CHAPTER 1ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ยี วกบั การถ่ายภาพประวตั ิความเป็ นมาของการถ่ายภาพ การถ่ายภาพไดม้ ีการพฒั นามาหลายร้อยปี ก่อนท่ีจะมีกลอ้ งถ่ายภาพเพอื่ การบนั ทึกภาพใหเ้ หมือนจริงน้นัมนุษยใ์ นสมยั โบราณไดใ้ ชว้ ธิ ีการวาดภาพเพือ่ บนั ทึกความทรงจาและใชใ้ นการสื่อความหมาย ซ่ึงการวาดภาพน้นัตอ้ งใชเ้ วลานานและไดภ้ าพท่ีไม่เหมือนจริงทาใหม้ นุษยค์ ิดคน้ หาวิธีการสร้างภาพโดยใชเ้ วลานอ้ ยลงและใหไ้ ด้ภาพเหมือนจริงจนในท่ีสุดในศตวรรษท่ี 19 มนุษยก์ ป็ ระสบความสาเร็จในการคิดคน้ กระบวนการสร้างภาพ การถ่ายภาพมีววิ ฒั นาการมาจากศาสตร์ 2 สาขาคือ สาขาฟิ สิกส์ไดแ้ ก่เรื่องของแสงและกลอ้ งถ่ายภาพและสาขาเคมีในส่วนท่ีเกี่ยวกบั ฟิ ลม์ สารไวแสงและน้ายาสร้างภาพ โดยในคร้ังแรกสุดเริ่มจากสาขาฟิ สิกส์ซ่ึงเกิดข้ึนเมื่อ 400 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช ท่ีมา : http://www.4x4.in.th/outdoor/photo/00642-6.gif จากหลกั ฐานท่ี อริสโตเติส บนั ทึกไวว้ า่ “ถ้าเราปล่อยให้แสงผ่านเข้าไปทางช่องเล็กๆบทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การถา่ ยภาพ ในห้องมืดแล้วถอื กระดาษขาวให้ห่างจากช่องรับแสง ประมาณ 15 ซม. จะปรากฏภาพบนกระดาษ มลี ักษณะเป็ นภาพจริงหัวกลบั แต่เป็ นภาพ ทีไ่ ม่ชัดเจนนัก” (สมาน เฉตระการ.การถ่ายภาพเบ้ืองตน้ , 2548) 1
จากหลกั การน้ี ต่อมาไดว้ ิวฒั นาการมาเป็นกลอ้ ง ออบสควิ รา (Camera Obscura) ซ่ึงเป็นภาษาลาตินแปลว่า ห้องมดื โดยหลกั การของกลอ้ ง Obscura ในระยะแรก ๆ กค็ ือเมื่อลาแสงจากภายนอก ผา่ นช่อง เลก็ ๆเขา้ ไปในหอ้ งมืด ภาพทิวทศั นจ์ ากภายนอกจะฉายอยบู่ นฝาผนงั หรืออีกดา้ นหน่ึงท่ีอยตู่ รงกนั ขา้ มกบั รูรับแสงดงั กล่าว หรือโดยการสะทอ้ นภาพลงบนโตะ๊ ในหอ้ งมืดเพื่อใหจ้ ิตรกรเขียนภาพเหล่าน้นั อีกทีหน่ึง ทมี า:http://courseware.payap.ac.th/docu/ca205/pic/pic1/obscura1.jpg ต่อมาไม่นานกม็ ีผคู้ ิดนาเอาเลนส์มาใชเ้ ปิ ดรับแสงแทนการใชแ้ ต่เพยี งรูรับแสงเลก็ ๆ ดงั แต่ก่อนเท่าน้นัจนกระทงั่ ประมาณราวๆปี ค.ศ. 1500 เศษ ประโยชน์ของกลอ้ ง Obscura ตามความคิดเก่ากเ็ หลืออยเู่ พยี งรูปแบบของหอ้ งมืด และจากความคิดด้งั เดิมน้นั กม็ ีผนู้ าไปสร้างเป็นกล่องไมท้ ี่สามารถหิ้วไปไหนมาไหนได้ หรือแบบเกา้ อ้ีเก้ียว เตน็ ท์ หรือโตะ๊ ซ่ึงมีกลอ้ ง Obscura ขนาดเลก็ บรรจุอยภู่ ายใน เป็นตน้ เวลาล่วงเลยมา จนกระทงั่ ถึงปลายศตวรรษที่ 16 และตน้ ศตวรรษที่ 17 กลอ้ ง Obscura ไดพ้ ฒั นาเป็นกล่องยาวเรียวดว้ ยขนาดท่ีใชว้ างบนโตะ๊ ไดใ้ ส่เลนส์ไวข้ า้ งหนา้ และมีกระจกเงาวางเอียง 45 องศา อยดู่ า้ นหลงั สะทอ้ นภาพข้ึนไปยงั ฉากดา้ นบนซ่ึงมีฝาปิ ดเปิ ดไดก้ ารมองดูภาพท่ีจดกม็ กั มีฮูด้ (Hood) ป้ องแสงจากภายนอก โดยที่จิตรกรจะวางกระดาษบางๆ ไวบ้ นกระจอจอภาพดงั กล่าว แลว้ เขียนภาพท่ีปรากฏ ท่ีมา : http://courseware.payap.ac.th/docu/ca205/pic/pic1/obscura2.jpg 2บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถา่ ยภาพ
ค.ศ. 1550-1573 ไดม้ ีการพฒั นากลอ้ งออบสคิวรา ไดส้ ร้างเลนส์ นูนและนาไปใส่ไวใ้ นช่องรับแสงของกลอ้ ง ปรากฏวา่ ท่ีมา : http://2.bp.blogspot.com/_PBOlCH3k3Ko/TGvy1BJEzjI/ ไดภ้ าพท่ีสวา่ งข้ึนแต่ภาพยงั ไม่คมชดั ตอ่ มาไดป้ ระดิษฐ์ AAAAAAAACj8/LFNBV1W1Dq8/s1600/4.jpg ม่านบงั คบั ช่องรับแสง เพ่ิมเติมในกลอ้ งถ่ายภาพ ปรากฏวา่ ภาพท่ีชดั ข้ึนกวา่ เดิมและใชก้ ระจกเวา้ เพ่ือช่วย ในการมองเห็นภาพใหเ้ ห็นเป็นภาพหวั ต้งัค.ศ. 1676 โยฮานน์ สเตอร์ม(Johann Sturm) ประดิษฐก์ ลอ้ งรีเฟลกซเ์ ป็นกลอ้ งแรกของโลก โดยใชก้ ระจกเงาวางต้งัใหไ้ ดม้ ุม 45 องศาเพ่อื รับแสงแลว้ สะทอ้ นเขา้ ฉากรับภาพ ซ่ึงจะไดภ้ าพหวั ต้งั สะดวกต่อการมองภาพของผถู้ ่ายค.ศ. 1727-1777 ช่วงน้ีถือวา่ เป็นจุดเริ่มตน้ ของสารเคมี โดย โยฮัน เฮนริช ชุลตช์(Johann Heinrich Schulze) ชาวเยอรมนั พบวา่ สารผสมของชอลก์ กบั เกลือเงินไนเตรท เมื่อถูกแสงแลว้ จะทาใหเ้ กิดภาพสีดา และนกั เคมีชาวสวเี ดน พบวา่ แสงสีน้าเงินและสีม่วง ของ Positive มีผลทาใหเ้ กลือเงินไนเตรทและเกลือเงินคลอ ไรด์ เปลี่ยนเป็นสีดาไดม้ ากกวา่ แสงสีแดง ที่มา : http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons 3 /a/a4/Johann_Heinrich_Schulze.JPGบทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การถา่ ยภาพ
ค.ศ. 1826 ที่มา : http://4.bp.blogspot.com/_PBOlCH3k3Ko/TGvyzwt3-wI/AAAAAAAACjk/dS1gy6k8FU8/s400/7.jpg โจเซฟ เนียพฟอร์ เนียพซ์ (Joseph Nicephore Niepce) ชาวฝร่ังเศส ไดใ้ ชแ้ ผน่ ดีบุกผสมตะกวั่ ฉาบดว้ ยสารไวแสงบีทเู มนซ่ึงมีสีขาว (White Bitumen) ใส่เขา้ ในกลอ้ งออบสคิวรา ถ่ายภาพทิวทศั น์จากหนา้ ต่างบา้ นของเขาท่ีเมืองแกรส (Grass) โดยใชเ้ วลานานถึง 8 ชวั่ โมงเมื่อนาแผน่ ดีบุกผสมตะกวั่ ฉาบสารบีทเู มน ลา้ งดว้ ยส่วนผสมของน้ามนั จากตน้ ลาเวนเดอร์ (Lavender) กบัWhite Petroleum แลว้ ทาใหส้ ่วนท่ีถูกแสงท่ีเป็นส่วนของPositive แขง็ ตวั ส่วนสารบีทเู มนท่ีไม่ถกู แสงจะถูกชะลา้ งละลายออกไปหมดเหลือแต่ส่วนผวิ ของแผน่ ดีบุกผสมตะกว่ั ซ่ึงจะมีดา เนียพซต์ ้งั ชื่อกระบวนการถ่ายภาพน้ีวา่ เฮลิโอกราฟ (Heliograph) มีความหมายวา่ “ภาพที่วาดโดยดวงอาทิตย”์ ถือไดว้ า่ ภาพถ่ายของเขาเป็ นภาพถ่าย Positive ทถี่ าวรภาพแรกของโลก แต่กระบวนการถ่ายภาพโดยใชส้ ารบีทเู มนน้นั ยงั ไม่เป็นที่แพร่หลาย เน่ืองจากสารบีทเู มนมีความไวแสงต่า ภาพที่ไดม้ ีคุณภาพยงั ไม่ดีพออยา่ งไรกต็ ามวิธีการน้ีนบั ไดว้ า่ เป็นผลงานตน้ แบบท่ีนกั วทิ ยาศาสตร์รุ่นหลงั ๆ ไดน้ าแนวคิดมาพฒั นาต่อไปบทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การถ่ายภาพ 4
ค.ศ. 1837 ทม่ี า : http://3.bp.blogspot.com/_PBOlCH3k3Ko/TGvyzt8zDwI/AAAAAAAACjc/T5kqacN2L_Q/s400/8.jpg หลุยส์ จาคเคอร์ แมนเดดาแกร์ (Louis Jacque Mande Daguerre) จิตรกรชาวฝร่ังเศสซ่ึงเคยเขา้ ร่วมสญั ญาดาเนินกิจการกบั เนียพซ์ และหลงั จากเนียพซถ์ ึงแก่กรรม เขาประสบความสาเร็จในการคิดกระบวนการสร้างภาพท่ีเรียกวา่ ดาแกร์โอไทป์ (Daguerreotype) เป็นการทาใหเ้ กิดภาพในกลอ้ งดว้ ยปฏิกิริยาของแสง โดยใชส้ ารท่ีมีความไวแสงในการบนั ทึกภาพ กระบวนการสร้างภาพระบบดาแกร์โอไทป์ มีจุดเด่น คือ ระบบการถ่ายภาพจะใชแ้ ผน่ โลหะเช่น แผน่ทองแดงหรือแผน่ เงินฉาบน้ายาไวแสง เม่ือนาไปถ่ายภาพโดยทาปฏิกิริยากบั แสงที่พอเหมาะแลว้ ผา่ นกระบวนการสร้างภาพและคงภาพตามลาดบั จะไดภ้ าพที่ละเอียด คมชดั ลกั ษณะของภาพจะกลบั ซา้ ยเป็นขวาเหมือนภาพท่ีมองผา่ นกระจกเงา ถ่ายภาพคร้ังแรกไดเ้ พยี งหน่ึงภาพ นาไปอดั ขยายซ้าหลาย ๆ ภาพไม่ได้ ในระยะแรก ๆ ผเู้ ป็นแบบถ่ายตอ้ งนงั่ นิ่ง ๆ นานถึงคร่ึงชวั่ โมง เพราะความไวของแสงของน้ายายงั ต่ามาก ในระยะหลงั ๆ ไดพ้ ฒั นาใหม้ ีความไวแสงสูงข้ึนตามลาดบั การสร้างภาพระบบดาแกร์โอไทป์ ถือไดว้ า่ เป็นกระบวนการสร้างภาพสมยั ใหม่ท่ียา่ งเขา้ สู่การถ่ายภาพยคุ ปัจจุบนั ที่มา : http://4.bp.blogspot.com/_PBOlCH3k3Ko/TGvy0ngWpI/AAAAAAAACj0/cI7VBd6sHsI/s1600/5.jpg 5บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถ่ายภาพ
ค.ศ. 1841 ท่ีมา : https://www.usc.edu/schools/annenberg/asc/projects/comm544/library/images/457.jpg วลิ เลยี ม เฮนร่ี ทลั บอท (William Henry Talbot) ไดพ้ ฒั นาระบบที่ชื่อ Calotype โดยสร้างภาพจากการบนั ทึกให้ เป็นภาพกลบั สี (Negative Image ขณะน้นั ยงัเป็นภาพสีขาวกบั ดาอย)ู่ จากน้นั นาภาพที่ไดม้ าทาการสาเนาไดเ้ ป็นภาพสีเหมือน (Positive Image) ซ่ึงวธิ ีการน้ีสามารถทาสาเนาจากภาพตน้ ฉบบั ไดห้ ลาย ๆ ชุด ท้งั นาย Daguerre และนาย Talbot ต่างกใ็ ชก้ ลอ้ งออบสคิวราแบบติดเลนส์ดา้ นหนา้ ซ่ึงสามารถเล่ือนปรับระยะไดเ้ พือ่ หาระยะชดั ของภาพ ส่วนแผน่ รับภาพจะติดไวด้ า้ นหลงั ท่ีช่องมองภาพ ที่มา : http://i.telegraph.co.uk/multimedia/archive/01456/1842-tree_1456693i.jpg 6บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การถา่ ยภาพ
ค.ศ. 1871 Richard Leach Maddox ไดค้ ิดคน้ แผน่ รับภาพแบบแหง้ โดยใชส้ ารเจลาตินซ่ึงมีช่ือเรียกระบบน้ีวา่ ระบบ Gelatin Dry Plate SilverBromide แผน่ รับภาพชนิดน้ีทาใหช้ ่างถ่ายภาพไม่จาเป็นตอ้ งชะโลมดว้ ยน้ายาเคมีเพ่ือทาการลา้ งภาพทนั ทีหลงั จากบนั ทึกภาพเสร็จเหมือนกรรมวธิ ีในระบบก่อนหนา้ น้ี ในช่วงทา้ ยของทศวรรษ 1870 ความเร็วในการบนั ทึกภาพเหลือเพียง 1 ใน 25 วินาที ค.ศ. 1880 George Eastman ไดก้ ่อต้งั บริษทั Eastman dry plate ส่ีปี ใหห้ ลงั ทางบริษทั ไดป้ ระดิษฐแ์ ผน่ รับภาพทาจากกระดาษทาใหโ้ คง้งอไดเ้ ป็นท่ีมาของคาวา่ \"ฟิ ล์มถ่ายภาพ (Photographic Film)\"ค.ศ. 1888 บริษทั Eastman ไดป้ ระดิษฐฟ์ ิ ลม์ แบบเป็นมว้ นท้งั ยงั ประดิษฐก์ ลอ้ งถ่ายภาพแบบประหยดั ใชช้ ่ือวา่ \"Kodak\" ตวั กลอ้ งมีลกั ษณะเป็นกล่องส่ีเหลี่ยมไม่มีการ ปรับระยะชดั และมีความเร็วในการรับแสงตายตวั อีกท้งั ไดท้ าการ เปล่ียนฟิ ลม์ แบบกระดาษเป็นแบบเซลลลู อยด์ (Celluloid) ในปี ค.ศ. 1889 ผใู้ ชก้ ลอ้ ง Kodak เมื่อถ่ายภาพจนหมดมว้ น กจ็ ะนาฟิ ลม์ มาส่งใหบ้ ริษทั Kodak เพือ่ เป็นผจู้ ดั ทาขบวนการ สร้างภาพ ต่อมาในปี ค.ศ. 1900 บริษทั ยงั ไดอ้ อกกลอ้ งรุ่นใหม่ท่ีมา : www.inventors.about.com มีชื่อวา่ \"Brownie\" เป็นกลอ้ งราคาประหยดั และไดร้ ับความนิยมอยา่ งกวา้ งขวาง กลอ้ ง Brownie ออกมาอีกหลายรุ่น บางรุ่นยงั มีจาหน่ายจนสิ้นทศวรรษ 1960 ผลการประดิษฐฟ์ ิ ลม์มว้ นของ Kodak ยงั เป็นกา้ วสาคญั ในการประดิษฐก์ ลอ้ งถ่ายภาพยนตข์ องนาย Thomas Edison's ในปี ค.ศ. 1891บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การถ่ายภาพ 7
ค.ศ. 1913 Oskar Barnack จากสถาบนั Ernst Leitz Optishe Werke ไดม้ ีการประดิษฐต์ น้ แบบ กลอ้ ง 35 มม. และผลิตออกจาหน่ายในปี ค.ศ. 1925 ใชช้ ื่อกลอ้ งวา่ \"Leica I\" กลอ้ ง 35 มม.ไดเ้ ป็นที่นิยมเพราะขนาดกระทดั รัด และฟิ ลม์ ท่ีใชไ้ ดร้ ับการพฒั นาใหม้ ีคุณภาพสูงข้ึนเร่ือย ๆ เป็นผลใหผ้ ผู้ ลิตกลอ้ งต่างกล็ งมาแขง่ ขนั ในตลาดน้ี ที่มา : http://www.supremeprint.net/images/sub_1334559214/SP-Leica1.jpg ค.ศ. 1928 Franke & Heidecke Roleiflex ไดน้ าเสนอกลอ้ ง Rolleiflex เป็นกลอ้ งขนาดเหมาะกบั การพกพาใชฟ้ ิ ลม์ ขนาด 120 ประกอบดว้ ยเลนส์สองชุด ชุดหน่ึงใชส้ าหรับบนั ทึกภาพ อีกชุดหน่ึง ใชก้ ระจกสะทอ้ นใหเ้ กิดภาพบนกระจกฝ้ าสาหรับมองภาพเรียกวา่ กลอ้ งระบบสะทอ้ นภาพเลนส์คู่ (Twin-lens Reflex Cameras เรียกยอ่ ๆ วา่ TLR) ท่ีมา : http://www.supremeprint.net/images/sub_1334559214/SP-Rollei-s.jpg 8บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การถา่ ยภาพ
ค.ศ. 1933 Ihageen Exakgta ไดอ้ อกกลอ้ งระบบสะทอ้ นภาพเลนส์เด่ียว (Single-lens Reflex Camera เรียกยอ่ ๆวา่ SLR) กลอ้ งดงั กล่าวใชฟ้ ิ ลม์ 120 ความเป็นจริงในยคุ น้นั มีการผลิตกลอ้ ง TLR และ SLR อยกู่ ่อนแลว้ แต่กลอ้ งของ Rolleiflex กบัของ Exakgata มีขนาดกระทดั รัดพกพาสะดวก จึงเป็นท่ีนิยมมากกวา่ และอีก 3 ปี ใหห้ ลงั Kine Exakta ไดอ้ อกกลอ้ งSLR ท่ีใชฟ้ ิ ลม์ ขนาด 35 ม.ม. ซ่ึงเป็นแบบที่สามารถทาตลาดไดด้ ี ทาใหม้ ีผผู้ ลิตกลอ้ งประเภทน้ีออกมาเป็นจานวนมาก ที่มา : http://www.supremeprint.net/images/sub_1334559214/SP-ExaktaA-s.jpg ค.ศ. 1935 บริษทั Eastman Kodak ไดว้ างจาหน่ายฟิ ลม์ สไลดส์ ี \"Kodachrome\" ซ่ึงใหส้ ีสรรท่ีสวยสด เป็นท่ีนิยมของช่างภาพมืออาชีพ เน่ืองจากขบวนการสร้างภาพท่ีซบั ซอ้ น ฟิ ลม์ รุ่นน้ีขายในราคาท่ีรวมคา่ ลา้ งและตอ้ งส่งไปเขา้ สู่ขบวนการลา้ งท่ีศนู ยข์ อง Kodak เท่าน้นั ต่อมาในปี ค.ศ. 1941 บริษทั ยงั ไดแ้ นะนาฟิ ลม์ negative สี \"Kodacolor\"เขา้ สู่ตลาดอีกดว้ ย ที่มา : http://www.supremeprint.net/images/sub_1334559214/SP-Kodachrome- 9 s.jpgบทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถ่ายภาพ
ค.ศ. 1947 Duflex ไดม้ ีการใชป้ ริซึมหา้ เหล่ียม (Pentaprism) ในการสะทอ้ นภาพทาใหม้ ีช่องมองภาพอยดู่ า้ นหลงั ของกลอ้ งแทนที่ดูจากดา้ นบนเหมือนกลอ้ งอื่น ๆ ในยคุ น้นั ช่วงเวลาเดียวกนั น้ีเอง ไดก้ าเนิดกลอ้ ง Hasselblad 1600Fซ่ึงถือเป็นมาตรฐานสาหรับกลอ้ ง SLR ขนาดกลางซ่ึงใชฟ้ ิ ลม์ 120 กล้อง Hasselblad 1600F ท่ีมา : http://fotonode.com/db_photo/sites/default/files/ Camera_Hasselblad_1600F_Kodak_Ektar_2_8_80_0001.jpg?1332717914ค.ศ. 1948 Edwin Land ไดน้ าสิ่งประดิษฐใ์ หม่ออกสู่ตลาด เป็นกลอ้ งถ่ายภาพแบบสร้างภาพทนั ทีหลงั การบนั ทึกภาพ (Instant-picture camera) ซ่ึงมกั เรียกกนั วา่ \"Land Camera\" รุ่นของกลอ้ งที่ออกตลาดในตอนน้นัเรียกวา่ \"Polaroid Model 95\" เนื่องจากราคากลอ้ งยงั ค่อนขา้ งสูง จึงมีการออกรุ่นใหม่ ๆ อีกหลายรุ่น ในปี ค.ศ. 1963 Polaroid ไดเ้ ร่ิมจาหน่ายฟิ ลม์ สีสร้างภาพทนั ที หลงั การบนั ทึกภาพ (Instant Colour Film) ในปี ค.ศ. 1965Polaroid ไดอ้ อกกลอ้ งรุ่น \"Model 20 Swinger\" ซ่ึงถือแป็นรุ่นที่ประสบความสาเร็จอยา่ งสูงมียอดขายสูงสุดตลอดการณ์รุ่นหน่ึงบทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถา่ ยภาพ กล้อง Model 20 Swinger 10 ที่มา : http://www.supremeprint.net/images/sub_ 1334559214/SP-Polaroid-s.jpg
ค.ศ. 1978 บริษทั ผลิตกลอ้ ง Konica ไดป้ ระดิษฐก์ ลอ้ งถ่ายภาพแบบหาระยะชดั โดยอตั โนมตั ิ (Automatic FocusCamera) ท่ีมา : http://dphotoworld.net/_pu/3/0163.jpg ค.ศ. 1985-1988 ในปี ค.ศ. 1985 บริษทั Pixar ไดน้ าเสนอเทคโนโลยกี ารสร้างและประมวลภาพดว้ ยระบบดิจิตอล ในปี ค.ศ. 1986 บริษทั Fuji ไดร้ ิเริ่มผลิตกลอ้ งแบบใชค้ ร้ังเดียวแลว้ ทิ้ง ในปี ค.ศ. 1988 บริษทั Fuji ไดอ้ อกกลอ้ ง Fuji DS-1P ซ่ึงถือเป็นกล้องดิจิตอลแรกทสี่ ร้างไฟล์ ภาพนามาใช้ในคอมพวิ เตอร์ได้ ตวั กลอ้ งมีการ์ดความจา 16 MB และตอ้ งใชพ้ ลงั งานจาก แบตเตอรี่รักษาขอ้ มลู ตลอดเวลา กลอ้ งดงั กล่าวไม่ไดม้ ีการวางจาหน่ายมากนกั กล้อง Fuji DS-1P 11 ท่ีมา : http://dphotoworld.net/_pu/3/01684873.jpgบทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถ่ายภาพ
ค.ศ. 1991 – ปัจจบุ นั บริษทั Kodak ไดน้ ากลอ้ ง Kodak DCS-100 ออกจาหน่ายโดยใชต้ วั กลอ้ งแบบใชฟ้ ิ ลม์ ของ ยหี่ อ้ อื่นมาดดั แปลง (Nikon) Kodak ได้ให้การนิยามในการเรียกเม็ดสีแต่ละเมด็ ของภาพดิจติ อลว่า “พกิ เซล” (Pixel)ขนาดของไฟลภ์ าพสาหรับกลอ้ งรุ่นน้ีอยทู่ ี่ 1.3 เมกกะพกิ เซล กลอ้ งดงั กล่าวมีราคาค่อนขา้ งสูงและมีเป้ าหมายในการจาหน่ายแก่ช่างภาพมืออาชีพและนกั ขา่ ว หลงั จากน้นั บริษทั ผลิตกลอ้ งช้นั นาต่างกผ็ ลิตกลอ้ งดิจิตอลท่ีมีคุณภาพสูงข้ึน มีหน่วยบนั ทึกภาพท่ีให้คุณภาพและความละเอียดสูงข้ึน ในขณะที่ราคาลดต่าลง มีแบบและรุ่นต่าง ๆ ใหเ้ ลือกมากมาย ทาใหก้ ารถ่ายภาพเป็นท่ีแพร่หลายมากยงิ่ ข้ึนบทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถา่ ยภาพ 12
ประเภทของกลอ้ งดิจิทอล 1. กลอ้ งคอมแพค เป็นกลอ้ งขนาดเลก็ พกพาง่าย และปัจจุบนั สามารถแต่งภาพในกลอ้ งไดด้ ว้ ย อีกท้งั ยงั มีความคมชดัท่ีมากดว้ ย แต่ไม่สามารถต้งั ค่าเก่ียวกบั การถ่ายภาพไดม้ าก และมีขอ้ จากดั เรื่องการซูมท่ี ซูมไดน้ อ้ ย (แต่รุ่นใหม่ๆกม็ ีการซูมไดเ้ ยอะ) 2. กลอ้ งโปรซมู เมอร์ เป็นกลอ้ งท่ีสูงข้ึนมาอีกระดบั หน่ึง มีขนาดที่ใหญ่ข้ึน สามารถปรับต้งั คา่ เกี่ยวกบั การถ่ายภาพได้มากข้ึน มีการซูมที่มากข้ึน และคุณภาพของภาพท่ีมากข้ึน บางรุ่นสามารถใส่อุปกรณ์เสริมได้ เช่น แฟลชตวั เสริมเลนส์ แต่กม็ ีขอ้ จากดั ในบางเร่ือง เช่น ปรับค่าท่ียงั ไม่สามารถปรับไดท้ ้งั หมด และกลอ้ งประเภทน้ีกไ็ ม่สามารถเปลย่ี นเลนส์ได้ 13บทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถ่ายภาพ
3. กลอ้ ง DSLR แปลตามตวั กค็ ือ กลอ้ งดิจิตอลสะทอ้ นภาพเลนส์เดี่ยว จะเห็นไดต้ ามที่มืออาชีพใชก้ นั เป็นกลอ้ งท่ีมีขนาดใหญ่ ใหค้ ุณภาพของภาพที่สูง และสามารถปรับค่าเก่ียวกบั การถ่ายภาพไดท้ ุกอยา่ ง มีความยดื หยนุ่ สูง และสามารถใส่อุปกรณ์เสริมไดห้ ลายอยา่ ง และสามารถเปลี่ยนเลนส์ได้ ซ่ึงหมายความวา่ ทา ใหไ้ ดภ้ าพที่หลากหลาย และคุณภาพของภาพท่ีมากข้ึนนนั่ เอง 4. กลอ้ ง Mirror less แต่ในปัจจุบนั มีกลอ้ งท่ีมีขนาดเลก็ และสามารถเปลี่ยนเลนส์ได้ และคุณภาพใกลเ้ คียงกบั กลอ้ ง DSLR โดยกลอ้ งชนิดน้ีถูกเรียกวา่ กลอ้ ง Mirror less ทมี่ า : http://www.appmodish.com/ประเภทของกล้องถ่ายรูป 14บทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถ่ายภาพ
เปรยี บเทียบระหว่างการทางานของตากบั กลอ้ ง การทางานของกลอ้ งถ่ายรูป ดวงตากบั กลอ้ งถ่ายรูป การทางานของกลอ้ งถ่ายรูปกม็ ีลกั ษณะคลา้ ยกบั ดวงตาของคนเราหลายประการกล่าวคือท้งั ดวงตา และกลอ้ งถ่ายรูปมีเลนส์ทาหนา้ ท่ีหกั เหแสงไปรากฎที่ฉากหลงั ดวงตามีม่านตา (lris) สาหรับปรับขนาดใหแ้ สงผา่ นเขา้ ไปในดวงตาแตกต่างกนั ไปกลอ้ งถ่ายรูปมีไดอะแฟรม (diaphragm)สาหรับปรับขนาดรูรับแสง (Aperture)บทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถ่ายภาพ 15
ท้งั เลนส์และกลอ้ งถ่ายรูปมีระบบไกสาหรับ ปิ ด – เปิ ดใหแ้ สงผา่ นเลนส์เหมือนกนั คือ ดวงตาควบคุมดว้ ยหนา้ ตา และกลอ้ งถ่ายรูป ควบคุมดว้ ยชตั เตอร์ (Shutter) ฉากรับภาพ ในดวงตามประกอบไปดว้ ยเสน้ ประสาทที่ ไวต่อแสงเรียกวา่ เรตินา(Retina)เม่ือรับภาพ แลว้ จะมีประสาทเช่ือมโยง ไปยงั ส่วนท่ี รับรู้เกี่ยวกบั การมองเห็นส่วนในกลอ้ ง ถ่ายรูปน้นั ฉากรับภาพกค็ ือฟิ ลม์ ซ่ึงเป็น วสั ดุไวแสงนน่ั เองบทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การถ่ายภาพ 16
นยั นต์ ามนุษย์ สามารถกาหนดใหค้ วาม 17สนใจเฉพาะจุดไดโ้ ดยตดั ส่ิงอ่ืนๆออกไป แต่กลอ้ งถ่ายรูปจะบนั ทึกทุกสิ่งลงไป ยกตวั อยา่ งเช่น เมื่อบนั ทึกภาพคนที่ยนื อยใู่ ตต้ น้ ไม้ หรือเสาโทรเลขตาเราสามารถแยกภาพคนออกมาได้จากฉากหลงั โดยเลือกรับรู้เฉพาะคนท่ียนื อยแู่ ละตดั ความสนใจของฉากหลงั ท่ีไม่อยใู่ นความสนออกไปได้ แต่สาหรับการบนั ทึกภาพของกลอ้ งถ่ายรูป เสาหรือก่ิงไมท้ ี่อยใู่ นตาแหน่งเหนือศีรษะจะปรากฏใหเ้ ห็นในภาพ ทาใหม้ องดูเหมือนกบั วา่ มีเสาหรือก่ิงไมย้ น่ื ออกมาจากศีรษะของคนคนน้นั ท้งั น้ีเน่ืองจากผถู้ ่ายมิไดร้ ับรู้และใหค้ วามสนใจต่อสิ่งท่ีอยใู่ นฉากหลงั ของวตั ถุ ดงั น้นั ในการถ่ายภาพผถู้ ่ายจึงตอ้ งพยายามองเห็นสิ่งต่าง ๆ อยา่ งเดียวกบั ที่กลอ้ งเห็นจึงจะทาใหไ้ ดภ้ าพออกมาดี บทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การถา่ ยภาพ
หลกั การทางานของกลอ้ ง DSLR กลอ้ งสะทอ้ นเลนส์เด่ียว (D-SLR) จะใชก้ ระจกสะทอ้ น สาหรับการแสดงภาพที่กาลงั จะถ่ายผา่ นช่องมองภาพภาพตดั ขวางดา้ นขวามือ น้นั แสดงใหเ้ ห็นถึงเสน้ ทางของแสงท่ีเดินทางผา่ นเลนส(์ 1)และสะทอ้ นผา่ นกระจกสะทอ้ นภาพ(2)และฉายลงบนแผน่ ปรับโฟกสั (5)จากน้นั ทาการลดขนาดของภาพผา่ นเลนส์ลดขนาดภาพ(6)และสะทอ้ นในปริซึมหา้ เหล่ียมทาใหภ้ าพปรากฏท่ีช่องมองภาพ(8)เมื่อกดป่ ุมชตั เตอร์จะทาใหก้ ระจกสะทอ้ นจะกระเดง้ ตามลูกศรข้ึนไปและช่องระนาบโฟกสั (3)เปิ ดออก และภาพฉายลงบนเซ็นเซอร์รับภาพ(4)เช่นเดียวกบัที่ปรากฏบนระนาบโฟกสั หลกั การทางานของกลอ้ ง Mirror less กลอ้ ง Mirrorless สามารถเปล่ียนเลนส์ไดเ้ หมือนกลอ้ ง DSLR ถึงแมว้ า่ มนั สามารถเปลี่ยนเลนส์ไดเ้ หมือนกลอ้ ง DSLR แต่มนั กม็ ีจุดท่ีแตกต่างกนั กค็ ือกลอ้ งชนิดน้ีจะไม่มีชุดกระจกสะทอ้ นภาพแบบกลอ้ ง DSLR ซ่ึงเป็นที่มาของช่ือวา่ Mirrorless ซ่ึงในขอ้ แตกต่างดงั กล่าวทาใหก้ ารออกแบบตวั กลอ้ งสามารถทาใหเ้ ลก็ ลงไดม้ ากและในเม่ือไม่มีชุดกระจกสะทอ้ นภาพ ช่องมองภาพของกลอ้ งชนิดน้ีจึงเป็นแบบที่ใชจ้ อ LCD ขนาดเลก็ ติดต้งั ไวใ้ นช่องมองภาพแต่กลอ้ งหลายๆรุ่นกไ็ ม่มีช่องมองภาพมาใหจ้ ึงตอ้ งเลง็ ภาพผา่ นทางจอ LCD ดา้ นหลงั แทนบทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถ่ายภาพ 18
เปรยี บเทียบขนาดของกลอ้ ง DSLR กบั กลอ้ ง Mirror lessบทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั การถา่ ยภาพ 19
บรรณานกุ รม ประวตั ิกลอ้ งถ่ายภาพ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.supremeprint.net/index.php?lay=show&ac= article&Id=539236204 (วนั ที่คน้ ขอ้ มูล : 25 สิงหาคม 2557). ประเภทกลอ้ งถ่ายภาพ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.appmodish.com/ประเภทของกลอ้ งถ่ายรูป (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มลู : 25 สิงหาคม 2557). สมาน เฉตระการ.การถ่ายภาพ.พมิ พค์ ร้ังท่ี 30. กรุงเทพมหานคร: DESKTOPหา้ งหุน้ ส่วนจากดั 9119 เทคนิค พริ้นติ้ง,2540 หลกั การทางานของกลอ้ ง DSLR. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://linglungklong.blogspot.com/ 2013/01/dslr.html (วนั ที่คน้ ขอ้ มลู : 25 สิงหาคม 2557). หลกั การทางานของกลอ้ ง Mirror less. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://camerastips.com/กลอ้ ง- mirrorless-คืออะไร.html (วนั ที่คน้ ขอ้ มลู : 26 สิงหาคม 2557). เอกเทพ ภกั ดีศิริมงคล. กลอ้ งดิจิตอล.กรุงเทพมหานคร: สวสั ดี ไอที, 2550บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถ่ายภาพ
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: