ประเพณีภาคเหนือ ประเพณี “ปอยหลวง” ลา้ นนา ความเชอ่ื ของคนลา้ นนาสว่ นใหญ่มกั จะสอดคลอ้ งกบั หลกั คาสอนของพทุ ธศาสนา อาจเป็นเพราะว่า ศาสนาไดเ้ขา้ มามี บทบาทอย่างสาคญั ต่อวถิ ชี วี ติ ของคนลา้ นนามาชา้ นาน จะเหน็ ไดจ้ ากการร่วมแรงร่วมใจในการจดั งานบญุ ประเพณีนน้ั สรา้ งความสามคั คแี ละพลงั ศรทั ธาอนั มหาศาลต่อพระพทุ ธศาสนา ดงั ความเชอ่ื ทว่ี ่า อานิสงสข์ องการสรา้ งกศุ ลผลบญุ จะ สง่ ผลใหด้ วงวญิ ญาณของผูท้ าบุญไดข้ ้นึ ไปสูส่ รวงสวรรค์ ดงั นน้ั ในงานบุญประเพณีของชาวลา้ นนา ไมว่ า่ จะเป็นงานนอ้ ย งานใหญ่ กล็ ว้ นแลว้ มาจากพลงั ศรทั ธาของชาวบา้ นทงั้ ส้นิ เช่นเดยี วกบั งานบญุ ปอยหลวง คาว่า “ปอยหลวง” ในภาษาลา้ นนา หมายถงึ การจดั งานเฉลมิ ฉลองศาสนสถานทส่ี รา้ งข้นึ จากศรทั ธาของชาวบา้ น เช่น โบสถ์ วหิ าร ศาลา กฏุ ิ หรอื กาแพงวดั การทเ่ี รยี กวา่ ปอยหลวง เพราะเป็นงานใหญ่ท่ตี อ้ งอาศยั ความร่วมมอื จาก ชาวบา้ นเป็นจานวนมาก ในงานจะมกี จิ กรรมต่าง ๆ ทงั้ พิธีทางศาสนาและมหรสพบนั เทงิ ก่อนทจ่ี ะถงึ วนั งานประมาณ 2 – 3 วนั ชาวบา้ นจะมกี ารทานตงุ ซง่ึ ทอดว้ ยฝ้ายหลากสสี นั ประดบั ดว้ ยด้นิ สเี งนิ สที อง บางผนื ทอข้นึ เป็นสธี งชาตไิ ทย หรอื ปกั เป็นรูปนกั ษตั ร 12 ราศี ยาวประมาณ 2 เมตร นาไปตดิ ไวก้ บั ปลายไมไ้ ผ่ ศรทั ธา
ชาวบา้ นจะนาตงุ ของแต่ละบา้ นไปปกั ไวต้ ามถนนระหว่างหมบู่ า้ น ตงุ หลากสสี นั ทเ่ี รยี งรายอย่างสวยงามตลอดสองขา้ ง ทางของหมบู่ า้ นนน้ั จะเป็นสญั ลกั ษณใ์ หผ้ ูค้ นทผ่ี ่านไปมาไดท้ ราบว่า วดั แหง่ นนั้ กาลงั จะมงี านปอยหลวง งานประเพณีปอยหลวงของชาวลา้ นนา นิยมจดั ข้นึ 2 – 3 วนั วนั แรก เรยี กวา่ “วนั แต่งดา” หรอื “วนั หา้ งดา” วนั ท่ี 2 เรยี กวา่ “วนั กนิ ” ส่วนวนั สุดทา้ ยเรยี กว่า “วนั ตาน” หรอื “วนั ครวั ตานเขา้ ” วนั แต่งดา คอื วนั ทม่ี กี ารเตรียมอาหารคาวหวานผลไม้ รวมทง้ั ขา้ วของเครอ่ื งใชท้ จ่ี ะนาไปถวายวดั ใสใ่ น “ครวั ตาน” ซง่ึ สรา้ งข้นึ จากไมเ้ป็นรูปสเ่ี หลย่ี ม สาหรบั ใชค้ นหาม ดา้ นบนมยี อดแหลมทามาจากใบคา สาหรบั ปกั เงนิ หรอื สง่ิ ของ เครอ่ื งใชไ้ มส้ อยสาหรบั พระภกิ ษุ สามเณร เช่น แป้ง สบู่ ผงซกั ฟอก แปรงสฟี นั สมดุ ดนิ สอ ปากกา เพอ่ื นาไปถวาย ใหก้ บั วดั สว่ นยอดของครวั ตานแต่ละบา้ นจะไมเ่ หมอื นกนั บางบา้ นทาเป็นรูปใบโพธ์ิ นาถว้ ย ชอ้ น จาน ชาม มาประดบั บางบา้ นนาโตะ๊ เกา้ อ้ี สาหรบั ถวายใหก้ บั วดั ซง่ึ แลว้ แต่ความคิดสรา้ งสรรคข์ องแต่ละบา้ น ถา้ ตน้ ครวั ตานของใครสวยงาม กจ็ ะเป็นทช่ี ่นื ชอบของบรรดาผูม้ าร่วมงาน สง่ิ สาคญั ของครวั ตาน คอื ยอด มกั นิยมนาธนบตั รมาหนีบไวก้ บั ไมไ้ ผแ่ ลว้ นามาปกั ประดบั ตามยอดเป็นช่อชนั้ อย่างสวยงาม เมอ่ื ถงึ วนั กนิ จะมบี รรดาญาตมิ ติ รสหาย แขกผูม้ เี กยี รตซิ ง่ึ เจา้ ของบา้ นไดบ้ อกกลา่ วใหม้ าร่วมงาน กจ็ ะมกี ารยกสารบั กบั ขา้ ว เหลา้ ยาปลาป้ิงมาเล้ยี ง ซง่ึ วนั น้ีถอื วา่ เป็นวนั ทส่ี นุกสนาน รุ่งข้นึ อกี วนั ถอื เป็นวนั ตาน มกี ารแห่ตน้ ครวั ตานของแต่ ละบา้ นไปวดั บรรยากาศในวนั น้ีกย็ ง่ิ สนุกสนานคึกคกั ดว้ ยว่าแต่ละบา้ นจะมมี หรสพแตรวง ดนตรพี ้นื บา้ นนาหนา้ ครวั ตาน ญาตพิ น่ี อ้ งกจ็ ะออกมาร่วมราวงฟ้อนรา สว่ นบรเิ วณใกล้ ๆ วดั จะมกี ารแสดงมหรสพพ้นื บา้ น เช่น ซอ ลเิ ก ใหก้ บั ผูม้ าร่วมงานชม งานปอยหลวง จะดาเนินไปทงั้ กลางวนั และกลางคืน เป็นเวลาติดต่อกนั หลายวนั ในบางหมบู่ า้ น เวลากลางคนื จะมคี นมาเทย่ี วงานเป็นจานวนมาก เพราะกลางวนั อาจตดิ ภาระกจิ การงาน ประการหน่ึงยงั เป็นโอกาสทห่ี นุ่มสาวจะไดพ้ บปะพดู คุยกนั อกี ดว้ ย ประเพณีปอยหลวงของชาวลา้ นนา ถอื วา่ งานบญุ ถวายทานทย่ี ง่ิ ใหญ่ ซง่ึ นานปีจะมสี กั ครงั้ ดงั นน้ั งานประเพณีปอยหลวง จงึ เป็นงานทท่ี กุ คนปลาบปล้มื ภมู ใิ จ บางคนชวั่ อายุหน่ึงอาจมโี อกาสไดเ้ป็นเจา้ ภาพในงานปอยหลวงเพยี งครงั้ เดยี วหรอื สองครง้ั เพราะงานปอยหลวงจะจดั ข้นึ กต็ ่อเมอ่ื มกี ารก่อสรา้ งศาสนสถานข้นึ เทา่ นน้ั
ประเพณีภาคกลาง ประเพณีว่ิงควาย เป็นงานประเพณีประจาจงั หวดั ชลบรุ ี เป็นหน่ึงในประเพณีอนั เป็นเอกลกั ษณ์ของจงั หวดั ชลบรุ ที ่มี กี ารจดั มากว่า 100 ปี แลว้ ประเพณีวง่ิ ควาย เป็นประเพณีทจ่ี ดั ข้นึ เป็นประจาทกุ ปี ในวนั ข้นึ 14 คา่ เดอื น11 หรอื ก่อนออกพรรษา 1 วนั เพอ่ื เป็นการทาขวญั ควายและใหค้ วายไดพ้ กั ผอ่ นหลงั จากการทานามายาวนาน นอกจากน้ีประเพณีวง่ิ ควายยงั เป็นการแสดง ความกตญั ญูรูค้ ุณต่อควายทเ่ี ป็นสตั วม์ บี ญุ คุณต่อชาวนาและคนไทยอกี ทงั้ ยงั เพอ่ื ใหช้ าวบา้ นไดม้ โี อกาสพกั ผ่อนมา พบปะสงั สรรคก์ นั ในงานวง่ิ ควาย กจ็ ะนาผลผลติ ของตนบรรทกุ เกวยี นมาขายใหช้ าวบา้ นรา้ นตลาดไปพรอ้ มๆ กนั ต่างคนกจ็ งู ควายเขา้ เทย่ี วตลาดจน กลายมาเป็นการแขง่ ขนั วง่ิ ควายกนั ข้นึ และจากการท่ชี าวไร่ชาวนาต่างกพ็ ากนั ตกแต่งประดบั ประดาควายของตนอยา่ ง สวยงามน่ีเอง ทาใหเ้กดิ การประกวดประชนั ความสวยงามของควายกนั ข้นึ พรอ้ มๆ ไปกบั การแขง่ ขนั วง่ิ ควาย ช่วงเวลา ในวนั ข้นึ ๑๔ คา่ เดอื น ๑๑ ก่อนออกพรรษา ๑ วนั ของทกุ ปี ความสาคญั ประเพณีวง่ิ ควาย เป็นประเพณีเกย่ี วกบั อาชพี เกษตรกรรม ซง่ึ ตกทอดมาจากบรรพบรุ ุษจนถงึ ปจั จบุ นั จดุ มงุ่ หมาย เพอ่ื ใหช้ าวบา้ นไดเ้ตรยี มของไปถวายวดั ปจั จยั ไทยธรรมไดพ้ กั ผอ่ นและไดส้ งั สรรคก์ นั ระหว่างชาวบา้ นซง่ึ เหน่ือยจากงาน
และใหค้ วายไดพ้ กั เน่ืองจากตอ้ งตรากตราในการทานา ปจั จบุ นั ประเพณีวง่ิ ควายเป็นประเพณีของจงั หวดั ชลบรุ ี โด่งดงั เป็นทร่ี ูจ้ กั ของชาวไทยและต่างประเทศ พธิ กี รรม ประเพณีวง่ิ ควาย จะจดั ในช่วงเชา้ เพอ่ื ใหค้ วายไดพ้ กั จากการไถนา ชาวไร่ชาวนาจะนาควายมาประดบั ตกแต่งอยา่ ง สวยงาม ชาวไร่ชาวนาทม่ี าดว้ ย กข็ ค่ี วายเดนิ ไปตามตลาดและวง่ิ อวดประกวดกนั เป็นทส่ี นุกสนาน ปจั จบุ นั นาควายมา ประกวดความสมบรู ณแ์ ละประลองฝีมอื โดยจดั ใหม้ กี ารแขง่ ขนั วง่ิ ควาย สาระ แสดงถงึ ความสามคั คีของชาวไร่ชาวนาไดม้ โี อกาสพบปะกนั และแสดงเมตตาต่อผูม้ บี ุญคุณ คือควายเพอ่ื ใหค้ วายได้ พกั ผ่อน ในวนั ข้นึ ๑๔ คา่ เดอื น ๑๑ ก่อนออกพรรษา ซง่ึ เป็นวนั ใกลส้ ้นิ ฤดูฝนจะย่างเขา้ ฤดูหนาว ประเพณีวง่ิ ควายเป็น ประเพณีทจ่ี ดั เป็นประจาทกุ ปี ในวนั ข้นึ ๑๔ คา่ เดอื น ๑๑ เหตทุ เ่ี ลอื กเอาวนั น้ีเพราะเป็นวนั พระ ชาวไร่ชาวนาเอาควาย มาเทยี มเกวยี นบรรทกุ กลว้ ย มะพรา้ ว ใบตอง ยอดมะพรา้ ว มาขายเพอ่ื คนในเมอื งจะไดซ้ ้อื ไปห่อขา้ วตม้ หาง ทาบุญตกั บาตร วนั เทโวโรหนะ วนั ออกพรรษาขากลบั จะไดม้ โี อกาสซ้อื ของไปทาบญุ เล้ยี งพระตามวดั วาอารามใกลเ้คียงในวนั พระ และวนั ออกพรรษา ประเพณีวง่ิ ควาย ปจั จบุ นั ในเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ี จดั ข้นึ วนั ข้นึ ๑๔ คา่ เดอื น ๑๑ อาเภอบา้ นบงึ จดั วนั ข้นึ ๑๕ คา่ เดอื น ๑๑ ตลาดหนองเขนิ ตาบลหนองชาก อาเภอบา้ นบงึ จดั วนั แรม ๑ คา่ เดอื น ๑๑ วดั กลางดอน ตาบลแสนสุข อาเภอเมอื งชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี จดั วง่ิ ควายในการทอดกฐนิ ประจาปีของวดั
ประเพณีภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประเพณีบญุ บง้ั ไฟ เป็นประเพณีหน่ึงของภาคอสี านของไทยรวมไปถงึ ลาว โดยมตี านานมาจากนิทานพ้นื บา้ นของภาคอสี านเร่อื งพระยาคนั คาก เร่อื งผาแดงนางไอ่ ซง่ึ ในนิทางพ้นื บา้ นดงั กลา่ วไดก้ ลา่ วถงึ การท่ชี าวบา้ นไดจ้ ดั งานบญุ บง้ั ไฟข้นึ เพอ่ื เป็นการบูชา พระยาแถน หรอื เทพวสั สกาลเทพบตุ ร ซง่ึ ชาวบา้ นมคี วามเช่อื วา่ พระยาแถนมหี นา้ ทค่ี อยดูแลใหฝ้ นตกถกู ตอ้ งตาม ฤดูกาล และมคี วามช่นื ชอบไฟเป็นอยา่ งมาก หากหมบู่ า้ นใดไมจ่ ดั ทาการจดั งานบุญบงั้ ไฟบชู า ฝนกจ็ ะไม่ตกถกู ตอ้ งตาม ฤดูกาล อาจก่อใหเ้กดิ ภยั พบิ ตั ิกบั หม่บู า้ นได้ ช่วงเวลา ของประเพณีบญุ บงั้ ไฟคือเดอื นหกหรอื พฤษภาคมของทกุ ปี ความเช่อื ของชาวบา้ นกบั ประเพณีบญุ บง้ั ไฟ ชาวบา้ นเชอ่ื ว่ามโี ลกมนุษย์ โลกเทวดา และโลกเทวดา มนุษยอ์ ยู่ใตอ้ ทิ ธพิ ลของเทวดา การราผฟี ้าเป็นตวั อย่างท่ี แสดงออกทางดา้ นการนบั ถอื เทวดา และเรยี กเทวดาว่า “แถน” เมอ่ื ถอื ว่ามแี ถนกถ็ อื ว่า ฝน ฟ้า ลม เป็นอทิ ธพิ ลของแถน หากทาใหแ้ ถนโปรดปราน มนุษยก์ จ็ ะมคี วามสุข ดงั นน้ั จงึ มพี ธิ ีบูชาแถน การจดุ บง้ั ไฟกอ็ าจเป็นอีกวธิ หี น่ึงทแ่ี สดงความ เคารพหรอื สง่ สญั ญาณความภกั ดไี ปยงั แถน ชาวอสี านจานวนมากเชอ่ื ว่าการจุดบง้ั ไฟเป็นการขอฝนจากพญาแถน และมี นิทานปรมั ปราเช่นน้ีอยู่ทวั่ ไป แต่ความเช่อื น้ียงั ไมพ่ บหลกั ฐานทแ่ี น่นอน นอกจากน้ีในวรรณกรรมอสี านยงั มคี วามเช่อื อยา่ งหน่ึงคอื เร่อื งพญาคนั คาก หรอื คางคก พญาคนั คากไดร้ บกบั พญาแถนจนชนะแลว้ ใหพ้ ญาแถนบนั ดาลฝนลงมาตก ยงั โลกมนุษย์
ความหมายของบง้ั ไฟ คาวา่ “บงั้ ไฟ” ในภาษาถน่ิ อสี านมกั จะสบั สนกบั คาว่า “บอ้ งไฟ” แต่ทถ่ี กู นน้ั ควรเรยี กวา่ ”บงั้ ไฟ”ดงั ท่ี เจรญิ ชยั ดง ไพโรจน์ ไดอ้ ธบิ ายความแตกต่างของคาทงั้ สองไวว้ า่ บง้ั หมายถงึ สง่ิ ทเ่ี ป็นกระบอก เช่น บงั้ ทงิ สาหรบั ใสน่ า้ ดม่ื หรอื บงั้ ขา้ วหลาม เป็นตน้ การเอาหมอ่ื ใส่กระบอกบง้ั ไฟ สว่ นคาวา่ บอ้ ง หมายถงึ สง่ิ ของใดๆ กไ็ ดท้ ่มี ี 2 ช้นิ มาสวมหรอื ประกอบเขา้ กนั ได้ ส่วนนอกเรยี กวา่ บอ้ ง ส่วนในหรอื สง่ิ ทเ่ี อาไปสอดใสจะเป็นสง่ิ ใดกไ็ ด้ เช่น บอ้ งมดี บอ้ งขวาน บอ้ งเสยี ม บอ้ งววั บอ้ งควาย ดงั นน้ั คาวา่ บงั้ ไฟ ในภาษาถน่ิ อสี านจงึ เรยี กว่า บง้ั ไฟ ซง่ึ หมายถงึ ดอกไมไ้ ฟชนิดหน่ึง มหี างยาวเอาดนิ ประสวิ มาควั่ กบั ถ่านไมต้ าใหเ้ขา้ กนั จนละเอยี ด เรยี กว่า หมอ่ื (ดนิ ปืน) และเอาหมอ่ื นนั้ ใสก่ ระบอกไมไ้ ผ่ตาใหแ้ น่นเจาะรูตอนทา้ ยของบง้ั ไฟ เอาไผ่ทอ่ นอน่ื มดั ตดิ กบั กระบอกใหใ้ ส่หมอ่ื โดยรอบ เอาไมไ้ ผ่ยาวลาหน่ึงมามดั ประกบต่อออกไปเป็นหางยาว สาหรบั ใชถ้ ่วงหวั ใหส้ มดุลกนั เรยี กวา่ “บงั้ ไฟ” ในทศั นะของผูว้ จิ ยั บงั้ ไฟ คอื การนาเอากระบอกไมไ้ ผ่ เลาเหลก็ ท่อเอสลอน หรอื เลาไมอ้ ย่างใดอย่าง หน่ึงมาบรรจุหมอ่ื (ดนิ ปืน) ตามอตั ราสว่ นทช่ี ่างกาหนดไวแ้ ลว้ ประกอบทอ่ นหวั และท่อนหางเป็นรูปต่างๆ ตามท่ตี อ้ งการ เพอ่ื นาไปจดุ พ่งุ ข้นึ สูอ่ ากาศ จะมคี วนั และเสยี งดงั บง้ั ไฟมหี ลายประเภท ตามจดุ มงุ่ หมายของประโยชนใ์ นการใชส้ อย ในทางศาสนาพทุ ธกบั ประเพณีบุญบง้ั ไฟ มกี ารฉลองและบูชาในวนั วสิ าขบชู ากลางเดอื นหก มกี ารทาดอกไมไ้ ฟในแบบต่างๆ ทงั้ ไฟนา้ มนั ไฟธูปเทยี นและ ดนิ ประสวิ มกี ารทาทาน รกั ษาศีล เจรญิ ภาวนา
ส่วนประกอบของบงั้ ไฟ 1. เลาบงั้ ไฟ เลาบงั้ ไฟคือส่วนประกบิ ทท่ี าหนา้ ท่บี รรจดุ นิ ปืน มลี กั ษณะเป็นรูปทรงกระบอกกลมยาว มคี วามยาว ประมาณ 1.5 - 7 เมตร ทาดว้ ยลาไมไ้ ผ่เลว้ ใชร้ ว้ ไมไ้ ผ่ (ตอก) ปิดเป็นเกลยี วเชอื กพนั รอบเลาบง้ั ไฟอกี ครงั้ หน่ึงใหแ้ น่น และใชด้ นิ ปืนทช่ี าวบา้ นเรยี กวา่ \"หมอื \" อดั ใหแ้ น่นลงไปในเลาบงั้ ไฟ ดว้ ยวธิ ใี ชส้ ากตาแลว้ เจาะรูสายชนวน เสรจ็ แลว้ นา เลาบง้ั ไฟ ไปมดั เขา้ กบั ส่วนหางบง้ั ไฟ ในสมดั ต่อมานิยมนาวสั ดุอ่นื มาใชเ้ป็นเลาบง้ั ไฟแทนไมไ้ ผ่ ไดแ้ ก่ ท่อเหลก็ ทอ่ พลาสตกิ เป็นตน้ เรยี กว่าเลาเหลก็ ซง่ึ สามารถอดั ดินปืนไดแ้ น่นและมปี ระสทิ ธภิ าพในการยงิ ไดส้ ูงกว่า 2. หางบง้ั ไฟ หางบงั้ ไฟถอื เป็นสว่ นสาคญั ทาหนา้ ทค่ี ลา้ ยหางเสอื ของเรอื คือสรา้ งความสมดุลยใ์ หก้ บั บง้ั ไฟคอย บงั คบั ทศิ ทางบง้ั ไฟใหย้ งิ ข้นึ ไปในทศิ ทางตรงและสูง บงั้ ไฟแบบเดมิ นนั้ ทาจากไมไ้ ผท่ ง้ั ลา ต่อมาพฒั นาเป็นหางทอ่ น เหลก็ และหางท่อนไมไ้ ผ่ตดิ กนั หางทอ่ นเหลก็ มลี กั ษณะเป็นท่อนกลม ทรงกระบอกมคี วามยาวประมาณ 8-12 เมตร ทา หนา้ ท่เป็นคานงดั ยกลาตวั บงั้ ไฟชูโด่งช้เี อยี งไปขา้ งหนา้ ทามมุ ประมาณ 30-40 องศากบั พ้นื ดนิ โดยบง้ั ไฟจะยน่ื ไปขา้ งหนา้ ยาวประมาณ 7-8 เมตร ปลายหางดา้ นหน่ึงตง้ั อยู่บนฐานท่ตี ง้ั บงั้ ไฟ 3. ลูกบง้ั ไฟ เป็นลาไมไ้ ผ่ทน่ี ามาประกอบเลาบงั้ ไฟโดยมดั รอบลาบงั้ ไฟ บงั้ ไฟลาหน่ึงจะประกอบดว้ ยลูกบง้ั ไฟ ประมาณ 8-15 ลูก ข้นึ อยูก่ บั ขนาดของบง้ั ไฟ เดมิ ลูกบงั้ ไฟมแี ปดลูกมชี อ่ื เรยี กเรียงตามลาดบั คู่ขนาดใหญ่ไปหาคู่ทม่ี ี ขนาดเลก็ กว่าไดแ้ ก่ ลูกโอ้ ลูกกลาง ลูกนางและลูกกอ้ ย ลูกบง้ั ไฟช่วยใหร้ ูปทรงของบงั้ ไฟกลมเรยี วสวยงาม นอกจากน้ี ลูกบง้ั ไฟยงั เป็นพ้นื ผวิ รองรบั การเอห้ รอื การตกแต่งลวดลายปะตดิ กระดาษ
ประเพณีภาคใต้ ประเพณีสารทเดือนสบิ เป็นงานบญุ ประเพณีของคนภาคใต้ ของประเทศไทย โดยเฉพาะ ชาวนครศรีธรรมราช ทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลดา้ นความเชอ่ื ซง่ึ มาจากทางศาสนาพราหมณ์ โดยมกี ารผสมผสานกบั ความเชอ่ื ทางพระพทุ ธศาสนา ซง่ึ เขา้ มาในภายหลงั โดยมี จดุ มงุ่ หมายสาคญั เพอ่ื เป็นการอทุ ศิ สว่ นกศุ ล ใหแ้ ก่ดวงวญิ ญาณของบรรพชนและญาตทิ ่ลี ว่ งลบั ซง่ึ ไดร้ บั การปลอ่ ยตวั มาจากนรก ทต่ี นตอ้ งจองจาอยู่ เน่ืองจากผลกรรมทต่ี นไดเ้คยทาไวต้ อนทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ โดยจะเรม่ิ ปลอ่ ยตวั จากนรกใน ทกุ วนั แรม 1 คา่ เดอื น 10เพอ่ื มายงั โลกมนุษย์ โดยมจี ดุ ประสงคใ์ นการมาขอสว่ นบญุ จากลูกหลานญาตพิ ่นี อ้ ง ทไ่ี ด้ เตรยี มการอทุ ศิ ไวใ้ หเ้ป็นการแสดงความกตญั ญูกตเวทตี ่อผูล้ ว่ งลบั หลงั จากนนั้ กจ็ ะกลบั ไปยงั นรก ในวนั แรม 15 คา่ เดอื น 10 ช่วงระยะเวลา ในการประกอบพธิ กี รรม ของประเพณีสารทเดอื นสบิ จะมขี ้นึ ในวนั แรม 1 คา่ ถงึ แรม 15 คา่ เดอื นสบิ ของทกุ ปี แต่สาหรบั วนั ทช่ี าวใตม้ กั จะนิยมทาบญุ กนั มากคอื วนั แรม 13-15 คา่ ประเพณีวนั สารทเดอื นสบิ โดยในสว่ น ใหญ่แลว้ จะตรงกบั เดอื นกนั ยายน ความเป็นมาของงานเทศกาลเดอื นสบิ เมอื งนครศรีธรรมราช “งานเทศกาลเดอื นสบิ ” จดั ข้นึ ครงั้ แรกเมอ่ื พ.ศ. 2466 ทส่ี นามหนา้ เมอื ง นครศรีธรรมราช โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื หา เงนิ สรา้ งสโมสรขา้ ราชการซง่ึ ชารุดมากแลว้ โดยในช่วงนนั้ พระภทั รนาวกิ จารูญ (เอ้อื น ภทั รนาวกิ ) ซง่ึ เป็นนายกศรี ธรรมราชสโมสร และพระยารษั ฎานุประดษิ ฐ์ ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั ไดร้ ่วมกนั จดั งานประจาปีข้นึ พรอ้ มทงั้ มกี ารออกรา้ น
และมหรสพต่างๆ โดยมรี ะยะเวลาในการจดั งาน 3 วนั 3 คนื จนกระทงั่ ถงึ ปี พ.ศ. 2535 ทางจงั หวดั ไดย้ า้ ยสถานทจ่ี ดั งาน จากสนามหนา้ เมอื ง ไปยงั สวนสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ 84 (ทงุ่ ท่าลาด) ซง่ึ มบี รเิ วณกวา้ ง และไดม้ กี ารจดั ตกแต่ง สถานท่ี ไวอ้ ย่างสวยงาม การจดั เทศการงานเดอื นสบิ ถอื เป็นความพยายามของมนุษย์ ท่มี งุ่ ทดแทน พระคุณบรรพบุรุษ แมว้ า่ จะลว่ งลบั ไปแลว้ ก็ ตาม ซง่ึ เป็นสง่ิ ทช่ี าวไทยทกุ คน ควรตอ้ งยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ รวมทง้ั ปลูกฝงั ใหอ้ นุชนรุ่นหลงั ไดป้ ฏบิ ตั สิ บื ทอดต่อๆไป อยา่ ง นอ้ ย หากมนุษยร์ ะลกึ ถงึ เร่อื งเปรต กจ็ ะสานึกถงึ บาปบญุ คุณโทษ รวมทงั้ การแสดงออก ซง่ึ ความกตญั ญูกตเวที ทเ่ี ป็น หวั ใจสาคญั ในการอยู่ร่วมกนั ในสงั คม อยา่ งสงบสุข ตลอดไป ความเชอ่ื ของพทุ ธศาสนิกชน ชาวนครศรธี รรมราช เชอ่ื ว่าบรรพบรุ ุษ อนั ไดแ้ ก่ ปู่ ย่า ตา ยาย และ ญาตพิ น่ี อ้ ง ทล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ หากทาความดไี ว้ เมอ่ื ครง้ั ทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ จะไดไ้ ปเกิดในสรวงสวรรค์ แต่หากทาความชวั่ จะตกนรก กลายเป็น เปรต ตอ้ งทนทกุ ขท์ รมานในอเวจี ตอ้ งอาศยั ผลบญุ ทล่ี ูกหลานอทุ ศิ ส่วนกศุ ลใหใ้ นแต่ละปี มายงั ชพี ดงั นนั้ ในวนั แรม 1 คา่ เดอื นสบิ คนบาปทง้ั หลาย ทเ่ี รียกว่า เปรต จงึ ถกู ปลอ่ ยตวั กลบั มายงั โลกมนุษย์ เพอ่ื มาขอส่วนบญุ จากลูกหลาน ญาตพิ น่ี อ้ ง และจะกลบั ไปนรกดงั เดมิ ก่อนพระอาทติ ยข์ ้นึ ในวนั แรม 15 คา่ เดอื นสบิ โอกาสน้ีเองลูกหลาน และผูท้ ย่ี งั มี ชวี ติ อยู่ จงึ นาอาหารไปทาบญุ ทว่ี ดั เพอ่ื อทุ ศิ ส่วนกศุ ล ใหแ้ ก่ผูล้ ว่ งลบั ไปแลว้ เป็นการแสดงความกตญั ญูกตเวที วนั สารท เป็นวนั ทถ่ี อื เป็นคติ และเช่อื สบื กนั มาว่า ญาตทิ ล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ จะมโี อกาส ไดก้ ลบั มารบั สว่ นบญุ จากญาตพิ ่ี นอ้ งทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ ดงั นนั้ จงึ มกี ารทาบญุ อทุ ศิ ส่วนกศุ ล ไปใหญ้ าตใิ นวนั น้ี และเช่อื วา่ หากทาบญุ ในวนั น้ีไปใหญ้ าตแิ ลว้ ญาตจิ ะไดร้ บั ส่วนบญุ ไดเ้ตม็ ท่ี และมโี อกาสหมดหน้ีกรรม และไดไ้ ปเกดิ หรอื มคี วามสุข อกี ประการหน่ึง สงั คมไทยเป็นสงั คมเกษตรกรรม ทานาเป็นอาชีพหลกั ในช่วงเดอื นสบิ น้ี ไดป้ กั ดาขา้ วกลา้ ลงในนา หมดแลว้ กาลงั งอกงาม และรอเกบ็ เก่ยี วเมอ่ื สุก จงึ มเี วลาวา่ งพอทจ่ี ะทาบุญ เพอ่ื เล้ยี งตอบแทน และขอบคุณสง่ิ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ หรอื แมพ่ ระโพสพ หรือ ผไี ร่ ผนี า ทช่ี ่วยรกั ษาขา้ วกลา้ ในนาใหเ้จรญิ งอกงามดี และออกรวงจนสุกใหเ้กบ็ เกย่ี ว ไดผ้ ลผลติ มาก ความสาคญั ของประเพณีสารทเดอื นสบิ ของชาวนครศรธี รรมราช การทาบญุ สารทเดอื นสบิ เป็นประเพณีทช่ี าวเมอื งนครศรีธรรมราช ไดถ้ อื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยศรทั ธาแต่ดึกดาบรรพ์ โดยถอื เป็น คตวิ ่า ปลายเดอื นสบิ ของแต่ละปี เป็นระยะทพ่ี ชื พนั ธุธ์ ญั ญาหารในทอ้ งถน่ิ ออกผล เป็นช่วงทช่ี าวเมอื งซง่ึ ส่วนใหญ่ ยงั ชพี ดว้ ยการเกษตร ช่นื ชมยนิ ดใี นพชื ของตน ประกอบดว้ ยเชอ่ื กนั วา่ ในระยะเดยี วกนั น้ีเปรตทม่ี ชี อ่ื วา่ “ปรทตั ตูปชวี ี เปรต” จะถกู ปลอ่ ยใหขั ้นึ มาจากนรก เพอ่ื มารอ้ งขอสว่ นบญุ ต่อลูกหลาน ญาตพิ น่ี อ้ ง เหตนุ ้ี ณ โลกมนุษย์ จงึ ไดม้ กี าร ทาบุญอทุ ศิ สว่ นกศุ ล ไปไห้ พอ่ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย พน่ี อ้ ง ลูกหลาน ทล่ี ว่ งลบั ไป โดยการจดั อาหารคาวหวาน วางไวท้ ่ี บรเิ วณวดั เรยี กวา่ “ตง้ั เปรต”ตามพธิ ไี สยเวทอกี ทางหน่ึงดว้ ย ซง่ึ เร่อื งน้ีกไ็ ดพ้ ฒั นามาเป็น “การชงิ เปรต” ในเวลาต่อมา ความมงุ่ หมายของประเพณีสารทเดอื นสบิ ประเพณีสารทเดอื นสบิ มคี วามมงุ่ หมายสาคญั อยู่ท่ี การทาบญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลให้ กบั พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย และญาตพิ ่ี นอ้ ง ผูล้ ว่ งลบั ไปแลว้ แต่ดว้ ยเหตทุ ว่ี ถิ ีชวี ติ ของชาวนครศรธี รรมราช เป็นวถิ ชี วี ติ แหง่ พระพทุ ธศาสนา ในสงั คม เกษตรกรรม จงึ มคี วามมงุ่ หมายอ่นื ร่วมอยูด่ ว้ ย 1) เป็นการทาบญุ อุทศิ สว่ นกศุ ล ใหก้ บั พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ญาตพิ น่ี อ้ ง หรอื บคุ คลอน่ื ผูล้ ว่ งลบั ไปแลว้
2) เป็นการทาบญุ ดว้ ยการเอาผลผลติ ทางการเกษตร แปรรูปเป็นอาหารถวายพระสงฆ์ รวมถงึ การจดั หมฺ รบั ถวายพระ ในลกั ษณะของ “สลากภตั ” นอกจากน้ี ยงั ถวายพระ ในรูปของผลผลติ ทย่ี งั ไม่แปรสภาพ เพอ่ื เป็นเสบยี งแก่พระสงฆ์ ในช่วงเขา้ พรรษาในฤดูฝน ทง้ั น้ีเพอ่ื ความเป็นสริ มิ งคล แก่ตนเอง ครอบครวั และเพอ่ื ผลในการประกอบอาชีต่อไป 3) เพอ่ื เป็นการแสดงออกถงึ ความสนุกสนานร่นื เรงิ ประจาปี เป็นสง่ิ ทม่ี อี ยูใ่ นทกุ ประเพณี ของชาวนคร แต่ประเพณีน้ีมี ช่อื เสยี งมากทส่ี ุด ไดจ้ ดั ข้นึ อยา่ งยง่ิ ใหญ่ทุกๆ ปี เรยี กว่า “งานเดอื นสบิ ” ซง่ึ งานเดอื นสบิ น้ี ไดจ้ ดั ควบคู่กบั ประเพณีสารท เดอื นสบิ มาตงั้ แต่ พ.ศ. 2466 จนถงึ ปจั จบุ นั กจิ กรรม การทาบญุ วนั สารทเดอื นสบิ หรือภาษาทอ้ งถ่นิ เรียกว่า วนั ชงิ เปรตนนั้ ในเดอื นสบิ )กนั ยายน) มกี ารทาบญุ ทว่ี ดั 2 ครง้ั ครงั้ แรก วนั แรม 1 คา่ เดอื นสบิ เรยี กว่า วนั รบั เปรต ครง้ั ทส่ี อง วนั แรม 15 คา่ เดอื นสบิ เรยี กว่า วนั สง่ เปรต การทาบญุ ทงั้ สองครงั้ เป็นการทาบญุ ทแ่ี สดงถงึ ความกตญั ญูต่อบพุ การผี ูล้ ว่ งลบั ไปแลว้ โดยอทุ ศิ สว่ นกศุ ล ไปให้ วญิ ญาณของบรรพบรุ ุษท่ตี กอยู่ในเปรตภูมิ เป็นคตขิ องศาสนาพราหมณ์ ทผ่ี สมในประเพณีของพทุ ธศาสนา พทุ ธศาสนิกชน นิยมไปทาบุญ ณ วดั ทเ่ี ป็นภมู ลิ าเนาของตน เพอ่ื ร่วมพธิ ตี ง้ั เปรต และชงิ เปรตอาจสบั เปลย่ี นกนั ไป ทาบญุ ณ ภมู ลิ าเนาของฝ่ายบดิ าครงั้ หน่ึง ฝ่ายมารดาครง้ั หน่ึง จงึ ทาใหผ้ ูท้ ไ่ี ปประกอบ อาชพี จากถน่ิ ห่างไกลจากบา้ น เกดิ ไดม้ โี อกาสไดก้ ลบั มาพบปะสงั สรรค์ และรูจ้ กั วงศาคณาญาตเิ พม่ิ ข้นึ ประเพณีปฏบิ ตั ิ ก่อนวนั งาน ชาวบา้ นจะทาขนมทเ่ี รยี กวา่ กระยาสารท และขนมอ่นื ๆ แลว้ แต่ความนิยมของแต่ละทอ้ งถน่ิ ในวนั งาน ชาวบา้ นจดั แจงนาขา้ วปลาอาหารและขา้ วกระยาสารทไปทาบุญตกั บาตรทว่ี ดั ประจาหมบู่ า้ น ทายก ทายกิ าไปถอื ศีล เขา้ วดั ฟงั ธรรม และรกั ษาอโุ บสถศีล นาขา้ วกระยาสารท หรอื ขนมอน่ื ไปฝากซง่ึ กนั และกนั ยงั บา้ นใกลเ้รอื นเคยี ง หรอื หมู่ ญาตมิ ติ รทอ่ี ยู่บา้ นไกล หรอื ถามขา่ วคราวเยย่ี มเยอื นกนั บางทอ้ งถน่ิ ทาขนม สาหรบั บชู า สง่ิ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ แมพ่ ระโพสพ ผี นา ผไี ร่ดว้ ย เมอ่ื ถวายพระสงฆเ์ สรจ็ แลว้ กน็ าไปบูชาตามไร่นา โดยวางตามกง่ิ ไมต้ น้ ไม้ หรอื ทจ่ี ดั ไวเ้พอ่ื การนนั้ โดยเฉพาะ
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: