บันทึกองค์ความรู้รายบคุ คล เรือ่ ง ปจั จัยแหง่ ความสาเรจ็ ในการพฒั นาหมูบ่ ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เจ้าของความรู้ นางซากยี ะ๊ เหงบารู ตาแหน่ง นักวิชาการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ สังกัดสานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอศรสี าคร เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชุมชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good ภายในปี 2565
แบบบันทกึ องคค์ วามรรู้ ายบคุ คล 1. ช่อื องคค์ วามรู้ ปจั จัยแหง่ ความสำเร็จในการพฒั นาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพียงตน้ แบบ 2. ช่อื เจ้าของความรู้ นางซากยี ะ๊ เหงบารู ตำแหนง่ นกั วิชาการพฒั นาชุมชนชำนาญการ 3. องคค์ วามร้ทู ี่บ่งช้ี (เลอื กไดจ้ ำนวน 1 หมวด) หมวดที่ 1 สรา้ งสรรค์ชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ หมวดท่ี 2 ส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐานรากใหข้ ยายตวั อยา่ งสมดลุ หมวดท่ี 3 เสริมสร้างทนุ ชมุ ชนให้มีธรรมาภิบาล หมวดท่ี 4 เสริมสร้างองค์กรใหม้ ีขดี ความสมรรถนะสงู 4. ที่มาและความสำคัญในการจัดทำองคค์ วามรู้ “..เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดำรงอยูแ่ ละปฏบิ ัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตวั ทีด่ ีพอสมควรต่อการมีผลกระทบ ใดๆ อนั เกดิ จากการเปลี่ยนแปลง ทัง้ ภายนอกและภายใน ทงั้ นี้จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวัง อย่างยิ่ง ในการนำวิชาการตา่ งๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนนิ การทกุ ขัน้ ตอน และขณะเดียวกนั จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หน้าท่ีของรัฐในทุกระดบั ให้มสี ำนึกในคุณธรรม ความ ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต และใหม้ ีความ รอบร้ทู เี่ หมาะสม ดำเนินชีวิตดว้ ยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความ รอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สง่ิ แวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอก ได้เป็นอยา่ งดี ” สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอศรีสาคร ได้คัดเลือกบ้านประชานิมิตร เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียงต้นแบบ ปี 2556 จนเปน็ วิถีชีวิตของคนในชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการเปลี่ยนแนวคิดของคนในชุมชน ที่จะต้องใช้เวลาและความอดทน การลดรายจ่าย เช่น การปลูกผักสวนครัวไว้บริโภคในครัวเรือน การเพิ่มรายได้ เช่น การมีอาชีพเสรมิ ต่าง ๆ การออม เช่น การมีกลุ่มออมทรพั ย์เพือ่ การผลิต การเรียนรู้โดยการเรียนรู้จากคนใน ชุมชนและภายนอกชุมชน เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน การใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับชุมชน อนุรักษ์ทรัพยากรตาม ธรรมชาติโดยการปลูกต้นไม้ในสวน การทำฝายมชี วี ติ และการช่วยเหลือของคนในชมุ ชนในดา้ นต่าง ๆ ให้สมาชิกมี สภาพความเปน็ อยทู่ ด่ี ีขึน้ 5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลำดบั ขนั้ ตอน การพฒั นาหม่บู ้านเศรษฐกจิ พอเพียงให้ประสบความสำเร็จได้นั้น ต้องใชห้ ลักการมสี ว่ นร่วม ดงั น้ี 1. ผู้นำชุมชน ต้องเข้ามามีบทบาทหน้าที่สำคัญในการขับเคลื่อนให้หมู่บ้านดำรงชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และทำศนู ย์เรยี นรูเ้ ปน็ จดุ ตัวอย่างให้กบั ชมุ ชน 2. ผู้นำชุมชน มีนโยบายในการบริหารจัดการหมู่บ้านในเรื่องเศรษฐกิจชุมชน โดยที่ให้ผู้ช่วย ผู้ใหญบ่ า้ นทีร่ ับผิดชอบแต่ละโซนตอ้ งมีศนู ยเ์ รียนรูด้ ้านเศรษฐกิจพอเพยี งทกุ คน เพ่อื เป็นแบบอย่างท่ดี แี ก่ประชาชน และให้คำปรกึ ษาแก่ชาวบ้านได้ โดยมที มี ผนู้ ำชุมชน สำนักงานพัฒนาชมุ ชนอำเภอและหนว่ ยงานภาคี เปน็ พี่เล้ียง ในการขับเคล่ือนกจิ กรรม 3. จัดเวทีให้ความรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง เกิดการวางแผนที่เหมาะสมและสอดคล้องกับวิถีชีวิต และดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ประชาชนเกิดการพัฒนาในระดับครอบครัว ส่งเสริมสนับสนุนการปลูกผักสวน ครวั และผกั ปลอดสารพิษ การปรับภูมทิ ศั น์และสภาพแวดลอ้ มภายในครัวเรือนและชุมชน และเกิดการรวมกลมุ่ กนั
-2- 4. ประชาชนในชุมชนมีความเป็นอยู่อย่างพอเพียง โดยการขับเคลื่อนกิจกรรม 6 × 2 (การเพม่ิ รายรายได้ ลดรายจ่าย ประหยัด การเรียนรู้ การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม และการเอือ้ อารยี )์ 5. ตดิ ตามการดำเนนิ งานและใหก้ ารสนับสนนุ พร้อมกับทมี ปฏบิ ตั กิ ารตำบล 6. เทคนคิ ในการปฏบิ ัติงาน 1. การนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาน้อมนำเป็นแนวทางการปฏบิ ัติ - หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาขบั เคล่ือนในหมบู่ า้ น - แบบประเมินความสขุ มวลรวม GVH - แบบประเมนิ หม่บู า้ นเศรษฐกิจพอเพียง “อยเู่ ยน็ เปน็ สุข” 4 ด้าน 23 ตวั ชวี้ ดั - ตัวช้ีวัด 6×2 หมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 2. การประชาสมั พันธส์ รา้ งการรบั รู้และการเขา้ ถงึ ข้อมูล - เวบ็ ไซตห์ มู่บ้าน หมู่บา้ นประชานิมติ ม.4 - Line ตำบลกาหลง 3. การต่อยอดกจิ กรรมของหมูบ่ ้าน - การนำผลผลิตของชุมชนมาแบง่ ปันเกอ้ื กูลกันภายในชมุ ชน - การนำผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปเปน็ ผลติ ภัณฑ์ของชุมชน - การจดั ตั้งศูนย์เรยี นรู้ของชมุ ชนใหม้ ีความเข็มแข็ง สามารถเป็นแหลง่ เรียนรขู้ องชมุ ชนได้ 4. ส่งเสริมการนำสภาพปัญหาของชุมชน เพื่อไปวางแผนการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้อง บูรณาการ ความร่วมมือในการช่วยเหลือสนับสนุนครัวเรือนตามภารกิจและอำนาจของหน่วยงาน นำข้อมูลในการจัดทำ แผนพัฒนาหมบู่ า้ น บรู ณาการพฒั นาตำบลตอ่ ไป 7. ปัญหาทพี่ บและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา ปญั หาท่ีพบบอ่ ย 1. ความไมเ่ ขา้ ใจแบง่ พรรคแบง่ พวกของคนสมัยกอ่ นก่อใหเ้ กิดความแตกแยกทำให้ไมป่ ระสบความสำเร็จ 2. การบริหารจัดการในหมู่บา้ น/ชมุ ชน ขาดความสามัคคี ขาดการมีส่วนร่วม อยู่แบบตวั ใครตัวมัน และการบริหารจัดการของผนู้ ำชุมชน แกนนำชุมชน ไมย่ ึดตามหลักความยุตธิ รรม และความโปร่งใส แนวทางแก้ไข 1. ในการพัฒนาหมูบ่ ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบให้ประสบความสาํ เร็จ ผู้นําชุมชน กรรมการ หมู่บา้ น และกลุ่มองคก์ รในชมุ ชน จะต้องมจี ิตอาสา เสียสละ อดทน เข้าใจสถานการณ์ต่างๆ ของชมุ ชน สามารถ กระตุ้นคนในชมุ ชนให้เขา้ มาร่วมแกไ้ ขปัญหาต่างๆ ได้ มีการจัดระบบความสมั พันธ์การดูแลชว่ ยเหลอื และรว่ มมอื กัน ภายในชุมชนอย่างเขม้ แขง็ 2. ควรมีการถอดบทเรยี นและองค์ความรู้จากการทํางานและการใช้ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินเพ่ือต่อยอด การพฒั นาในชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 3. สรา้ งทมี ผู้นํารนุ่ ใหม่ให้เรียนร้คู วบคไู่ ปกับผนู้ าํ รุ่นเก่า เพอื่ ความหลากหลายทีมของชุมชนในการ รว่ มกนั พฒั นาและสร้างเครอื ขา่ ยภายนอกกบั ชมุ ชนอื่นอยา่ งเป็นระบบ จะทําใหก้ ารพฒั นาหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง ตน้ แบบมีการพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื ตลอดไป
-3- 8. ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้ การดำเนินการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ต้องมีการบูรณาการความร่วมมือระหว่าง หมูบ่ า้ น/ชุมชน ประชาชน และภาคกี ารพัฒนาทำให้เกิดผล ดังน้ี 1. ประชาชนมีความรัก ความสามัคคี ให้ความร่วมมอื ในการทำกจิ กรรมสว่ นรวมมากขน้ึ 2. ประชาชนในหมู่บ้านมีความเข้มแข็ง พร้อมที่จะพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชนอย่าง ชดั เจนเปน็ รปู ธรรม 3. ผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน มีความเข้มแข็ง สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีมาปฏิบัติ เพื่อสร้างความ ศรัทธาให้เปน็ ที่ยอมรับของประชาชน เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ ภายในป 2565
สำนกั งำนพฒั นำชมุ ชนศรสี ำคร ถนน กรป.รงั สรรค์ ตำบลซำกอ อำเภอศรีสำคร จังหวัดนรำธวิ ำส 96210
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: