Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2เล่มสถานศึกษาปลอดภัย

2เล่มสถานศึกษาปลอดภัย

Published by Bool Bas, 2021-06-17 09:09:30

Description: 2เล่มสถานศึกษาปลอดภัย

Search

Read the Text Version

51 มีน้ำดมื่ ทส่ี ะอาดและไดม้ าตรฐานจำหนา่ ย มีน้ำดืม่ ท่สี ะอาดสำหรับนกั เรยี น

52 21. การจดั ท่รี ับประทานอาหารและทพี่ กั ทเี่ หมาะสมและถกู สุขลกั ษณะ  มีการทำความสะอาดจดั ที่รับประทานอาหารและทพ่ี ักทีเ่ หมาะสมและถูกสขุ ลักษณะ มีการทำความสะอาดจัดท่รี ับประทานอาหารและทพี่ ักทเี่ หมาะสมและถูกสขุ ลักษณะ

53 มกี ารทำความสะอาดจัดท่รี บั ประทานอาหารและทพ่ี กั ท่เี หมาะสมและถกู สขุ ลกั ษณะ

54 22. การจดั สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภัยในสถานศกึ ษา  มีการจัดสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั ในสถานศกึ ษา มีการติดต้งั ระบบไฟฟา้ สำหรบั หอ้ งสำนกั งาน ท่เี หมาะสม ได้มาตรฐาน และปลอดภัยในการทำงาน

55 สภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษาปลอดภัย

56 สภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษาปลอดภัย

57 สภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษาปลอดภัย

58 23. มาตรการเพื่อความปลอดภยั เกยี่ วกับสารเคมีในสถานศึกษา  มีมาตรการเพื่อความปลอดภยั เกีย่ วกับสารเคมใี นสถานศกึ ษา มีการจัดเกบ็ สารเคมีท่ีใช้ในการทดลองวิทยาศาสตร์ทป่ี ลอดภยั มบี คุ ลากรดูแลและใหค้ ำแนะนำในการใชส้ ารเคมีท่ถี ูกต้องและปลอดภัย

59 24. การรบั ฟังความคดิ เห็นหรอื ข้อเสนอแนะดา้ นความปลอดภยั ในสถานศึกษาจาก ครอู าจารย์ นักเรยี น  มกี ารรับฟังความคิดเหน็ หรือข้อเสนอแนะดา้ นความปลอดภัยในสถานศึกษาจากครูอาจารย์ นกั เรยี น การรบั ฟังความคิดเหน็ หรือข้อเสนอแนะดา้ นความปลอดภัยในสถานศกึ ษา ผ่านกลอ่ งแสดงความคิดเหน็ และการประชุมหารือประจำเดือน

60 เอกสารประกอบการรบั ฟงั ความคดิ เห็น

61 เอกสารประกอบการรบั ฟังความคดิ เห็น(ต่อ)

62 25. การจดั เกบ็ สถติ อิ ุบตั เิ หตหุ รือการเจบ็ ป่วยในสถานศึกษาและการวางแผนปอ้ งกนั  มีการจัดเกบ็ สถติ ิอุบตั เิ หตหุ รอื การเจ็บป่วยในสถานศึกษาและการวางแผนปอ้ งกันท่เี หมาะสม

63

64 การจัดทำแผนการป้องกันโรคติดต่อ

65 การจัดทำแผนการปอ้ งกนั โรคติดต่อ(ตอ่ )

66 26. การจดั กิจกรรมเพอื่ สง่ เสริมและกระตุ้นจิตสำนกึ ใหแ้ ก่นักเรยี น ด้านความปลอดภยั ในสถานศึกษา  มีการจัดกจิ กรรมเพอื่ ส่งเสรมิ และกระตุน้ จติ สำนกึ ให้แกน่ ักเรียน ดา้ นความปลอดภัยใน สถานศึกษา กจิ กรรมอบรมวนิ ยั จราจร เจ้าหน้าที่ตำรวจแนะนำนักเรียนในการขบั ขีร่ ถจกั รยายนต์ให้ปลอดภยั

67 กิจกรรมการใหค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั การซอ้ มดบั เพลงิ ในสถานศกึ ษา กิจกรรมส่งเสริมดา้ นสุขภาพอนามัย

68 27. หนังสือ ตำรา มาตรฐานเกยี่ วกบั ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมใน การทำงาน  มีหนงั สอื ตำรา มาตรฐานเกี่ยวกับความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน โรงเรียนมีหนงั สอื ตำรา มาตรฐานเกย่ี วกับความปลอดภัย อาชวี อนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อใชใ้ น การศึกษาค้นคว้า และเรียนรู้ของบคุ ลากรภายในโรงเรียน และบุคลากรสามารถเข้าถงึ แหลง่ เรยี นรู้ไดอ้ ย่าง เหมาะสม

69 มกี ารสบื คน้ ความรู้ดา้ นสขุ ภาพและความปลอดภัยในห้องสมุด

70 28. มาตรการดูแลความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง สำหรับนักเรยี นในสถานศกึ ษา  มีมาตรการดูแลความปลอดภัยในการเดินทาง สำหรบั นักเรยี นในสถานศึกษา มีมาตรการดแู ลความปลอดภัยในการเดินทาง สำหรบั นักเรียนในสถานศกึ ษา มีมาตรการดแู ลความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง สำหรับนกั เรยี นในสถานศึกษา

71 มีมาตรการดแู ลความปลอดภยั ในการเดินทาง สำหรบั นกั เรยี นในสถานศกึ ษา

72 มีมาตรการดแู ลความปลอดภยั ในการเดินทาง สำหรบั นกั เรยี นในสถานศกึ ษา

73 29. การสรา้ งความรว่ มมือและกิจกรรมดำเนินการระหว่างชุมชนหรือผู้ปกครอง หรือ หน่วยงานภาครฐั เพ่อื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา  มีการสร้างความรว่ มมือและกจิ กรรมดำเนนิ การระหว่างชุมชนหรือผู้ปกครอง หรือหนว่ ยงาน ภาครัฐ เพ่ือให้เกิดความปลอดภัยในสถานศึกษา การประชุมความร่วมกนั กบั คณะกรรมการสถานศกึ ษาเพ่ือใหเ้ กดิ ความปลอดภยั

74 การประชมุ ความร่วมมือกบั เครอื ขา่ ยผปู้ กครองเพอื่ ใหเ้ กิดความปลอดภัย

75 การประชมุ ผปู้ กครองนักเรียนเพ่ือสรา้ งความร่วมมอื ใหเ้ กิดความปลอดภยั ในสถานศึกษา

76 การจดั กิจกรรมของหนว่ ยงานภายนอก การส่งมอบธนาคารขยะโรงเรยี นเทพศิรินทรค์ ลองสิบสาม ปทมุ ธานี

77 การสมุ่ ตรวจหาสารเสพติดในสถานศึกษาของนักเรียน โรงเรยี นเทพศิรนิ ทรค์ ลองสิบสาม ปทมุ ธานี

78 30. การจดั ตั้งชมรมฯ การจดั ตง้ั คณะทำงานหรอื คณะกรรมการเก่ยี วกบั ความปลอดภยั ในสถานศึกษา  มีการจัดตัง้ ชมรมฯ การจัดตัง้ คณะทำงานหรอื คณะกรรมการเก่ยี วกับความปลอดภยั ใน สถานศกึ ษา แกนนำห้องเรียน 4 ฝ่าย โรงเรียนเทพศริ นิ ทรค์ ลองสิบสาม ปทมุ ธานี

79 ภาคผนวก ประวัติโดยยอ่ ของโรงเรยี น โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานีเป็นโรงเรียนรัฐบาลในสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา มัธยมศึกษา เขต ๔ (ปทุมธานี สระบุรี) ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางเปิดสอนในระดับช้ันมัธยมศึกษา ตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายแบบสหศึกษา ตั้งอย่บู ริเวณถนนเลียบคลองสิบสาม ตำบลบึงคอไห อำเภอลำลูก กา จังหวัดปทุมธานีและเปน็ โรงเรียนในกลุ่มโรงเรยี นเทพศิรินทร์ โรงเรยี นเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี มีช่ือ เดิมว่าโรงเรียนคลองสิบสามวิทยา เกิดข้ึนจากความต้องการของประชาชนในเขตพ้ืนที่คลองสิบสามและชุมชน ใกลเ้ คยี ง เพราะในสมัยก่อนท่ีจะต้ังโรงเรียนนักเรียนในพื้นท่ีท่ีต้องการจะศึกษาต่อในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาเดินทาง ไปเรียนต่อท่ีอำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ซ่ึงมีระยะทางกว่า ๓๐ กิโลเมตร มีเส้นทางทุรกันดาร และถนน คลองสิบสามสายกลางยังเป็นดินคันคลองชลประทาน ขณะนั้นนายรุสดี ผลเจริญ ประธานอิสลามประจำจังหวัด ปทุมธานีและคณะมีความคิดที่จะให้มีโรงเรียนมัธยมศึกษา ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ โดยจะใช้ที่ดินของมัสยิดอัลฮูดา อยู่หา่ งจากที่ตงั้ ของโรงเรียนในปัจจบุ ัน ๒๐๐ เมตร แตไ่ มเ่ ป็นท่ยี ินยอมตอ่ มาไดร้ ับทดี่ ินจากนายสอิดและนางลอ ร่ืน สุข ซ่ึงมอบให้มัสยิดประชาสัมพันธ์เป็นผู้ดำเนินการจัดการมอบท่ีดินจำนวน ๔๘ ไร่ ๒๒ ตารางวา โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการศาสนาประจำมัสยิดประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างโรงเรียนวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๑๙ กรม สามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติให้ดำเนินการจัดต้ังเป็นโรงเรียน โดยให้ชื่อว่าโรงเรียนคลองสิบสาม วทิ ยา และแต่งต้ังนายวิวัฒน์ พวงมะลิต เปน็ ครใู หญ่คนแรก มนี ักเรยี นรนุ่ แรกจำนวน ๓๑ คน ซ่งึ ในระยะแรกได้ใช้ มัสยิดอัลฮุดาเป็นสถานที่และได้ย้ายมาท่ีต้ังของโรงเรียนเม่ืออาคารชั่วคราวก่อสร้างเสร็จ และได้รับการช่วยเหลือ จากชมุ ชนโดยเฉพาะพระครพู นิ จิ ธญั โสภณ เจ้าอาวาสวดั นเิ ทศราษฎร์ประดิษฐ์ ชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๓๕ โรงเรยี นไดเ้ ปดิ ทำการสอนในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ มีจำนวนหอ้ งเรียน ทัง้ หมด ๖ หอ้ งเรียน มีนักเรยี น ๑๘๑ คน ซ่ึงในขณะน้นั ได้มีโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาก่อต้งั ขึ้นใหมห่ ลายโรงเรียนและ นักเรียนท่จี บระดับชนั้ มธั ยมศึกษาท่ีเปน็ ชาวมุสลิมจะเดนิ ทางไปศึกษาตอ่ ทางศาสนาในภาคใต้ โดยไมศ่ ึกษาสาย สามญั จงึ จำเป็นท่ีจะต้องแกป้ ัญหาดงั กลา่ วและพัฒนาโรงเรยี น โดยมี ดร.โกวทิ วรพพิ ฒั น์ อธิบดีกรมสามญั ศกึ ษา ในขณะนั้น นายณรงค์ กาญจนานนท์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนเทพศริ ินทร์ และนายถนอม ผดงุ สทุ ธิ์ อาจารย์ใหญ่ โรงเรยี นคลองสิบสามวทิ ยา เป็นผดู้ ำเนินการ วนั ที่ ๒๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๓๕ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดอ้ นมุ ตั ิใหเ้ ปล่ียนช่อื โรงเรียนจากโรงเรยี น คลองสิบสามวทิ ยา เปน็ โรงเรยี นเทพศริ ินทร์คลองสิบสาม ปทมุ ธานี วนั ท่ี ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๗ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงรบั นกั เรียน โรงเรียนเทพศิรนิ ทรค์ ลองสิบสาม ปทุมธานี เข้าโครงการ “ด้วยรักและห่วงใย” ในพระอปุ ถัมป์ และพระองค์ได้

80 เสดจ็ พระราชดำเนินเยี่ยมโรงเรียนเทพศริ นิ ทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี เป็นการส่วนพระองค์ เมื่อวนั ที่ ๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๕๓๗ เป็นการเสด็จเยย่ี มครงั้ ท่ี ๑ คร้งั ท่ี ๒ วนั ท่ี ๒๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๕๔๒ คร้ังท่ี ๓ เม่ือ วนั ที่ ๑๐ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ซง่ึ ในระยะก่อนการเสด็จพระราชดำเนินโรงเรยี นไดด้ ำเนินการปรบั ปรงุ โรงเรยี น ตามกำลังและสภาพเท่าทเ่ี ปน็ ไปได้โดยไดร้ บั ความอนเุ คราะห์จากหลายฝา่ ยมาชว่ ยลงแรงพัฒนาโรงเรยี นเพ่ือถวาย แดพ่ ระองคท์ ่าน เชน่ หนว่ ยบญั ชาการักองทพั อากาศคณะอาสาสมัครสุขาภบิ าลธัญบุรี-ลำไทรกองบญั ชาการตำรวจ ตระเวนชายแดน เรือนจำธญั บุรี ตลอดจนศษิ ย์เกา่ คณะกรรมการทีป่ รึกษาโรงเรยี น และโรงเรยี นมธั ยมตา่ ง ๆ ใน จังหวดั ปทมุ ธานี กอ่ นการเสด็จพระราชดำเนินเย่ียมในแต่ละครั้งไดท้ รงพระราชทานไก่พันธ์ุเนือ้ เปด็ พนั ธุไ์ ขแ่ ละ พันธุผ์ ัก ซึ่งเปน็ พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ใหแ้ กท่ างโรงเรียนเพือ่ จัดทำโครงการอาหารกลางวนั สำหรบั นักเรียนใน โรงเรียนเป็นการเริม่ ตน้ โครงการโดยพระราชทานมาตัง้ แต่วันที่ ๑๒ตุลาคม ๒๕๓๗ โรงเรยี นเทพศิรินทรค์ ลองสบิ สาม ปทุมธานี รู้สึกซาบซ้งึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ อยา่ งหาทีส่ ุดมิได้ ได้รบั ทราบจากพระราชปรารภทีท่ รงมีวา่ “จะ ไปดโู รงเรียนเขาสักหนอ่ ย ครูกม็ นี อ้ ย ต้องเขา้ ไปช่วย ต้องไปจัดการเองแล้ว” ทางคณะครูและผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะนายสมพงษ์ เลี้ยงเจริญ อาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนในขณะน้ัน เป็นผ้ปู ระสานนโยบายตามพระราชดำริมาแตต่ น้ ไดร้ ะดมสรรพกำลังจากฝา่ ยต่าง ๆ เข้ามาพัฒนาสภาพโรงเรยี นใหม้ ี ความสะอาดเรียบรอ้ ยงดงามเหมาะสมกับพระเกียรติยศท่ีทรงพระกรุณาแก่โรงเรยี นและชาวจงั หวดั ปทมุ ธานี คณะ ครูอาจารย์ของโรงเรียน ขอรับพระราชดำริมาใส่ไว้เหนือเกล้าเหนือกระหม่อมท่ีจะปฏิบัติหน้าท่ีถวายความ จงรกั ภกั ดีตลอดไปจนกวา่ ชวี ติ จะหาไม่ ปจั จบุ ันเปิดทำการสอนมาเปน็ เวลา ๔๓ ปี เปน็ โรงเรียนขนาดกลาง มนี กั เรยี น ๘๗๔ คน จดั การ ศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ มีข้าราชการครูรวม ๕๖ คน พนกั งานราชการ ๑ คน ครูอตั ราจา้ ง ๗ คน เจา้ หนา้ ทหี่ อ้ งวทิ ยาศาสตร์ ๑ คน ครูธุรการ ๑ คน เจ้าหน้าท่ีสำนกั งาน ๕ คน ลกู จ้างประจำ ๒ คน และลกู จ้าง ช่ัวคราว ๑๒ คน

81 นายพษิ ณุ เดชใด ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น สัญลกั ษณโ์ รงเรียน ตราสญั ลักษณ์ประจำโรงเรยี น ประกอบดว้ ยส่วนประกอบต่าง ๆ ซึง่ แต่ละส่วนมคี วามหมายดงั น้ี ดวงอาทิตย์พ่ึงแรกข้ึนและทะเล หมายถึง พระนามของสมเด็จพระราชปติ ุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุ รงั ษสี วา่ งวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธวุ งศ์วรเดช (\"ภาณุรงั ษ\"ี แปลวา่ ดวงอาทิตย์พง่ึ แรกขน้ึ ) ผปู้ ระทานตราสัญลักษณ์ และกอ่ สรา้ งตกึ แม้นนฤมิตรให้เป็นอาคารเรยี นหลงั แรกของโรงเรยี นเทพศริ ินทร์ อักษร \"ม\" หมายถึง หม่อมแม้น ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา ชายาของสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข ซึ่ง สมเดจ็ พระราชปิตลุ าบรมพงศาภิมุข ไดก้ อ่ สร้างตึกแมน้ นฤมติ รเพ่ือเปน็ การอุทิศสวนกศุ ลแด่หม่อมแมน้ ช่อดอกรำเพย หมายถึง พระนามเดิมของสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์) พระบรมราชชนนีของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวและสมเด็จพระราชปติ ลุ าบรมพงศาภิมุข ซึ่งท้งั สอง

82 พระองค์ทรงสร้างวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโรงเรียนเทพศิรินทร์เพื่อเป็นพระราชกุศลแด่พระบรมราช ชนนี พุทธสุภาษิต น สิยา โลกวฑฺโน แปลว่า ไม่ควรเป็นคนรกโลก ซ่ึงสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรถะ) เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ทรงประทานให้กับโรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๖ สีประจำโรงเรียน สเี ขยี ว สเี หลือง ทง้ั สองสี หมายถงึ สีประจำวันพฤหสั บดี ตามตำราพิชยั สงคราม ซ่งึ วันพฤหสั บดนี ั้น เปน็ วนั ประสตู ิของสมเด็จ พระเทพ ศริ ินทราบรมราชินี และสขี องใบและดอกรำเพย ดอกไมป้ ระจำโรงเรยี น ดอกรำเพย เพลงประจำโรงเรยี น บทร้องประจำโรงเรียนเทพศิรนิ ทร์ (อโห กมุ าร) อตั ลักษณข์ องโรงเรียน สภุ าพบุรษุ สภุ าพสตรี ลกู แม่รำเพย ( วิสัยทัศน์ไกล ใจกวา้ ง รา่ งสมาร์ท มารยาทงาม ) คำขวัญ/ ปรัชญาประจำโรงเรียน รกั ศกั ดศิ์ รี มีคุณธรรม นำวิชาการ สืบสานงานพระราชดำริ เอกลักษณ์โรงเรยี น หลากหลายวัฒนธรรม สงั คมสมานฉันท์ วฒั นธรรมองคก์ ร ยิ้มไหว้ ทกั ทายกนั สมานฉันท์ เปน็ หนง่ึ เดยี ว วสิ ัยทศั น์

83 นำความร้คู ู่คุณธรรม ต้านภยั ยาเสพติดบนพืน้ ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงห่างไกลยาเสพตดิ กลยุทธ์โรงเรียน ๑. ยกระดับคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา ๒. บูรณาการทกั ษะในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติดในหลักสตู รสถานศกึ ษา ๓. ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และเฝา้ ระวงั สถานการณ์ปญั หายาเสพติด ๔. พฒั นาแหลง่ เรียนรแู้ ละเสริมสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ทง้ั ในและนอกห้องเรียน ๕. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การโดยการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน พนั ธกิจ ๑. ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนแสดงความสามารถ กลา้ คดิ กล้าทำ กล้าแสดงออกและช่วยสรา้ งเสริมความ ภาคภูมิใจ โดยใชก้ ิจกรรมสือ่ ดนตรี กฬี า ศิลปะการแสดง กิจกรรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม ประเพณีและอาชีพภูมิ ปญั ญาท้องถิน่ ๒. สรา้ งความรู้ และทกั ษะในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพติด รณรงค์เพ่อื เปลีย่ นคา่ นยิ มและสร้าง จติ สำนกึ ไม่ยุ่งเกย่ี วกับสารเสพติดและพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ๓. พฒั นาศักยภาพภาคีเครอื ขา่ ยในการร่วมดำเนนิ การป้องกัน และแก้ไขยาเสพติดใหเ้ ป็นไปอยา่ งมี ประสิทธิภาพอยา่ งต่อเนอื่ งและยัง่ ยืน เป้าประสงค์ ๑. นกั เรียนแสดงความสามารถ กล้าคิด กลา้ ทำ กลา้ แสดงออกและชว่ ยสร้างเสรมิ ความภาคภมู ิใจ โดยใช้ กจิ กรรมสอื่ ดนตรี กฬี า ศิลปะการแสดง กิจกรรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม ประเพณีและอาชีพภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ๒. ผู้เรียนมีทักษะในการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ รณรงคเ์ พ่อื เปลยี่ นค่านิยมและสรา้ งจติ สำนึกไม่ ยุ่งเกย่ี วกบั สารเสพตดิ และพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ ๓. ผเู้ รียนไดแ้ ลกเปล่ยี นเรยี นรู้ จัดทำโครงงานเสนอแนวคิดเพ่ือสาธารณะประโยชนร์ ว่ มกันกับนักเรยี นใน โรงเรียน และโรงเรยี นเครือข่าย ๔. ผู้เรยี นนำเทคโนโลยมี าใช้ในการเรยี นรู้ ผลติ สร้างสรรค์ผลงานใหม่ทม่ี ปี ระโยชนอ์ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ๕. ผ้เู รยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม รบั ผิดชอบต่อสังคม เป็นพลเมอื งดแี ละมีค่านยิ มท่พี ึงประสงค์ ๖. ผ้เู รียนมีความตระหนกั ชนื่ ชมในวฒั นธรรมขนบธรรมเนยี มประเพณีไทยและความหลากหลายทาง วฒั นธรรมประเพณขี องนานาชาติ ๗. โรงเรยี นมีหลกั สตู รสถานศกึ ษาเทียบเคียงกบั หลกั สูตรมาตรฐานสากล

84 ๘. โรงเรียนมคี รูและบุคลากรมืออาชพี มีความเช่ยี วชาญในการใช้ส่อื นวตั กรรม ICT เพอื่ การเรยี นการสอน และการบรหิ ารจดั การ โดยใช้ระบบฐานขอ้ มูลทีม่ ีประสิทธิภาพ ๙. โรงเรียนสง่ เสรมิ กระบวนการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาการเรียนการสอนและระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน ๑๐. โรงเรยี นมีระบบบรหิ ารจัดการและระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาทมี่ ีประสิทธภิ าพ ๑๑. ผู้เรียนมคี วามภาคภมู ิใจในความเป็นไทย ยดึ หลักการดำรงชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑๒. โรงเรียนมสี ภาพแวดลอ้ มทีด่ ีเออื้ ตอ่ การจัดการเรียนรแู้ ละการบริการชมุ ชน เปา้ หมายการดำเนินงาน ด้านคุณภาพผู้เรียน ๑. ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความสามารถ และมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ๒. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการสอ่ื สาร ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศอื่น ๆ อย่างมี ประสทิ ธผิ ล ๓. ผเู้ รยี นมที ักษะการคดิ มีวจิ ารณญาณ สามารถไตรต่ รอง วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ แกป้ ญั หาและกล้าตัดสินใจ ๔. ผเู้ รยี นสามารถคดิ คน้ ออกแบบ พัฒนาชิ้นงาน สง่ิ ประดิษฐ์ นวตั กรรม โดยใชเ้ ครอ่ื งมือเทคโนโลยีท่ี เหมาะสม มีทกั ษะการวางแผน จัดการ ทำงานเป็นทมี และเห็นชอ่ งทางสรา้ งงานอาชพี ในระบบเศรษฐกิจยุคใหม่ (New Economy) ๕. ผู้เรียนใฝ่ดีมีคณุ ธรรม และมีความเปน็ ไทย ภมู ิใจในถน่ิ ฐาน มีจิตสาธารณะ และจติ ใจบรกิ าร มีความ เป็นพลเมอื ง ตามวฒั นธรรมประชาธปิ ไตย มีทักษะการดำรงชวี ิตอย่างพอเพยี ง และมีจติ สำนึกรบั ผิดชอบต่อสงั คม โลก เป็นสมาชกิ ทีเ่ ขม้ แขง็ ของประชาคมอาเซยี น และประชาคมโลก ดา้ นระบบการเรยี นรู้ ๑. โรงเรียนพฒั นาหลักสตู รการเรยี นการสอนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ๒. โรงเรยี นจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารและการเรยี นรู้ ๓. โรงเรียนจดั การเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร (ICT) เพ่ือการเรียนรูอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ มคี ณุ ภาพ ๔. โรงเรียนจัดกระบวนการเรยี นรูอ้ งิ ถ่นิ ฐาน ให้เชื่อมประสานกบั การศึกษา ประชาคมอาเซยี น และ ประชาคมโลก ๕. ครพู ัฒนาความรู้ ความสามารถ มคี วามเชย่ี วชาญและจรรยาบรรณทางวชิ าชพี ครยู คุ ใหม่ ด้านระบบการบริหารจัดการ ๑. โรงเรยี นบริหารจัดการไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ระดบั มาตรฐานสากล ๒. โรงเรยี นสง่ เสริม สนับสนุน แนะแนว ช่วยเหลือใหเ้ ปน็ รายบุคคล ใหไ้ ด้พฒั นาตนเตม็ ตามศักยภาพ ๓. โรงเรียนมีภาครี ว่ มพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาหรือแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ทัง้ ในระดับท้องถ่นิ และสงู กวา่ ระดบั ท้องถิน่ ด้านคุณภาพแหล่งเรยี นรู้

85 ๑. โรงเรยี นพฒั นาและจดั บรกิ ารแหล่งเรียนร้ใู หมใ่ ห้มคี ณุ ภาพเอือ้ ตอ่ การเรียนร้อู ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ทวั่ ถึง และคุ้มคา่ ๒. โรงเรยี นใชช้ ุมชนเป็นแหลง่ เรียนรู้ มีสถาบัน และองคก์ รตา่ งๆ ทกุ ภาคส่วนเปน็ เครอื ขา่ ยร่วมส่งเสรมิ พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา กลยทุ ธก์ ารดำเนนิ งาน กลยทุ ธท์ ี่ ๑ พฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นตามหลักสตู รการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และสง่ เสรมิ เทคโนโลยีเพอื่ เป็น เคร่อื งมอื ให้เอ้ือตอ่ การเรียนรู้ของผเู้ รียน กลยทุ ธท์ ี่ ๒ ปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม ความสำนกึ ในความเปน็ ชาติไทย และวถิ ตี ามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง กลยทุ ธท์ ่ี ๓ สร้างโอกาสใหผ้ เู้ รยี นได้รบั การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และลดอัตราการออกกลางคันใหเ้ ปน็ ศูนย์โดยระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นทเ่ี ขม็ แข็ง กลยทุ ธท์ ่ี ๔ พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมคี ุณภาพ กลยุทธท์ ี่ ๕ พัฒนาประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล และแนวทางการกระจายอำนาจ เน้นการมสี ่วนร่วมจากทุกภาคส่วน กลยทุ ธ์ที่ ๖ พัฒนาส่งิ แวดลอ้ มและแหลง่ เรียนรภู้ ายในสถานศกึ ษาใหม้ ีความสะอาด ร่มร่ืนสวยงาม และ เอือ้ ต่อการจัดการเรยี นรู้ ขอ้ มูลดา้ นการจัดการศึกษา โรงเรียนได้ดำเนินการจัดระบบการจัดการศึกษา โดยเน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้ เต็มตามศักยภาพ ตามความรู้ ความสามารถ และความถนัด มีหลักสูตรสถานศึกษาเทียบเคียงกับหลักสูตร มาตรฐานสากลมีครูและบุคลากรมืออาชีพ มีความเชีย่ วชาญในการใชส้ ื่อนวัตกรรม ICT เพื่อการเรียนการสอนและ การบริหารจัดการ โดยใช้ระบบฐานขอ้ มลู ท่ีมปี ระสิทธิภาพ ผู้เรยี นนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนรู้ ผลิตสร้างสรรค์ ผลงานใหม่ที่มีประโยชน์อย่างมีคณุ ภาพ มีการจัดรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย เพื่อให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง ตลอดจนจัดให้มีเครือข่ายในการเรียนรู้ ในทุกรปู แบบ เช่น การอบรม การศึกษาดูงาน การจัดค่ายกจิ กรรมต่าง ๆ อีกท้ังยังส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน โดยผ่านกิจกรรม เพื่อให้ นักเรียนได้เกิดความตระหนัก ช่ืนชม และภาคภูมิใจ กับผลงานที่ตนได้กระทำ เช่น กิจกรรมวันสำคัญของชาติ กจิ กรรมวันสำคัญทางศาสนา กิจกรรมสืบสานประเพณีวัฒนธรรม กิจกรรมจิตอาสา เป็นต้น ท้ังน้ีโรงเรียนได้มีการ จัดสภาพแวดลอ้ มที่ดีเอ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ภายในโรงเรียน แหล่งเรียนรภู้ ายนอก โรงเรียนไดม้ กี ารประสานความ ร่วมมือแหล่งเรียนรู้ที่อยู่จังหวัดซึ่งมีอยู่มากมาย ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เพ่ือให้นักเรียนใช้ในการศึกษา ค้นควา้ หาความรู้ใหส้ อดคล้องและเหมาะสมกบั เนอ้ื หารายวชิ าทเ่ี รียน ปัจจุบันโรงเรียนได้จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และหลักสูตรท่ี ตอบสนองความต้องการของนักเรียน โดยระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น มีการจัดหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ คณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์(Gifted) และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ นวัตกรรมและ เทคโนโลยี (MOU) โดยความร่วมมือกับ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี และหลักสูตรเรียนรว่ มอาชวี ศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทวศิ ึกษา) สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ โดยความร่วมมือกับวทิ ยาลยั เทคนิคธญั บุรี

86 ขอ้ มลู นักเรยี น ตารางท่ี ๑ : ตารางแสดงจำนวนนกั เรยี นปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดับชั้น เพศ รวม ชาย หญิง ๑๔๙ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ๗๙ ๗๐ ๑๗๗ ๑๔๓ มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ๙๖ ๘๑ ๑๗ ๑๒ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ๗๑ ๗๒ ๑๑ ๘๗๔ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ๕๖ ๗๖ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๖๐ ๘๘ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ๔๔ ๘๑ รวมทั้งสิ้น ๔๐๖ ๔๖๘ ** หมายเหตุ : ท่ีมาข้อมลู ณ วันท่ี ๑๐ ม.ิ ย. พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อมูลครูและบคุ ลากร ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ตารางที่ ๒ : ตารางแสดง ขอ้ มลู บุคลากร ผู้บริหาร ครผู ู้สอน พนักงานราชการ ครูอัตราจ้าง และเจ้าหนา้ ทอ่ี ่นื ๆ ท่ี ชอื่ -สกลุ ตำแหนง่ วุฒกิ ารศึกษา ประสบการณ์ ดา้ นการสอน (ป)ี ๑. นายพิษณุ เดชใด ผู้อำนวยการ ปริญญาโท ชำนาญการพเิ ศษ ๒๙ ๒. นางลมัย แจ้งสว่าง ครูชำนาญการ ปรญิ ญาโท ๓. น.ส.กมลชนก มว่ งศรีจันทร์ ครูชำนาญการ ปรญิ ญาโท ๑๑ ๔. น.ส.ณชนก โพธิ์พนิ ิจ ปรญิ ญาโท ๙ ๕. น.ส.กรรณกิ าร์ ศรโี ยหะ ครู ปรญิ ญาตรี ๔ ๖. นายชัยยา แอนดริส ครู ปรญิ ญาโท ๔ ๗. นายสมหวงั อิสมาแอล ครชู ำนาญการพเิ ศษ ปรญิ ญาโท ๓๓ ๘. น.ส.โชติรตั น์ พิมพเ์ รอื ง ครชู ำนาญการพเิ ศษ ปรญิ ญาโท ๒๗ ครูชำนาญการ ๘

87 ๙. น.ส.อภสั รา สัตถา ครู ปริญญาโท ๕ ๑๐. น.ส.นภวรรณ อดทน ครู ปริญญาโท ๕ ๑๑. น.ส.ช่อทิพย์ จัตริ ครู ปรญิ ญาตรี ๔ ๑๒. น.ส.นัทดาภรณ์ มรรคเนมี ครู ปรญิ ญาตรี ๔ ๑๓. นางคนงึ นิจ เมธากลุ ครชู ำนาญการพิเศษ ปรญิ ญาตรี ๒๖ ท่ี ช่อื -สกลุ ตำแหนง่ วฒุ ิการศึกษา ประสบการณ์ ด้านการสอน (ป)ี ๑๔. น.ส.พิมพช์ นก เกตหุ อม ครู ปริญญาโท ๑๕. นายวชิรวิชญต์ รี ณานุสิษฐ์ ครู ปริญญาตรี ๔ ๑๖. นายไพรวัลย์ เจริญผล ครู ปรญิ ญาตรี ๔ ๑๗. นางวัชรี อำพนั หอม ครชู ำนาญการพเิ ศษ ปรญิ ญาตรี ๔ ๑๘. นางสภุ าวดี ปยิ วรางกรู ครูชำนาญการ ปริญญาโท ๒๘ ๑๙. น.ส.ศุภตั รา นนท์คำวงค์ ครูชำนาญการ ปริญญาโท ๒๐ ๒๐. น.ส.อชั ราภา กนิ ซง ปริญญาตรี ๙ ๒๑. น.ส.วรรณิภา ภูไทย ครู ปริญญาตรี ๔ ๒๒. น.ส.รกั ษ์นรนิ ทร์ เผือกรักษ์ ครู ปรญิ ญาตรี ๔ ๒๓. น.ส.ศรรี ัตน์ บวั ทอง ครู ปรญิ ญาตรี ๓ ๒๔. น.ส.ประไพ เหมรา ครชู ำนาญการพิเศษ ปรญิ ญาโท ๓๕ ๒๕. นายธรรม์ธเนศวร์ แกว้ สุขใส ครชู ำนาญการพิเศษ ปรญิ ญาโท ๒๙ ๒๖. นายสถาพร ดรทะนัย ครูชำนาญการ ปรญิ ญาโท ๙ ๒๗. นางวราภรณ์ บญุ ศรี ครชู ำนาญการ ปริญญาตรี ๘ ๒๘. นายสเุ มธ วรรณหดั ครูชำนาญการ ปริญญาตรี ๑๒ ๒๙. นายวิบูลย์ เทย่ี งธรรม ครู ปริญญาตรี ๕ ๓๐. นางจีระนนั ท์ ชว่ ยด้วง ครู ปริญญาโท ๔ ๓๑. นางณฏั ฐนนั ทน์ ลิ พฒั น์ ครูชำนาญการพิเศษ ปริญญาตรี ๒๔ ๓๒. น.ส.ทิพสินี ศรแี ก้ว ครชู ำนาญการพิเศษ ปรญิ ญาโท ๓๒ ๓๓. นายปราโมช สหี รักษ์ ครูชำนาญการพเิ ศษ ปริญญาตรี ๓๐ ๓๔. นางสริ ยิ ากร ฉายสรุ ยิ ะ ครชู ำนาญการพิเศษ ปรญิ ญาโท ๓๒ ๓๕. นางภูรติ า เบาเนิด ครชู ำนาญการ ปรญิ ญาโท ๒๑ ๓๖. น.ส.ทศั นีย์ หวงั ประโยชน์ ครูชำนาญการ ปรญิ ญาโท ๑๕ ๓๗. นายเชดิ ชยั มลู สวุ รรณ ครชู ำนาญการ ปรญิ ญาตรี ๙ ครชู ำนาญการพเิ ศษ ๒๓

88 ๓๘. นางเฉลียว มลู สุวรรณ ครชู ำนาญการ ปริญญาโท ๒๑ ๓๙. น.ส.การะเกด บุญชู ครูชำนาญการ ปรญิ ญาตรี ๒๓ ๔๐. นายเมธา มูลมา ปรญิ ญาตรี ๙ ๔๑. น.ส.ชดิ ชนก ไชยยะ ครู ปรญิ ญาตรี ๕ ๔๒. น.ส.ชลธิชา แปน้ เชือ้ ครู ปรญิ ญาตรี ๕ ครู ประสบการณ์ ท่ี ชือ่ -สกลุ วฒุ ิการศกึ ษา ด้านการสอน (ป)ี ตำแหน่ง ๔ ๔๓. น.ส.ศศภิ า นวลละออง ปริญญาตรี ๒๖ ๔๔. นายธงชัย ฟงุ้ เฟอื่ ง ครู ปริญญาตรี ๙ ๔๕. น.ส.พิชยา ขันตเี รือง ครูชำนาญการพเิ ศษ ปริญญาโท ๔ ๔๖. นายพชั รินทร์ อย่สู งิ หโ์ ต ปริญญาตรี ๓ ๔๗. นางสาวอณญั ญา ธนรินธน์ทร ครูชำนาญการ ปริญญาตรี ๒ ๔๘. น.ส.วรวลัญช์ เดด็ แก้ว ครู ปรญิ ญาตรี ๒ ๔๙. น.ส.อรวรรณ ไชยชาติ ครู ปรญิ ญาตรี ๑ ๕๐. นายธีระวฒั น์ เวียงนาค ปรญิ ญาตรี ๖ เดือน ๕๑. น.ส.กูฮามีด๊ะ กเู มาะ ครผู ้ชู ว่ ย ปรญิ ญาตรี ๖ เดอื น ๕๒. นายอรณาสปุ ิน ครผู ชู้ ว่ ย ปริญญาตรี ๖ เดอื น ๕๓. น.ส.บุษบา นามแสง ครผู ูช้ ว่ ย ปริญญาตรี ๖ เดือน ๕๔. นางวมิ ัณฑนา หงษ์พานชิ ครผู ชู้ ่วย ปรญิ ญาโท ๖ เดอื น ๕๕. น.ส.อัฐอรวี อำ่ บางกระทมุ่ ครูผชู้ ว่ ย ปริญญาตรี ๖ เดือน ๕๖. น.ส.นงลกั ษณ์ ใจกล้า ครผู ชู้ ่วย ปริญญาตรี ๓๔ ๕๗. นายฉลอง ประจงมลู ครูผู้ช่วย ปริญญาตรี ๖ ๕๘. น.ส.นฤมล มหมดั ครูผูช้ ่วย ปริญญาตรี ๖ ๕๙. นายธวชั ชยั ใจบญุ ครูผู้ชว่ ย ปรญิ ญาตรี ๑ ๖๐. น.ส.เบญจมาภรณ์ แผ่นดินสวรรค์ ครชู ่วยสอน ปรญิ ญาตรี ๖ ๖๑. น.ส.พงษ์ลดา มาระกลุ พนักงานราชการ ปริญญาตรี ๔ ๖๒. นายประเสริฐ แกว้ สวุ รรณ์ ครูอตั ราจา้ ง ปรญิ ญาตรี ๑ ๖๓. น.ส.ปูริดา ศริ ิพฤกษ์ ครอู ตั ราจ้าง ปริญญาตรี ๖ เดือน ๖๔. นายเสกสรร โชคเชีย่ วชาญ ครูอตั ราจ้าง ปริญญาตรี ๓ ๖๕. Miss Anya hostensiaAngah ครอู ตั ราจา้ ง ปริญญาตรี ๓ ๖๖. Mr.Ashu Hans Tabi ครอู ัตราจ้าง ปริญญาตรี ๒ ๖๗. Mr.TarigAl-Hossomi ครูอัตราจา้ ง ปรญิ ญาตรี ครตู ่างชาติ ครูตา่ งชาติ ครตู ่างชาติ

89 ๖๘. นายวรรณชนะ ปรากฏผล เจ้าหน้าที่ Fablab ปริญญาตรี ประสบการณ์ ๖๙. น.ส.ภาพิมล ชุม่ กมล เจา้ หน้าท่ี Labboy ปรญิ ญาตรี ด้านการสอน (ป)ี ๗๐. นางพรพิมล อิสมาแอล ปรญิ ญาตรี ๗๑. น.ส.วาสนา โชตเิ รือง ครธู ุรการ ปริญญาตรี เจ้าหน้าที่สำนกั งาน ท่ี ช่อื -สกลุ วฒุ กิ ารศกึ ษา ตำแหน่ง ๗๒. น.ส.มารษิ า ขจรพฤกษ์ ปริญญาตรี ๗๓. น.ส.กติ ิมา ทองแก้ว เจา้ หน้าท่ีสำนกั งาน ปรญิ ญาตรี ๗๔. น.ส.สุมาลี สมบูรณ์ เจ้าหนา้ ที่สำนกั งาน ปริญญาตรี ๗๕. น.ส.ธนญั ญา หวังประโยชน์ เจา้ หนา้ ท่ีสำนักงาน ปริญญาตรี ๗๖. นายองค์ แจง้ สว่าง เจา้ หน้าท่ีสำนกั งาน ๗๗. นายวิวฒั น์ เพียรพัฒนะ พนักงานพมิ พด์ ดี ๓ ปวช. ๗๘. นายดอเลาะ แมะเฮม ม.๖ ๗๙. นางวรรณา ศรีสิงห์ พนกั งานขับรถ ม.๖ ๘๐. นายบุญจนั ทร์ ประเสริฐเลิศ นกั การภารโรง ป.๔ ๘๑. นางสำเริง บุญน้อย นกั การภารโรง ม.๖ ๘๒. นางสาววราณี ดีเลิศ นกั การภารโรง ป.๖ ๘๓. นางราตรี สงิ หส์ ุ นกั การภารโรง ม.๖ ๘๔. นางโสมสุณี ฤกษม์ งคลดี นกั การภารโรง ม.๖ นักการภารโรง ม.๖ ๘๕. นายอนุศษิ ฏ์ บำรุงรักษ์ไทย นกั การภารโรง พนักงานรกั ษาความ ม.๖ ๘๖. นางสาวฮาวา ภู่มาลี ๘๗. นางศศิณา แปะ๊ จิ ปลอดภัย ป.๔ ๘๘. นายวัชรนิ ทร์ เขยี วสลับ นักการภารโรง ม.๖ นักการภารโรง ป.๔ นักการภารโรง ข้อมูลด้านอาคารสถานทีแ่ หลง่ เรียนรแู้ ละการใช้ จำนวนอาคารเรียนและอาคารประกอบ จำนวน ๒๕ หลัง ได้แก่ อาคารเรียน ๔ หลัง อาคารโรงฝึกงาน ๔ หลัง อาคารหอประชุม ๑ หลัง อาคารห้องพักนักกีฬา ๑ หลัง อาคารอเนกประสงค์ ๑ หลัง บ้านพักครู ๙ หลัง สุขา ๓ หลงั สนามฟตุ บอล ๑ สนาม ศาลากลางน้ำ ๑ หลงั แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ไดแ้ ก่ หอ้ งเรียนท้ังหมด หอ้ งสมุด ห้องลูกเสอื ห้องพยาบาล หอ้ งคอมพิวเตอร์ โรง อาหารโรงเรียน บอ่ เลี้ยงปลา โรงเรอื นเพาะเหด็ นางฟ้า สนามฟุตบอล อาคารอเนก ประสงค์ สนามเปตอง และพ้ืนท่ี บริเวณโรงเรียนท้งั หมด

90 แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) หออัครศิลปิน พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สวนสนุกดรีมเวิลด์ พิพิธภัณฑบ์ ัว วดั ปญั ญานันทาราม และสถานประกอบการในชุมชน บรรยากาศของโรงเรยี น โรงเรียนมีบรรยากาศ ร่มร่ืน สะอาด สวยงามน่าอยู่ เอื้อต่อการเรียนรู้ปลอดภัย มีป้ายแสดง “คุณธรรมอตั ลักษณ์”ของโรงเรียนอย่างชดั เจน หอ้ งเรียนสะอาดเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย ครแู ละนักเรยี นมีปฏสิ ัมพันธ์ ท่ีดตี อ่ กัน ครูรกั และเมตตานกั เรียน นักเรียนรักและเคารพครู บคุ ลากรในโรงเรยี นมีสมั พันธภาพที่ดีตอ่ กัน ผบู้ รหิ าร ใชห้ ลกั ธรรมาภิบาลเพื่อให้ครทู ำงานร่วมกันอยา่ งมีความสขุ โรงเรียนมีความสัมพนั ธท์ ่ีดกี ับครอบครวั และชมุ ชน สภาพชมุ ชนใกล้เคยี ง สภาพชมุ ชนรอบโรงเรียน เป็นชมุ ชนทไี่ มห่ นาแนน่ มากนัก กระจายอยตู่ ามพนื้ ที่ของตนเอง สว่ นใหญ่ ประชาชนประกอบอาชพี ดา้ นเกษตรกรรม รับจ้าง เชน่ การทำนา การทำไร่หญา้ การปลกู ไมด้ อกไมป้ ระดบั การ เลย้ี งสตั ว์ และเปน็ พนกั งานบริษัทเอกชน ที่จดั ตัง้ ในพื้นทขี่ องชุมชน ประชาชนในพืน้ ท่ีนบั ถือศาสนาพทุ ธ และ ศาสนาอิสลาม สภาพทางภูมศิ าสตร์มีคลองนำ้ ชลประทานไหลผ่านตลอดแนวถนน ประชาชนได้ใชน้ ้ำในการทำ การเกษตร ฐานะทางเศรษฐกิจสว่ นใหญอ่ ย่ใู นระดบั ปานกลางถงึ ยากจน เปน็ ชมุ ชนอยใู่ นแหล่งพืน้ ทธี่ รุ กจิ พ้ืนท่ี การค้า ระดบั ปานกลาง มโี รงงานอตุ สาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมอยู่ในพนื้ ท่ี จึงมปี ระชากรแฝง ทัง้ เป็นคน ไทยตา่ งถนิ่ และคนต่างดา้ ว เขา้ มาพกั อาศยั อยู่ในชมุ ชนจำนวนมาก ด้านอาณาเขต เปน็ พ้นื ทีช่ ายขอบของจังหวดั ปทมุ ธานี มอี าณาเขตติดต่อตำบลข้างเคียง ดังนี้ ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับ ตำบลสน่นั รักษ์ อำเภอธัญบรุ ี ทิศใต้ ติดตอ่ กบั ตำบลลำไทร และตำบลพืชอุดม อำเภอลำลูกกา ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั ตำบลบงึ ศาล เขตอำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับ ตำบลบึงทองหลาง อำเภอลำลูกกา ด้านการเดนิ ทาง สว่ นใหญใ่ ชย้ านพาหนะสว่ นตัว เน่อื งจากไมม่ รี ถโดยสารประจำทางผ่าน แต่เส้นทาง สามารถเช่อื มต่อกบั เสน้ ทางหลกั ไดห้ ลายเสน้ ทาง ด้านสาธารณสุข มีโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลบงึ คอไห คอยดแู ลเรอื่ งสุขภาพของประชาชนในพื้นท่ี ดา้ นการศึกษา มสี ถานศึกษาระดบั ช้ันประถมศึกษาของรฐั ๒ แห่ง ระดับช้นั มัธยมศึกษาของรัฐ ๑ แหง่ และ สถานศึกษาระดบั ปฐมวัยทีเ่ ปน็ ของเอกชน ๒ แหง่

โรงเรียนเทพศิรนิ ทร์คลองสิบสาม ปทมุ ธานี สงั กดั สำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำมัธยมศกึ ษำปทมุ ธำนี สงั กัดสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook