Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ

วิชาเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ

Published by sarayuth, 2021-01-17 16:57:40

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

หนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส ์ วชิ าเครอื่ งทาความเย็น และปรบั อากาศ Refrigeration and Air-condition จดั ทาโดย นายศรายุทธ ดว้ งยา นายณฐั ดนัย ชยั ณรงคพ์ นั ธุ ์

1.ความรเู บอ้ื งตน ของระบบทาํ ความเยน็ การทาํ ความเย็นคอื การลดและรักษาระดบั อณุ หภูมขิ องเนอ้ื ทวี่ า ง และวตั ถตุ าง ๆ ใหต า่ํ กวา ปกติ เชน การทาํ ความเย็นในตูเยน็ ตนู ํา้ เยน็ ตู แช หอ งเย็น โรงนาํ้ แข็ง เปน ตน การเกดิ ความเยน็ การเกดิ ความเย็นในเครอื่ งทาํ ความเยน็ รวมทั้งเคร่ืองปรบั อากาศที่ มใี ชอ ยทู ว่ั ไป ไมว า จะเปน ตเู ยน็ ตแู ช เคร่อื งปรบั อากาศรถยนต เคร่อื งปรบั อากาศในบา น เครื่องปรบั อากาศในอาคาร หรอื การทาํ ความ เยน็ ในโรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ไป จะมหี ลกั การเบื้องตน ในการทาํ ใหเ กดิ ความเยน็ เหมือนกนั คอื การทําใหส ารซึ่งเปน ตวั กลางในการทําความ เย็น (refrigerant) เปลย่ี นสถานะ เพราะขณะเปลี่ยนสถานะ สารทุกชนดิ ตองการความรอนแฝงเขา มาชว ยเสมอ ดังนั้นถา เราทําใหส ารนเ้ี ปล่ยี น สถานะจากของเหลวเปน ไอ จะดูดความรอนจากบรเิ วณใกลเ คยี ง ซ่งึ จะ ทําใหบรเิ วณนัน้ มอี ุณหภมู ลิ ดลง จึงเกิดความเย็นขึน้ ในปจ จุบนั เราอาศยั ระบบทาํ ความเยน็ มาใชในงานดานตาง ๆ มากมาย ไดแก 1. การผลติ อาหาร (food processing) เชน การผลิตนม ไอศกรีม ซง่ึ ตอ งอาศยั การทําความเย็นในการทาํ พาสเจอรไรส (pasteurization) ดว ยการใหค วามรอ นแกนมท่ีอณุ หภมู ิประมาณ 70 – 80 °C หลังจากนน้ั นาํ มาทาํ ใหเ ย็นลงอยา งรวดเรว็ และเก็บไวท ่ีอณุ หภมู ิ 2 – 3 °C เพอ่ื รกั ษาคณุ ภาพของนมกอ นสง ไปจําหนาย การผลติ ไอศกรมี กจ็ ะตอ ง ผานการพาสเจอรไ รส และนาํ ไปผานการแชแ ข็งที่อณุ หภมู ปิ ระมาณ - 20 ถึง -28 °C การผลิตไวนแ ละเบยี ร ในกระบวนการหมกั

(fermentation) กระบวนการบม (mellowing) จาํ เปนตองทาํ ภายใต อุณหภมู ติ ่ําประมาณ 5 – 15 °C เปนตน 2. การเกบ็ รักษาอาหาร (food storage) ในการเก็บรกั ษาหรือ ถนอมอาหาร เชน ผกั ผลไม เน้อื สัตว ใหมอี ายใุ นการเกบ็ รกั ษานานขน้ึ เพ่อื การบรโิ ภคหรอื เพ่อื การจาํ หนา ย สามารถทําไดโดยการลดอณุ หภูมิ ใหต ่าํ ลง ซึง่ เปน การ ลดการแพรข ยายของแบคทเี รยี ตา ง ๆ ซ่ึงเปน สาเหตใุ หอ าหารเนา เชน การเก็บรกั ษาผัก ผลไม หรือเนอ้ื สตั วไ วใ น สภาพอาหารสด (fresh food) จะตอ งเกบ็ ไวท อี่ ณุ หภูมิตาํ่ แตต อ งสูงกวา จดุ เยือกแขง็ (freezing point) ซง่ึ จะมีชวงเวลาในการเก็บรักษาส้นั กวา การเก็บรกั ษาในสภาพอาหารแชแขง็ (freezing food) ซึง่ ตอ งนาํ ผัก ผลไม หรอื เนือ้ สตั วม าทําการแชแ ขง็ และเกบ็ รกั ษาไวใ นหอ งเย็นทม่ี ี อุณหภมู ติ ่ํากวาจดุ เยือกแขง็ 3. การผลิตในงานอตุ สาหกรรม (industrial process) งาน อุตสาหกรรมหลายประเภทท่ตี องอาศยั การทาํ ความเยน็ ชว ยใน กระบวนการผลิต เชนอตุ สาหกรรมเคมี ปโ ตรเคมี โรงกลน่ั นาํ้ มนั โรง แยกกา ซ โรงงานผลิตสบู 4. การทาํ ความเยน็ เพอ่ื การขนสง (transportation refrigeration) เชน หองเยน็ ท่ใี ชใ นเรอื ประมง หอ งเยน็ ทใ่ี ชในเรอื เดินทะเล ซงึ่ ใช ขนสง อาหารแชแ ข็งไปจําหนายในตา งประเทศ หรือรถหอ งเยน็ ที่ใช ขนสงผลติ ภณั ฑอ าหารแชแ ข็งระหวา งโรงงานผลิตไปยังจังหวดั ทอ่ี ยู หางไกล ซ่งึ ทงั้ หมดจะทาํ งานโดยอาศยั หลกั การของระบบทําความเย็น 5. การปรับอากาศ (air condition) เปน สาขางานหนึง่ ซ่ึงอาศัยการ ทาํ ความเย็นมาประยุกตใชม ากทีส่ ุด โดยจะทาํ งานรวมกบั ระบบควบคุม ความช้นื การกรองอากาศ การทาํ ใหอ ากาศหมนุ เวยี น การระบาย อากาศ เพ่ือความสุขสบายของคน เชน ท่ีใชใ นเครอ่ื งปรับอากาศทวั่ ไป

หรอื งานปรับอากาศทใี่ ชใ นกระบวนการผลติ ตาง ๆ ในโรงงาน อุตสาหกรรม เชน โรงงานทอผา โรงพมิ พ โรงงานผลติ กระดาษ โรงงานผลิตยา เปน ตน ขนาดของเคร่อื งทาํ ความเยน็ จะบอกเปน Btu/h (หนวยองั กฤษ), kcal/h (หนวยเมตริก), kW (หนว ย SI) หรอื บอกขนาดเปนตนั โดย 1 ตนั ความเยน็ มีคา 12,000 Btu/h ซง่ึ มที ่มี าจากคาํ จาํ กัดความคอื 1 RT(ton of refrigeration = heat required to melt 1 U.S. ton of ice (2000 lb) at 0 °C per 24 h.) ซง่ึ มคี วามหมายคือ 1 ตนั ความเยน็ เปน ความเยน็ ท่ไี ดจ ากการเสียความรอนไปใชในการหลอมละลายนํา้ แขง็ หนัก 1 ตนั ทอ่ี ุณหภมู ิ 0 °C หมดในเวลา 24 ชว่ั โมง 2.หลกั การทาํ งานของ เครอื่ งปรบั อากาศ เครอ่ื งทาํ ความเยน็ กอ นอน่ื ตอ งขอทําความเขาใจกนั กอนวา การปรับอากาศ ความหมายคอื ปรับใหอากาศเย็นหรอื รอ นกไ็ ด ถาพดู ถึงปรับอากาศให เยน็ เราจะนกึ ถงึ คําวา แอร หรอื เครอ่ื งปรับอากาศ น่ันเอง ในที่นเี้ ราจะ พดู คยุ กนั อยา งงายๆ ถามวาแอรเก่ยี วกบั ความรอ นหรือไม เกย่ี วแนน อน

เพราะแอรเปนตัวนาํ ความรอ นจากภายในหอ ง ออกไปทิง้ ขา งนอก ทงิ้ อยา งไรมนั มขี บวนการของมนั โดยใชเ ครอ่ื งมอื 4 ตัว คอื 1. EVAPPORATOR 2. COMPRESSOR 3. CONDENSER 4. CAPILLARY TUBE EVAPPORATOR คือเครอื่ งระเหย หรอื ทช่ี างแอรเรยี กวา คอลย เย็น การทํางานของมันคอื ดูดความรอนจากภายในหอ ง โดยมมี อเตอร พดั ลมเปน ตัวดดู เขามา ผา นชองทเี่ รยี กวา RetumAir ซึง่ มี Filter เปน ตวั กรองฝุนใหก อ น แลวความรอ นท่ถี กู ดดู เขา มานนั้ จะมาสัมผสั กับคอลย เยน็ ซง่ึ มนี ํายาแอร( ของเหลว) ซง่ึ อณุ หภูมติ ดิ ลบ วง่ิ อยใู นทอนนั้ จะเกดิ การระเหยเปน ไอ(แรงดันตา่ํ ) COMPRESSOR คือเครื่องอัดไอ การทาํ งานหรอื หนา ที่ของมนั คอื ดูดไอ(แรงดันตาํ ) ซึ่งเกดิ จากการระเหยภายในคอลย เยน็ ทําการอดั ใหเ ปนไอ(แรงดนั สงู ) อุณหภมู สิ ูง เพอ่ื สง ไประบายความรอ นตอ ไป

CONDENSER คอื เครือ่ งควบแนน หรอื ชา งแอรเรยี กวา คอลย รอ น หนา ท่ีของมนั คือรบั ไอรอนทถ่ี กู COMPRESSOR อดั จนรอนและ มีอณุ หภมู สิ งู เขามาในแผงพน้ื ที่ของมนั จากไอที่มอี ณุ หภูมิสงู เมอื่ มา เจอกับอากาศภายในหอ ง ซงึ่ มอี ุณหภมู ติ ํากวา ความรอ นจึงถูกถา ยเท ออกไปไดโดยไอรอ นนั้น จะควบแนนกลายเปน ของเหลว(แรงดันสูง- อณุ หภมู สิ งู )แตม มี อเตอรพ ัดลมเปนตวั ชว ยระบายความรอ นออกไปให เรว็ ขึ้น เมอ่ื เปน ของเหลวแลว กส็ ามารถกลบั มารบั ความรอ นภายในหอ ง ไดอกี แตข องเหลวน้นั ยังมอี ณุ หภมู ิสงู อยู จงึ ตอ งทาํ ใหอณุ หภมู ินน้ั ลดลง กอน CAPILLARY TUBE คือทอ ลดแรงดนั หรอื ทอ รเู ขม็ ชอ่ื ก็บอกอยู แลววา เลก็ มาก ชางแอรจ ะเรียกวา แคป ทวิ้ หนา ทขี่ องมนั คอื ลดแรงดนั ของนาํ้ ยาแอร( ของเหลว)จากท่ีถกู ระบายความรอนแลว ยังมีอณุ หภูมิ สงู -แรงดนั สงู เมือ่ มาเจอทอรูเข็ม ทาํ ใหข องเหลวอั้น ผา นไดนอ ย ทาํ ให ของเหลวนั้น มอี ณุ หภมู ลิ ดลง และแรงดนั ลดลง น้ํายาแอร( ของเหลว) และไหลพอดเี หมาะสมกับพื้นที่ของคอลย เยย็ เพ่ือท่ีจะมารบั ความรอ น ในหอ งไดอ ีกครง้ั หลงั จากไดท ราบถึงวงจรการทาํ งานของ เครือ่ งปรบั อากาศแลว เราจะมาศกึ ษาถึงท่มี าท่ีไปบา ง คาํ วา BTU ทใ่ี ชก บั เคร่ืองปรับอากาศ เปน หนวยความรอ น ยอ มา จาก BRITISH THERMAL UNIT สวนทเี่ รยี กวา แอร 1 ตนั , 2 ตนั คาํ วา ตันนน้ั หมายถึงตนั ความเย็น เปน ประสทิ ธภิ าพในการทําความเยน็ ที่ เรยี กตันความเยน็ มที มี่ าดงั น้ี

นํ้า ทาํ ใหเ ปน นาํ้ แข็ง 1 ตัน (2000 Ib) ใน1วัน (24 ช.ม) คา ความ รอนแฝงการทาํ ละลายของนํ้าแข็ง 144 BTU ตอ นาํ้ แขง็ 1 ปอนด 2000 Ib x 144 BTU/Ib 1ตนั = 12000 BTU/h สวนใหญแอร 1ตนั ประมาณ 12000 BTU ถาตนั ครงึ่ หมายถึง 18000 BTU เปนตน ตอไปจะเปรียบเทยี บ ระหวา งแอรธ รรมดา กับแอร เบอร 5 กรณเี ปนแอร เบอร5 หรอื คา EER=10.6 ขึน้ ไป (EER= ENERGY EFFICIENCY RATIO) หมายความวา ประสิทธภิ าพการทาํ ความเยน็ หรอื BTU กาํ ลังไฟฟา watt สมมตุ ิวา แอร 12000 BTU. ใชก ําลงั ไฟฟาจาก คอมเพรสเซอรท ํางาน 1000 watt จะไดค า EER= 12000/ 1000 =12 นนั่ คือไดเ บอร5 เพราะ EER เกิน 10.6 แตถา แอร 12000 BTU. ใช กาํ ลังไฟฟา จากคอมเพรสเซอรท ํางาน 1200 watt จะไดค า EER= 12000/1200 =10 น่นั คอื ไมไ ดเ บอร5 เพราะ EER ไมถ งึ 10.6 ถา เปรยี บเทยี บกับแอร มาเปนคนละ จะเห็นวา 2 คน ทาํ งานเทากนั แตค น หนงึ่ กนิ ขา วมากกวา สวนอกี คนกนิ ขาวนอ ย เราควรจะเลอื กใชค นแบบ ไหนดี มาดตู อ เรอ่ื ง Compressor เราจะพดู ถึงแตC om. ที่ใชก บั แอรบา น เรียงลาํ ดบั ตามประสิทธภิ าพ 1. แบบลูกสบู ประสทิ ธิภาพดที สี่ ดุ ขอ เสีย เสียงดัง กนิ ไฟ 2.แบบสกรอล ประสทิ ธิภาพ รองลงมา แตทนกวา กนิ ไฟปานกลาง มีตัง้ แต 18000 BTU ข้ึนไป

3.แบบโรตาร่ี ประสิทธิภาพ กินไฟนอ ย เสยี งเงียบ ราคาถูก ขนาด ใหญส ุดมแี ค 36000 BTU การทาํ งานของแอรบ าน จะเปนการระบายความรอนทางตรง หรอื ระบายความรอ นดว ยอากาศ คอื นํ้ายาแลกเปลยี่ นความรอ น กับอากาศ โดยตรง ระบบการทาํ ความเยน็ ทเ่ี รากาํ ลังกลาวถึงคอื ระบบอดั ไอ (Vapor- Compression Cycle) ซ่ึงมหี ลกั การทาํ งานงา ยๆคือ การทาํ ใหสารทํา ความเย็น (นํ้ายา) ไหลวนไปตามระบบ โดยผา นสว นประกอบหลักทงั้ 4 อยา งตอ เนอ่ื งเปน วฏั จกั รการทาํ ความเย็น (Refrigeration Cycle) โดย มกี ระบวนการดังนี้ 1. เรมิ่ ตนโดยคอมเพรสเซอรทาํ หนา ท่ดี ดู และอดั สารทาํ ความเย็นเพอื่ เพมิ่ ความดนั และอณุ หภูมิของนา้ํ ยา แลวสงตอ เขาคอยลรอน

2. น้ํายาจะไหลวนผานแผงคอยลรอนโดยมพี ดั ลมเปาเพอื่ ชวยระบาย ความรอน ทําใหน าํ้ ยาจะทอ่ี อกจากคอยลร อ นมอี ุณหภมู ลิ ดลง (ความดนั คงที)่ จากน้ันจะถกู สงตอใหอ ุปกรณล ดความดนั 3. น้ํายาที่ไหลผา นอปุ กรณลดความดันจะมีความดนั และอณุ หภมู ิทตี่ า่ํ มาก แลวไหลเขาสคู อยลเ ยน็ (หรอื ทน่ี ิยมเรยี กกันวา การฉีด น้ํายา) 4. จากน้ันนา้ํ ยาจะไหลวนผา นแผงคอยลเยน็ โดยมีพดั ลมเปา เพือ่ ชวยดดู ซบั ความรอ นจากภายในหอ ง เพ่อื ทาํ ใหอ ณุ หภูมหิ องลดลง ซ่งึ ทาํ ใหน า้ํ ยาทอ่ี อกจากคอยลเ ยน็ มอี ณุ หภมู ิท่สี งู ขึ้น (ความดนั คงที่) จากนั้นจะถกู สงกลับเขา คอมเพรสเซอรเ พื่อทําการหมุนเวยี น นาํ้ ยาตอไป 3.สารทาํ ความเยน็ และนา้ํ มนั หลอ ลนื่ สารทาํ ความเย็นนน้ั สาํ คญั ทาํ ใหเกดิ ความเยน็ ของระบบทาํ ความ เย็น (Refrigeration System) คณุ สมบัติ สามารถดูดซบั และ นําพา ความรอ น ดวยการเปลย่ี น สถานะจากของเหลว ใหเ ปนไอ และ สามารถ เปลีย่ น กลบั มาเปน ของเหลว เพ่ือเขาสู กระบวน การทําความเยน็ อีก ครัง้ ไดโดยไม เส่อื มสภานะ สารทาํ ความเยน็ หรือ นา้ํ ยาเปนตวั กลาง ในการทําความเย็น เมอ่ื อุปกรณควบคุม สารทําความเย็น ฉดี สารทาํ ความเย็น เขา ไปใน EVAP สารทําความเย็น จะเกิดการเดอื ด เปลยี่ นสถานะ กลายเปนไอ ทอ่ี ณุ หภูมิ และ ความดันทตี่ ่ํา จากน้นั จะเกิดความตองการดดู ปรมิ าณ ความรอ น และ ความรอ นแฝง ภายในบรเิ วร ทต่ี องการ ใหเ กดิ ความเย็น เชน

ภายในหอ ง หรอื ภายในตู เปนตน ซง่ึ บริเวณ โดยรอบของ EVAP และ ความรอ น ทสี่ ารทาํ ความเยน็ รับไปนี้ จะถกู ระบายหรอื ถายเททงิ้ ออก ภายนอกบริเวณที่ ตอ งการใหเกดิ ความเย็น ทค่ี อนเดนเซอร หรอื อุปกรณควบแนน และจุดทม่ี ีการระบายความรอ น คือ จุดที่ สารทาํ ความ เย็น จะเกดิ การลน่ั ตวั เพอ่ื เปลี่ยนสถานะ ใหก ลาย เปนของเหลว ดังเดมิ และไหลเวยี นเขาสู ระบบกลายเปน วฎั จกั ร ทาํ ความเยน็ สารทําความเย็น จะทาํ งาน เปน วฎั จักร ผา นอปุ กรณ ทาํ ความเยน็ ดวยสถานะ อณุ หภูมิ และความดัน ทเี่ ปลีย่ นไปอยูตลอด เพือ่ นาํ เอาความ รอน และ ความรอ นแฝงออกจากพ้นื ที่ ทต่ี องการ ทําความเยน็ เมอื่ เรมิ่ อปุ กรณค วบคุม สารทาํ ความเย็นหรอื วาลว ลดความดนั (Expansion Valve) ฉีดสารทาํ ความเย็น ไปที่อุปกรณ ทําความเยน็ EVAP ทก่ี าํ ลังดดู ความรอ น จากพนื้ ทภี่ ายใน ทีจ่ ะทาํ ความเยน็ (Inside Area Cooled) เขา มาทาํ ให สารทาํ ความเย็น ในสถานะท่ี เปนของเหลว รับความรอ นจนเดอื ด เปลยี่ นสถานะ เปนไอ ทค่ี วามดันตํา่ การทาํ งานของสารทาํ ความเยน็ โดยในขณะ ท่ีสารทําความเยน็ มีสถานะเปนไอ จะสามารถ ดดู ซับ ความรอ น จากบริเวณท่ี ตอ งการทําความเย็น รอบๆ EVAP โดยอาศยั อากาศ และ นาํ้ เปน สอ่ื กลาง จากน้นั กอ นสารทาํ ความเยน น้ี จะเดินทาง ไปตอท่ี คอมเพรสเซอร (Compressor) เพื่อระบายความรอน ออกจาก สารทําความ เยน็ และทําใหสารทําความ เยน็ เกิดการควบแนน เปลย่ี น สถานะ มาเปน ของเหลว อีกครง้ั โดยท่คี วามดนั ยงั คงสงุ อยู กอนสารทํา ความ เยน็ จะกลับไปสูวาลว ลดความดนั ของสารทาํ ความเย็น ใหก ลบั สุ สภาพ พรอ มใชงานอกี คร้ัง และ จะวนเปน วฎั จักรแบบน้ี ไปเรอื่ ยๆ

คุณสมบตั ขิ องสารทาํ ความเย็น สารทาํ ความเยน็ ทน่ี ําไปใชก ับเครือ่ งปรับอากาศจะตองมีคณุ สมบัติ ดังตอไปน้ี 1.จะตองไมเปนสารทตี่ ดิ ไฟ 2.จะตอ งไมเปนสารทร่ี ะเบดิ ได 3.จะตอ งตรวจหารอยรวั่ ไดง า ย 4.จะตองไมเ ปนสารที่กดั โลหะ 5.จะตอ งไมเปนสารทเ่ี ปน พษิ หากมกี ารรว่ั ซมึ ออกมาจากวงจร 6.จะตองไมม คี วามดันท่สี งู มากเกินไป เพ่อื ปอ งกัน ระบบใชค วาม ดันสูงแลว อาจเกิดรอยรว่ั ไดง าย 7.จะตองไมมจี ดุ เดอื ดทต่ี ่ํา เพือ่ ใหค วามเยน็ ทเ่ี กดิ ขน้ึ มอี ณุ หภมู ทิ ี่ ต่าํ มากอยา งเหมาะสม 8.จะตอ งเปนตวั กลางในการทําความรอนแฝงทด่ี ี เพอื่ ใหส ารทาํ ความเย็นสามารถถา ยเทความรอนไดใ นปรมิ าณทมี่ าก จะตอ งไมเ ปลีย่ นสถานะเปน อยางอน่ื เมือ่ สารทาํ ความเยน็ เปล่ียน สถานะกลายเปน ไอหรือแกส แลว มาถงึ คอนเดนเซอรเ พอ่ื เปลี่ยนสถานะ กลับเปนของเหลวอีกครงั้ สารทําความเย็นดังกลาวจะตอ งมคี ณุ สมบตั ิใน การถายเทความรอ นตามเดมิ จะตอ งสามารถเปลย่ี นสถานะกลับไปกลับมาไดโ ดยทไี่ มมกี าร เสือ่ มสภาพไปเปนอยา งอ่นื เชน เปนจากของเหลวเปนแกส หรอื แกส เปน ของเหลวเปน ตน จะตองไมท ําปฎกิ ริ ยิ าใดๆ กบั น้าํ มนั หลอ ลนื่ ในคอนเดนเซอร ซง่ึ สารทาํ ความเย็นและนํ้ามนั หลอลน่ื จําเปนจะตอ งผสมกลมกลืนกนั ใน ขณะทเ่ี กดิ กําลังอดั จากเครอื่ งคอมเพรสเซอร สารทาํ ความเยน็ ชนดิ ไมร ะคายเคือง และไมเ ปนสารตดิ ไฟ

R – 11 โดรคลอโมโนฟลอู อรมเี ยน R – 12 ไดคลอโรไดฟลอู อ โรมเี ธน R – 22 มโนคลอโรไดฟลอู อโรมเี ธน R – 30 ไดคลอโรมเี ธน R – 113 ไตรคลอโรไตรฟลูออโรมมีเธน R – 114 ไดคลอโรไตร ฟลูออโรมมเี ธน R – 115 ไดคลอโรเตตราฟลอู อโรมเี ธน R – 152a ได ฟลูคลอโรอีเธน R – 500 สว นผสมระหวา ง R – 12 = 73.8% และ R – 152a = 26.2% โดยนํา้ หนกั R – 502 สวนผสมระหวาง R – 22 = 48.8% และ R115 = 51.2% โดยนา้ํ หนัก R – 718 นํ้าR – 729 อากาศ R – 744 คารบ อนไดออกไซด สารทําความเย็นทเี่ ปนสารชนดิ ตดิ ไฟ R – 40 เมทลี คลอไรด R – 160 เอทลี คลอไรด R – 170 อเี ทน R – 290 โพรเพน R – 600 บิวเทน R – 601 ไอโซบวิ แทน R – 611 เมทีลฟรอเมท R – 1130 ไดคลอโรเอทีลนี สารทาํ ความเยน็ ชนดิ ระคายเคือง R – 717 แอมโมเนีย R – 764 ซัลเฟอรไ ดออกไซด การเปลี่ยน สารทําความเยน็ ในระบบทําความเย็น การเปล่ียนสารทําความเยน็ ชนดิ หนง่ึ ไปอกี ชนดิ หนง่ึ นั้นเปน สิ่งท่ี ไมค วรทาํ เพราะเครอื่ งทาํ ความเยน็ ถกู ออกแบบมาเพอื่ ใชงานกับสารทาํ ความเย็นชนดิ น้นั ๆ คอมเพรสเซอรบางย่ีหอ ถูกออกแบบมาเพ่อื รองรับ สารทําความเยน็ เฉพาะ แตถ าคณุ ตอ งการเปลนี่ สารความเยน็ คณุ ก็ จะตองเปน ตัวควบคุมสารทาํ ความเยน็ ใหมด ว ย เชน วาลว ลดความดัน เปนตน กอ นจะทาํ การเปลย่ี นสารทาํ ความเยน็ ใหมคณุ ตองแนใ จกอ นวา ไดท ําความสะอาดระบบทาํ ความเย็นเรยี บรอ ยแลว โดยใชแ กส

ไนโตรเจนไลสิ่งสกปรก ทต่ี กคา งออกจากระบบใหห มดกอ น และตอง เปล่ยี นนา้ํ มันเครือ่ งใหม รวมไปถงึ ตวั ดดู ความชื่นทกุ ครัง้ ทมี่ กี ารเปลยี่ น สารทาํ ความเย็นใหมดว ย เพอื่ ยดื อายุการใชง านของระบบทาํ ความเย็น ไดอยางปกติ น้าํ มนั หลอ ลน่ื คอมเพรสเซอร ใชด ดู อดั ปนไปกบั นา้ํ ยาแอร หรอื สารทาํ ความเยน็ ในทอทางเดินของระบบปรับอากาศ เพ่ือชวยในการ หลอ ลนื่ สวนทม่ี ีการเคล่ือนไหวตางๆ ของคอมเพรสเซอร เนือ่ งจาก น้ํามนั คอมเพรสเซอร จะตองผสมกับน้ํายาแอรอยูต ลอด ดังนนั้ สารท้ัง ทองทจ่ี ะใชงาน จะตองไมท ําปฏิกริ ยิ าตอ กัน และภายในระบบตอ งหาม เกิดความชน้ื เพราะความชน้ื ทําปฏิกริ ยิ ากับนาํ้ มนั จะเกิดกรดั ขน้ึ มา ทาํ ใหอปุ กรณภ ายในเสอื่ มสภาพได และย่งิ ถา อณุ หภมู ขิ องทอ ดสิ ชารจสูง เกนิ ยง่ิ ทาํ ใหร ะบบเสียเรว็ ขน้ึ ในการใชงานเครอื่ งปรบั อากาศ ทใ่ี ช นา้ํ ยาแอร R-22 ถาอณุ หภูมดิ านทอ ดสิ ชาจส งู เกินไป จะสง ผลใหน าํ้ มนั คอมเพรสเซอรเ สียสภาพ และอาจทําใหมอเตอรแ อรไ หมไ ด ดังนน้ั เพอื่ แกปญหาแบบนไ้ี มใ หเ กดิ ขน้ึ จึงควรหันมาใชน าํ้ มันคอมเพรสเซอรทมี่ ี คุณภาพสูง ซึ่งมีคณุ สมบัตขิ องจุดไหลตัว และจุดแขง็ เปนไขตํา่ 4.เคร่อื งและอุปกรณท ใ่ี ชใ นระบบเครือ่ งทาํ ความเยน็ และปรับอากาศ

เครอื่ งมือชา งแอร เปน อปุ กรณสาํ คัญสําหรับชา งแอรใ นการตดิ ตงั้ ตรวจเชก็ และซอ มบํารุงในงานระบบปรับอากาศและระบบทาํ ความเย็น เครอ่ื งมอื ชา งแอรม ีหลากหลายชนิด และวตั ถปุ ระสงคใ นการใชง าน เพอื่ ชว ยใหช า งแอร (มอื ใหม) ทราบวาอุปกรณเ ครอ่ื งมือชางแอรทจ่ี าํ เปนใน งานมอี ะไรบา ง และใชง านในสว นใดกันบา ง? ตองตามไปดูกนั 1. เกจวดั นา้ํ ยา(Manifold Gauge) เปนเครอ่ื งทใ่ี ชส าํ หรับวดั คา ความดันภายในระบบ เครื่องปรบั อากาศเพื่อการตรวจซอมและใชใ นการเติมน้ํายาแอรหรอื สารทําความเยน็ และในกระบวนการทาํ สญุ ญากาศ จาํ เปนตอ งใชเกจ วดั ความดันท่คี งเหลืออยใู นระบบดว ย การเลอื กใชต อ งเลอื กใชงานให ตรงกับนาํ้ ยา ระหวา ง R22, R134a, R404a ท่ีมคี วามดนั ตาํ่ กบั R410a, R-32 ท่ีมคี วามดนั สูงกวากลมุ ขา งตน ประมาณ 1.6 เทา จงึ ไม สามารถใชเ กจวดั ตัวเดยี วกนั ได เนื่องจากความแตกตา งของความดัน นา้ํ ยาแอรท ไี่ มเ ทา กนั เกจวดั นาํ้ ยา(Manifold Gauge) 2. แวคคมั่ ปม (Vacuum pump) หรือปม สญุ ญากาศ ทาํ หนาที่ดดู อากาศออกจากระบบ เพ่อื ทําให ความดันต่าํ ลงจนเปนสุญญากาศ ความช้ืนและนํ้าจะระเหยออกจาก ระบบ หรอื เรยี กวา การทาํ แวคคัม่ เพ่ือใหนํ้ายาแอรท ํางานไดเ ต็ม ประสิทธภิ าพไมม อี ากาศหรือความชนื้ เจือปน ซ่ึงอาจใชเวลาในการทาํ นาน แตจําเปนตองทํา เพอ่ื อายุการใชงานของแอรทยี่ าวนาน โดย

เคร่อื งแวคคม่ั ปม ทม่ี รี ะดบั การทําสญุ ญากาศทดี่ จี ะสามารถทาํ คา ไมครอนไดต ํ่า ซงึ่ จะทําใหก ารทาํ แวคค่ัมรวดเรว็ และความชืน้ ในระบบ ระเหยออกไดด ยี ง่ิ ขน้ึ แวคคมั่ ปม (Vacuum pump) 3. คตั เตอรต ดั ทอ (Tube Cutter) เปน เครอื่ งมือทใ่ี ชใ นการตดั ทอ ทองแดงไดหลายรูปแบบเพ่ือให เหมาะกบั การใชงาน การจะเดนิ ทอ นา้ํ ยาแอรห รือสารทําความเยน็ ได จะตอ งไดใ ชงานคดั เตอรต ัดทอ แนนอน ในการใชงานจรงิ ตอ งใชคดั เตอรเ ฉพาะสําหรบั ตดั ทอ หรือมินิคัตเตอร ในการตัดทอทองแดงใหไ ด ความยาวทอตามตอ งการ มใี หเ ลือกใชหลายขนาดดวยกัน ต้งั แต 1/8”, 7/8”, 1/8”, 5/8”, 1/8”, 7/8”, 1/8”, 1-1/4” คตั เตอรต ดั ทอ (Tube Cutter) 4. รมี เมอร (reamer) หรอื เครือ่ งลบคมทอ ใชส าํ หรบั ลบคมหรือเส้ยี นออกจากทอ ทองแดง หรอื บรเิ วณปากทอ ทองแดงท่เี กิดจากงานตดั ของคตั เตอรตดั ทอ ฯ หากไมลบคมทอ กอ นทาํ การบานแฟร อาจะทําใหงานทบี่ านไมไ ด รูปทรง เสยี้ นโลหะจะทาํ ใหแ ฟรเปน รอย ซงึ่ เปน สาเหตทุ ท่ี าํ ใหน าํ้ ยาหรอื สารทาํ ความเยน็ รวั่ ได

รมี เมอร (reamer) 5. เครอื่ งบานแฟรท อ (Flaring Tool) เปนเครอ่ื งมือสําหรบั บานทอ ทองแดงเพ่อื ใชเ ปน จุดเชอื่ มตอ ระหวางทอ ทองแดงและแฟรน ัทเขากบั ชองเซอรว สิ สําหรบั แฟรท ีไ่ ดนน้ั หากเล็กเกนิ ไป หรอื แฟรม ีรอย ก็จะเปน สาเหตทุ ที่ าํ ใหน า้ํ ยาแอรหรอื สารทาํ ความเย็นในระบบรวั่ ได เครอื่ งบานแฟรท อ (Flaring Tool) 6. ประแจทอรค หรอื ประแจปอนด (Torque Wrench) เปน ประแจทสี่ ามารถกําหนดคาแรงบดิ การขนั แฟรน ทั ได ใช สาํ หรับระบบปรบั อากาศ หากใชป ระแจทวั่ ไปขนั จะตอ งกาํ หนดแรงบดิ ดว ยตวั เองตามความชํานาญของชา งแตล ะคน ถา ขนั ไมแ นน กเ็ ปน สาเหตทุ ท่ี าํ ใหนํ้ายาแอรหรือสารทาํ ความเยน็ ในระบบรวั่ ได หรอื แนน ไป จนทาํ ใหแ ฟรน ทั แตก

ประแจทอรค หรอื ประแจปอนด (Torque Wrench) 7. เครอ่ื งดดั ทอ หรอื เบนเดอรด ดั ทอ (Tube bender) เปนเครอื่ งมอื สาํ หรับดัดทอ ทองแดง ซง่ึ สามารถดัดมุมได 90 – 180 องศา การดัดทอ ทด่ี ี ทอ ที่ถือวา ใชไ ดห ลงั จากทําการดดั แลว ขนาด ของเสน ผานศนู ยก ลางของทอจะตอ งไมต ํา่ กวา 2 ใน 3 ของขนาดทใ่ี ช หากใชท อ บางหรอื ทอ ท่มี คี วามหนาตํ่ากวาคําแนะนําของผผู ลติ แลว นํามาดัดจะทาํ ใหเกดิ ปญ หาทอ บีบหรอื ทอ ยน ได จะสงผลกระทบตอ การ ทํางานของระบบเครอ่ื งปรบั อากาศ

เครอ่ื งดดั ทอ หรอื เบนเดอรด ดั ทอ (Tube bender) 8. เซฟตว้ี าลว (Safety Valve) คอื วาลว ทที่ ําหนาทกี่ ดไสศรของเซอรว ิสวาลว เพื่อไมใ หน ํ้ายาแอร หรอื สารทําความเยน็ ถกู ปลอยออกมามากเกนิ ความจาํ เปน ในระหวา ง ตอเกจวดั ความดนั ซ่ึงเปนอกี เหตุผลที่ชางควรจะมใี ช เพ่ือชว ยปอ งกัน ไมใ หสารทําความเยน็ ลวกมอื ได เซฟตวี้ าลว หรอื ชารจ จง้ิ วาลว (Safety Valve) 9. ชดุ เบง ขยายทอ ทองแดง (Tube Expander) เปน เครอื่ งมอื สาํ หรบั การขยายทอทองแดง และอลูมเิ นยี มชนดิ ออ น เพือ่ การตอ ทอ โดยไมต องใช Fitting ประกอบดวย ตวั เบง ขยายทอ ทองแดง ขนาด 1/4″, 5/16″, 3/8″, 1/2″, 5/8, 3/4″, 7/8″, 1″, 1-1/8″ ชดุ เบง ขยายทอ ทองแดง (Tube Expander) 10. สวา น (Drill) มีหนาทใี่ นการเจาะกาํ แพง เพ่อื ตดิ ตงั้ เครอ่ื งปรับอากาศ ทัง้ ตดิ ผนงั เพดาน รวมไปถงึ ตงั้ พื้น สวา นท่ีดีจะตองมคี วามทนทาน ทนแรงกระแทก และรองรบั ความรอ นสูงในการใชง านตดิ ตอ กนั ได

สวา น (Drill) 11. หวั เจาะกลม (Hole saw) มไี วเ พือ่ เจาะรทู อทผ่ี นังใหเ ปนวงกลม ไดข นาดพอดีกบั ทอ ลดรอย แตกรา วขณะเจาะ เหมาะสําหรบั ใชเจาะรูรอ ยทอ แอร รทู อ สารทําความ เยน็ ในการตดิ ตง้ั หวั เจาะกลม (Hole saw) 12. เครอ่ื งชง่ั นา้ํ ยาแอร (Refrigerant Scale) เครอ่ื งชง่ั นาํ้ ยาแอร แสดงผลแบบดิจติ อล สําหรบั ไวใ ชช ่ังถงั น้าํ ยา แอร ในระหวา งการเติมนาํ้ ยา ควรมีความแมน ยาํ สงู เพอื่ กนั ไมใ หเ ติม นา้ํ ยามาก หรือนอ ยเกนิ ไป เครอื่ งชง่ั นา้ํ ยาแอร หรอื สารทาํ ความเยน็ (Refrigerant Scale)

13. เครอื่ งวดั อณุ หภมู ิ (Thermometer) คอื เคร่อื งมอื วดั และแสดงคา อุณหภูมิ มีหลากหลายรูปแบบตาม ประเภทของงาน โดยสาํ หรบั งานตดิ ต้งั และซอ มแซมเคร่ืองปรบั อากาศ และระบบทําความเยน็ สง่ิ ทีจ่ าํ เปนท่ีสดุ คอื “อณุ หภูม”ิ จึงปฏเิ สธไมไ ดเ ลย วาเครอื่ งวัดอณุ หภูมนิ น้ั สาํ คญั โดยเคร่อื งวดั อณุ หภมู ิทเ่ี หมาะสมกับระบบ ปรบั อากาศควรเปน แบบเซน็ เซอรว ดั อุณหภมู แิ บบสมั ผสั เพราะคา ทว่ี ัด ไดร ับจะแมน ยํากวา เครอื่ งวดั อุณหภมู อิ ินฟราเรด เครอื่ งวดั อณุ หภมู ิ (Thermometer) 14. ดจิ ติ อลไมครอนเกจหรอื เกจวดั สญุ ญากาศ (Digital Micron Gauge) เครือ่ งแวคคมั่ เกจ หรอื บางคนจะเรียกวา เครอื่ งมือวดั สญุ ญากาศ แบบดิจติ อล คือ อปุ กรณเ ครอ่ื งมอื วดั ทส่ี ามารถแสดงถงึ ระดับสุญญกาศ แบบสมบูรณ โดยแสดงเปน หนวยไมครอน จะมีความละเอยี ดดาน สญุ ญากาศมากกวา เกจนา้ํ ยาทวั่ ไป เพื่อใหทราบวา ในระบบ เครอ่ื งปรบั อากาศหรือระบบทาํ ความเย็น ไมม ีอากาศและความชื้น หลงเหลืออยู จะใชค วบคกู บั เกจวดั นํา้ ยา และแวคคมั่ ปม

ดจิ ติ อลไมครอนเกจหรอื เกจวดั สญุ ญากาศ (Digital Micron Gauge) 15. เครอื่ งฉดี นา้ํ หรอื ปม น้าํ แรงดนั ตา่ํ คอื อุปกรณทเี่ หมาะสมทส่ี ุดในการทาํ ความสะอาด เครือ่ งปรบั อากาศประเภท Wall Type เนอ่ื งจากแรงดนั นํ้าทพ่ี อเหมาะ ของปมจะไมท าํ ใหฟ น คอยลเ ย็นเกดิ ความเสียหาย ถาฟน เสยี หาย พบั หรอื งอ จะทาํ ใหเ ปน สาเหตขุ องแอรไ มเ ย็น การลา งทาํ คามสะอาดระบบ ปรบั อากาศไมไดใชเ พยี งแคแ รงดนั นา้ํ ในการทําความสะอาด เพราะยงั มี เร่อื งคราบสกปรกและกล่นิ ทไี่ มพ งึ ประสงคอ ีกดว ย เราจงึ ควรใชค วบคู กบั น้าํ ยาทาํ ความสะอาด เครอ่ื งฉดี นา้ํ หรอื ปม นาํ้ แรงดนั ตา่ํ 16. เครอื่ งตรวจรว่ั นา้ํ ยาแอร (Leak detector) เปนเครอ่ื งสําหรบั เชก็ จดุ ทม่ี นี ้ํายาแอรรั่ว สามารถเชก็ ไดกับแอร บา น แอรร ถยนต ใชสําหรบั ตรวจการรั่วไหลของน้ํายาแอรหลายชนดิ CFCs: R11, R12, R500, R503ฯลฯ HCFCs: R22, R32, R404A, R410A, R448A และตรวจจบั กาซสารทาํ ความเยน็ ฮาโลเจนทกุ ชนดิ เปน อุปกรณทีช่ างขาดไมไ ดเ ลยอีกหนง่ึ ชน้ิ

เครอื่ งตรวจรวั่ นา้ํ ยาแอร หรอื สารทาํ ความเยน็ (Leak detector) 17. นา้ํ ยาแอร หรอื สารทาํ ความเยน็ ถอื เปนส่งิ ทีช่ างระบบปรบั อากาศและทาํ ความเย็นมีตดิ รถไวเ สมอ การใชงานขนึ้ อยกู บั ชนิดของเครอ่ื งปรบั อากาศ เพื่อใชเ ตมิ เขาสู เคร่อื งปรบั อากาศ เชน R-22 , R410a โดยมาตรฐานการเตมิ นํา้ ยาแอร ข้ึนอยกู บั ชนดิ ของนํ้ายา สําหรบั งานเครื่องปรบั อากาศ ชา งควรจะตองมี การช่งั นา้ํ หนกั เตมิ ตามฉลากของเครือ่ ง และวัดความดนั น้ํายา คา กระแสไฟฟา รวมถงึ คาํ นวณคา superheat, subcooling เพื่อความ ถกู ตอ งสงู สุด นาํ้ ยาแอร หรอื สารทาํ ความเยน็

18. แคลมปว ดั ไฟฟา (Clamp Meter) เปน เครอื่ งวดั กระแสไฟฟา ซ่งึ ใชสาํ หรบั วัดคา กระแสไฟฟา (Current Measurement) ท่ไี หลในวงจรไดอ ยางรวดเร็ว และแมนยํา โดยไมต อ งดับไฟหรือหยดุ การทํางานของอปุ กรณไ ฟฟา โดยแคลมป มิเตอร จะมสี ว นคลา ยกบั กา มปูเพอ่ื ใชค ลองกบั สายไฟและสามารถอา น คาไดท นั ที ซงึ่ มดี ว ยกันหลายย่หี อ ที่รวบรวมฟง กชนั การวดั กระแสไฟ เขา ไวในตวั เดยี ว ไมว าจะเปน Current วัดกระแส AC/DC , Voltage วัดแรงดนั , Continuity Check เชก็ ความตอเน่อื ง, Resistance วดั คา ความตา นทาน แคลมปว ดั ไฟฟา (Clamp Meter) 19. ปากกาวดั ไฟ (Voltage Detector) เปนอุปกรณท่มี คี วามจําเปน สําหรับชา งแอร และชางไฟฟาทุกคน ใชวดั ไฟในจดุ ตา งๆ ตรวจเชก็ หาแรงดนั ไฟฟา (Voltage Detector) โดยไม ตองสัมผสั ทีส่ ายไฟหรอื โลหะโดยตรง เหมือนไขควงวดั ไฟทวั่ ไป เพอ่ื ความปลอดภัยในการใชง านมากย่ิงขึน้

ปากกาวดั ไฟ (Voltage Detector) 20. ชดุ เชอ่ื มทอ (hand torch) ไมวา จะเปนชุดเชอื่ มสนาม หรือ หัวเชอื่ มแกส กระปอ ง ใชส ําหรบั เช่ือมทอทองแดงในงานปรับอากาศ ซ่งึ ตองใชค วามรอนสงู ในการเช่อื ม หากความรอ นไมถ งึ จดุ ท่หี ลอมเหลวกจ็ ะทําใหงานเชือ่ มไมม ี ประสิทธภิ าพ สาํ หรบั หนางานทพ่ี น้ื ทจ่ี ํากดั การเลอื กใชห ัวเชื่อมแกส กระปอ งนั้นควรเลอื กใชก ระปอ งทม่ี คี ุณภาพ ปลอดภยั มีความทนทาน ปอ งกนั การเกิดแกส รว่ั ได

อุปกรณท กี่ ลา วมาขา งบนนน้ั เปนขอมูลสําคัญสําหรบั ชางแอรท กุ ทา น ไมว าจะเปน คนที่กาํ ลงั ศึกษาจะเปน ชา งแอร ชา งแอรม ือใหม หรอื จะเปน ชางแอรมือเกา เคร่อื งมอื ในการทาํ งานถือเปน สิง่ สาํ คญั แตสงิ่ ที่สําคญั ท่สี ดุ คอื ความปลอดภยั ในการทํางาน และหม่นั เสริมทักษะใหมคี วาม ชํานาญอยา งสม่ําเสมอครบั 5.ทอ ทางเดนิ ของสารความเยน็ (Tubing) ท่ใี ชใ นเครอ่ื งทําความเย็นและเครอื่ งปรบั อากาศ แบง ออกไดเปน 2 ชนิดคือ ทอชนดิ ออ น (Soft) และทอ ชนิดแขง็ (Hard) ซ่งึ มี รายละเอยี ดดงั นี้ ทอชนดิ ออ น ทอ ชนิดออ น ตัวอยา งเชน ทอ ทองแดงอยา งออน (Soft Copper) ทอ อะลมู ิเนียม หรอื ทอทที่ าํ จากสารอลั ลอยดพ เิ ศษ สาํ หรบั ทอทองแดง ชนดิ ออ นโดยทว่ั ไปจาํ หนา ยเปนขด มีความยาว 25 ฟุต หรอื 50 ฟตุ มี

ขนาดตาง ๆ กนั ตามขนาดทีว่ ดั จากเสน ผา นศนู ยก ลางภายนอก (Outside Diameter; OD) เชน ขนาด ¼ น้ิว OD, ½ นวิ้ OD การคล่ี ทอ ออกจากขดเพอื่ ใชงานควรวางทอ บนพืน้ เรียบ ๆ กดปลายทอ กบั พ้นื แลวหมนุ ขดทอ คลอี่ อก โดยวธิ นี จี้ ะไดท อทตี่ รง เพราะถาดงึ ทอ ออกจาก ขดขาง ๆ จะทําใหท อบดิ ไมส ามารถนําไปบานหรือตดั ได ทอ ชนิดแขง็ ทอชนิดแข็ง ตวั อยา งเชน ทอ ทองแดงอยา งแขง็ (Hard – Draw Copper) ทอ เหลก็ สเตนเลส (Stainless Steel) หรือทอ ชนิดอนื่ ๆ ท่ี คลายนี้ ทอชนดิ แข็งนี้มีขนาดตา ง ๆ กันตามขนาดทวี่ ดั จากเสนผา น ศนู ยกลางภายนอกเชน เดียวกบั ทอ ชนิดออ น แตเก็บเปน เสน ยาวไมเ กนิ 6 เมตร การเลอื กใชทอ ทางเดนิ สารความเย็น มหี ลักทคี่ วรคาํ นงึ ถงึ ดงั นี้ 1.ชนิดของระบบทาํ ความเย็นวา เปน ระบบใดและใชสารความเยน็ อะไรเปนตวั กลางในการทําความเย็น 2.ราคาของทอแตล ะชนิด 3.แบบของการตอ ทอทใ่ี ช - ความรูใ นเร่อื งของสารความเย็นทีใ่ ชใ นระบบเปนส่งิ สาํ คญั ใน การเลอื กใชช นิดของทอทางเดนิ สารความเย็น เพราะสารความ เย็นบางชนิดทําปฏกิ ริ ิยาตอ ทอบางอยาง เชน สารความเยน็ แอมโมเนยี จะกดั ทอ ทองแดง แตใชไ ดดีกบั ทอ เหล็กหรอื ทอ อะลมู ิเนยี ม

-ทอ ทางเดนิ สารความเย็นตอ งสะอาด ปราศจากฝนุ ละอองและ ความช้นื ภายในทอ ฉะน้นั ทอทางเดนิ สารความเยน็ ทกุ ชนดิ ตอ ง ปด ปลาย (Sealed) ใหด ี เพอ่ื ปองกนั ฝุนละอองและความชืน้ จาก อากาศ การหมุ ทอ สารความเยน็ ทอ นา้ํ ทง้ิ และสายไฟ -ในการเดนิ ทอสารความเยน็ ทต่ี อ อยรู ะหวา งชดุ คอยลเ ยน็ และชดุ คอนเดนซ่งิ ยนู ติ รวมถึงทอนํ้าทิ้ง และสายไฟทีส่ งไปยงั ชดุ ขับเคลอื่ นคอมเพรสเซอร ตอ งจดั วางใหเรียบรอยสวยงาม -การใชเ ทปพนั ทอ ดา นนอกควรพนั จากลางขนึ้ บน เพราะการพนั จากลางขนึ้ บนจะเปน การปอ งกนั มใิ หน า้ํ ยอนเขาขางในได และ การพันกไ็ มค วรพนั ใหแนน จนเกินไป หากฉนวนไมม ชี องวา งจะ ทําใหเ กิดหยดน้าํ ได -การเดินทอ น้ําทง้ิ ในชว งผา นรูผนงั ควรทํามุมใหล าดเอียงลง เล็กนอย ใหท ออยตู า่ํ กวา ระดับถาดรองน้าํ ท้งิ เพื่อใหน าํ้ เดรนออก ท้ิงภายนอกไดสะดวก

6.มอเตอรไ ฟฟา ในงานเครอ่ื งทาํ ความเยน็ เปนอปุ กรณในเครอื่ งใชไ ฟฟาซึง่ ทําหนา ที่แปลงกระแสไฟฟา ที่ ใชในการเดนิ เครอ่ื งใชไ ฟฟา โดยเปลีย่ นจากพลงั งานไฟฟา เปน พลังงานกล ซ่ึงมอเตอรไฟฟาในเครอื่ งใชไ ฟฟาแตล ะชนดิ จะมคี วามเรว็ รอบ หรือกําลังทแ่ี ตกตางกนั ข้นึ อยกู บั ประเภทและขนาดในการใชงาน อีกทงั้ มอเตอรแอร จะมีประเภทท่แี ตกตา งกนั และสว นประกอบทม่ี ี หลากหลายชิ้นสว น รวมไปถงึ ชดุ ปอ งกนั ท่ถี อื เปนสว นสาํ คญั ภายใน เครือ่ งปรบั อากาศ เพราะเปน ตัวชว ยทีท่ าํ ใหเ ครอื่ งปรบั อากาศทาํ งานได อยางเตม็ ประสทิ ธภิ าพ และเปนตวั ปอ งกนั ปญ หากระแสไฟฟาเกนิ เกณฑ ท่ีอาจเกดิ ขึ้นไดทกุ เมื่อกบั เคร่อื งปรบั อากาศ ชนดิ ของมอเตอรแ อร ชนดิ ของมอเตอรแ อร สามารถแบงออกได 2 ชนิด ตามลักษณะของการ ใชก ระแสไฟฟา ดังตอไปน้ี 1.มอเตอรก ระแสตรง (Direct Current Motor) หรือ ดซี มี อเตอร 2.มอเตอรก ระแสสลบั (Alternating Current Motor) หรอื เอซีมอเตอร โดยมอเตอรชนิดน้ี ยังสามารถแบงยอ ยไดอ ีก 2 ชนดิ ไดแก มอเตอร แบบเฟสเดยี่ ว 2 สาย เชน มอเตอรใ นคอมเพรสเซอรท ช่ี วยระบายความ รอนในคอยล และอีกชนดิ เปนมอเตอรแ บบ 3 เฟส สว นประกอบของมอเตอรแ อร สว นประกอบของมอเตอรแอร หรอื Split Phase Motor มีดังนี้ 1. สเตเตอร (Stator) เปนชนิ้ สวนที่ใชส าํ หรบั วางขดลวด หรอื ลวดอาบ นํา้ ยา มีลักษณะเปน แผนเหล็กบางๆ และมรี อ งทเี่ รยี กวาสล็อด และ สามารถแบงประเภทได 2 แบบ คอื

แบบขดรนั ท่เี ปน ขดลวดที่พนั น้าํ ยา มลี ักษณะใหญ มีขวั้ เปน N กบั S และจะนบั เปนคู แบบขดสตารท (Start Winding) เปน ขดลวดทใ่ี ชส าํ หรบั การทํางาน ของมอเตอร มลี ักษณะเล็ก และแรงตานทานนอ ย 2. โรเตอร (Rotor) คือสวนทีท่ ําหนา ทหี่ มนุ ปลอ ยวงจรของขดลวดใหม ี การแยง ออกจากกัน 3. สวติ ชแ บบหนแี รงเหวยี่ ง (Centrifugal Swich) ประกอบไปดว ย 2 สว น คือสวนทอี่ ยกู บั ฝาครอบและสวนทหี่ มนุ อยูทเ่ี พลาโรเตอร 4. แคปรนั (Capacitor Run) เปน สวนทีอ่ ยใู นวงจรไฟฟา หากมอเตอรมี ปญหาหรอื หยุดหมนุ อาจเกิดจากตัวแคปรันทรี่ ่วั หรอื ชอ็ ตได มอเตอรของแอร ยงั มีสวนประกอบท่ีเปนอปุ กรณอกี หลายชิน้ มที ง้ั พดั ลม ระบายอากาศสําหรับแผงคอยลรอ น และพดั ลมโพรงกระรอกในคอยล เยน็ หรอื มอเตอรบานสวิงซา ยขวา ขนึ้ ลง ทเ่ี ปน มอเตอรแ บบกระแสสลับ เฟสเดียวและสามเฟส

7.อปุ กรณส ตารท มอเตอร อปุ กรณป อ งกนั และควบคมุ สตาร- เดลตา การสตารท และควบคมุ 1 เพอ่ื ทจี่ ะสตารท มอเตอรใ หส าํ เรจ็ การสตารท แบบ Y/D นนั้ สามารถไดส ําเร็จกบั บาง application ซง่ึ ถา โหลดประเภทโหลดคงทห่ี รอื constant load จะเปนโหลดท่มี ที อรก ขณะ สตารทหนกั มากๆ ทําใหช ว งเรม่ิ สตารทของวงจรสตารน น้ั ไมส ามารถขับ ออกตวั ได หรอื แมขับออกตวั ไดบ างกรณใี นชวงเปลยี่ นจากสตารท เปน เดลตาความเรงไมพ อที่จะทาํ ใหเ พ่ิมความเรว็ ไปถึงพิกดั ของความเร็ว มอเตอรไ ด ดังนน้ั การใชการสตารท ดวยวงจร Y/D จะเหมาะกับบางงาน เทา นั้น 2 เพอ่ื ทจี่ ะไมส รา งปญ หาใหก บั ระบบไฟฟา ในไซดง าน การสตารท แบบ Y/D เปน วธิ ที ่ีพฒั นาจาการสตารทแบบ DOL เพอ่ื ลด กระแสและกระแสกระชาก (inrush current) ชวงเร่มิ สตารท แตก ย็ งั เกดิ กระแสกระชากอยใู นชว งการเปลย่ี นจากวงจรสตารมาเปน เดลตา สําหรับโหลดทกี ารเพม่ิ ของทอรก เปน แบบ exponential เชน ปม พดั ลม เปน ตน ทงั้ นกี้ ารสตารท แบบนจ้ี ะไมเกิดปญหาในเรอื่ งสญั ญาณรบกวน ของ harmonic เหมือน VFD 3 เพอ่ื ทจ่ี ะการปอ งกนั อนั ตรายทม่ี โี อกาสทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ไดก บั ผใู ชง านหรอื ผทู อี่ ยใู นบรเิ วณใกลเ คยี ง การปองกนั อันตรายท่ีมโี อกาสท่จี ะเกดิ ขึ้นไดแกผใู ชงานหรอื ผทู อี่ ยูใน บริเวณใกลเคยี งได โดยการตดิ ตง้ั อปุ กรณปองกนั เชน เซอรก ติ เบรก เกอรแ ละโอเวอรโ หลด ทีม่ คี ณุ ภาพและมีการรบั รองมาตราฐาน Coordination

4 เพอื่ ทจ่ี ะปอ งกนั ความเสยี หายของระบบไฟฟา ในกรณที มี่ อี บุ ตั เิ หตทุ ่ี ไมค าดคดิ เกดิ ขนึ้ ปองกันอบุ ัตเิ หตทุ ไี่ มค าดคดิ ในกรณตี าๆ เชน สายพานลาํ เลยี งขาด เกยี รพ งั คัปปลิ้ง Coupling เสยี หาย รนั Dry Pump ขณะไมนา้ํ ทาํ ให มอเตอรไ ดร บั ความเสยี หาย โดยการติดเซนเซอรเ พ่มิ เชน เซนเซอรวดั ความมเรว็ เพ่อื ปองกันกรณสี ายพานลําเลียงตกหรือขาด, เซนเซอรวดั ระดับนาํ้ เพ่อื ปองกนั การเกดิ รนั Dry Pump ขณะไมนาํ้ ,เซนเซอรว ดั การสั่นสะเทือน (Vibration sensor) เพอื่ สงั เกตการสน่ั ของมอเตอรท ี่ ผดิ ปกติจากปญ หาตา งๆ เชน เกยี รพงั , คัปปล้งิ (Coupling) และ ลูกปน (Bearing) มีการสกึ หรอ เปน ตน 5 เพอ่ื ทจี่ ะควบคมุ ทศิ ทางของตวั มอเตอร เชน การกลบั ทางหมนุ (เฉพาะ บางงานเทา นน้ั ) การกลบั ทางหมนุ ได แตว งจรมคี วามซบั ซอนและยงุ ยาก 6 เพอ่ื ทต่ี อ งการปรบั แรงบดิ และความเรว็ รอบในขณะทม่ี อเตอรท าํ งาน อยู (เฉพาะบางงานเทา นน้ั ) ไมสามารถปรับแรงบิดและความเรว็ รอบในขณะทม่ี อเตอรท ํางานอยไู ด 7 เพอื่ ทจ่ี ะลดคา ใชจา ยในการบํารงุ รกั ษาอปุ กรณแ มกคานคิ ทตี่ อ พวง กบั มอเตอร การสตารท แบบ สตาร- เดลตา จะทําใหอ ปุ กรณท างแมคคานิกสกึ หรอ งา ย และยังเกดิ ปญ หาอีกมากมายเชน การไถลของสายพาน, water hammer, อปุ กรณ gearbox มีอายุการใชงานท่สี ั้นลง ทําใหต อ งมี คาใชจ า ยคอนขางสงู ในการซอ มบํารุง

8 เพอื่ ทจ่ี ะไดป ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ และประหยดั พลงั งาน ลดการเกดิ Inrush Current และสามารถลดความเรว็ รอบของมอเตอรล งได สามารถลดการเกิด Inrush Current ยกเวนโหลดประเภท Exponential ทงั้ นไี้ มประหยัดพลงั งานและลดความเรว็ รอบของมอเตอร 9 เพอื่ ทจี่ ะไดค วามคมุ คา กบั การลงทนุ ของระบบการสตารท มอเตอรท ส่ี ดุ ถา พูดถงึ ความคมุ คา กับการลงทนุ นน้ั การสตารท แบบสตาร-เดลตา นนั้ เปน วิธหี น่ึงท่ชี ว ยลดกระแสและการแสกระชากขณะสตารท เหมาะกับ มอเตอรท ไี่ มตองการปรับความเร็วรอบ และไมเ หมาะกับงานปม หรือพดั ลม ชดุ ปอ งกนั ของมอเตอรแ อรท คี่ วรรู สําหรับมอเตอรท ใ่ี ชในเคร่อื งทําความเย็น หากเกิดความรอนจาก ภายนอกท่สี งู เกินไป จะตอ งมีชดุ ปอ งกันไมใ หอ ณุ หภมู สิ ูงกวา เกณฑ และเปน การปอ งกนั ไมใ หมอเตอรไ หม โดยการตดั กระแสไฟฟาใหก ับ มอเตอร ซึ่งชุดปอ งกนั จะมี 2 แบบดวยกนั คอื แบบสาํ หรับปองกนั อณุ หภมู แิ ละกระแส อีกท้ังยงั สามารถแบง ไดเ ปน 4 ชดุ ดงั น้ี 1. ชุดปอ งกนั ความรอ นภายในมอเตอร เร่ิมตนดว ยชุดปอ งกนั ความรอ นทอ่ี ยภู ายในตวั มอเตอร (Internal Thermostatic Motor Protector) เปน ชุดปอ งกนั มอเตอรท ่ผี ลิตขึ้นจาก โลหะสองชนิดดว ยกนั โดยจะตดิ อยภู ายใน และชุดปองกนั นี้กจ็ ะเสียบ เขา ไปในเขตลวดสเตเตอร ซง่ึ เมอ่ื อณุ หภูมขิ องคดลวดสงู ขึ้น คอนแทค จะเปด ออกโดยการโคง งอของโลหะสองชนดิ อกี ทงั้ ชดุ ปอ งกันชุดน้จี ะมี ขนาดเลก็ กวา ปกติ

2. ชดุ ปอ งกันความรอ นภายนอกมอเตอร เปนชดุ สาํ หรับปอ งกันความรอ นภายนอกมอเตอร (External Thermostatic Motor Protector) โดยชุดดังกลาวถกู ตดิ ตัง้ อยภู ายนอก คอมเพรสเซอร ซึง่ มตี วั คอนแทคทาํ หนา ท่ใี นการตดั วงจรไฟฟาดว ยการ งอของโลหะสองชนดิ ในขณะท่รี ับความรอ นจากตวั เรอื นของ คอมเพรสเซอร และความรอ นจากกระแสไฟฟา ท่ไี หลเกนิ เกณฑ 3. สวิตซแ มเหลก็ ไฟฟา สวิตซแ มเหลก็ ไฟฟา (Electromagnetic Switch) ทําหนา ทีเ่ ปด -ปด วงจรไฟฟา ใหก ับมอเตอร โดยใชว ธิ ีการใหก ระแสไหลเขา ขดลวดของ สวติ ซแมเหล็กไฟฟา สง ผลใหคอนแทคหรอื หนา สัมผสั ทั้งสามเฟส และ เมอ่ื มกี ารตัดไมใ หก ระแสไฟฟา เขา ลวด คอนแทคจะแยกจากกนั ซงึ่ เรยี กชดุ นว้ี า คอนแทคเตอร (Contactor) โดยคอนเทคเตอรจะมรี เี ลยท ี่ คอยปอ งกันไมใ หก ระแสไฟฟาไหลเกินเกณฑ (Overcurrent Relay) 4. ชดุ ปอ งกันกระแสไฟฟา เกนิ เกณฑแ บบปรอท ปดทายดว ยชุดปอ งกนั กระแสไฟฟาเกนิ เกณฑแ บบปรอท (Mercury Overcurrent Relay) ท่ีจะชวยชดเชยผลเสยี ของสวติ ซแ มเหลก็ ไฟฟา และมีรเี รยทีช่ ว ยปอ งกันกระแสไฟฟาเกนิ เกณ ซ่ึงเปน ทยี่ อมรบั ในวง กวา ง เพราะทาํ งานไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ และมคี วามแมน ยําสูง ชว ย ปองกนั เมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณก ระแสไฟฟา เกนิ เกณฑ และไมข ้ึนกับอณุ หภมู ิ ถือเปน ชดุ อปุ กรณป อ งกันทเี่ ตม็ ไปดว ยประสทิ ธิภาพ และปองกนั ไมใ ห เครอ่ื งปรบั อากาศตองเจอปญหากระแสไฟฟา เกนิ เกณฑ ซ่งึ ใครท่แี อร เสีย แอรด ับบอ ย อาจเปนทมี่ อเตอรถ กู ใชง านมาเปนระยะเวลานาน หรือ มกี ารใชง านทีห่ นกั จนเกนิ ไป ดงั นนั้ การมีชดุ ปองกันมอเตอรท ีไ่ ด

คุณภาพ จะชวยใหการทํางานของเครือ่ งปรบั อากาศมคี วามไหลลื่น และ สามารถปอ งกนั ปญ หาของเร่ืองไฟฟา ท่ีอาจเกดิ ขึน้ ในอนาคตได ท้ังหมดนค้ี อื 4 ชุดปองกันของมอเตอรแ อร ทช่ี า งเทคนิคตอ งรู ถือเปน ขอมลู ดีๆ ท่ีจะชว ยใหเ ขาใจการทํางานของระบบมอเตอรแ อร และทราบ ถึงประเภทของมอเตอร เพอ่ื เปน ประโยชนใ นการดูแลรักษาหรือ ซอ มแซมในอนาคตได

8.คอมเพรสเซอร (Compressor) คอมเพรสเซอร (Compressor) ในระบบของแอรห รอื เคร่ืองปรบั อากาศ หมายถึงเครื่องอดั นํา้ ยา หรอื ตวั ปม นาํ้ ยาแอรน่ันเอง เปน อุปกรณห ลกั ทส่ี าํ คัญอนั นึงของระบบเครอ่ื งทําความเยน็ ซ​งึ ทาํ หนาท่ี ท้ัง ดดู และ อัด นาํ้ ยาแอร ในสถานะแกส ทางวศิ วกรรมสถานแหง ประเทศไทยไดใ หความหมายของคําศพั ทท าง วิชาการของคอมเพรสเซอรไ วว า \"เครือ่ งอัดทเ่ี ปน อปุ กรณเพิ่มความดนั ของสารความเยน็ ทอ่ี ยใู นสภาวะทเี่ ปน ไอ\" โดยหลกั การคอื คอมเพรสเซอรจ ะดดู น้ํายาแอรใ นสถานะทเี่ ปน ฮตี แกส ความดนั ตา่ํ และอณุ หภูมติ า่ํ จากอีวาพอเรเตอร (หรือแผงคอยลเยน็ ) ผา น เขามาทางทอ ซัคชน่ั (Suction) เขาไปยงั ทางดดู ของคอมเพรสเซอร แลว อดั แกสนใ้ี หมคี วามดนั สูงข้นึ และอณุ หภูมสิ งู ขนึ้ ดว ย สง เขา ไปยัง คอนเดนเซอร (แผงคอยลรอ น) โดยผา นทางทอ ดิสชารจ เพอื่ ไปกลัน่ ตวั เปน ของเหลวในคอนเดนเซอรดว ยการระบายความรอ นออกจากนํา้ ยา อีกทนี งึ

จะเหน็ ไดว าในวงจรเครือ่ งทาํ ความเยน็ คอมเพรสเซอรเ ปน อุปกรณท แ่ี บง ความดันในระบบระหวา งดา นความดนั สงู และความดันต่ํา นาํ้ ยาแอรท ี่ถกู ดดู เขา มาในคอมเพรสเซอรจะมสี ถานะเปน แกส ความดัน ตํ่า และนาํ้ ยาทีอ่ ัดสงจากคอมเพรสเซอรจ ะมสี ถานะเปน แกส ซ่งึ มคี วาม ดนั สูง หลงั การลางแอร ชางลา งแอรหรอื ชา งซอ มแอรต อ งตรวจดนู ้ํายา แอรของลกู คา วา นา้ํ ยาแอรพ รอ งหรือไม บางคนคดิ วา นํ้ายาแอรม สี ภาพ เปนน้ําหรือของเหลว แตจ รงิ ๆ มันเปน สารเคมที ก่ี ลายสภาพไดต ามกาํ ลัง อดั และสามารถรั่วซึมไดทงั้ ตามวาวลศ ร (จุกทเี่ ตมิ น้าํ ยา) หรือขอ ตอ บานแฟรไ ดค รับ ระบบแอรไ มใชร ะบบปด ท่ีน้าํ ยาจะรั่วออกไมไ ด

9.การบรรจสุ ารทาํ ความเยน็ การบรรจสุ ารทําความเยน็ เขา สรู ะบบโดยใชก ระปอ งบรรจุขนาด เล็ก(ระบบหยุดทาํ งาน) ขนาดกระปองท่บี รรจสุ ารทาํ ความเยน็ เปน กระปอ งขนาด 1 ปอนดบ รรจุ สารทาํ ความเย็นประมาณ 15 ออนซ สาเหตทุ ใี่ ชก ระปอ งขนาดเลก็ เพราะวาในกรณที สี่ ารทําความเย็นรวั่ สูญหายจากระบบเพยี งเลก็ นอ ย เรานิยมใชกระปองขนาดเลก็ เนอ่ื งจากเคลอื่ นยายสะดวกกวาและ ปฏบิ ัตงิ านไดเ รว็ กวา ปจ จบุ ันกระปอ งขนาด 1 ปอนดนยิ มใชก ันมาก การใชสารทาํ ความเย็นชนดิ บรรจขุ นาด 1 ปอนด ใหด ูจนแนใ จกอ นใช วาเปน กระปองที่บรรจสุ ารทาํ ความเยน็ R- 12 โดยดจู ากโคด สขี าวทที่ า ไวร อบกระปอ งหรือบางทอี าจเขยี นเปน สญั ญลกั ษณท างเคมีตดิ ไวข า ง กระปอ ง สัญญลกั ษณทางเคมคี อื CCL2F2 ขอ ควรระวงั ระวงั อยา นาํ กระปอ งสารทําความเยน็ เขา ไปใกลไฟหรอื ควานรอนใดๆ เพราะทีอ่ ณุ หภมู ิ 125°ฟ ข้ึนไปสารทาํ ความเยน็ เม่อื ไดร บั ความรอ นจดั อาจระเบดิ ได การเปด -ปด ลน้ิ กระปอ งสารทําความเย็นควรใชป ระแจขนั โดยเฉพาะ อยา กระแทกกระปอ งแรงเกนิ ไป และควรเกบ็ ใหอ ยใู น แนวตง้ั เสมอ เครอื่ งมอื กระปอ งบรรจสุ ารทาํ ความเยน็ ขนาด 1 ปอนด ผา คลุมบังโคลนรถ ประแจครบชดุ 1 ชุด ชดุ แมนิโฟลดเ กจพรอ มสายยาง 1 ชุด วสั ดุ สารทําความเยน็ R-12 การเตรยี มงาน 1. ตอสายยางของชุดแมนิโฟลดเ กจเขากบั ทางเขาของคอมเพรสเซอร 2. การตอ สายใหต อ สายทอ ความดนั สูงเขากบั เซอรว ิสวาวลท างลนิ้ ดา น ความดันสูงเเละทอ ความดนั ตํา่ เขากบั ลิ้นดานความดันตาํ่ ที่บนฝาสบู ของ คอมเพรสเซอร

3. ล้ินเกจความดนั สงู และความดนั ตาํ่ อยใู นตําแหนง ปด 4. ดาํ เนนิ การเพ่อื ใหระบบเปน สูญญากาศ ภาพท่ี 7-1 การเตมิ สารทาํ ความเยน็ เขา สรู ะบบในลกั ษณะของเหลว (กระปอ งสารทาํ ความเยน็ ควา่ํ ) การบรรจสุ ารทาํ ควานเยน็ 1. ทาํ การแวคดดู เอาความชื้น และอากาศออกจากระบบเพ่อื ให ระบบเปน สญู ญากาศ 2. เมื่อเปน สูญญากาศแลวใหต อ สายยางเพ่ือบรรจสุ ารทําความเยน็ โดย ตอ ระหวา งถงั บรรจสุ ารทาํ ความเยน็ และทอ ชอ งกลางของชุดแมนโิ ฟลด เกจ การไลอ ากาศในระบบ 1. เปด ลน้ิ ทีก่ ระปอ งหรือถงั บรรจสุ ารทาํ ความเยน็ เพื่อใหส ารทําความ เยน็ เขา สรู ะบบโดยหมนุ ลิ้นทถ่ี ังหรือกระปอ งบรรจุสารทาํ ความเยน็ ทวน เข็มนาฬกิ า 2. ล้ินดานความดนั สงู และความดันตํ่ายังคงปดอยู ใหค ลายจบุ เสียบทอ

กลางใตแ มนโิ ฟลดเ กจออกเลก็ นอยเพ่อื ไลล มออกจากทอ ยาง วธิ กี ารบรรจสุ ารทาํ ความเยน็ เขา สรู ะบบ 1. เปดลนิ้ ดา นเกจวัดความดนั สูง 2. โปรดสงั เกตเกจวดั ความดันดา นต่าํ วา เขม็ ขน้ึ จากสญู ญากาศ หรอื ไม ถา เข็มยงคงชอี้ ยูทส่ี เกลสญู ญากาศแสดงวา ในระบบเกดิ การอุดตนั 3. ถาระบบเกิดการอดุ ตนั ใหจ ดั การแกไ ขและทาํ สูญญากาศใหม 4. เมอ่ื แกไ ขขอบกพรอ งและทาํ สญู ญากาศแลว ใหบ รรจสุ ารทําความ เยน็ เขา ระบบโดยคว่าํ กระปอ งลงเพือ่ ใหสารทาํ ความเยน็ ไหลเขา ไปใน ระบบในลักษณะของเหลว 5. การบรรจุสารทําความเยน็ ใหบรรจตุ ามปริมาณท่บี รษิ ทั ผผู ลติ เคร่อื ง ทําความเย็นกําหนดไว การปฏบิ ตั เิ มอ่ื บรรจสุ ารทาํ ความเยน็ เสรจ็ 1. ปด เกจวัดความดนั ดานความดันสงู 2. ถอดสายยางทอ กลางของชุดแมนโิ ฟลดเ กจออกจากกระปอง 3. หมนุ คอมเพรสเซอรดว ยมอื 2-3 รอบเพือ่ ใหแ นใ จวา ไมม สี ารทําความ เยน็ ในสภาพของเหลวเขาไปอยใู นคอมเพรสเซอร 4. ตดิ เครอื่ งยนตต ง้ั ความเรว็ รอบเครอ่ื งยนตอ ยใู นข้นั เดนิ เร็ว 5. ทดสอบการทํางานของระบบวามีความเย็นเพียงพอหรอื ไม 6. ถาระบบทํางานเรียบรอ ยใหถ อดชดุ แมนิโฟลดเ กจออก และใสฝ า ครอบลนิ้ เซอรวิสใหเ รียบรอ ย

10.การตรวจเชค็ การซอ มบาํ รุงเครอ่ื งปรับอากาศ การซอมบาํ รงุ เครอ่ื งปรับอากาศคอื ขั้นตอนการทําให เครอ่ื งปรบั อากาศทมี่ ปี ญหากลับมาทาํ งานอยางเตม็ ประสิทธิภาพอกี คร้งั การซอ มแบบเตม็ รปู แบบมักจะตอ งถอดช้นิ สว นท้ังหมดออกมาเพอ่ื ตรวจสอบ ซึง่ อาจจาํ เปนสาํ หรับเครอื่ งปรบั อากาศทไี่ มไ ดใ ชงานเปน เวลานาน เครือ่ งปรบั อากาศไมเย็น การสง เสยี งดงั ผดิ ปกตขิ อง เครื่องปรบั อากาศ หรือการทเี่ ครื่องปรับอากาศมกี ล่นิ ไมพงึ ประสงคจาก ระบบทอภายในทผ่ี ดิ ปกติ ซงึ่ ในบทความนีเ้ ราจะอธบิ ายถึงการซอม บํารงุ ทีจ่ ําเปนของเครือ่ งปรบั อากาศเพือ่ ใหกลบั มาใชงานไดอยา งมี ประสิทธภิ าพดงั เดมิ กําจดั ส่งิ อุดตนั ในเครอื่ งปรบั อากาศ การใชเ ครอ่ื งปรบั อากาศติดตอ กันเปน เวลานานเปนสาเหตขุ อง การอดุ ตนั ของชองลมตางๆ ซ่ึงเกดิ จากฝุน ละอองและสงิ่ สกปรกท่สี ะสม กอตวั จนทาํ ใหลมไมส ามารถไหลเวยี นไดต ามปกตทิ ําใหแ อรไ มเยน็ การซอมแซมในสว นนท้ี ําไดโดยการทําความสะอาดในสวนของชอง ระบายอากาศเพอื่ ใหอ ากาศสามารถถา ยเทไดด ีอกี ครง้ั การยบั ยงั้ การกอตวั ของฝนุ ละออง โดยปกติ ฝุนละอองมกั กอ ตวั ในสว นของใบพดั ของคอยลรอน ถา ใบพดั ไมไ ดร ับการทําความสะอาดอยา งสมํา่ เสมอ ฝนุ ละอองเหลา นจ้ี ะ ดดู ซบั ความชน้ื และกดั กรอ นใหเกดิ สนมิ บนใบพดั ฉะน้นั การทําความ สะอาดใบพัดจึงเปน อีกสง่ิ หนึ่งท่ีสาํ คญั ในการซอมบํารงุ เคร่อื งปรบั อากาศ การซอมแซมสว นทีส่ กึ กรอ น

ทุกสว นทเี่ ปนโลหะของเครอ่ื งปรับอากาศ ควรฉาบทาดวยสาร ปองกนั สนมิ หรือการผุกรอน และมกี ารถอดชนิ้ สว นออกมาเพื่อ ตรวจสอบวามีสนิมหรือไม หากมจี ะมเี คาะสนมิ ออกการพน เคลอื บดว ย สารปองกนั สนมิ และสารปองกันการสกึ กรอน ซงึ่ รวมถงึ สว นของใบพดั และสว นประกอบอ่ืนๆทเี่ ปน โลหะดว ย ทําความสะอาดสว นของทอ ระบายน้ํา ปญหาทอ ตนั เปนอกี หน่งึ สาเหตขุ องการลดประสทิ ธภิ าพการ ทาํ งานของเครือ่ งปรับอากาศ นาํ ไปสกู ารขัดของของคอนเดนเซอร และการระเหยของน้ํา ปญ หานแ้ี กไ ขไดโ ดยทาํ ความสะอาดและ ตรวจสอบส่ิงที่อดุ ตันอยู หรอื หากจาํ เปนอาจจะตอ งเปลย่ี นทอ แอร การแกป ญ หาเสยี งรบกวน การทํางานทผ่ี ิดพลาดของแบรร ่ิง(ลูกปน) อาจกอใหเกดิ เสียง รบกวนในขณะเครือ่ งปรบั อากาศทาํ งาน การซอ มแซมเบอื้ งตน คอื การ ตรวจสอบสภาพของแบรร ่ิง และถอดเปลี่ยนตวั ทม่ี ีปญ หาเพื่อกําจดั เสยี ง รบกวน การแกไ ขเรื่องความเย็นและความสะอาด หลังจากทําการตรวจสอบ ทาํ ความสะอาด และเปลย่ี นช้ินสว นทม่ี ี ปญ หา จะมีการประกอบช้ินสว นกลบั คนื และตรวจสอบการรันเครื่อง เพอ่ื ตรวจสอบประสทิ ธิภาพของเครอ่ื งปรบั อากาศ หากไดผ ลเปน ทนี่ า พอใจทีมชางจะเขยี นขอ มูลสรุปการทํางาน และแจงกาํ หนดการ ซอมแซมครงั้ ตอ ไป จงึ สามารถสรุปไดว า การซอมบาํ รงุ แบบเตม็ รปู แบบจะทําให เคร่อื งปรบั อากาศกลับมามีประสิทธภิ าพเตม็ ที่ อีกท้ังยังปอ งกนั การ

เสยี หายของอะไหลส วนตา งๆ เปนการชวยประหยดั คาใชจ า ยเน่อื งจาก ตอ งเปลย่ี นอปุ กรณท ม่ี ีราคาสูง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook