวชิ า ศิลปศึกษา (ทช31003) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 17/2555

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ รายวชิ า ศิลปศึกษา (ทช31003) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 17/2555

คํานาํ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ไ ด ป ร ะ ก า ศ ใ ช ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พ้ื น ฐ า น พุทธศักราช 2551 เมอ่ื วนั ท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตาม หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรที่พัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญาและความเชื่อ พื้นฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและสั่งสมความรูและ ประสบการณอยา งตอ เนือ่ ง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือนนโยบาย ทางการศึกษาเพ่ือเพิม่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขง ขันใหประชาชนไดม อี าชพี ทส่ี ามารถสรางรายได ท่มี ่งั คง่ั และมน่ั คง เปนบคุ ลากรทม่ี ีวินัย เปย มไปดวยคุณธรรมและจรยิ ธรรม และมีจติ สํานกึ รับผิดชอบตอตนเอง และผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง และ เนื้อหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุง หนงั สอื เรยี น โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเน้ือหาสาระเก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมีความเก่ียวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการ พัฒนาหนงั สือทีใ่ หผ เู รียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพ่ือทดสอบความรู ความเขาใจ มกี ารอภิปรายแลกเปลีย่ นเรยี นรูกับกลุม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากภูมิปญญาทองถ่ิน แหลงการเรียนรู และสือ่ อน่ื การปรับปรุงหนังสือเรียนในครั้งน้ี ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา และผูเก่ยี วของในการจัดการเรยี นการสอนทศี่ กึ ษาคนควา รวบรวมขอ มูลองคความรูจากส่ือตาง ๆ มาเรียบเรียง เนอื้ หาใหครบถว นสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ตัวช้ีวัดและกรอบเน้ือหาสาระของรายวิชา สาํ นกั งาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียน ชุดนี้จะเปน ประโยชนแกผ ูเรยี น ครู ผสู อน และผเู กี่ยวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน. ขอ นอมรบั ดวยความขอบคุณยิง่

สารบญั หนา คาํ นํา 1 คําแนะนาํ การใชห นังสือเรยี น 2 โครงสรางรายวชิ า 12 บทที่ 1 ทัศนศลิ ป 21 23 เรอ่ื งที่ 1 จุด เสน สี แสง เงา รปู รา ง และรปู ทรง 27 เรื่องท่ี 2 ทัศนศลิ ปสากล 30 เรอ่ื งท่ี 3 การวิพากษว จิ ารณงานทัศนศลิ ป 32 เรื่องท่ี 4 ความงามตามธรรมชาติ เรอ่ื งที่ 5 ความงามตามทศั นศลิ ปสากล 35 เรื่องท่ี 6 ธรรมชาติกับทัศนศลิ ป 36 เรื่องที่ 7 ความคดิ สรา งสรรค การตกแตง รางกาย ที่อยอู าศัย 37 44 บทท่ี 2 ดนตรี 49 เรื่องที่ 1 ดนตรีสากล เรอื่ งที่ 2 ดนตรสี ากลประเภทตาง ๆ 53 เรอ่ื งท่ี 3 คณุ คา ความไพเราะของเพลงสากล 54 เรอ่ื งที่ 4 ประวตั ภิ ูมปิ ญ ญาทางดนตรสี ากล 57 60 บทท่ี 3 นาฏศลิ ป 75 เรอ่ื งที่ 1 นาฎยนยิ าม 76 เรอ่ื งท่ี 2 สุนทรยี ะทางนาฏศิลป 80 เรอ่ื งท่ี 3 นาฏศิลปสากลเพ่ือนบา นของไทย 85 เรอ่ื งท่ี 4 ละครที่ไดร บั อิทธพิ ลของวัฒนธรรมตะวนั ตก เรอ่ื งที่ 5 ประเภทของละคร เรื่องท่ี 6 ละครกับภูมปิ ญญาสากล เรอ่ื งที่ 7 ประวัติความเปนมาและววิ ฒั นาการของลลี าศสากล

บทท่ี 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชพี 87 ลักษณะเฉพาะของอาชีพดา นการออกแบบแตล ะสาขา 87 งานมณั ฑนากรหรือนกั ออกแบบตกแตง 87 นกั ออกแบบเครอื่ งเฟอรนิเจอร 89 นกั ออกแบบเส้อื ผา แฟชั่น 91 96 บรรณาณุกรม 97 คณะผจู ดั ทํา

คําแนะนาํ การใชห นงั สือเรยี น หนังสือเรียนสาระการดําเนินชีวิต รายวิชา ศิลปศึกษา (ทช31003) เปนหนังสือเรียนท่ีจัดทําข้ึน สําหรับ ผูเรยี นท่เี ปน นักศกึ ษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสือเรียนสาระการดาํ เนินชวี ิต รายวชิ า ศลิ ปศึกษา ผูเรยี นควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. ศึกษาโครงสรา งรายวิชาใหเ ขา ใจในหวั ขอสาระสําคญั ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั และขอบขายเน้ือหา ของรายวชิ านั้น ๆ โดยละเอยี ด 2. ศึกษารายละเอียดเนอื้ หาของแตละบทอยางละเอียด ทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด และทําความเขาใจ ในเน้อื หานั้นใหมใ หเ ขา ใจ กอ นที่จะศกึ ษาเร่อื งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติกจิ กรรมทา ยเร่ืองของแตละเรอ่ื ง เพอื่ เปนการสรุปความรู ความเขา ใจของเนือ้ หาในเรื่องนั้น ๆ อกี ครัง้ และการปฏิบัตกิ จิ กรรมของแตละเนื้อหา แตละเร่ือง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพ่ือน ๆ ท่รี ว มเรยี นในรายวชิ าและระดับเดียวกันได 4. หนังสือเรียนเลมน้ีมี 4 บท บทที่ 1 ทศั นศลิ ป เรื่องที่ 1 จุด เสน สี แสง เงา รปู รา ง รูปทรง เรอ่ื งที่ 2 ทัศนศลิ ปสากล เรอ่ื งท่ี 3 การวิพากษว จิ ารณงานทัศนศิลป เร่ืองท่ี 4 ความงามตามธรรมชาติ เรื่องท่ี 5 ความงามตามทัศนศิลปส ากล เรอ่ื งที่ 6 ธรรมชาตกิ ับทศั นศิลป เรอื่ งที่ 7 ความคิดสรางสรรค การตกแตงรางกาย และท่อี ยูอาศัย บทท่ี 2 ดนตรี เร่อื งท่ี 1 ดนตรีสากล เรอื่ งท่ี 2 ดนตรีสากลประเภทตา ง ๆ เรอ่ื งที่ 3 คุณคาความไพเราะของเพลงสากล เรอื่ งท่ี 4 ประวัติภูมปิ ญญาทางดนตรีสากล

บทท่ี 3 นาฏศลิ ป เรื่องท่ี 1 นาฎยนยิ าม เร่ืองท่ี 2 สุนทรยี ะทางนาฏศลิ ป เรอ่ื งที่ 3 นาฏศิลปสากลเพอ่ื นบา นของไทย เร่อื งที่ 4 ละครท่ไี ดร บั อทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมตะวนั ตก เร่อื งที่ 5 ประเภทของละคร เรอ่ื งท่ี 6 ละครกับภมู ิปญ ญาสากล เรอ่ื งท่ี 7 ลลี าศสากล บทท่ี 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชพี ลกั ษณะเฉพาะของอาชีพดานการออกแบบแตล ะสาขา งานมัณฑนากรหรอื นกั ออกแบบตกแตง นกั ออกแบบเคร่ืองเฟอรนิเจอร นกั ออกแบบเสอ้ื ผาแฟชนั่

โครงสรา งรายวชิ าศลิ ปศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31003) สาระสําคัญ รู เขาใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เห็นคุณคาความงาม ความไพเราะ ของธรรมชาติสิ่งแวดลอม ทางทัศนศลิ ป ดนตรี และนาฎศลิ ปส ากล สามารถวเิ คราะห วพิ ากษ วจิ ารณ ไดอ ยางเหมาะสม ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั อธิบายความหมาย ความสําคญั ความเปน มา ของทศั นศลิ ปส ากล ดนตรีสากล และนาฎศลิ ปสากล เขา ใจ ถึงตนกําเนดิ ภูมิปญญาและการอนุรักษ ขอบขายเนอ้ื หา บทท่ี 1 ทศั นศลิ ป เรอ่ื งท่ี 1 จุด เสน สี แสง เงา รูปราง รูปทรง เรื่องท่ี 2 ทศั นศลิ ปส ากล เรอ่ื งที่ 3 การวิพากษว จิ ารณง านทัศนศิลป เรอ่ื งท่ี 4 ความงามตามธรรมชาติ เรื่องที่ 5 ความงามตามทศั นศลิ ปสากล เรอ่ื งที่ 6 ธรรมชาตกิ บั ทศั นศิลป เร่ืองท่ี 7 ความคดิ สรางสรรค การตกแตงรางกาย และท่อี ยูอาศัย บทท่ี 2 ดนตรี เรอ่ื งท่ี 1 ดนตรีสากล เรื่องที่ 2 ดนตรีสากลประเภทตาง ๆ เรื่องท่ี 3 คุณคาความไพเราะของเพลงสากล เรอื่ งที่ 4 ประวัตภิ ูมิปญ ญาทางดนตรสี ากล บทท่ี 3 นาฏศิลป เรอ่ื งที่ 1 นาฏยนยิ าม เรอ่ื งท่ี 2 สุนทรียะทางนาฏศิลป เรอื่ งท่ี 3 นาฏศลิ ปสากลเพอื่ นบานของไทย เรื่องท่ี 4 ละครทไ่ี ดรบั อิทธิพลของวฒั นธรรมตะวนั ตก เรื่องท่ี 5 ประเภทของละคร เรอ่ื งที่ 6 ละครกบั ภูมปิ ญ ญาสากล เรอ่ื งที่ 7 ลลี าศสากล

บทท่ี 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชพี ลกั ษณะเฉพาะของอาชพี ดานการออกแบบแตละสาขา งานมัณฑนากรหรอื นกั ออกแบบตกแตง นกั ออกแบบเครือ่ งเฟอรนิเจอร นักออกแบบเสอ้ื ผาแฟชน่ั

1 บทที่ 1 ทัศนศิลป สาระสําคญั ศกึ ษาเรียนรู เขาใจ เหน็ คณุ คาความงาม ของทศั นศิลป และสามารถวพิ ากษ วจิ ารณไ ดอ ยา งเหมาะสม ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวัง อธิบายความหมาย ความสาํ คัญ ความเปนมา ของทัศนศลิ ปส ากล เขา ใจถึงตน กําเนดิ ภูมปิ ญ ญาและการ อนรุ กั ษ ขอบขา ยเนื้อหา เรื่องท่ี 1 จุด เสน สี แสง เงา รูปรา ง รปู ทรง เร่ืองที่ 2 ทศั นศลิ ปสากล เรอ่ื งท่ี 3 การวพิ ากษว จิ ารณง านทศั นศิลป เรอื่ งท่ี 4 ความงามตามธรรมชาติ เรอ่ื งที่ 5 ความงามตามทัศนศิลปสากล เร่อื งท่ี 6 ธรรมชาติกับทัศนศลิ ป เรอ่ื งที่ 7 ความคดิ สรา งสรรค การตกแตงรางกาย และทอี่ ยอู าศยั

2 เร่อื งที่ 1 จุด เสน สี แสงเงา รปู ราง รปู ทรง จดุ ……………………………………… คือ องคป ระกอบทเี่ ลก็ ทสี่ ุด จดุ เปน ส่งิ ทส่ี ามารถบอกตําแหนงและทิศทางโดยการนําจุดมาเรียงตอ กนั ให เปนเสน การรวมกนั ของจดุ จะเกิดนํ้าหนกั ที่ใหป ริมาตรแกร ูปทรง เปนตน เสน หมายถึง จุดหลายๆจุดท่ีเรียงชิดติดกันเปนแนวยาว โดยการลากเสนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหน่ึง ในทิศทางท่แี ตกตางกัน จะเปน ทศิ มุม 45 องศา 90 องศา 180 องศาหรือมมุ ใดๆ การสลบั ทศิ ทางของเสนที่ลากทํา ใหเกดิ เปนลกั ษณะตาง ๆ ในทางศลิ ปะเสน มหี ลายชนิดดวยกนั โดยจาํ แนกออกไดเ ปน ลักษณะใหญๆ คือ เสนตั้ง เสน นอน เสน เฉยี ง เสนโคง เสนหยัก เสน ซกิ แซก ความรูส กึ ทมี่ ตี อเสน เสนเปนองคประกอบพน้ื ฐานทสี่ าํ คัญในการสรางสรรค เสนสามารถแสดงใหเกิดความหมายของภาพ และใหความรสู ึกไดตามลักษณะของเสน เสน ทเ่ี ปนพ้ืนฐาน ไดแ ก เสนตรงและเสน โคง จากเสนตรงและเสนโคง สามารถนาํ มาสรา งใหเ กิดเปน เสนใหม ๆ ทใี่ หความรูสึกที่แตกตางกันออกไป ไดด งั นี้ เสน ต้งั ใหค วามรสู ึกแขง็ แรง สูงเดน สงา งาม นาเกรงขาม

3 เสน นอน ใหค วามรูส กึ สงบราบเรยี บ กวางขวาง การพักผอ น หยดุ นงิ่ เสนแนวเฉยี ง ใหค วามรสู กึ ไมป ลอดภยั ไมม่นั คง ไมหยุดนิง่ เสน ตัดกัน ใหความรูสกึ ประสานกัน แข็งแรง เสนโคง ใหความรูสึกออ นโยน นุมนวล เสน คด ใหความรสู กึ เคลื่อนไหว ไหลเลอื่ น ราเริง ตอ เนือ่ ง เสน ประ ใหค วามรสู กึ ขาดหาย ลึกลับ ไมสมบรูณ แสดงสวนทม่ี องไมเ หน็ เสน ขด ใหความรูสกึ หมุนเวียนมนึ งง เสนหยกั ใหความรูส ึกขัดแยง นากลัว ตน่ื เตน แปลกตา

4 นกั ออกแบบนาํ เอาความรูสึกท่มี ตี อเสนท่แี ตกตา งกนั มาใชใ นงานศลิ ปะประยุกต โดยใชเสนมาเปล่ียน รปู รา งของตัวอกั ษร เพอื่ ใหเ กดิ ความรสู ึกเคล่ือนไหวและทําใหส่ือความหมายไดดยี ิ่งขนึ้ สี ทฤษฎสี ี หมายถงึ หลักวชิ าในเรื่องของสที ่สี ามารถมองเหน็ ไดด วยตา และเมอื่ สามรอยกวาปทผ่ี านมา ไอแซก นวิ ตนั ไดค นพบวาแสงสีขาวจาก ดวงอาทติ ยเมื่อหกั เห ผา นแทง แกวสามเหล่ยี ม (prism) แสงสขี าวจะ กระจายออกเปนสรี งุ เรยี กวา สเปคตรัม มี 7 สี ไดแก มว ง คราม นาํ้ เงนิ เขยี ว เหลอื ง สม แดง และไดกาํ หนดให เปน ทฤษฎีสขี องแสง ความจริงสีรงุ เปนปรากฏการณ ตามธรรมชาตทิ เี่ กดิ ขน้ึ และพบเหน็ กนั บอย ๆ โดยเกดิ จาก การหักเหของ แสงอาทิตยหรอื แสงสวาง เมอ่ื ผา นละอองนาํ้ ในอากาศและกระทบตอ สายตาใหเหน็ เปนสี มผี ล ทางดานจิตวิทยา ทางดานอารมณ และความรูส กึ การทไี่ ดเ หน็ สีจากสายตา สายตาจะสง ความรูสึกไปยงั สมองทํา ใหเกิดความรสู กึ ตางๆ ตามอทิ ธิพลของสี เชน สดช่นื เรารอ น เยือกเย็น หรือตน่ื เตน มนุษยเ ราเกยี่ วของ กับสตี างๆ อยตู ลอดเวลา เพราะทกุ สิ่งท่อี ยรู อบตัวนน้ั ลวนแตมีสีสนั แตกตางกันมากมาย นักวิชาการสาขาตางๆ ไดศึกษาคนควาเรื่องสี จนเกิดเปนทฤษฎีสี ตามหลักการของนักวิชาการสาขา ตาง ๆ เชน แมส ขี องนักฟส กิ ส หรอื (แมสขี องแสง) (Spectrum Primaries) เปน สีที่เกดิ จากการผสมกันของคล่นื แสง มี 3 สี คือ แมสีของนักเคมี (Pigmentary Primaries) คือสีที่ใชในวงการอุตสาหกรรมและวงการศิลปะ หรือ เรียกอีกอยางหนึ่งวา สีวัตถุธาตุ ท่ีเรากําลังศึกษาอยูในขณะนี้ โดยใชในการเขียนภาพเก่ียวกับพาณิชยศิลป ภาพโฆษณา ภาพประกอบเรอ่ื งและภาพเขียน ของศลิ ปน ตา ง ๆ ประกอบดว ย

5 สีขั้นท่ี 1 (Primary Color) คือ แมส ีพ้นื ฐาน มี 3 สี ไดแก 1. สีเหลอื ง (Yellow) สแี ดง 2. สีแดง (Red) 3. สีน้ําเงนิ (Blue) สีน้ําเงิน สีเหลือง สีขนั้ ท่ี 2 (Secondary color) คอื สที ่ีเกดิ จากสขี นั้ ท่ี 1 หรอื แมส ีผสมกนั ในอัตราสว นทีเ่ ทา กัน จะทําใหเ กดิ สใี หม 3 สี ไดแ ก 1. สสี ม (Orange) เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกบั สีเหลอื ง (Yellow) 2. สีมวง (Violet) เกดิ จาก สแี ดง (Red) ผสมกับสีนา้ํ เงิน (Blue) 3. สเี ขียว (Green) เกดิ จาก สีเหลือง (Yellow) ผสมกบั สนี าํ้ เงิน (Blue) สีสม สีมว ง สีเขียว สีข้นั ท่ี 3 (Intermediate Color) คือสที ่เี กิดจากการผสมกนั ระหวา งแมส ีกับสีข้นั ท่ี 2 จะเกิดสขี ั้นที่ 3 ข้ึนอกี 6 สี ไดแก 1. สีนา้ํ เงนิ มว ง ( Violet-blue) เกดิ จาก สีน้ําเงิน (Blue) ผสมสีมวง (Violet) 2. สเี ขียวนา้ํ เงิน ( Blue-green) เกดิ จาก สีนาํ้ เงิน (Blue) ผสมสีเขยี ว (Green) 3. สเี หลืองเขยี ว ( Green-yellow)เกดิ จาก สเี หลอื ง(Yellow) ผสมกบั สีเขยี ว (Green) 4. สสี มเหลือง ( Yellow-orange)เกิดจาก สเี หลอื ง (Yellow) ผสมกับสสี ม (Orange) 5. สีแดงสม ( Orange-red) เกิดจาก สแี ดง (Red) ผสมกบั สสี ม (Orange) 6. สีมวงแดง ( Red-violet) เกดิ จาก สแี ดง (Red) ผสมกับสีมว ง (Violet)

6 สีมวงแดง สีแดงสม สีนํ้าเงินมว ง สีสมเหลือง สีเขียวนาํ้ เงนิ สีเหลืองเขยี ว เราสามารถผสมสเี กิดขึ้นใหมไดอีกมากมายหลายรอยสีดวยวิธีการเดียวกันนี้ ตามคุณลักษณะของสีท่ีจะกลาว ตอไป จะเห็นไดว า สที ง้ั 3 ขั้นตามทฤษฎสี ดี ังกลาว มีผลทําใหเราสามารถนํามาใชเปนหลักในการเลือกสรรสี สาํ หรับงานสรางสรรคข องเราได ซ่ึงงานออกแบบมิไดถูกจํากัดดวยกรอบความคิดของทฤษฎีตามหลักวิชาการ เทา นั้น แตเ ราสามารถคิดออกนอกกรอบแหงทฤษฎีน้ัน ๆ ได เทาที่มันสมองของเราจะเคนความคิดสรางสรรค ออกมาได ภาพวงจรสี 12 สี

7 คณุ ลกั ษณะของสมี ี 3 ประการ คือ 1. สีแท หรือความเปนสี (Hue) หมายถึง สีที่อยูในวงจรสีธรรมชาติ ทั้ง 12 สี (ดูภาพสี 12 สีในวงจรสี ประกอบ) สี ทเ่ี ราเหน็ อยูทุกวนั นแ้ี บง เปน 2 วรรณะ โดยแบง วงจรสีออกเปน 2 สวน จากสีเหลืองวนไปถึงสีมวง คอื 1. สีวรรณะรอน (Warm Color) ใหความรูสึกรุนแรง รอน ตื่นเตน ประกอบดวย สีเหลือง สเี หลืองสม สสี ม สแี ดงสม สีแดง สมี ว งแดง สมี วง 2. สีวรรณะเย็น (Cool Color) ใหความรูสึกเย็น สงบ สบายตาประกอบดวย สีเหลือง สีเขยี วเหลือง สีเขยี ว สีนาํ้ เงินเขียว สีนาํ้ เงิน สีมวงนํา้ เงิน สีมว ง เราจะเหน็ วา สีเหลือง และสมี ว ง เปน สีท่ีอยูไดทั้ง 2 วรรณะ คอื สกี ลางทเ่ี ปน ไดทง้ั สีรอ น และสเี ยน็ 2. ความจัดของสี (Intensity) หมายถึง ความสด หรอื ความบริสุทธิ์ของสีใดสีหน่ึง และสีท่ีถูกผสมดวย สีดําจนหมนลง ความจัดหรือความบริสุทธ์ิจะลดลงความจัดของสีจะเรียงลําดับจากจัดท่ีสุด ไปจนหมนท่ีสุด ไดหลายลาํ ดับ ดวยการคอยๆ เพิ่มปริมาณของสีดาํ ทีผ่ สมเขา ไปทลี ะนอ ยจนถงึ ลาํ ดับท่ีความจัดของสีมีนอยที่สุด คอื เกือบเปน สดี ํา 3. น้ําหนักของสี (Values) หมายถึง สีที่สดใส (Brightness) สีกลาง (Grayness) สีทึบ(Darkness) ของ สแี ตล ะสี สที ุกสีจะมีนํา้ หนกั ในตวั เอง ถา เราผสมสขี าวเขา ไปในสใี ดสหี น่ึง สีน้ันจะสวางขนึ้ หรอื มีนํ้าหนักออน ลงถาเพิ่มสีขาวเขาไปทีละนอยๆ ตามลําดับเราจะไดน้ําหนักของสีท่ีเรียงลําดับจากแกสุดไปจนถึงออนสุด นํ้าหนักออนแกของสี เกิดจากการผสมดวยสีขาว เทา และดํานํ้าหนักของสีจะลดลงดวยการใชสีขาวผสม (tint) ซึ่งจะทําให เกดิ ความรูสกึ นมุ นวล ออนหวาน สบายตา นํา้ หนกั ของสีจะเพิ่มข้ึนปานกลางดวยการใชสีเทา ผสม (tone) ซงึ่ จะทําใหค วามเขมของสีลดลง เกิดความรูสึก ที่สงบ ราบเรียบ และน้ําหนักของสีจะเพิ่มข้ึนมาก ขน้ึ นดว ยการใชสดี าํ ผสม (shade) ซง่ึ จะทําใหค วามเขม ของสลี ดความสดใสลง เกดิ ความรูสกึ ขรมึ ลกึ ลบั น้าํ หนัก ของสียังหมายถึงการเรียงลําดับนํ้าหนักของสีแทดวยกันเอง โดยเปรียบเทียบน้ําหนักออนแกกับสีขาว - ดํา เราสามารถเปรยี บเทียบระหวางภาพสีกับภาพขาวดําไดอยางชัดเจนและเม่ือเรานําภาพสีที่เราเห็นวามีสีแดงอยู หลายคา ต้งั แตอ อน กลาง แก ไปถายเอกสารขาว - ดํา เมื่อนํามาดูจะพบวา สีแดงจะมีนํ้าหนักออน แกต้ังแตขาว เทา ดาํ น่ันเปนเพราะวาสีแดงมีนา้ํ หนกั ของสีแตกตา งกันน่นั เอง สตี า งๆ ท่ีเราสัมผสั ดวยสายตา จะทําใหเ กิดความรูส กึ ขนึ้ ภายในตอเรา ทนั ทีที่เรามองเห็นสี ไมวาจะเปน การแตง กาย บานทีอ่ ยูอาศัย เคร่ืองใชตา งๆ แลว เราจะทาํ อยา งไร จงึ จะใชสีไดอยางเหมาะสม และสอดคลองกับ หลกั จิตวิทยา เราจะตองเขา ใจวาสใี ดใหค วามรสู กึ ตอมนุษยอยา งไร ซ่ึงความรูส ึกทเ่ี กีย่ วกบั สีสามารถจาํ แนกออก ไดด งั นี้ สีแดง ใหความรูสึกรอน รุนแรง กระตุน ทาทาย เคลื่อนไหว ต่ืนเตน เราใจ มีพลัง ความอุดมสมบูรณ ความม่งั คงั่ ความรัก ความสําคัญ และอันตรายจะทําใหเ กดิ ความอุดมสมบรู ณเ ปนตน

8 สสี ม ใหค วามรูสึก รอน อบอุน สดใส มีชีวิตชีวา วัยรุน ความคึกคะนอง และการปลดปลอย สีเหลือง ใหความรูสึก แจม ใส ราเรงิ เบกิ บานสดช่ืน ชวี ติ ใหม ความสุกสวาง สีเขียว ใหความรูสึก งอกงาม สดชื่น สงบ เงยี บรม รืน่ รม เย็น การพกั ผอน การผอนคลายธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม เยอื กเย็น สีเขียวแก ใหความรูสึก เศราใจ แกชรา สีนํ้าเงิน ใหความรูสึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแนน เครงขรึม เอาการเอางาน ละเอยี ด รอบคอบ สงา งาม มศี ักด์ิศรี สงู ศกั ดิ์ เปนระเบียบถอ มตน สีฟา ใหค วามรูสึก ปลอดโปรง โลงกวาง โปรงใส สะอาด ปลอดภัย ความสวาง ลมหายใจ ความเปน อิสระเสรภี าพ การชว ยเหลือ สคี ราม จะทําใหเ กิดความรูส ึกสงบ สีมวง ใหความรูสึก มีเสนห นาติดตาม เรนลับ ซอนเรนมีอํานาจ มีพลังแฝงอยู ความรัก ความเศรา ความผดิ หวัง ความสงบ ความสงู ศกั ดิ์ สีนํ้าตาล ใหความรสู ึกเกา หนกั สงบเงยี บ สีขาว ใหความรูสึกบรสิ ทุ ธิ์ สะอาด ใหม สดใส สดี ํา ใหค วามรูสกึ หนัก หดหู เศรา ใจ ทึบตัน สีชมพู ใหความรูสึก อบอุน ออนโยน นุมนวล ออนหวาน ความรัก เอาใจใส วัยรุน หนุมสาว นารัก ความสดใส สเี ขียว จะทาํ ใหเ กดิ ความรสู ึกกระชมุ กระชวย เปนหนุมสาว สีเทา ใหความรูสึก เศรา อาลัย ทอแท ความลึกลับ ความหดหู ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพสุขุม ถอมตน สที อง ใหความรูสึก ความหรูหรา โออ า มีราคา สงู คา สงิ่ สาํ คัญ ความเจรญิ รุงเรอื ง ความสุข ความม่ังคั่ง ความราํ่ รวย การแผกระจาย จากความรูสึกดังกลาว เราสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดในทุกเร่ือง และเมื่อตองการ สรางผลงาน ท่เี ก่ยี วกบั การใชสี เพอ่ื ท่ีจะไดผ ลงานท่ีตรงตามความตอ งการในการส่ือความหมาย และจะชวยลด ปญหาในการตัดสนิ ใจท่ีจะเลอื กใชสตี างๆได เชน 1. ใชในการแสดงเวลาของบรรยากาศในภาพเขยี น เพราะสีบรรยากาศในภาพเขียนนน้ั ๆ จะแสดงใหรวู า เปน ภาพตอนเชา ตอนกลางวัน หรือตอนบา ย เปนตน 2. ในดา นการคา คอื ทาํ ใหสนิ คาสวยงาม นา ซ้ือหา นอกจากนี้ยงั ใชกบั งานโฆษณา เชน โปสเตอรตางๆ ชวยใหจ ําหนา ยสนิ คา ไดม ากข้ึน 3. ในดานประสิทธิภาพของการทํางาน เชน โรงงานอุตสาหกรรม ถาทาสีสถานที่ทํางานใหถูกหลัก จิตวิทยา จะเปนทางหน่ึงท่ีชวยสรางบรรยากาศใหนาทํางาน คนงานจะทํางานมากขึ้น มีประสิทธิภาพในการ ทํางานสูงขน้ึ 4. ในดานการตกแตงสีของหอง และสขี องเฟอรนิเจอร ชวยแกปญหาเร่ืองความสวางของหอง รวมทั้ง ความสุขในการใชหอง ถาเปนโรงเรียน เด็กจะเรียนไดผลดีขึ้น ถาเปนโรงพยาบาลคนไขจะหายเร็วขึ้น

9 นกั สรา งสรรคงานออกแบบจะเปน ผทู ีเ่ กย่ี วของกบั การใชสีโดยตรง มัณฑนากรจะคิดคนสีขึ้นมาเพ่ือใชในงาน ตกแตง คนออกแบบฉากเวทีการแสดงจะคิดคน สีเกย่ี วกับแสง จติ รกรกจ็ ะคดิ คนสขี ้ึนมาระบายใหเหมาะสมกับ ความคิด และจินตนาการของตน แลว ตวั เราจะคดิ คนสขี ้นึ มาเพอ่ื ความงาม ความสุข สําหรับเรามิไดหรือสีท่ีใช สาํ หรบั การออกแบบนน้ั ถาเราจะใชใหเ กิดความสวยงามตรงตามความตองการของเรา มีหลักในการใชกวางๆ อยู 2 ประการ คอื การใชสกี ลมกลนื กัน และ การใชสตี ดั กนั 1. การใชส กี ลมกลนื กนั การใชสีใหก ลมกลนื กนั เปนการใชส ีหรือน้ําหนกั ของสีใหใกลเ คยี งกัน หรือคลา ยคลงึ กัน เชน การใชสี แบบเอกรงค เปน การใชสีสีเดยี วท่ีมีนํา้ หนกั ออนแกหลายลาํ ดบั การใชส ีขางเคยี ง เปนการใชสีที่เคียงกัน 2 – 3 สี ในวงสี เชน สีแดง สีสมแดง และสีมวงแดง การใชสี ใกลเคยี ง เปนการใชส ีทอ่ี ยเู รียงกันในวงสไี มเกิน 5 สี ตลอดจนการใชสีวรรณะรอนและวรรณะเย็น (warm tone colors and cool tone colors) ดงั ไดกลาวมาแลว 2. การใชส ตี ัดกัน สีตัดกนั คือสีที่อยูตรงขา มกนั ในวงจรสี (ดภู าพวงจรสี ดา นซายมือประกอบ) การใชสี ใหตดั กนั มีความจําเปน มาก ในงานออกแบบ เพราะชวยใหเ กิดความนา สนใจในทนั ทีที่พบเห็น สีตัดกนั อยาง แทจริงมี อยดู ว ยกนั 6 คสู ี คอื 1. สีเหลือง ตรงขา มกบั สีมว ง เหลือง มวง 2. สสี ม ตรงขา มกบั สีนํา้ เงนิ สม นาํ้ เงิน 3. สีแดง ตรงขามกับ สเี ขยี ว แดง เขียว 4. สีเหลอื งสม ตรงขา มกับ สีมว งนํ้าเงนิ เหลอื งสม มว งน้าํ เงิน 5. สสี ม แดง ตรงขา มกบั นํ้าเงินเขยี ว สม แดง น้ําเงินเขยี ว 6. สีมวงแดง ตรงขามกับ สเี หลอื งเขียว มวงแดง เหลืองเขยี ว ในงานออกแบบ หรอื การจดั ภาพ หากเรารจู กั ใชส ใี หมีสภาพโดยรวมเปนวรรณะรอน หรือวรรณะเย็น เราจะ สามารถควบคุม และสรางสรรคผ ลงานใหเ กดิ ความประสานกลมกลนื งดงามไดงา ยขึ้น เพราะสีมีอิทธิพล ตอ มวล ปริมาตร และชอ งวาง สีมคี ณุ สมบตั ทิ ี่ทําใหเ กดิ ความกลมกลืน หรือขัดแยงได สีสามารถขับเนนใหเกิด จดุ เดน และการรวมกันใหเ กิดเปน หนวยเดยี วกนั ได เราในฐานะผใู ชสีตอ งนาํ หลกั การตา งๆ ของสไี ปประยุกตใ ช ใหสอดคลอ ง กบั เปา หมายในงานของเรา เพราะสีมผี ลตอ การออกแบบ คอื

10 1. สรา งความรูส กึ สใี หค วามรูสึกตอผูพบเหน็ แตกตา งกนั ไป ทั้งนีข้ นึ้ อยูกบั ประสบการณ และภูมิหลัง ของแตล ะคน สบี างสีสามารถรักษาบาํ บดั โรคจิตบางชนิดได การใชส ภี ายใน หรือภายนอกอาคาร จะมีผลในการ สรางบรรยากาศได 2. สรางความนาสนใจ สีมีอิทธิพลตองานศิลปะการออกแบบ จะชวยสรางความประทับใจ และ ความนา สนใจเปน อนั ดบั แรกที่พบเหน็ 3. สบี อกสัญลกั ษณข องวตั ถุ ซึ่งเกดิ จากประสบการณ หรือภูมิหลัง เชน สีแดงสัญลักษณของไฟ หรือ อนั ตราย สเี ขียวสัญลักษณแ ทนพืช หรือความปลอดภยั เปนตน 4. สีชวยใหเกิดการรับรู และจดจํา งานศิลปะการออกแบบตองการใหผูพบเห็นเกิดการจดจํา ในรปู แบบ และผลงาน หรือเกิดความประทบั ใจ การใชส ีจะตองสะดดุ ตา และมีเอกภาพ แสงและเงา แสงและเงา หมายถงึ แสงท่สี องมากระทบพ้นื ผวิ ทม่ี สี อี อนแกแ ละพน้ื ผวิ สงู ต่ํา โคงนูนเรียบหรือขรุขระ ทําใหปรากฏแสงและเงาแตกตา งกนั ตัวกาํ หนดระดับของคานํ้าหนกั ความเขมของเงาจะข้ึนอยกู บั ความเขม ของแสง ในท่ีท่ีมีแสงสวางมาก เงาจะเขมขึ้นและในทท่ี ม่ี ีแสงสวา งนอ ย เงาจะไมชัดเจน ในทีท่ ่ไี มมแี สงสวา งจะไมมเี งา และเงาจะอยูในทางตรง ขา มกับแสงเสมอ คาน้าํ หนกั ของแสงและเงาทเ่ี กิดบนวัตถสุ ามารถจําแนกเปนลกั ษณะทตี่ า ง ๆ ไดด ังน้ี 1. บริเวณแสงสวางจดั (Hi-light) เปนบรเิ วณทอี่ ยูใกลแหลง กาํ เนดิ แสงมากท่ีสุดจะมีความสวางมาก ทส่ี ดุ วตั ถทุ ่ีมผี วิ มันวาวจะสะทอ นแหลง กําเนดิ แสงออกมาใหเห็นไดชดั 2. บรเิ วณแสงสวา ง (Light) เปนบรเิ วณท่ีไดร ับแสงสวา ง รองลงมาจากบรเิ วณแสงสวางจัด เนื่องจาก อยหู า งจากแหลง กําเนิดแสงออกมา และเร่มิ มคี านํ้าหนักออน ๆ 3. บริเวณเงา (Shade) เปนบริเวณทไี่ มไดร ับแสงสวาง หรอื เปน บรเิ วณที่ถกู บดบงั จากแสงสวา ง ซงึ่ จะ มคี าน้ําหนักเขมมากขึ้นกวา บรเิ วณแสงสวาง 4. บรเิ วณเงาเขม จัด (Hi-Shade) เปนบริเวณท่ีอยหู างจากแหลง กําเนิดแสงมากท่ีสุด หรือ เปนบริเวณ ท่ถี กู บดบังหลาย ๆ ชัน้ จะมีคานา้ํ หนักท่ีเขม มากไปจนถึงเขม ท่ีสดุ 5. บริเวณเงาตกทอด เปน บรเิ วณของพืน้ หลังที่เงาของวัตถุทาบลงไป เปน บรเิ วณเงาที่อยูภายนอกวัตถุ และจะมีความเขม ของคาน้ําหนกั ขึน้ อยูกับความเขมของเงา นา้ํ หนกั ของพื้นหลัง ทศิ ทางและระยะของเงา ความสาํ คญั ของคา นํา้ หนัก 1. ใหค วามแตกตา งระหวางรปู และพนื้ หรือรปู ทรงกับทว่ี าง 2. ใหค วามรสู ึกเคล่ือนไหว 3. ใหความรูสกึ เปน 2 มติ ิ แกรปู รา ง และความเปน 3 มติ แิ กร ปู ทรง 4. ทําใหเกดิ ระยะความต้ืน - ลึก และระยะใกล - ไกลของภาพ 5. ทําใหเ กิดความกลมกลนื ประสานกนั ของภาพ

11 กจิ กรรม 1. ใหน ักศึกษาใชเสนแบบตางๆตามแบบเรียนมาประกอบเปนภาพตามจนิ ตนาการ ลงในกระดาษเปลา ขนาด A4 จากนน้ั นํามาแสดงผลงานและแลกเปลย่ี นกนั ชมและวจิ ารณ กนั ในชน้ั เรียน 2. นําผลงานจากขอ1 เก็บในแฟม สะสมผลงาน

12 เร่ืองที่ 2 ทศั นศลิ ปสากล ความหมายของศลิ ปะและทัศนศิลป ศิลปะหมายถึง ผลแหงความคิดสรางสรรคของมนุษยที่แสดงออกมาในรูปลักษณตางๆใหปรากฏ ซึ่งความสุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือความสะเทือนอารมณ ตามประสบการณ รสนิยม และทักษะของ บคุ คลแตล ะคนนอกจากน้ียงั มนี กั ปราชญ นกั การศกึ ษา ทา นผูรู ไดใหความหมายของศิลปะแตกตางกันออกไป เชน การเลียนแบบธรรมชาติ การแสดงออกของบุคลกิ ภาพทางอารมณของมนษุ ย ความสมั พนั ธระหวา งศิลปะกบั มนุษย การสรางสรรคทางศิลปะของมนุษยเปนกิจกรรมในการพัฒนาสติปญญาและอารมณที่มีมาตั้งแตสมัย โบราณตง้ั แตยุคหนิ หรอื ประมาณ 4,000 - 5,000 ปลว งมาแลว นบั ต้ังแตม นษุ ยอาศัยอยูในถาํ้ เพิงผา ดํารงชีวิตดวย การลาสัตวแ ละหาของปาเปนอาหาร โดยมากศลิ ปะจะเปนภาพวาด ซ่ึงปรากฏตามผนังถํ้าตางๆ เชน ภาพวัวไบ ซัน ที่ถา้ํ อลั ตาริมา ในประเทศสเปน ภาพสตั วช นิดตาง ๆ ทถี่ ้ําลาสโคซ ในประเทศฝร่ังเศส สําหรับประเทศไทย ทพ่ี บเห็น เชนผาแตม จงั หวดั อุบลราชธานี ภาชนะเครื่องปนดนิ เผา ทบ่ี านเชียง จงั หวดั อดุ รธานี

13 ประเภทของงานทศั นศลิ ป สามารถแบง ออกเปน 4 ประเภท คอื 1. จิตรกรรม 2. ประตมิ ากรรม 3. สถาปต ยกรรม 4. ภาพพิมพ งานจิตรกรรม เปนงานศิลปะที่แสดงออกดวยการวาด ระบายสี และการจัดองคประกอบความงาม เพ่อื ใหเ กดิ ภาพ 2 มิติ ไมมีความลึกหรอื นนู หนา จติ รกรรมเปนแขนงหน่ึงของทัศนศิลป ผูทํางานดานจิตรกรรม จะเรยี กวา จติ รกร จอหน แคนาเดย (John Canaday) ไดใหความหมายของจติ รกรรมไววา จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของ สีลงบนพน้ื ระนาบรองรับเปน การจดั รวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดข้ึนจากการเตรียมการของศิลปนแตละคน ในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท อธิบายวา เปนการสรางงานทัศนศิลปบนพื้นระนาบรองรับ ดวยการ ลากปาย ขดี ขดู วัสดจุ ิตรกรรมลงบนพ้นื ระนาบรองรับ ภาพจติ รกรรมที่เกา แกทส่ี ุดทเ่ี ปนทรี่ ูจกั อยูทถ่ี ํา้ Chauvet ในประเทศฝร่ังเศส ซึ่งนักประวตั ศิ าสตรบ างคน อางวามอี ายรุ าว 32,000 ปเ ปน ภาพท่ีสลกั และระบายสดี ว ยโคลนแดงและสียอมดํา แสดงรูปมา แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนษุ ยท่ีกาํ ลังลา สัตว จติ รกรรม สามารถจําแนกไดตามลักษณะผลงาน และ วัสดุอุปกรณการสรางสรรคเปน 2 ประเภท คือ ภาพวาด และ ภาพเขยี น

14 จิตรกรรมภาพวาด (Drawing) เปนศัพททัศนศิลป คือ ภาพวาดเสน หรือบางทานอาจเรียกดวยคําทับ ศัพทว า ดรออง้ิ ปจ จุบันไดมีการนําอุปกรณ และเทคโนโลยีท่ีใชในการเขียนภาพและวาดภาพ ที่กาวหนาและ ทนั สมยั มากมาใช ผูเ ขียนภาพจึงอาจจะใชอ ปุ กรณตางๆมาใชในการเขียนภาพ ภาพวาดในส่ือส่ิงพิมพ สามารถ แบงออกไดเปน 2 ประเภท คอื ภาพวาดลายเสน และ การตนู จิตรกรรมภาพเขียน (Painting) ภาพเขยี นเปน การสรางงาน 2 มิติบนพื้นระนาบดวยสีหลายสี เชน สีน้ํา สนี า้ํ มัน สฝี นุ สชี อลค หรือสอี ะคริลคิ ซ่งึ ผลงานทางดา นจติ รกรรมภาพเขยี นของสแี ตละชนดิ จะมคี วามแตกตาง กัน เชน 1. การเขียนภาพสนี ํา้ (Color Painting) 2. การเขยี นภาพสนี า้ํ มัน (Oil Painting)

15 3. การเขียนภาพสอี ะคริลิค (Acrylic Painting) งานประตมิ ากรรม เปนผลงานดานศลิ ปทีแ่ สดงออกดวยการสรางรูปทรง 3 มิติ ท่ีมีปริมาตร มีนํ้าหนัก และกินเนื้อท่ีในอากาศ โดยการใชวัสดุชนิดตาง ๆ วัสดุท่ีใชสรางสรรคงานประติมากรรม จะเปนตัวกําหนด วิธีการสรางผลงาน ความงามของงานประตมิ ากรรม ทาํ ได 4 วธิ ี คือ 1. การปน (Casting) เปนการสรา งรูปทรง 3 มิติ จากวสั ดุ ท่ีมีความเหนียว ออนตัว และยึดจับตัวกันไดดี วัสดุท่นี ิยมนาํ มาใชป น ไดแก ดนิ เหนียว ดนิ น้ํามัน ปนู แปง ขี้ผงึ้ กระดาษ หรือ ข้เี ลื่อยผสมกาว เปนตน 2. การแกะสลัก (Carving) เปนการสรา งรปู ทรง 3 มิติ จากวัสดุที่ แขง็ เปราะ โดยอาศัย เคร่ืองมือ วัสดุ ทนี่ ยิ มนํามาแกะ ไดแก ไม หนิ กระจก แกว ปนู ปลาสเตอร เปนตน งานแกะสลักไม

16 3. การหลอ (Molding) การสรางรูปผลงานท่ีมีทรง 3 มิติ จากวัสดุท่ีหลอมตัวไดและกลับแข็งตัวได โดยอาศัยแมพิมพ ซ่ึงสามารถทําใหเกิดผลงานท่ีเหมือนกันทุกประการตั้งแต 2 ช้ิน ขึ้นไป วัสดุที่นิยมนํามา ใชห ลอ ไดแ ก โลหะ ปนู แกว ข้ีผง้ึ เรซ่ิน พลาสตกิ ฯลฯ 4. การประกอบข้ึนรูป (Construction) การสรางผลงานท่ีมีรูปทรง 3 มิติ โดยการนําวัสดุตาง ๆ มา ประกอบเขาดว ยกนั และยดึ ตดิ กนั ดว ยวสั ดตุ า ง ๆ การเลอื กวธิ กี ารสรางสรรคง านประตมิ ากรรม ขึน้ อยูกับวัสดุท่ี ตอ งการใชใ นงานประตมิ ากรรม ไมว าจะสรา งขนึ้ โดยวธิ ีใด ผลงานทางดานประติมากรรม จะมอี ยู 3 ลักษณะ คอื แบบนนู ตํ่า แบบนนู สูง และแบบลอยตวั ผูสรา งสรรคงานประติมากรรม เรียกวา ประตมิ ากร ประเภทของงานประติมากรรม 1. ประตมิ ากรรมแบบนนู ตา่ํ (Bas Relief) เปนรูปปนที่นนู ขึ้นมาจากพ้ืนหรอื มพี ้ืนหลงั รองรบั มองเห็น ไดชัดเจนเพียงดานเดียว คอื ดา นหนา มคี วามสงู จากพ้ืนไมถ งึ ครง่ึ หนงึ่ ของรูปจริง ไดแกรูปนูนบนเหรียญรูปนูน ท่ีใชป ระดบั ตกแตงภาชนะ รูปนูนทใ่ี ชป ระดับตกแตงบรเิ วณฐานอนุสาวรยี  หรอื พระเครื่องบางองค 2. ประตมิ ากรรมแบบนูนสูง ( High Relief ) เปนรปู ปน แบบตา ง ๆ มลี ักษณะเชนเดียวกับแบบ นูนตํ่า แตมีความสูงจากพื้นตั้งแตคร่ึงหน่ึงของรูปจริงขึ้นไป ทําใหเห็นลวดลายท่ีลึก ชัดเจน และ และเหมือนจริง มากกวาแบบนูนแตใ ชงานแบบเดียวกบั แบบนนู ตํา่ 3. ประตมิ ากรรมแบบลอยตัว ( Round Relief ) เปนรูปปน แบบตาง ๆ ท่ีมองเห็นไดรอบดานหรือ ต้ังแต 4 ดา นข้ึนไป ไดแก ภาชนะตา ง ๆ รปู เคารพตาง ๆ พระพุทธรปู เทวรูป รูปตามคตินิยม รูปบคุ คลสาํ คัญ รปู สัตว ฯลฯ

17 สถาปต ยกรรม (Architecture) หมายถึง การออกแบบผลงานทางทัศนศิลปที่เปนการกอสรางสิ่งตาง ๆ คนทั่วไปอยูอาศัยไดแ ละอยูอ าศัยไมไ ด เชน สถปู เจดยี  อนสุ าวรีย บา นเรือนตา ง ๆ เปนตน นอกจากนี้ยังรวมถึง การกําหนดผังบริเวณตาง ๆ เพ่ือใหเกิดความสวยงามและเปนประโยชนแกการใชสอยตามตองการงาน สถาปตยกรรมเปนแหลงรวมของงานศิลปะทางกายภาพเกือบทุกชนิด และมักมีรูปแบบแสดงเอกลักษณของ สงั คมนั้น ๆ ในชวงเวลาน้ัน ๆ เราแบง ลกั ษณะงานของสถาปตยกรรมออกไดเ ปน 3 แขนง ดงั น้คี ือ 1. สถาปตยกรรมออกแบบกอ สรา ง เชน การออกแบบสรา งตกึ อาคาร บานเรือน เปน ตน 2. ภูมสิ ถาปตย เชน การออกแบบวางผัง จดั บรเิ วณ วางผังปลกู ตนไม จดั สวน เปนตน 3. สถาปตยกรรมผังเมือง ไดแก การออกแบบบริเวณเมืองใหมีระเบียบ มีความสะอาด และถูกหลัก สขุ าภิบาล เราเรียกผสู รางงานสถาปต ยกรรมวา สถาปนกิ องคป ระกอบสาํ คัญของสถาปตยกรรม จุดสนใจและความหมายของศาสตรทางสถาปต ยกรรมนัน้ ไดเ ปล่ยี นแปลงไปตามยุคสมัย บทความ De Architectura ของวิทรูเวียส ซึ่งเปนบทความเก่ียวกับสถาปตยกรรม ที่เกาแกที่สุด ท่ีเราคน พบ ไดก ลาวไวว า สถาปต ยกรรมตอ งประกอบดว ยองคประกอบสามสวนหลักๆ ทผี่ สมผสานกนั อยางลง ตวั และสมดุล อนั ไดแ ก ความงาม (Venustas) หมายถงึ สดั สว นและองคป ระกอบ การจดั วางทว่ี าง สี วัสดุและพ้ืนผิวของอาคาร ทผี่ สมผสานลงตวั ทย่ี กระดับจติ ใจของผไู ดย ลหรือเยยี่ มเยือนสถานทีน่ น้ั ๆ ความม่ันคงแข็งแรง (Firmitas) และประโยชนใชสอย (Utilitas) หมายถึง การสนองประโยขนและ การบรรลปุ ระโยชนแหงเจตนา รวมถึงปรัชญาของสถานท่นี นั้ ๆ

18 สถาปตยกรรมตะวนั ตก ตัวอยางเชน บานเรือน โบสถ วิหาร ปราสาท ราชวัง ซ่ึงมีท้ังสถาปตยกรรมแบบโบราณ เชน กอธิก ไบแซนไทน จนถึงสถาปต ยกรรมสมยั ใหม ศิลปะภาพพมิ พ ( Printmaking) ภาพพมิ พ โดยความหมายของคํายอมเปนท่ีเขาใจชัดเจนแลววา หมายถึงรูปภาพท่ีสรางข้ึนมา โดยวิธี การพิมพ แตสําหรับคนไทยสวนใหญเม่ือพูดถึงภาพพิมพอาจจะยังไมเปนที่รูจักวาภาพพิมพ คืออะไรกันแน เพราะคําๆนี้เปนคําใหมที่เพ่งิ เริ่มใชกนั มาประมาณเม่ือ 30 ป มานเ้ี อง โดยความหมายของคาํ เพียงอยา งเดียว อาจจะชวนใหเขาใจสับสนไปถึงรูปภาพทีพ่ ิมพดว ยกรรมวิธี การพมิ พทางอตุ สาหกรรม เชน โปสเตอร ภาพพิมพทจ่ี ําลองจากภาพถาย หรือภาพจําลองจิตรกรรมอนั ทีจ่ ริง คาํ วา ภาพพิมพ เปน ศพั ทเฉพาะทางศลิ ปะที่ หมายถงึ ผลงานวจิ ิตรศิลปท ่ีจดั อยใู นประเภท ทศั นศิลป เชน เดยี วกนั กับจิตรกรรมและประติมากรรม ภาพพิมพท ั่วไป มลี ักษณะเชน เดยี วกับจติ รกรรมและภาพถา ย คอื ตวั อยา งผลงานมเี พียง 2 มิติ สวนมิติท่ี 3 คอื ความลึกทจ่ี ะเกิดขึ้นจากการใชภ าษาเฉพาะของทัศนศิลป อันไดแก เสน สี นํ้าหนัก และพื้นผิว สรางใหดู ลวงตาลึกเขาไปในระนาบ 2 มติ ิของผิวภาพ แตภ าพพมิ พมีลักษณะเฉพาะท่ีแตกตางจากจิตรกรรมตรงกรรมวิธี การสรางผลงาน ที่ผลงานจิตรกรรมน้ันศิลปนจะเปนผูสรางสรรคขีดเขียน หรือวาดภาพระบายสีลงไปบน ผืนผาใบ หรือกระดาษ โดยสรางออกมาเปนภาพทันที แตการสรางผลงานภาพพิมพศิลปนตองสรางแมพิมพ ขน้ึ มาเปน สอื่ กอน แลวจงึ ผา นกระบวนการพิมพ ถายทอดออกมาเปน ภาพทต่ี องการได กรรมวิธีในการสรางผลงานดวยการพิมพนี้เอง ท่ีทําใหศิลปนสามารถสรางผลงานที่เปนตนแบบ (Original) ที่เหมือนๆกันไดหลายชิ้น เชนเดียวกับผลงานประติมากรรมประเภทท่ีปนดวยดินแลวทําแมพิมพ หลอ ผลงานชน้ิ น้นั ใหเปนวัสดุถาวร เชน ทองเหลือง หรือสําริด ทุกช้ินท่ีหลอออกมาถือวาเปนผลงานตนแบบ มิใชผ ลงานจําลอง (Reproduction) ท้ังนี้เพราะวาภาพพิมพน้ันก็มิใชผลงานจําลองจากตนแบบท่ีเปนจิตรกรรม หรือวาดเสน แตภาพพิมพเปนผลงานสรางสรรคที่ศิลปนมีทั้งเจตนาและความเชี่ยวชาญในการใชคุณลักษณ พเิ ศษเฉพาะของเทคนคิ วธิ ีการทางภาพพิมพแตละชนิดมาใชในการถายทอดจินตนาการ ความคิด และอารมณ

19 ความรสู ึกออกมาในผลงานไดโดยตรง แตกตางกับการท่ีนําเอาผลงานจิตรกรรมที่สรางสําเร็จไวแลวมาจําลอง เปน ภาพโดยผา นกระบวนการทางการพมิ พ ในการพมิ พผลงานแตละช้ิน ศิลปนจะจํากัดจํานวนพิมพตามหลักเกณฑสากล ท่ีศิลปสมาคมระหวาง ชาติ ซ่ึงไทยกเ็ ปนสมาชิกอยดู วย ไดก ําหนดไวโดยศลิ ปน ผสู รา งผลงานจะเขียนกํากับไวที่ดานซายของภาพเชน 3/30 เลข 3 ตัวหนาหมายถึงภาพท่ี 3 สวนเลข 30 ตัวหลังหมายถึงจํานวนที่พิมพท้ังหมด ในภาพพิมพบางชิ้น ศลิ ปน อาจเซน็ คาํ วา A/P ไวแทนตวั เลขจํานวนพิมพ A/P นี้ยอมาจาก Artist's Proof ซ่ึงหมายความวา ภาพ ๆ นี้ เปนภาพที่พมิ พขน้ึ มา หลงั จากทศ่ี ิลปนไดมกี ารทดลองแกไ ข จนไดค ุณภาพสมบูรณตามท่ีตองการ จึงเซ็นรบั รอง ไวหลังจากพิมพ A/P ครบตามจํานวน 10% ของจํานวนพิมพท้ังหมด จึงจะเริ่มพิมพใหครบตามจํานวนเต็ม ท่กี าํ หนดไว หลังจากน้นั ศิลปน จะทําลาย แมพ ิมพท ิ้งดว ยการขดู ขีด หรือวิธีการอื่นๆ โดยจะพิมพภาพสุดทายนี้ ไวเพ่ือเปนหลักฐาน เรยี กวา Cancellation Proof สดุ ทายศิลปนจะเซ็นท้ังหมายเลขจํานวนพิมพ วันเดือนป และ ลายเซ็นของศิลปน เองไวดา นลา งขวาของภาพเพ่ือเปนการรับรองคุณภาพดวยทุกชิ้น จํานวนพิมพนี้อาจจะมาก หรอื นอ ยขน้ึ อยูกบั ความนิยมของ “ ตลาด ” และปจ จยั อนื่ ๆอีกหลายประการ สําหรับศิลปนไทยสวนใหญจะจํากัดจํานวนพิมพไวคอนขางต่ําประมาณ 5-10 ภาพ ตอผลงาน 1 ชิ้น กฎเกณฑท ่ศี ลิ ปนทว่ั โลกถือปฏิบัตกิ ันเปน หลักสากลนี้ยอ มเปน การรกั ษามาตรฐานของภาพพิมพไว อันเปนการ สง เสริมภาพพมิ พใหแ พรห ลายและเปนทีย่ อมรับกันโดยท่วั ไป รูปแบบของศลิ ปะภาพพมิ พในดานเทคนิค 1. กรรมวิธีการพิมพผ ิวนนู (Relief Process) 2. กรรมวธิ ีการพมิ พรอ งลึก (Intaglio Process ) 3. กรรมวธิ ีการพมิ พพืน้ ราบ (Planography Process 4. กรรมวธิ กี ารพมิ พผ า นชองฉลุ (Serigraphy) 5. กรรมวธิ ีการพิมพเ ทคนิคผสม (Mixed Tecniques) 6. การพมิ พว ิธพี นื้ ฐาน (Basic Printing)

20 รูปแบบของศลิ ปะภาพพิมพในทางทฤษฎีสุนทรยี ศาสตร 1. รปู แบบแสดงความเปน จริง (Figuration Form) 2. รูปแบบผันแปรความเปนจรงิ (Semi - Figuration Form) 3. รปู แบบสญั ลกั ษณ (Symbolic Form) 4. รูปแบบทปี่ ราศจากเนอ้ื หา (Non - Figuration Form) ความสาํ คัญของเนอื้ หา 1. กระบวนการสรา งแมพ มิ พ ในงานศิลปะภาพพิมพ มีหลายลักษณะและแตละลักษณะจะมีความเปน เอกลักษณเ ฉพาะของเทคนิค ซึ่งแตละเทคนิคสามารถตอบสนองเน้อื หาในทางศลิ ปะไดต ามผลของเทคนคิ นน้ั ๆ เชน กรรมวิธกี ารพมิ พรองลกึ สามารถถายทอดเน้อื หาในเรอ่ื งพ้นื ผิว (TEXTURE) ไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพทส่ี ุด 2. ในทฤษฎที างสุนทรยี ศาสตรท าํ ใหแยกแยะถึงรปู แบบในทางศิลปะในแบบตา ง ๆ เพ่ือใหท ราบถึง วิธีการแสดงออกในรูปแบบตาง ๆ ของศิลปนได กิจกรรม 1. ใหน ักศกึ ษาทดลองเขียนภาพจิตรกรรมดวยสีน้าํ หรือสีตา ง ๆ ในการเขยี นภาพระบายสี โดยอาจเปน ภาพทวิ ทศั น ภาพผกั หรือผลไมก็ได 2. ใหน ักศกึ ษานําดนิ เหนยี วหรอื ดนิ นาํ้ มันมาปน เปนรปู คน สตั ว หรือผลไม โดยมสี ว นสูงไมต่ํากวา 20 เซนตเิ มตร 3. ใหนาํ ผลงานจากขอ 1และขอ 2 มาแสดงในชัน้ เรยี นและใหอ าจารยแ ละเพื่อนนกั ศกึ ษารว มกนั อภปิ ราย

21 เรือ่ งท่ี 3 การวพิ ากษว จิ ารณง านทศั นศิลป ความหมาย การวเิ คราะหงานศลิ ปะ หมายถึง การพจิ ารณาแยกแยะศึกษาองคป ระกอบของผลงานศิลปะออก เปน สวน ๆ ทลี ะประเด็น ทงั้ ในดานทัศนธาตุ องคประกอบศลิ ป และความสมั พันธตา งๆในดานเทคนคิ กรรมวธิ ี การสรางสรรคผ ลงาน เพ่อื นาํ ขอมลู ทีไ่ ดม าประเมินผลงานศลิ ปะ แตละชนิ้ วา มคี ุณคา ทางดานความงาม ทางดาน สาระและทางดา นอารมณ และความรสู ึกอยา งไร การวจิ ารณงานศลิ ปะ หมายถึง การแสดงออกทางดา นความคดิ เห็นตอผลงานทางศลิ ปะทศ่ี ิลปน สรา งสรรคข้ึน โดยผวู จิ ารณใ หค วามคดิ เหน็ ตามหลักเกณฑและหลักการของศิลปะ ทง้ั ในดา นสุนทรียศาสตร และสาระอน่ื ๆ ดว ยการตชิ ม เพ่ือใหไดข อคดิ นาํ ไปปรับปรงุ พัฒนาผลงานศลิ ปะ หรือใชเปน ขอมูลในการ ประเมนิ ตัดสินผลงาน เปรยี บเทียบใหเ หน็ คณุ คาในผลงานศลิ ปะชิน้ น้นั ๆ คุณสมบัติของนกั วจิ ารณ 1. ควรมคี วามรเู กีย่ วกบั ศลิ ปะท้งั ศลิ ปะประจาํ ชาติและศลิ ปะสากล 2. ควรมคี วามรูเก่ยี วกับประวตั ศิ าสตรศิลปะ 3. ควรมคี วามรเู กยี่ วกบั สนุ ทรียศาสตร ชว ยใหร ูแงม ุมของความงาม 4. ตอ งมีวิสัยทศั นกวา งขวาง และไมคลอยตามคนอนื่ 5. กลา ทีจ่ ะแสดงออกท้งั ท่ีเปนไปตามหลกั วชิ าการและตามความรูสึกและประสบการณ

22 ทฤษฎีการสรา งงานศิลปะ จดั เปน 4 ลักษณะ ดังนี้ 1. นิยมการเลียนแบบ (Imitationalism Theory) เปน การเห็นความงามในธรรมชาตแิ ลวเลยี นแบบไวให เหมือนทง้ั รปู ราง รูปทรง สีสัน ฯลฯ 2. นิยมสรางรูปทรงท่ีสวยงาม (Formalism Theory) เปนการสรางสรรครูปทรงใหมใหสวยงามดวย ทัศนธาตุ (เสน รปู ราง รูปทรง สี นาํ้ หนกั พน้ื ผิว บรเิ วณวา ง) และเทคนคิ วธิ กี ารตา งๆ 3. นิยมแสดงอารมณ (Emotional Theory) เปน การสรา งงานใหด ูมคี วามรสู ึกตางๆ ทัง้ ท่เี ปน อารมณอัน เนอ่ื งมาจากเรื่องราวและอารมณของศลิ ปนที่ถา ยทอดลงไปในชิ้นงาน 4. นิยมแสดงจนิ ตนาการ (Imagination Theory) เปน งานที่แสดงภาพจินตนาการ แสดงความคิดฝนที่ แตกตางไปจากธรรมชาตแิ ละส่งิ ท่ีพบเหน็ อยูเปน ประจาํ แนวทางการวเิ คราะหแ ละประเมินคณุ คา ของงานศลิ ปะ การวเิ คราะหแ ละการประเมนิ คุณคา ของงานศิลปะโดยท่ัวไปจะพจิ ารณาจาก 3 ดา น ไดแ ก 1. ดานความงาม เปนการวิเคราะหและประเมินคุณคาในดานทักษะฝมือ การใชทัศนธาตุทางศิลปะ และการจัด องคประกอบศิลปวา ผลงานช้ินนแ้ี สดงออกทางความงามของศลิ ปะไดอ ยา งเหมาะสมสวยงามและสงผลตอผู ดใู หเ กดิ ความชืน่ ชมในสนุ ทรยี ภาพเพียงใด ลักษณะการแสดงออกทางความงามของศิลปะจะมีหลากหลาย แตกตางกันออกไปตามรูปแบบของยุคสมัย ผูวิเคราะหและประเมินคุณคาจึงตองศึกษาใหมีความรู ความ เขา ใจทางดานศลิ ปะใหมากที่สดุ 2. ดานสาระ การวเิ คราะหและประเมนิ คุณคาของผลงานศลิ ปะแตล ะช้นิ วามีลักษณะสง เสริมคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนจุดประสงคตางๆ ทางจิตวิทยาวาใหสาระอะไรกับผูชมบาง ซ่ึงอาจเปนสาระเก่ียวกับธรรมชาติ สงั คม ศาสนา การเมือง ปญญา ความคดิ จนิ ตนาการ และความฝน เชน 3. ดา นอารมณความรสู ึก เปน การคดิ วิเคราะหและประเมินคณุ คา ในดานคณุ สมบัตทิ ีส่ ามารถกระตุนอารมณค วามรูส ึกและ ส่อื ความหมายไดอ ยางลกึ ซ้ึงของผลงาน ซง่ึ เปนผลจากการใชเ ทคนคิ ทแี่ สดงออกถงึ ความคดิ พลงั ความรูส กึ ในการสรา งสรรคข องศิลปน ทีเ่ ปนผูสราง

23 เรือ่ งที่ 4 ความงามตามธรรมชาติ ธรรมชาติ (Natural) หมายถึง ส่ิงท่ีปรากฏใหเห็นตามวัฏจักรของระบบสุริยะ โดยท่ีมนุษยมิไดเปน ผสู รรคสรางขึน้ เชน กลางวนั กลางคืน เดือนมืด เดือนเพ็ญ ภูเขา นํ้าตก ถือวาเปนธรรมชาติ หรือปรากฏการณ ทางธรรมชาติ ตามความหมายทางพจนานุกรมของนักปราชญทางศิลปไดใหความหมายอยางกวางขวางตาม แนวทางหรือทศั นะสว นตัวไวดังนี้ คอื ศลิ ปะ(ART) คาํ น้ี ตามแนวสากล มาจากคําวา ARTI และ ARTE ซ่ึงเปน คาํ ทน่ี ยิ มใชก ันในสมัยฟน ฟศู ลิ ปวิทยา คําวา ARTI น้นั หมายถึง กลุม ชา งฝม ือในศตวรรษที่ 14, 15 และ 16 สวน คําวา ARTE หมายถงึ ฝมือ ซ่ึงรวมถึง ความรูของการใชวัสดุของศิลปนดวย เชน การผสมสีสําหรับลงพ้ืน การ เขียนภาพสีน้ํามันหรือการเตรียม และการใชวัสดุอ่ืน ศิลปะ ตามความหมายของพจนานุกรมไทยฉบับ ราชบัณฑิตยสถานสถาน พ.ศ. 2493 ไดอธิบายไววาศิลป (สิน ละ ปะ) น. หมายถึง ฝมือทางการชาง การแสดง ออกมาใหปรากฏขึ้นไดอ ยา งนาพึงชม และเกิดอารมณสะเทือนใจ ศาสตราจารยศ ลิ ป พีระศรี ใหค วามหมายไววา ศิลปะ หมายถึง งานที่ตองใชความพยายามดวยฝมือและความคิด เชน ตัดเส้ือ สรางเครื่องเรือน ปลูกตนไม เปนตน และเมื่อกลา วถึง งานทางวจิ ติ รศลิ ป (Fine Arts) หมายถงึ งานอนั เปน ความพากเพียรของมนุษย นอกจาก ตองใชความพยายามดวยมือดวยความคิด แลวตองมีการพวยพุงแหงพุทธิปญญาและจิตออกมาดวย (INTELLECTURL AND SPIRITUAL EMANATION)ศิลปะ ตามความหมายของพจนานุกรมศัพทศิลปะ องั กฤษ ไทย ฉบับราชบณั ฑิตสถาน พ.ศ.2530 ไดอธิบายไววา ART ศิลปะ คือ ผลแหงความคิดสรางสรรคของ มนุษยที่แสดงออกในรูปลักษณตางๆ ใหปรากฏซ่ึงสุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือความสะเทือนอารมณ ตามอัจฉริยภาพพุทธิปญญา ประสบการณ รสนิยมและทักษะของแตละคน เพื่อความพอใจ ความรื่นรมย ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี หรอื ความเช่อื ในลทั ธศิ าสนา” องคประกอบท่ีสาํ คญั ในงานศลิ ปะ 1. รูปแบบ (FORM) ในงานศิลปะ หมายถึง รูปรางลักษณะท่ีศิลปนถายทอดออกมาใหปรากฏเปน รูปธรรมในงานศลิ ปะ อาจแบง ออกไดเปน 3 ชนิด คือ1.1 รูปแบบธรรมชาติ (NATURAL FORM) ไดแก นํ้าตก ภูผา ตนไม ลําธาร กลางวัน กลางคืน ทองฟา ทะเล 1.2 รูปแบบเรขาคณิต (GEOMETRIC FORM) ไดแก สเ่ี หลี่ยม สามเหล่ยี ม วงกลม ทรงกระบอก 1.3 รปู แบบนามธรรม (ABSTRACT FORM) ไดแก รูปแบบที่ศิลปน ไดสรางสรรคข้ึนมาเอง โดยอิสระ หรืออาจตัดทอน (DISTROTION) ธรรมชาติ ใหเหลือเปนเพียงสัญลักษณ (SYMBOL) ที่ส่อื ความหมายเฉพาะตวั ของศลิ ปน ซงึ่ รูปแบบทกี่ ลาวมาขา งตน ศิลปน สามารถท่ีจะเลอื กสรรนาํ มา สรางเปนงานศลิ ปะ ตามความรูส กึ ทปี่ ระทับใจหรอื พงึ พอใจในสวนตัวของศลิ ปน 2. เนื้อหา (CONTENT) หมายถึง การสะทอนเร่ืองราวลงไปในรูปแบบดังกลาว เชน กลางวัน กลางคนื ความรัก การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมอื ง และคณุ คา ทางการจดั องคประกอบทางศิลปะ เปนตน 3. เทคนคิ (TECHNIQUE) หมายถึง ขบวนการเลือกสรรวัสดุ ตลอดจนวธิ กี ารสรางสรรค นํามาสราง ศลิ ปะช้นิ นน้ั ๆ เชน สนี าํ้ มัน สีชอลก สนี ้ํา ในงานจติ รกรรม หรอื ไม เหลก็ หนิ ในงานประตมิ ากรรมเปนตน

24 4. สุนทรียศาสตร (AESTHETICAL ELEMENTS) ซึ่งมี 3 อยาง คือ ความงาม (BEAUTY) ความแปลกหแู ปลกตา (PICTURESQUENESS) และความนา ท่ึง (SUBLIMITY) ซงึ่ ศิลปกรรมช้ินหน่ึงอาจมีทั้ง ความงามและความนา ทง่ึ ผสมกนั ก็ได เชน พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย อาจมีทั้งความงามและความนาทึ่งรวมอยู ดวยกัน การท่ีคนใดคนหน่ึงมีสุนทรียะธาตุในความสํานึก เรียกวา มีประสบการณทางสุนทรียศาสตร (AESTHETHICAL EXPERIENCE) ซ่ึงจะตอ งอาศยั การเพาะบม ทั้งในดานทฤษฎี ตลอดจนการใหความสนใจ เอาใจใสรับรูตอการเคลื่อนไหวของวงการศิลปะโดยสมํ่าเสมอ เชน การชมนิทรรศการท่ีจัดข้ึนในหอศิลป เปน ตน เม่ือกลา วถึง งานศลิ ปกรรมและองคประกอบ ที่สําคญั ในงานศลิ ปะแลวหากจะยอ นรอยจากความเปนมา ในอดตี จนถึงปจ จุบนั แลว พอจะแยกประเภทการสรา งสรรคข องศิลปน ออกไดเ ปน 3 กลุมดงั น้ี 1. กลุม ท่ยี ดึ รปู ธรรม (REALISTIC) หมายถงึ กลมุ ที่ยดึ รปู แบบที่เปนจริงในธรรมชาติมาเปน หลกั ในการสรา งงานศลิ ปะ สรางสรรคอ อกมาใหมลี กั ษณะคลา ยกบั กลองถา ยภาพ หรอื ตัดทอนบางสิ่งออกเพียง เล็กนอย ซ่ึงกลุมนี้ไดพยายามแกปญหาใหกับผูดูท่ีไมมีประสบการณทางศิลปะและสามารถสื่อความหมาย ระหวา งศิลปะกับผูดูไดง ายกวาการสรา งสรรคผ ลงานในลกั ษณะอนื่ ๆ 2. กลุมนามธรรม (ABSTRACT) หมายถึง กลุมที่ยึดแนวทางการสรางงานที่ตรงขามกับ กลุม รูปธรรม ซึง่ ศลิ ปนกลมุ นี้มุงทีจ่ ะสรา งรูปทรง (FORM) ขึ้นมาใหมโดยท่ไี มอาศัยรูปทรงทางธรรมชาติ หรือ หากนําธรรมชาติมาเปน ขอ มูลในการสรางสรรคก็จะใชวิธีลดตัดทอน (DISTORTION) จนในที่สุดจะเหลือแต โครงสรางทเ่ี ปน เพยี งสญั ญาลักษณ และเชนงานศลิ ปะของ มอนเดยี น (MONDIAN) 3. กลุมกึ่งนามธรรม (SEMI-ABSTRACT) เปนกลุมอยูกึ่งกลางระหวางกลุมรูปธรรม (REALISTIC) และกลุมนามธรรม (ABSTRACT) หมายถึง กลุมท่ีสรางงานทางศิลปะโดยใชวิธีลดตัดทอน (DISTORTION) รายละเอียดทมี่ ใี นธรรมชาตใิ หป รากฏออกมาเปนรูปแบบทางศิลปะ เพื่อผลทางองคประกอบ (COMPOSITION) หรือผลของการแสดงออก แตยังมีโครงสรางอันบงบอกถึงที่มาแตไมชัดเจน ซ่ึงเปนผลที ผูเขียนไดกลาวนําในเบื้องตนจากการแบงกลุมการสรางสรรคของศิลปนทั้ง 3 กลุม ท่ีกลาวมาแลวนั้น

25 มีนักวิชาการทางศิลปะไดเปรียบเทียบเพื่อความเขาใจ คือ กลุมรูปธรรม (REALISTIC) เปรียบเสมือนการคัด ลายมือแบบตัวบรรจง กลุมนามธรรม (ABSTRACT) เปรียบเสมือนลายเซ็น กลุมก่ึงนามธรรม (SEMI- ABSTRACT) เปรยี บเสมือนลายมอื หวดั มนุษยก ับศลิ ปะ หากกลาวถงึ ผลงานศิลปะทําไมจะตองกลาวถึงแตเพียงส่ิงที่มนุษยสรางข้ึนมาเทาน้ัน จอมปลวกรังผ้ึง หรอื รงั นกกระจาบ กน็ า ทีจ่ ะเปน สถาปต ยกรรมช้ินเยี่ยม ทเ่ี กดิ จากสัตวตา งๆ เหลา น้ัน หากเราจะมาทําความเขาใจ ถงึ ท่ีมาของการสรา งกพ็ อจะแยกออกไดเ ปน 2 ประเดน็ ประเดน็ ที่ 1 ทําไมจอมปลวก รงั ผึ้ง หรือรงั นกกระจาบ สรางขึ้นมาจึงไมเ รยี กวา งานศิลปะ ประเด็นที่ 2 ทาํ ไมสงิ่ ทีม่ นษุ ยสรางสรรคขึน้ มาถึงเรียกวา เปน ศิลปะ จากประเด็นที่ 1 เราพอจะสามารถวิเคราะหถึงสาเหตุท่ีเราไมเรียกวา เปนผลงานศิลปะเพราะปลวก ผ้ึง และนกกระจาบสรา งรงั หรอื จอมปลวกขนึ้ มาดวยเหตุผลของสัญชาตญาณท่ีตองการความปลอดภัย ซึ่งมีอยูใน ตวั ของสตั วทกุ ชนิด ที่จําเปน ตอ งสรางข้นึ มาเพื่อปองกนั ภัยจากสัตวรายตา งๆ ตลอดจนภัยธรรมชาติ เชน ฝนตก แดดออก เปนตน หรืออาจตองการความอบอุน สวนเหตุผลอีกประการหน่ึง คือจอมปลวก รังผึ้ง หรือรังนก กระจาบน้ัน ไมมีการพัฒนาในเรื่องรูปแบบ ไมมีการสรางสรรคใหปรากฏรูปลักษณแปลกใหมข้ึนมา ยังคง เปนอยแู บบเดมิ และตลอดไป จงึ ไมเ รยี กวา เปนผลงานศิลปะ แตใ นทางปจจบุ ัน หากมนษุ ยนํารงั นกกระจาบหรือ รังผึ้งมาจดั วางเพอ่ื ประกอบกบั แนวคิดสรา งสรรคเฉพาะตน เราก็อาจจัดไดว า เปน งานศลิ ปะ เพราะเกิดแรงจูงใจ ภายในของศลิ ปน (Intrinsic Value) ท่เี ห็นคุณคา ของความงามตามธรรมชาตินาํ มาเปน สือ่ ในการสรา งสรรค ประเด็นที่ 2 ทําไมส่ิงที่มนุษยสรางสรรคขึ้นมาถึงเรียกวา ศิลปะ หากกลาวถึงประเด็นน้ี ก็มีเหตุผล อยหู ลายประการซง่ึ พอจะกลา วถึงพอสงั เขป ดงั น้ี 1. มนษุ ยส รา งงานศิลปะข้ึนมาโดยมีจุดประสงคหรือจุดมุงหมายในการสรา ง เชน ชาวอียิปต (EGYPT) สรางมาสตาบา (MASTABA) ซึ่งมีรูปรางคลายมาหินสําหรับนั่งเปนรูปส่ีเหล่ียมแทงสูงขางบนเปนพื้นที่ราบ มมุ ทง้ั สี่เอียงลาดมาท่ฐี านเลก็ นอย มาสตาบาสรางดวยหินขนาดใหญ เปนที่ฝงศพขุนนาง หรือผูรํ่ารวยซึ่งตอมา พัฒนามาเปน การสรา งพีระมดิ (PYRAMID) เพื่อบรรจศุ พของกษตั รยิ หรอื ฟาโรห (PHARAOH) มกี ารอาบนํา้ ยา ศพหรือรักษาศพไมใหเนาเปอยโดยทําเปนมัมม่ี (MUMMY) บรรจุไวภายใน เพ่ือรอวิญญาณกลับคืนสูราง ตามความเช่ือเรอ่ื งการเกิดใหมของชาวอียิปตการกอสรางพุทธสถานเชน สรางวัด สรางพระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรยี ญ ในพุทธศาสนา มีจุดประสงค เพื่อใชเปนที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เพื่อเปนที่พํานักของ สงฆ ตลอดจนใชเ ปนทเี่ ผยแพรศาสนา 2. มีการสรางเพื่อพัฒนารูปแบบโดยไมสิ้นสุด จะเห็นไดจาก มนุษยสมัยกอนประวัติศาสตร (PRE HISTORICAL PERIOD) ไดห ลบภัยธรรมชาติ ตลอดจนสตั วรายเขาไปอาศยั อยูในถา้ํ เมอ่ื มคี วามเขาใจใน ปรากฏการณอันเกิดขึ้นจากธรรมชาติและประดิษฐเคร่ืองมือเพ่ือใชเปนที่อยูอาศัยจนในสมัยตอมามีการ พัฒนาการสรา งรูปแบบอาคารบานเรอื นในรปู แบบตา งๆ ตามความเปล่ยี นแปลงของวัฒนธรรม และความเจริญ ทางเทคโนโลยี มกี ารใชค อนกรตี เสริมเหล็กและวสั ดุสมัยใหมเขามาชวยในการกอสรางอาคาร บานเรือน และ

26 สิ่งกอสรางตางๆ ตลอดจนมีการพัฒนารูปแบบทางสถาปตยกรรมใหกลมกลืนกับธรรมชาติแวดลอม เชน สถาปตยกรรม “THE KAUF MANN HOUSE” ของแฟรงค ลอยด ไรท ทรี่ ัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมรกิ า 3. ความตองการทางกายภาพท่ีเปนปฐมภูมิของมนุษยทุกเช้ือชาติและเผาพันธ เพ่ือนํามาซึ่งความ สะดวกสบายในการดําเนินชีวิตในสังคมปจจุบัน ดังจะเห็นไดจากเคร่ืองอุปโภค บริโภคตลอดจนเครื่องใช ไมสอยตา งๆ ซ่งึ เปนผลติ ผลทีเ่ กิดจากความคิดสรา งสรรคข องมนษุ ยท ง้ั ส้ิน ในทางศลิ ปะก็เชนเดยี วกนั ศิลปน จะ ไมจําเจอยูกับงานศิลปะที่มีรูปแบบเกาๆ หรือสรางงานรูปแบบเดิมซ้ําๆ กันแตจะคิดคนรูปแบบ เนื้อหา หรือ เทคนคิ ท่ีแปลกใหมใหกับตัวเอง เพ่อื พฒั นาการสรา งงานศิลปะรปู แบบเฉพาะตนอยางมลี าํ ดับขั้นตอน เพอ่ื งา ยแก การเขาใจจงึ ขอใหผูอ า นทาํ ความเขาใจเกยี่ วกับการสรา งสรรคในทางศลิ ปะเสียกอน กจิ กรรม ใหนักศึกษาตอบคําถามตอ ไปน้ี 1. อธบิ ายความหมายของ”ธรรมชาต”ิ 2. องคป ระกอบทางศลิ ปะประกอบดว ยอะไรบาง 3. เหตุใดมนุษยถ งึ เปนผูสรา งงานศิลปะเทาน้ัน

27 เรอื่ งท่ี 5 ความงามตามทศั นศลิ ปส ากล การรบั รูความงามทางศลิ ปะ สําหรับการรับรูความงามทางศิลปะของมนุษยนั้น สามารถรับรูได 2 ทาง คือ ทางสายตาจากการ มองเหน็ และทางหูจากการไดยิน ซึ่งแบงได 3 รูปแบบดังน้ี 1. ทัศนศิลป (Visual Art) เปนงานศิลปะท่ีรับสัมผัสความงามไดดวยสายตา จากการมองเห็น งานศลิ ปะสวนใหญจ ะเปนงานทัศนศิลป ทั้งสิ้น ไดแก จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม มัณฑนศิลป อตุ สาหกรรมศลิ ป พาณิชยศลิ ป 2. โสตศิลป (Audio Art) เปน งานศิลปะท่รี บั สัมผัสความงามไดดว ยหู จากการฟง เสยี ง งานศิลปะ ทีจ่ ัด อยูในประเภทโสตศิลป ไดแ ก ดนตรี และ วรรณกรรม 3. โสตทศั นศิลป (Audiovisual Art) เปน งานศลิ ปะทรี่ บั สัมผัสความงามทางศิลปะไดทั้งสองทาง คือ จากการมองเห็นและจากการฟง งานศิลปะประเภทนี้ไดแ ก ศิลปะการแสดงนาฏศลิ ป การละคร การภาพยนตร ววิ ฒั นาการของทัศนศลิ ปสากล ศลิ ปะของชาติตา งๆ ในซกี โลกตะวนั ตกมลี ักษณะใกลเคียงกัน จึงพัฒนาขึ้นเปนศิลปะสากล ความเช่ือ มีอิทธิพลตอพฤติกรรมมนุษยทั้งความคิด การแสดงออก และการดําเนินชีวิต โดยเฉพาะในงานศิลปกรรม มรี ปู แบบความงามหลายแบบ ที่เกดิ จากพลงั แหงความศรัทธา จากความเชอ่ื ถอื ในเรื่องตางๆ รูปแบบความงามอันเน่ืองมาจากความเชื่อถือ จะปรากฏเปนความงามตามความคิดของชางในยุคนั้น ผสมกับฝม อื และเคร่อื งมือทย่ี ังไมค อยมคี ณุ ภาพมากนกั ทาํ ใหงานจิตรกรรมในยุคกอนประวัติศาสตรดูไมคอย งามมากนกั ในสายตาของคนปจ จบุ ัน 1. ศลิ ปะสมัยกลาง (Medieval Arts) ทศั นศิลปอ นั เน่ืองมาจากคริสตศ าสนา ความเช่ือในสมยั กลาง ซง่ึ เปน ชวงเวลาท่ีศาสนาคริสตเ จริญรุง เรืองถึงขดี สดุ มีอิทธพิ ลตอการดําเนนิ ชีวิต และการสรางสรรคงานศิลปกรรมของชาวตะวันตก โดยมีความเช่ือวาความงามเปนส่ิงท่ีพระเจาสรางขึ้นมา โดยผานทางศิลปน เพื่อเปนการแสดงถึงความศรัทธาอยางย่ิงในพระเจา ศิลปนตองสรางผลงาน โดยแสดงถึง เรอื่ งราวของพระคริสต พระสาวก ความเชื่ออันนมี้ ีผลตอทศั นศลิ ป ดงั น้ี สถาปตยกรรม เชน โบสถสมัยกอธิค เปนสถาปตยกรรมที่มีลักษณะสูงชลูด และสวนที่สูงท่ีสุดของ โบสถจ ะเปนท่ตี ้งั ของกางเขนอันศักดิ์สิทธ์ิ เพื่อใชเปนท่ีติดตอกับพระเจาบนสรวงสวรรค มีการแตงเพลงและ รองกันอยูในโบสถ Notre Dame อยูท่ีกรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส ซึ่งเปนโบสถท่ีสรางแบบกอธิค ท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดทรงโปรดใหถายแบบแลวนํามาสรางไวที่วัดนิเวศ ธรรมประวตั ิ บางปะอิน จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

28 จิตรกรรม กแ็ สดงเน้อื หาของครสิ ตศาสนา รวมไปถงึ ทศั นศลิ ปแขนงอ่ืนๆ ดว ย 2. ศิลปะไบเซนไทร (Bizentine) ความเช่ือยุคแรกแหงศิลปะเพื่อคริสตศาสนา เมื่ออาณาจักรโรมันลมสลายลงในยุโรปไดแยกเปน ประเทศตา งๆและเปนชวงทคี่ าํ สอนของศาสนาคริสต ไดรับความเช่ือถือและใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต ของประชาชน โดยเฉพาะในยุคสมัยไบเซนไทร ซึ่งถือวาเปนอาณาจักรแหงแรกของคริสตศาสนา ศิลปนและ ชา งทกุ สาขาทาํ งานใหแ กศ าสนา หรือทาํ งานเพ่อื สง เสรมิ ความศรทั ธาแหง ครสิ ตศ าสนา สถาปตยกรรม สรางโบสถ วหิ าร เพอ่ื เปนสัญลักษณ และสถานทปี่ ฏบิ ัตพิ ธิ ีกรรมตา งๆ ประติมากรรม มีการแกะสลักรปู พระครสิ ตและสาวกดว ยไม หิน และภาพประดบั หนิ สที เ่ี รยี กวา โมเสก สถาปตยกรรมแบบไบเซนไทร

29 3. ฟน ฟศู ิลปวทิ ยา (Renaissanee) ความเชื่อเน่ืองจากอาณาจกั รไบเซนไทร เปน ยคุ ของการฟนฟูศิลปวิทยา (Renaissame) หมายถึง การนํา กลับมาอีกคร้ังหนึ่ง เนื่องจากไดมีการคนพบซากเมืองของพวกกรีกและโรมันทําใหศิลปนหันกลับมานิยม ความงามตามแนวคดิ ของกรกี และโรมันอกี ครง้ั หนึ่ง กิจกรรม ใหน กั ศึกษาตอบคําถามตอไปนี้ 1. การรับรูความงามทางศลิ ปะของมนุษยน ้ัน สามารถรับรไู ด กี่ทาง และแบง เปน กรี่ ูปแบบอะไรบา ง 2. ความเช่อื ในการสรา งผลงานของศิลปะสมัยกลาง (Medieval Arts) มคี วามเชื่อเกี่ยวกบั อะไร 3. ชางในสมัยศิลปะไบเซนไทร (Bizentine) ทํางานเพอื่ ใคร 4. ฟนฟูศลิ ปวิทยา (Renaissanee) หมายถงึ อะไร

30 เร่ืองที่ 6 ธรรมชาติกับทัศนศิลป มนษุ ยเ ปนสวนหนงึ่ ของธรรมชาติ ธรรมชาติ สามารถบอกถึงประสบการณ และส่ิงตางๆท่ีผานมาในอดีตได ซ่ึงถือวา “ธรรมชาติ” เปน “ครู” ของมนษุ ย เม่อื มนุษยมคี วามคิดสรางสรรค มนษุ ยกจ็ ะพจิ ารณาสง่ิ ตางๆจากธรรมชาตทิ ีต่ นมสี วนรวมอยู แลว นาํ มา ดัดแปลงสรางสรรคใหม โดยพยายามเลือกหาวิธีการอันเหมาะสมตามทักษะและความชํานาญที่ตนมีอยู เพื่อสรางเปนผลงานของตนขนึ้ ใหม มนุษยอาศัยธรรมชาติในการดํารงชีวิต ผลผลิตสวนใหญท่ีใชในการดํารงชีวิตเกือบท้ังหมดก็มาจาก ธรรมชาติทั้งสิน้ วสั ดุจากธรรมชาตทิ ม่ี นุษยนาํ มาสรางสรรคประกอบดวย 1. พืช 2. หิน กรวด 3. ทราย 4. ดนิ การนาํ ธรรมชาตมิ าออกแบบผสมผสานกบั งานศิลปะ (ผลงานจากถนนคนเดนิ ดอทคอม/เชียงใหม)

31 กิจกรรม ใหน กั ศกึ ษา นาํ ส่งิ ที่เกดิ จากธรรมชาติ มาออกแบบสรางสรรค ใหเ ปน เคร่ืองประดับ ตกแตงรา งกาย โดยใชว ธิ ที างศลิ ปะเขามาชว ย

32 เรอื่ งที่ 7 ความคิดสรางสรรค การตกแตง รางกาย ทอี่ ยอู าศยั และ ผลติ ภัณฑ มนษุ ยม ีความคดิ สรางสรรคอยตู ลอดเวลา ตามแตประสบการณม ากนอยของแตล ะบคุ คล การออกแบบ เปนสว นหนึง่ ของความคดิ สรางสรรคทางศลิ ปะของมนุษย 1. ออกแบบตกแตงท่ีอยูอาศัย เปนการออกแบบทุกอยางภายในและบริเวณรอบบานใหสวยงาม สะดวกแกการใชส อย โดยใชว สั ดุท่มี อี ยหู รือจัดหามาโดยใชหลักองคป ระกอบศิลป 2. ออกแบบใหก ับรางกาย เปน การออกแบบรา งกายและสงิ่ ตกแตงรางกายใหสวยงาม เหมาะสม และ ถูกใจ เชนการออกแบบทรงผม เสื้อผา เคร่ืองประดับ การใชเครื่องสําอาง โดยอาศัยหลักการทางศิลปะ และความคิดสรางสรรค 3. ออกแบบผลิตภัณฑ หมายถึง ความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับรูปรางลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ เพื่อใหเกดิ รูปแบบทแี่ ปลกใหมและเปน จุดสนใจในธุรกจิ ดา นอตุ สาหกรรม 4. ออกแบบสํานักงาน การจัดหอ งทาํ งาน โตะ สาํ นกั งาน เกาอี้ ในและนอกสถานท่ที ํางานทไี่ ดรับการ ออกแบบและสรา งสรรคใ หน า ทํางาน ตลอดจนสะดวกในการใชส อย ซ่งึ แบง การออกแบบไดเ ปน 2 ประเภทคือ 4.1 ออกแบบตกแตงภายใน ไดแกการออกแบบตกแตงภายในอาคารทุกประเภททั้งหมด เชน การออกแบบตกแตง ภายในบา น ภายในสํานักงาน ภายในอาคารสาธารณะ แมนกระท่ังการออกแบบตกแตง ภายในยานพาหนะ เปน ตน การออกแบบตกแตงภายในทีพ่ ักอาศยั

33 การออกแบบตกแตง หนา รานคา การออกแบบตกแตงภายในสาํ นกั งาน การออกแบบตกแตง ภายในยานพาหนะ

34 4.2 การออกแบบตกแตงภายนอก ไดแก การออกแบบตกแตงสวนและบริเวณภายนอกอาคาร รวมทั้งการออกแบบภูมทิ ศั นใ นสว นพ้นื ทสี่ าธารณะ เชน สวนสาธารณะ ถนน สะพาน ฯลฯ การออกแบบตกแตง สวนขนาดใหญ การออกแบบสวนในบา นโดยใชวัสดหุ ิน ตน ไม และนํ้ารวมกัน การออกแบบสวนในบา นโดยเลยี นแบบธรรมชาติ กา รต กแ ต งภ าย นอ ก โด ยก า ร จดั สวนทเี่ กาะกลางถนน กจิ กรรม 1. ใหนกั ศึกษาจดั ออกแบบภายใน หรอื ภายนอกในมุม ใดมมุ หน่ึงในบานตนเอง แลว ถายรูปมาเพือ่ รวมกนั อภิปรายหนาชนั้ เรยี น โดยมอี าจารยและเพอื่ นนกั ศกึ ษารวมอภิปราย 2. เกบ็ ภาพถายทีจ่ ัดออกแบบไวในแฟมสะสมงานของตนเอง

35 บทท่ี 2 ดนตรี สาระสาํ คัญ ความหมาย ความสําคัญ ความเปนมา ววิ ฒั นาการรปู แบบเทคนิค วิธกี ารของดนตรีประเภทตา งๆ คณุ คา ความงาม ความไพเราะของดนตรสี ากล ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง อธบิ ายความหมาย ความสําคญั ความเปน มา ของดนตรสี ากล เขาใจถงึ ตน กาํ เนิด ภมู ิปญ ญา และการ ถายทอดสบื ตอ กนั มา ขอบขายเน้ือหา เรอ่ื งที่ 1 ดนตรีสากล เรอื่ งที่ 2 ดนตรสี ากลประเภทตา ง ๆ เรอื่ งท่ี 3 คุณคาความไพเราะของเพลงสากล เรือ่ งที่ 4 ประวัติภมู ิปญ ญาทางดนตรีสากล

36 เรอ่ื งที่ 1 ดนตรสี ากล ดนตรีเกิดขึ้นมาในโลกพรอมๆกับมนุษยเรานั่นเอง ในยุคแรกๆมนุษยอาศัยอยูในปา ในถํ้า และใน โพรงไม แตม นุษยก็รูจกั การรอ งราํ ทาํ เพลงตามธรรมชาติ เชน รจู ักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม เปาปาก เปาเขา และการเปลงเสียงรอง เชน การรอ งราํ ทาํ เพลงเพ่ือออนวอนพระเจาใหชวยเพื่อพนภัย บันดาลความสุขความ อุดมสมบรู ณตา งๆใหแ กต น หรอื เปน การบชู าแสดงความขอบคณุ พระเจา ท่ีบันดาลใหต นมคี วามสขุ ความสบาย ในระยะแรก ดนตรีมีเพียงเสียงเดียวและแนวเดียวเทาน้ันเรียกวา Melody ไมมีการประสานเสียง จนถึงศตวรรษท่ี 12 มนุษยเราเรม่ิ รูจ กั การใชเสยี งตา งๆมาประสานกันอยา งงายๆ เกดิ เปน ดนตรหี ลายเสียงขน้ึ มา ยุคตางๆของดนตรี นกั ปราชญท างดนตรีไดแบง ดนตรีออกเปนยคุ ตางๆดงั นี้ 1. Polyphonic Perio( ค.ศ. 1200-1650 ) ยุคน้ีเปนยุคแรก วิวัฒนาการมาเร่ือยๆ จนมีแบบฉบับและ หลักวิชาการดนตรีขน้ึ วงดนตรีอาชีพตามโบสถ ตามบานเจา นาย และมีโรงเรยี นสอนดนตรี 2. Baroque Period ( ค.ศ. 1650-1750 ) ยุคนี้วิชาดนตรีไดเปนปกแผน มีแบบแผนการเจริญดาน นาฏดรุ ิยางค มากขน้ึ มโี รงเรียนสอนเก่ียวกบั อุปรากร ( โอเปรา) เกิดขึ้น มีนักดนตรีเอกของโลก 2 ทานคือ J.S. Bach และ G.H. Handen 3. Classical Period ( ค.ศ. 1750-1820 ) ยุคนี้เปนยุคที่ดนตรีเริ่มเขาสูยุคใหม มีความรุงเรืองมากขึ้น มนี กั ดนตรีเอก 3 ทา นคอื Haydn Gluck และMozart 4. Romantic Period ( ค.ศ. 1820-1900 ) ยุคนม้ี กี ารใชเสียงดนตรีท่ีเนนถึงอารมณอยางเดนชัดเปนยุค ที่ดนตรเี จริญถึงขดี สุดเรียกวา ยุคทองของดนตรี นกั ดนตรีเชน Beetoven และคนอืน่ อกี มากมาย 5. Modern Period ( ค.ศ. 1900-ปจจุบัน ) เปนยุคท่ีดนตรีเปล่ียนแปลงไปมาก ดนตรีประเภทแจส (Jazz) กลบั มามอี ทิ ธิพลมากขึน้ เรอ่ื ยๆจนถึงปจ จบุ ันขนบธรรมเนียมประเพณีของแตละชาติ ศาสนา โดยเฉพาะ ทางดนตรีตะวันตก นับวามีความสัมพันธใกลชิดกับศาสนามาก บทเพลงที่เกี่ยวกับศาสนาหรือเรียกวา เพลงวัดนั้น ไดแ ตง ข้นึ อยางถกู หลักเกณฑ ตามหลักวชิ าการดนตรี ผูแตง เพลงวดั ตองมีความรคู วามสามารถสงู เพราะตอ งแตง ขึน้ ใหสามารถโนม นา วจติ ใจผูฟ ง ใหน ิยมเลอ่ื มใสในศาสนามากข้ึน ดังนนั้ บทเพลงสวดในศาสนา คริสตจ ึงมเี สยี งดนตรปี ระโคมประกอบการสวดมนต เมือ่ มบี ทเพลงเกย่ี วกับศาสนามากข้นึ เพื่อเปน การปองกนั การลืมจงึ ไดมีผูประดษิ ฐสัญลกั ษณตา งๆแทนทาํ นอง เมื่อประมาณ ค.ศ. 1000 สัญลักษณดังกลาวคือ ตัวโนต ( Note ) นั่นเอง โนตเพลงท่ีใชในหลักวิชาดนตรีเบื้องตนเปนเสียงโด เร มี น้ัน เปนคําสวดในภาษาละติน จึงกลา วไดวาวชิ าดนตรีมีจุดกาํ เนิดมาจากวดั หรือศาสนา ซง่ึ ในยโุ รปน้ันถอื วาเพลงเก่ียวกับศาสนาน้ันเปนเพลง ชนั้ สูงสุดวงดนตรที ีเ่ กิดข้ึนในศตวรรษตนๆจนถึงปจจุบัน จะมีลักษณะแตกตางกันออกไป เครื่องดนตรีที่ใช

37 บรรเลงก็มีจํานวนและชนิดแตกตางกันตามสมัยนิยม ลักษณะการผสมวงจะแตกตางกันไป เม่ือผสมวงดวย เคร่อื งดนตรีทตี่ า งชนิดกัน หรอื จํานวนของผบู รรเลงท่ีตา งกนั กจ็ ะมชี ่ือเรยี กวงดนตรีตา งกนั เรอื่ งท่ี 2 ดนตรสี ากลประเภทตางๆ เพลงประเภทตา งๆ แบง ตามลักษณะของวงดนตรีสากลได 6 ประเภท ดังนี้ 1. เพลงทบี่ รรเลงโดยวงออรเคสตรา ( Orchestra ) มีดังนี้ - ซิมโฟนี่ (Symphony) หมายถึงการบรรเลงเพลงโซนาตา ( Sonata) ทั้งวง คําวา Sonata หมายถึง เพลงเด่ียวของเครื่องดนตรีชนิดตางๆ เชนเพลงของไวโอลิน เรียกวา Violin Sonata เคร่ืองดนตรีชนิดอื่น ๆ กเ็ ชน เดยี วกนั การนําเอาเพลง โซนาตาของเครื่องดนตรีหลายๆชนดิ มาบรรเลงพรอมกันเรยี กวา ซิมโฟน่ี - คอนเซอรโต ( Concerto) คือเพลงผสมระหวางโซนาตากับซิมโฟนี่ แทนที่จะมีเพลงเด่ียว แตอ ยางเดยี ว หรอื บรรเลงพรอ มๆกันไปในขณะเดียวกัน เครอื่ งดนตรีทแ่ี สดงการเด่ียวนน้ั สว นมากใชไ วโอลนิ หรอื เปยโน - เพลงเบด็ เตล็ด เปน เพลงที่แตง ขึ้นบรรเลงเบ็ดเตลด็ ไมมีเนอ้ื รอ ง วงออรเคสตรา 2. เพลงทบ่ี รรเลงโดยวงแชมเบอรม ิวสิค ( Chamber Music ) เปนเพลงสัน้ ๆ ตองการแสดงลวดลาย ของการบรรเลงและการประสานเสียง ใชเคร่ืองดนตรปี ระเภทเครอื่ งสาย คอื ไวโอลนิ วิโอลา และเชลโล

38 วงแชมเบอรม วิ สิค 3. สาํ หรบั เดยี่ ว เพลงประเภทนี้แตงขนึ้ สาํ หรบั เครอื่ งดนตรชี ิน้ เดียวเรียกวา เพลง โซนาตา 4. โอราทอรโิ อ (Oratorio) และแคนตาตา (Cantata) เปนเพลงสําหรับศาสนาใชรองในโบสถ จัดเปน โอเปรา แบบหนึ่ง แตเปน เร่ืองเกย่ี วกับศาสนา วงโอราทอรโิ อ 5. โอเปรา (Opera) หมายถึง เพลงท่ีใชประกอบการแสดงละครท่ีมีการรองโตตอบกันตลอดเรื่อง เพลงประเภทน้ใี ชในวงดนตรีวงใหญบรรเลงประกอบ

39 ละคร Opera ที่ดังที่สุดเรอ่ื งหน่งึ ของโลกคือเรอ่ื ง The Phantom of the Opera 6. เพลงทขี่ ับรอ งโดยทัว่ ไป เชน เพลงที่รองเดี่ยว รองหมู หรือรองประสานเสียงในวงออรเคสตรา วงคอมโบ ( Combo) หรอื วงชาโดว (Shadow ) ซ่งึ นิยมฟงกันทั้งจากแผนเสยี งและจากวงดนตรที ่บี รรเลงกนั อยู โดยท่วั ไป ประเภทของเครอ่ื งดนตรสี ากล เคร่ืองดนตรีสากลมีมากมายหลายประเภท แบงตามหลักในการทําเสียงหรือวิธีการบรรเลง เปน 5 ประเภท ดังน้ี 1. เคร่อื งสาย เคร่อื งดนตรปี ระเภทนี้ ทําใหเ กิดเสยี งโดยการทาํ ใหสายสั่นสะเทือน โดยสายที่ใชจะเปนสายโลหะหรือ สายเอ็น เครื่องดนตรีประเภทเคร่อื งสาย แบง ตามวิธีการเลน เปน 2 จาํ พวก คอื 1) เคร่ืองดีด ไดแ ก กีตาร แบนโจ ฮารป แบนโจ

40 2) เคร่ืองสี ไดแก ไวโอลิน วิโอลา วโิ อลา 2. เครือ่ งเปา ลมไม เคร่ืองดนตรปี ระเภทนีแ้ บงตามวธิ ที าํ ใหเกิดเสยี งเปน 2 ประเภท คอื 1) จาํ พวกเปาลมผานชองลม ไดแ ก เรคอรเดอร ปคโคโล ฟลตุ ปคโคโล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook