Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานกิจกรรมพัฒนาสังคมชุมชน2

รายงานกิจกรรมพัฒนาสังคมชุมชน2

Description: รายงานกิจกรรมพัฒนาสังคมชุมชน2

Search

Read the Text Version

กศน.ตำบลทำ่ บญุ มี

ก คานา รายงานสรุปผลการดําเนินการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง กิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการอบรม เชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างย่ังยืน กศน.ตําบลท่าบุญมี ประจําปีงบประมาณ 2564 ในวันที่ 25 มถิ ุนายน 2564 ณ สวนทรพั ยบ์ รบิ รู ณ์ บ้านหนองงูเหลือม หมู่ท่ี 7 ตําบลท่าบุญมี อําเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี เพ่ือนําผลท่ีได้จากการรายงานไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนา การดําเนินงานต่อไป ให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาํ เภอเกาะจนั ทร์ ในโอกาสน้ี คณะผู้จัดทําโครงการ ขอขอบคุณบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการดําเนินโครงการทุกด้านที่ให้ความ ร่วมมือในการดําเนินงานตามโดรงการ และรายงานผลการดําเนินโครงการ ทําให้การดําเนินงานบรรลุผลตาม เปูาหมายทก่ี าํ หนดเป็นอย่างดี กศน.ตาํ บลทา่ บุญมี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเกาะจันทร์ หวังเป็นอย่างย่ิง ว่า เอกสารเล่มน้ี คงจะเป็นประโยชน์สําหรับผู้ท่ีต้องการศึกษาหาข้อมูล เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดโครงการ และ หากมสี ิ่งหน่ึงสง่ิ ใดผิดพลาด คณะผจู้ ดั ทาํ ต้องขออภยั มา ณ โอกาสนดี้ ้วย กศน.ตาํ บลท่าบญุ มี ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอเกาะจนั ทร์ กรกฎาคม 2564 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเกาะจันทร์ จงั หวัดชลบรุ ี

สารบัญ ข คานา หนา้ สารบญั บทท่ี 1 บทนาํ 1 บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 4 บทที่ 3 วธิ ดี ําเนนิ งาน 13 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 15 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ 22 บรรณานกุ รม ภาคผนวก คณะผู้จดั ทา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบรุ ี

1 บทที่ 1 บทนา หลกั การและเหตผุ ล การจัดการศึกษาต่อเน่ือง เป็นการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการ ความจําเป็นในชีวิต ประจําวันของผู้เรียน สถานศึกษาต้องจัดให้มีกระบวนการวิเคราะห์ตนเองของผู้เรียน โดยยึดหลักปรัชญาคิดเป็น ซึ่ง การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน เป็นการจัดการศึกษาท่ีบูรณาการความรู้ และทักษะจากการศึกษาที่ ผู้เรียนมอี ยู่ หรอื ไดร้ บั จากการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีรูปแบบการเรียนท่ีหลากหลาย ให้ชุมชน เปน็ ฐานในการพฒั นาการเรียนรู้ และทนุ ทางสงั คมเปน็ เครื่องมอื ในการจดั การเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนให้ มีความเข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และประชาชนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขตาม วถิ ีทางการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ตลอดจนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี มีการพัฒนาที่ย่ังยืน ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมในการพฒั นาสังคมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน โดยให้ประชาชน ชุมชนร่วมกันรับผิดชอบและเห็นถึงความสําคัญในการ ฟ้ืนฟูพัฒนาสังคมและชมุ ชนของตนเอง เพอ่ื ส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ บูรณาการความรู้ ประสบการณ์ และ ทักษะอาชีพ เข้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและชุมชนโดยรวม ทําให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ นําไปสู่ สังคมที่เข้มแข็ง มีความเอื้ออาทรต่อกัน และพึ่งพาตนเองได้อย่างย่ังยืน เช่น ด้านเศรษฐกิจ ในกิจกรรมเศรษฐกิจ ชมุ ชนพงึ่ ตนเอง พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชหฤทยั ทีจ่ ะทรงสืบสานพระราชปณธิ านพระบาทสมเด็จพระ บรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในการสร้างคนดีของบ้านเมือง พรอมท้ังพระราชทาน พระบรมราโชบายดานการศึกษา มุง สรา้ งพ้นื ฐานให้แกผเู้ รียน 4 ด้าน ไดแก 1) มีทัศนคติท่ีดีที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง 2) มีพ้นื ฐานชีวติ ท่ีมน่ั คง 3) มีคุณธรรม และ 4) มงี าน มอี าชีพ สามารถเล้ียงตนเองเลี้ยงครอบครวั ไดและเปน็ พลเมืองท่ดี ี ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัยอําเภอเกาะจันทร์ จึงสนับสนุน ส่งเสริม ให้ กศน.ตําบล จัด กิจกรรมการบูรณาการความร่วมมือจัดให้มีการดําเนินการให้ความรู้ คําแนะนํา นําแนวทางดังกล่าว มาเป็นหลักการ พฒั นาคนใหม้ ีคุณภาพ โดยอาศยั ความรอบรู้ และระมัดระวังในการนําความรู้มาใช้ในการวางแผนดําเนินงาน สามารถ นําความรู้มาประยุกต์ให้เกิดผลในทางปฏิบัติ และดํารงชีวิตประจําวันท้ังต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน ได้อย่างมี ประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดให้กับประชาชนในพ้ืนท่ี จึงได้จัด “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระ ยุคลบาทส่กู ารปฏิบัติอยา่ งย่ังยนื กศน.ตําบลทา่ บุญมี” ขน้ึ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในความสําคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยต่อสังคมไทยและ ประเทศไทย 2. เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ เร่ืองเกษตรอินทรีย์ เกษตรทฤษฏีใหม่ การพัฒนาอาชีพ ต่างๆ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการเรียนรู้สามารถนําไปปฏบิ ัติในชวี ติ วนั ได้อย่างเหมาะสม ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอเกาะจันทร์ จงั หวดั ชลบรุ ี

2 เป้าหมาย เชิงปริมาณ ประชาชนตําบลทา่ บุญมี จาํ นวน 15 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนทเี่ ข้ารว่ มกิจกรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในความสาํ คญั ของสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ไทยต่อ สังคมไทยและประเทศไทย และเรื่องเกษตรอนิ ทรีย์ เกษตรทฤษฏีใหม่ การพฒั นาอาชพี ต่างๆ โดยใช้หลกั ปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพียงเป็นแนวทางในการเรียนรสู้ ามารถนาํ ไปปฏิบตั ิในชวี ติ วนั ได้อยา่ งเหมาะสม ร้อยละ 80 ของผู้เขา้ อบรม สามารถนําไปใช้ในชวี ติ ประจาํ วนั ได้ วิธีดาเนนิ การ การดาเนนิ งาน ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารตามรอยพระยคุ ลบาทสู่การปฏบิ ตั ิอยา่ งย่งั ยืน กศน.ตาบล ท่าบุญมี 1. สํารวจความต้องการของกล่มุ เปาู หมาย 1-15 พ.ค. 2564 4,000.-บาท นางสาวศรัณยา ชัยกิจ 2. กําหนดแผนและปฏทิ ินการดําเนนิ งาน 17-30 พ.ค 2564 3. ดําเนินงานและตดิ ตอ่ ประสานงาน 10-22 ม.ิ ย. 2564 4. ดําเนินการจัดกจิ กรรม 25 มิ.ย. 2564 5. รายงานผล 2 6 มิ . ย . -5 ก . ค . 2564 ระยะเวลาการดาเนินการ วันที่ 25 มิถุนายน 2564 สวนทรัพย์บริบูรณ์ บ้านหนองงูเหลือม หมู่ท่ี 7 ตําบลท่าบุญมี อําเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบรุ ี งบประมาณ งบดําเนินงาน เพ่ือใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ผลผลิต 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศกึ ษานอกระบบ การศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน จํานวน 4,000.-บาท ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวศรัณยา ชัยกจิ ผลผลติ /ผลลัพธ์ ผลผลติ ประชาชนท่ัวไปในอาํ เภอเกาะจนั ทร์ จํานวน 15 คน ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอเกาะจนั ทร์ จังหวัดชลบรุ ี

3 ผลลพั ธ์ ประชาชนทเี่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม มคี วามรู้ ความเข้าใจในความสําคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยต่อ สังคมไทยและประเทศไทย และเร่ืองเกษตรอินทรีย์ เกษตรทฤษฏีใหม่ การพัฒนาอาชีพต่างๆ โดยใช้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการเรียนรู้สามารถนําไปปฏิบัติในชีวิตวันได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 80 ของผู้เข้า อบรม สามารถนาํ ไปใชใ้ นชีวติ ประจําวันได้ ตวั ชว้ี ัด ตวั ชี้วัดผลผลิต ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ จํานวน 15 คน ตัวชี้วดั ผลลัพธ์ ผู้เข้ารว่ มโครงการมีความพงึ พอใจ ในกิจกรรมอย่างนอ้ ยร้อยละ 80 ผลประเมิน 1. จากแบบสอบถาม 2. จากการสังเกต ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รบั 1. มีความรู้ ความเข้าใจในความสําคญั ของสถาบันพระมหากษตั ริยไ์ ทยต่อสังคมไทยและประเทศไทย 2. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ เร่ืองเกษตรอินทรีย์ เกษตรทฤษฏีใหม่ การพัฒนาอาชีพต่างๆ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการเรียนรู้สามารถนําไปปฏิบัติในชีวิตวันได้อย่าง เหมาะสม ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอเกาะจนั ทร์ จงั หวดั ชลบรุ ี

4 บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานทีเ่ กย่ี วข้อง ในการจัดทํารายงานคร้ังนี้ ได้ทําการศึกษาค้นคว้าเน้ือหาจากเอกสารการศึกษาและเน้ือหาที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ท่ีนอกจากจะทรงด้วยทศพิธราชธรรมแล้ว ทรงยังเป็นพระราชา ที่เป็นแบบอย่างในการดําเนินชีวิต และการทํางานแก่พสกนิกรของพระองค์และนานาประเทศอีกด้วย ผู้คนต่าง ประจักษ์ถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ และมีความสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาท่ีสุดมิได้ ซ่ึง แนวคดิ หรือหลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลท่ี 9 มคี วามนา่ สนใจที่สมควรนํามาประยุกต์ใช้กับชีวิตการทํางานเป็น อย่างย่ิง หากท่านใดต้องการปฏิบัติตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาท ท่านสามารถนําหลักการทรงงานของพระองค์ไปปรับ ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ได้ ดงั นี้ หลกั การทรงงาน ในหลวงรัชกาลที่ 9 1. จะทาํ อะไรตอ้ งศึกษาข้อมลู ให้เป็นระบบ ทรงศกึ ษาข้อมูลรายละเอียดอยา่ งเปน็ ระบบจากขอ้ มลู เบือ้ งต้น ท้ังเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าท่ี นักวิชาการ และราษฎรในพื้นท่ีให้ได้รายละเอียดท่ีถูกต้อง เพ่ือนําข้อมูลเหล่าน้ันไปใช้ประโยชน์ได้จริงอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และ ตรงตามเปูาหมาย ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอเกาะจนั ทร์ จังหวัดชลบรุ ี

5 2. ระเบดิ จากภายใน จะทําการใดๆ ต้องเร่ิมจากคนที่เก่ียวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็งจากภายในให้เกิดความเข้าใจและอยากทํา ไม่ใช่การส่ังให้ทํา คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทําก็เป็นได้ ในการทํางานนั้นอาจจะต้องคุยหรือประชุมกับลูกน้อง เพ่ือน ร่วมงาน หรอื คนในทมี เสยี ก่อน เพื่อให้ทราบถงึ เปูาหมายและวธิ ีการต่อไป 3. แก้ปญั หาจากจดุ เล็ก ควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เม่ือจะลงมือแก้ปัญหาน้ัน ควรมองในส่ิงท่ีคนมักจะมองข้าม แล้วเร่ิมแก้ปัญหา จากจุดเล็กๆ เสียก่อน เม่ือสําเร็จแล้วจึงค่อยๆ ขยับขยายแก้ไปเรื่อยๆ ทีละจุด เราสามารถเอามาประยุกต์ใช้กับการ ทํางานได้ โดยมองไปท่ีเปูาหมายใหญ่ของงานแต่ละชิ้น แล้วเร่ิมลงมือทําจากจุดเล็กๆ ก่อน ค่อยๆ ทํา ค่อยๆ แก้ไปที ละจุด งานแต่ละชิ้นก็จะลุลวงไปได้ตามเปูาหมายท่ีวางไว้ “ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัวน้ีก่อน มนั ไม่ได้แกอ้ าการจรงิ แต่ต้องแก้ปัญหาท่ที าํ ใหเ้ ราปวดหวั ใหไ้ ดเ้ สยี กอ่ น เพ่ือจะให้อยู่ในสภาพท่ีดไี ด้…” 4. ทําตามลาํ ดับข้นั เริ่มต้นจากการลงมือทําในสิ่งท่ีจําเป็นก่อน เม่ือสําเร็จแล้วก็เริ่มลงมือส่ิงที่จําเป็นลําดับต่อไป ด้วยความรอบคอบและ ระมดั ระวัง ถ้าทําตามหลักนี้ได้ งานทุกส่ิงก็จะสําเร็จได้โดยง่าย… ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเร่ิมต้นจากส่ิงท่ีจําเป็นท่ีสุด ของประชาชนเสียก่อน ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากน้ันจึงเป็นเรื่องสาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐาน และส่ิงจําเป็นในการ ประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้ําเพ่ือการเกษตร การอุปโภคบริโภค เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีราษฎร สามารถนําไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด “การพัฒนาประเทศจําเป็นต้องทําตามลําดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คอื ความพอมี พอกนิ พอใชข้ องประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัด แต่ถูกต้องตาม หลักวิชา เม่ือได้พ้ืนฐานที่ม่ันคงพร้อมพอสมควร สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและฐานะ เศรษฐกจิ ขนั้ ท่สี ูงขนึ้ โดยลาํ ดบั ต่อไป…” พระบรมราโชวาทของในหลวงรชั กาลที่ 9 เมื่อวนั ที่ 18 กรกฎาคม 2517 5. ภมู สิ งั คม ภมู ิศาสตร์ สังคมศาสตร์ การพัฒนาใดๆ ต้องคํานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณน้ันว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจ คอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถ่ินที่มีความแตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศ ทางภมู ศิ าสตรแ์ ละภูมิประเทศทางสงั คมศาสตร์ ในสังคมวิทยา คือนิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอ่ืนคิดอย่าง อ่ืนไมไ่ ด้ เราตอ้ งแนะนํา เขา้ ไปดูวา่ เขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิด ประโยชน์อย่างยิง่ ” 6. ทาํ งานแบบองค์รวม ใช้วธิ ีคิดเพ่อื การทาํ งาน โดยวิธีคิดอย่างองค์รวม คือการมองส่ิงต่างๆ ที่เกิดอย่างเป็นระบบครบวงจร ทุกส่ิงทุกอย่างมี มิตเิ ช่อื มต่อกัน มองสิง่ ทีเ่ กิดขึ้นและแนวทางแกไ้ ขอยา่ งเชื่อมโยง 7. ไมต่ ดิ ตํารา เมื่อเราจะทําการใดนั้น ควรทํางานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพและสถานการณ์น้ันๆ ไม่ใช่การยึดติดอยู่กับแค่ในตํารา วชิ าการ เพราะบางทคี่ วามรู้ท่วมหัว เอาตัวไมร่ อด บางคร้ังเรายึดติดทฤษฎีมากจนเกินไปจนทําอะไรไม่ได้เลย ส่ิงท่ีเรา ทําบางคร้ังต้องโอบออ้ มต่อสภาพธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม สงั คม และจิตวทิ ยาด้วย ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเกาะจันทร์ จงั หวดั ชลบรุ ี

6 8. รูจ้ ักประหยัด เรียบงา่ ย ได้ประโยชน์สงู สุด ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงใช้หลักในการแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทําได้เอง หาได้ในทอ้ งถิน่ และประยุกต์ใช้ส่ิงท่ีมีอยู่ในภูมิภาคนั้นมาแก้ไข ปรับปรุง โดยไม่ต้องลงทุนสูง หรือใชเ้ ทคโนโลยีท่ียุ่งยากมากนัก ดังพระราชดํารัสตอนหน่ึงว่า “…ให้ปลูกปุาโดยไม่ต้องปลูกโดยปล่อยให้ขึ้นเองตาม ธรรมชาตจิ ะได้ประหยดั งบประมาณ…” 9. ทําให้ง่าย ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดําริไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และท่สี าํ คญั อย่างยงิ่ คือ สอดคลอ้ งกับสภาพความเป็นอยขู่ องประชาชนและระบบนิเวศโดยรวม “ทําให้ง่าย” 10. การมสี ่วนรว่ ม ทรงเป็นนกั ประชาธปิ ไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจา้ หน้าทที่ กุ ระดบั ได้มาร่วมแสดงความคิดเห็น “สําคัญท่ีสุดจะต้องหัดทําใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่น อย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์อันหลากหลายมาอํานวยการปฏิบัติบริหารงานให้ ประสบผลสาํ เรจ็ ท่สี มบรู ณน์ ัน่ เอง” 11. ตอ้ งยดึ ประโยชน์สว่ นรวม ในหลวงรชั กาลท่ี 9 ทรงระลกึ ถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสําคัญ ดังพระราชดํารัสตอนหน่ึงว่า “…ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพ่ือส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจรําคาญด้วยซ้ําว่า ใครต่อใครมาก็บอกว่าขอให้คิดถึงประโยชน์ ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เร่ือยแล้วส่วนตัวจะได้อะไร ขอให้คิดว่าคนท่ีให้เป็นเพื่อส่วนรวมน้ัน มิได้ให้ ส่วนรวมแตอ่ ยา่ งเดียว เป็นการใหเ้ พื่อตวั เองสามารถท่ีจะมสี ่วนรวมที่จะอาศัยได้…” 12. บริการท่จี ดุ เดยี ว ทรงมีพระราชดํารมิ ากวา่ 20 ปีแลว้ ให้บรหิ ารศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาหลายแห่งทว่ั ประเทศโดยใช้หลักการ “การบริการ รวมทจ่ี ุดเดยี ว : One Stop Service” โดยทรงเน้นเร่ืองรู้รักสามัคคีและการร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกันด้วยการปรับลด ช่องวา่ งระหวา่ งหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง 13. ใช้ธรรมชาตชิ ว่ ยธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปญั หาธรรมชาติอยา่ งละเอยี ด โดยหากเราตอ้ งการแกไ้ ขธรรมชาติจะต้องใช้ธรรมชาติเข้า ช่วยเหลอื เราด้วย 14. ใช้อธรรมปราบอธรรม ทรงนําความจริงในเร่ืองธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการแนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาและ ปรับปรุงสภาวะท่ีไม่ปกติเข้าสู่ระบบท่ีปกติ เช่น การบําบัดน้ําเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา ซ่ึงมีตามธรรมชาติให้ดูดซึมสิ่ง สกปรกปนเป้ือนในนา้ํ 15. ปลูกปุาในใจคน การจะทําการใดสาํ เร็จตอ้ งปลกู จติ สาํ นกึ ของคนเสียก่อน ตอ้ งให้เหน็ คุณค่า เหน็ ประโยชนก์ บั สิ่งทีจ่ ะทาํ …. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอเกาะจนั ทร์ จงั หวัดชลบรุ ี

7 “เจา้ หน้าท่ปี ุาไมค้ วรจะปลกู ตน้ ไม้ลงในใจคนเสยี ก่อน แลว้ คนเหลา่ นน้ั ก็จะพากนั ปลูกต้นไมล้ งบนแผ่นดินและจะรักษา ตน้ ไม้ด้วยตนเอง” 16. ขาดทนุ คอื กาํ ไร หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ท่ีมีต่อพสกนิกรไทย “การให้” และ “การเสียสละ” เป็นการ กระทําอันมผี ลเป็นกาํ ไร คือความอยูด่ ีมีสุขของราษฎร 17. การพ่งึ พาตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดําริ เพ่ือการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพ่ือให้มีความ แข็งแรงพอท่ีจะดํารงชีวิตได้ต่อไป แล้วข้ันต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตาม สภาพแวดลอ้ มและสามารถ พึ่งตนเองได้ในทสี่ ุด 18. พออยพู่ อกิน ใหป้ ระชาชนสามารถอย่อู ยา่ ง “พออยพู่ อกนิ ” ให้ไดเ้ สียกอ่ น แล้วจงึ คอ่ ยขยบั ขยายให้มีขีดสมรรถนะท่ีกา้ วหนา้ ตอ่ ไป 19. เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ปรัชญาทใ่ี นหลวงรัชกาลท่ี 9 พระราชทานพระราชดาํ รสั ช้แี นะแนวทางการดําเนินชีวิต ให้ดําเนินไปบน “ทางสาย กลาง” เพ่ือให้รอดพ้นและสามารถดํารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และการเปล่ียนแปลง ตา่ งๆ ซง่ึ ปรชั ญานสี้ ามารถนาํ ไปประยกุ ต์ใช้ได้ทั้งระดับบุคคล องค์กร และชุมชน (บทความทเี่ กยี่ วข้อง : เดนิ ตามรอยเทา้ พอ่ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง) 20. ความซอื่ สตั ยส์ ุจริต จริงใจต่อกัน ผู้ท่ีมคี วามสุจริตและบรสิ ุทธิใ์ จ แมจ้ ะมีความร้นู อ้ ย ก็ยอ่ มทําประโยชน์ใหแ้ ก่สว่ นรวมได้มากกว่าผู้ท่ีมีความรู้มาก แต่ไม่ มีความสจุ รติ ไมม่ คี วามบริสทุ ธใ์ิ จ 21. ทาํ งานอยา่ งมีความสุข ทํางานต้องมีความสุขด้วย ถ้าเราทําอย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกับการทํางาน เพยี งเทา่ น้ัน ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทํางานโดยคํานึงถึงความสุขที่เกิดจากการได้ทําประโยชน์ให้กับผู้อื่นก็สามารถ ทาํ ได้ “…ทาํ งานกับฉนั ฉันไม่มอี ะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขรว่ มกนั ในการทําประโยชน์ให้กับผู้อืน่ …” 22. ความเพยี ร การเริ่มต้นทํางานหรือทําสิ่งใดน้ันอาจจะไม่ได้มีความพร้อม ต้องอาศัยความอดทนและความมุ่งม่ัน ดังเช่นพระราช นิพนธ์ “พระมหาชนก” กษัตริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่งก็จะว่ายนํ้าต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่ายก็จะตกเป็น อาหารปู ปลาและไม่ได้พบกบั เทวดาทช่ี ่วยเหลือมใิ ห้จมนาํ้ 23. รู้ รัก สามคั คี รู้ คอื รปู้ ัญหาและรวู้ ธิ แี กป้ ัญหานัน้ รัก คอื เมอ่ื เรารถู้ ึงปญั หาและวธิ ีแก้แล้ว เราต้องมคี วามรัก ที่จะลงมอื ทาํ ลงมือแกไ้ ขปญั หาน้ัน สามัคคี คือ การแก้ไขปญั หาตา่ งๆ ไมส่ ามารถลงมอื ทําคนเดียวได้ ต้องอาศยั ความรว่ มมือร่วมใจกนั (ขอ้ มูลจาก : https://th.jobsdb.com, http://www.crma.ac.th, http://umongcity.go.th) ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอเกาะจนั ทร์ จังหวัดชลบรุ ี

8 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จุดเรม่ิ ตน้ แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง ผลจากการใชแ้ นวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ไดก้ ่อใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงแก่สงั คมไทยอย่าง มากในทกุ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกจิ การเมือง วฒั นธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม อีกท้ังกระบวนการของความ เปลย่ี นแปลงมีความสลับซบั ซ้อนจนยากที่จะอธิบายใน เชิงสาเหตแุ ละผลลพั ธ์ได้ เพราะการเปล่ียนแปลงท้ังหมดต่าง เป็นปจั จยั เช่อื มโยงซงึ่ กันและกนั สําหรบั ผลของการพัฒนาในด้านบวกนัน้ ได้แก่ การเพม่ิ ข้นึ ของอตั ราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ ความ เจริญทางวตั ถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่อสารท่ีทันสมยั หรอื การขยายปรมิ าณและกระจายการศกึ ษาอย่าง ทั่วถึงมากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญก่ ระจายไปถึงคนในชนบท หรือผูด้ ้อยโอกาสในสงั คมนอ้ ย แต่วา่ กระบวนการเปล่ยี นแปลงของสงั คมไดเ้ กดิ ผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตวั ของรฐั เข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั้งการต้องพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสั่งสนิ ค้าทนุ ความเส่ือมโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธแ์ บบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณีเพือ่ การจัดการ ทรัพยากรท่ีเคยมอี ยู่แต่เดมิ แตก สลายลง ภมู ิความรู้ท่ีเคยใชแ้ ก้ปญั หาและสงั่ สมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลมื เลอื นและเร่ิม สญู หายไป สิ่งสําคญั ก็คือ ความพอเพียงในการดาํ รงชีวติ ซง่ึ เปน็ เง่ือนไขพนื้ ฐานท่ีทาํ ใหค้ นไทยสามารถพึง่ ตนเอง และ ดําเนินชวี ิตไปได้อยา่ งมีศักดิ์ศรภี ายใต้อํานาจและความมอี ิสระในการกาํ หนด ชะตาชีวติ ของตนเอง ความสามารถใน การควบคุมและจดั การเพื่อให้ตนเองไดร้ บั การสนองตอบต่อความตอ้ ง การตา่ งๆ รวมทง้ั ความสามารถในการจัดการ ปญั หาต่างๆ ได้ดว้ ยตนเอง ซึ่งท้ังหมดน้ีถือวา่ เปน็ ศักยภาพพ้ืนฐานทค่ี นไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่ เดิม ต้องถูก กระทบกระเทือน ซ่ึงวิกฤตเศรษฐกจิ จากปญั หาฟองสบแู่ ละปญั หาความอ่อนแอของชนบท รวมท้ังปญั หาอน่ื ๆ ที่ เกิดขึ้น ล้วนแต่เป็นข้อพิสจู นแ์ ละยืนยนั ปรากฏการณน์ ไ้ี ด้เป็นอยา่ งดี พระราชดาริวา่ ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง “...การพฒั นาประเทศจําเป็นตอ้ งทําตามลาํ ดบั ข้นั ต้องสรา้ งพน้ื ฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนสว่ น ใหญ่เบือ้ งตน้ ก่อน โดยใชว้ ิธีการและอปุ กรณ์ท่ีประหยดั แต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เม่อื ไดพ้ ้ืนฐานความมั่นคงพร้อม พอสมควร และปฏิบตั ไิ ด้แล้ว จงึ คอ่ ยสรา้ งคอ่ ยเสรมิ ความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นทีส่ ูงขน้ึ โดยลําดบั ต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกจิ พอเพียง” เป็นแนวพระราชดาํ รใิ นพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ท่พี ระราชทานมานานกว่า ๓๐ ปี เปน็ แนวคดิ ท่ตี ั้งอยู่บนรากฐานของวฒั นธรรมไทย เปน็ แนวทางการพฒั นาท่ีตัง้ บนพนื้ ฐานของทางสายกลาง และความไม่ ประมาท คํานึงถึงความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรูแ้ ละคณุ ธรรม เป็น พน้ื ฐานในการดํารงชวี ิต ทส่ี าํ คัญจะต้องมี “สติ ปญั ญา และความเพียร” ซึง่ จะนาํ ไปสู่ “ความสขุ ” ในการดําเนนิ ชวี ติ อยา่ งแทจ้ ริง “...คนอน่ื จะว่าอยา่ งไรกช็ า่ งเขา จะว่าเมืองไทยลา้ สมยั วา่ เมืองไทยเชย วา่ เมืองไทยไม่มีสิง่ ทีส่ มัยใหม่ แตเ่ ราอยู่ พอมีพอกนิ และขอใหท้ ุกคนมีความปรารถนาท่จี ะให้เมอื งไทย พออยู่พอกนิ มีความสงบ และทาํ งานตัง้ จติ อธิษฐานต้ัง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเกาะจันทร์ จงั หวดั ชลบรุ ี

9 ปณิธาน ในทางน้ีทจี่ ะให้เมืองไทยอยู่แบบพออยูพ่ อกนิ ไม่ใช่ว่าจะร่งุ เรืองอยา่ งยอด แต่ว่ามีความพออย่พู อกนิ มคี วาม สงบ เปรยี บเทยี บกบั ประเทศอน่ื ๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกินนไี้ ด้ เรากจ็ ะยอดยง่ิ ยวดได.้ ..” (๔ ธนั วาคม ๒๕๑๗) พระบรมราโชวาทน้ี ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เนน้ การขยายตัวทางเศรษฐกจิ ของประเทศเป็นหลักแต่ เพียง อยา่ งเดยี วอาจจะเกดิ ปัญหาได้ จงึ ทรงเนน้ การมพี อกนิ พอใชข้ องประชาชนส่วนใหญใ่ นเบื้องตน้ ก่อน เมื่อมีพน้ื ฐาน ความมน่ั คงพร้อมพอสมควรแลว้ จงึ สรา้ งความเจริญและฐานะทางเศรษฐกจิ ใหส้ งู ขน้ึ ซงึ่ หมายถึง แทนท่ีจะเนน้ การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนําการพัฒนาประเทศ ควรทีจ่ ะสรา้ งความมน่ั คง ทางเศรษฐกิจพน้ื ฐานก่อน นั่นคอื ทาํ ใหป้ ระชาชนในชนบทสว่ นใหญพ่ อมีพอกินก่อน เป็นแนวทางการพฒั นาที่เน้น การกระจายรายได้ เพ่ือสรา้ งพนื้ ฐานและความม่นั งคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเนน้ การพฒั นาใน ระดบั สงู ข้ึนไป ทรงเตือนเร่ืองพออยู่พอกนิ ตั้งแตป่ ี ๒๕๑๗ คือ เม่ือ ๓๐ กวา่ ปีท่แี ลว้ แต่ทิศทางการพัฒนามิไดเ้ ปล่ยี นแปลง “...เมือ่ ปี ๒๕๑๗ วนั น้นั ได้พูดถงึ วา่ เราควรปฏบิ ัติใหพ้ อมีพอกิน พอมีพอกินน้ีกแ็ ปลว่า เศรษฐกจิ พอเพยี งน่นั เอง ถา้ แตล่ ะคนมพี อมีพอกนิ กใ็ ช้ได้ ยิง่ ถ้าท้งั ประเทศพอมีพอกนิ ก็ย่ิงดี และประเทศไทยเวลาน้นั ก็เร่ิมจะเปน็ ไม่พอมีพอกิน บางคนก็มมี าก บางคนก็ไม่มเี ลย...” (๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑) เศรษฐกจิ พอเพียง “เศรษฐกจิ พอเพียง” เปน็ ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั พระราชทานพระราชดําริชีแ้ นะแนวทาง การดําเนนิ ชวี ิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ต้งั แต่ก่อนเกิดวิกฤตการณท์ างเศรษฐกจิ และเมอ่ื ภายหลังได้ทรงเน้นยํา้ แนวทางการแก้ไขเพ่ือใหร้ อดพ้น และสามารถดํารงอยู่ได้อยา่ งม่นั คงและยัง่ ยืนภายใตก้ ระแส โลกาภวิ ัตน์และความ เปลย่ี นแปลงต่างๆ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยแู่ ละปฏบิ ัติตนของประชาชนในทุกระดบั ตงั้ แต่ระดับ ครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถึงระดบั รฐั ทง้ั ในการพัฒนาและบริหารประเทศใหด้ ําเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ การพัฒนาเศรษฐกิจ เพือ่ ให้ก้าวทันตอ่ โลกยคุ โลกาภิวตั น์ ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถงึ ความจําเปน็ ทจ่ี ะต้องมีระบบภมู คิ ุม้ กันในตัวทด่ี ีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ัง ภายในภายนอก ท้ังน้ี จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวงั อย่างยิ่งในการนําวชิ าการตา่ งๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการดําเนินการ ทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกนั จะต้องเสรมิ สร้างพืน้ ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทข่ี องรฐั นักทฤษฎี และนกั ธรุ กิจในทกุ ระดับ ให้มสี าํ นึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยส์ ุจรติ และให้มี ความรอบรู้ทเี่ หมาะสม ดําเนินชวี ติ ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือใหส้ มดุลและ พร้อมตอ่ การรองรับการเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง ทง้ั ดา้ นวัตถุ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจาก โลกภายนอกไดเ้ ปน็ อย่างดี ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง จึงประกอบด้วยคณุ สมบัติ ดังน้ี ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ี่ไมน่ ้อยเกนิ ไปและไม่มากเกนิ ไป โดยไม่เบียดเบยี นตนเองและ ผู้อ่นื เชน่ การผลิตและการบริโภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบรุ ี

10 ๒. ความมเี หตุผล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกบั ระดับความพอเพียงนัน้ จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดย พิจารณาจากเหตุปัจจัยท่เี กี่ยวขอ้ ง ตลอดจนคํานงึ ถึงผลท่ีคาดว่าจะเกดิ ข้นึ จากการกระทํานั้นๆ อยา่ งรอบคอบ ๓. ภูมิคมุ้ กนั หมายถึง การเตรียมตัวใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบและการเปล่ยี นแปลงด้านตา่ งๆ ท่ีจะเกิดขน้ึ โดย คํานึงถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดําเนินกิจกรรมตา่ งๆ ใหอ้ ยใู่ นระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้ ๑. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรเู้ ก่ยี วกบั วชิ าการตา่ งๆ ทีเ่ ก่ียวข้องรอบดา้ น ความรอบคอบทีจ่ ะ นําความรู้เหล่านน้ั มาพจิ ารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ัติ ๒. เง่อื นไขคุณธรรม ท่ีจะต้องเสรมิ สร้าง ประกอบดว้ ย มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มีความซอ่ื สัตย์สุจริต และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดําเนินชีวติ พระราชดารัสท่เี กี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพยี ง “...เศรษฐศาสตรเ์ ป็นวชิ าของเศรษฐกิจ การท่ตี ้องใชร้ ถไถต้องไปซ้ือ เราต้องใช้ต้องหาเงินมาสาํ หรบั ซอื้ นํ้ามนั สาํ หรบั รถไถ เวลารถไถเก่าเราต้องยิ่งซ่อมแซม แต่เวลาใชน้ น้ั เราก็ต้องปูอนน้ํามนั ให้เป็นอาหาร เสรจ็ แลว้ มันคายควัน ควันเรา สูดเข้าไปแลว้ กป็ วดหวั ส่วนควายเวลาเราใช้เรากต็ อ้ งปูอนอาหาร ต้องใหห้ ญ้าใหอ้ าหารมันกิน แตว่ ่ามนั คายออกมา ที่ มนั คายออกมาก็เป็นปุ๋ย แล้วกใ็ ช้ได้สาํ หรับให้ท่ีดนิ ของเราไม่เสยี ...” พระราชดาํ รัส เนื่องในพระราชพิธีพชื มงคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ “...เราไม่เปน็ ประเทศรา่ํ รวย เรามีพอสมควร พออยู่ได้ แต่ไม่เปน็ ประเทศท่ีกา้ วหน้าอย่างมาก เราไมอ่ ยากจะเป็น ประเทศกา้ วหนา้ อย่างมาก เพราะถา้ เราเปน็ ประเทศก้าวหนา้ อยา่ งมากกจ็ ะมีแตถ่ อยกลบั ประเทศเหลา่ นนั้ ทเี่ ปน็ ประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้า จะมแี ต่ถอยหลงั และถอยหลงั อย่างน่ากลัว แตถ่ า้ เรามีการบรหิ ารแบบเรียกวา่ แบบคน จน แบบทไ่ี มต่ ิดกบั ตาํ รามากเกินไป ทาํ อย่างมสี ามัคคนี แ่ี หละคอื เมตตากนั จะอยไู่ ด้ตลอดไป...” พระราชดํารัส เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ “...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณ์ในทางดี ท่เี ขาเรียกวา่ เลง็ ผลเลิศ กเ็ หน็ วา่ ประเทศไทย เราน่กี า้ วหน้าดี การเงนิ การอตุ สาหกรรมการค้าดี มีกําไร อีกทางหนงึ่ ก็ต้องบอกว่าเรากาํ ลังเสือ่ มลงไปส่วนใหญ่ ทฤษฎวี ่า ถา้ มีเงินเท่าน้นั ๆ มี การกเู้ ท่านนั้ ๆ หมายความวา่ เศรษฐกจิ ก้าวหน้า แลว้ กป็ ระเทศกเ็ จรญิ มีหวังวา่ จะเป็นมหาอํานาจ ขอโทษเลยต้องเตือน เขาว่า จริงตัวเลขดี แตว่ า่ ถา้ เราไม่ระมดั ระวงั ในความต้องการพน้ื ฐานของประชาชนนน้ั ไม่มีทาง...” พระราชดาํ รสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๖ “...เดี๋ยวน้ีประเทศไทยกย็ ังอยู่ดีพอสมควร ใช้คําว่า พอสมควร เพราะเด๋ยี วมคี นเห็นวา่ มคี นจน คนเดอื ดร้อน จํานวน มากพอสมควร แต่ใชค้ ําว่า พอสมควรนี้ หมายความว่าตามอตั ตภาพ...” พระราชดํารสั เนอื่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอเกาะจันทร์ จงั หวัดชลบรุ ี

11 “...ทเ่ี ป็นห่วงน้ัน เพราะแม้ในเวลา ๒ ปี ทีเ่ ปน็ ปกี าญจนาภเิ ษกก็ได้เห็นสิ่งที่ทําให้เห็นไดว้ า่ ประชาชนยังมีความ เดือดร้อนมาก และมสี ิ่งทีค่ วรจะแก้ไขและดําเนินการต่อไปทุกดา้ น มีภยั จากธรรมชาติกระหน่าํ ภัยธรรมชาติน้ีเราคง สามารถท่ีจะบรรเทาได้หรอื แกไ้ ขได้ เพยี งแตว่ า่ ต้องใช้เวลาพอใช้ มภี ยั ที่มาจากจิตใจของคน ซง่ึ กแ็ กไ้ ขได้เหมอื นกัน แต่ว่ายากกวา่ ภยั ธรรมชาติ ธรรมชาตินัน้ เป็นส่ิงนอกกายเรา แต่นิสัยใจคอของคนเป็นส่งิ ท่ีอยูข่ ้างใน อันน้ีกเ็ ป็นข้อหนึ่ง ทีอ่ ยากใหจ้ ัดการให้มีความเรยี บร้อย แตก่ ็ไม่หมดหวัง...” พระราชดํารสั เน่อื งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙ “...การจะเป็นเสือนน้ั ไม่สาํ คัญ สาํ คัญอยูท่ ่ีเรามเี ศรษฐกจิ แบบพอมพี อกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่า อ้มุ ชู ตวั เองได้ ให้มพี อเพียงกบั ตนเอง ความพอเพียงนี้ไม่ไดห้ มายความว่าทกุ ครอบครวั จะตอ้ งผลติ อาหารของตัวเอง จะตอ้ งทอผา้ ใสเ่ อง อย่างนั้นมันเกนิ ไป แตว่ า่ ในหม่บู ้านหรอื ในอาํ เภอ จะต้องมคี วามพอเพียงพอสมควร บางสง่ิ บางอย่างผลติ ได้มากกวา่ ความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในทไี่ มห่ ่างไกลเทา่ ไร ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนกั ...” พระราชดํารสั เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙. “...เมื่อปี ๒๕๑๗ วันน้ันไดพ้ ดู ถงึ วา่ เราควรปฏิบตั ใิ ห้พอมีพอกิน พอมีพอกนิ นี้กแ็ ปลวา่ เศรษฐกิจพอเพียงน่นั เอง ถา้ แตล่ ะคนมีพอมีพอกนิ ก็ใช้ได้ ย่ิงถา้ ทั้งประเทศพอมีพอกนิ ก็ยงิ่ ดี และประเทศไทยเวลาน้ันก็เรม่ิ จะเปน็ ไม่พอมีพอกนิ บางคนก็มีมาก บางคนกไ็ มม่ ีเลย...” พระราชดํารสั เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั วนั ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ “...พอเพยี ง มีความหมายกว้างขวางย่ิงกว่านี้อกี คือคําวา่ พอ กพ็ อเพยี งนีก้ ็พอแคน่ ั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการ กม็ ีความโลภนอ้ ย เม่ือมีความโลภน้อยก็เบียดเบยี นคนอ่นื น้อย ถา้ ประเทศใดมีความคิดอันน้ี มีความคดิ วา่ ทําอะไรต้อง พอเพยี ง หมายความวา่ พอประมาณ ซ่ือตรง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยเู่ ป็นสขุ พอเพยี งนอี้ าจจะมี มมี ากอาจจะมี ของหรหู ราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบยี นคนอื่น...” พระราชดาํ รสั เนือ่ งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ “...ไฟดบั ถา้ มีความจาํ เป็น หากมีเศรษฐกจิ พอเพยี งแบบไมเ่ ต็มท่ี เรามเี ครอ่ื งปั่นไฟกใ็ ชป้ นั่ ไฟ หรือถ้าข้นั โบราณกวา่ มดื ก็จดุ เทียน คอื มีทางที่จะแกป้ ญั หาเสมอ ฉะน้นั เศรษฐกิจพอเพยี งก็มีเปน็ ข้ันๆ แตจ่ ะบอกวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี งนี้ ให้ พอเพยี งเฉพาะตวั เองร้อยเปอร์เซ็นตน์ ่เี ป็นส่ิงทําไม่ได้ จะต้องมกี ารแลกเปลี่ยน ต้องมกี ารชว่ ยกัน ถ้ามกี ารชว่ ยกัน แลกเปล่ียนกัน ก็ไม่ใช่พอเพยี งแล้ว แต่ว่าพอเพยี งในทฤษฎีในหลวงนี้ คอื ให้สามารถที่จะดาํ เนนิ งานได.้ ..” พระราชดํารัส เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วนั ที่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒ “...โครงการต่างๆ หรือเศรษฐกิจทใี่ หญ่ ต้องมีความสอดคล้องกันดีที่ไม่ใช่เหมือนทฤษฎีใหม่ ทีใ่ ช้ทด่ี นิ เพียง ๑๕ ไร่ และสามารถทจ่ี ะปลูกข้าวพอกิน กจิ การนี้ใหญ่กว่า แต่ก็เป็นเศรษฐกิจพอเพยี งเหมือนกัน คนไมเ่ ขา้ ใจว่ากิจการใหญ่ๆ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอเกาะจันทร์ จังหวดั ชลบรุ ี

12 เหมือนสร้างเขื่อนปุาสักกเ็ ปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งเหมือนกัน เขานกึ วา่ เปน็ เศรษฐกิจสมยั ใหม่ เป็นเศรษฐกจิ ทหี่ ่างไกล จากเศรษฐกจิ พอเพียง แตท่ จี่ รงิ แล้ว เปน็ เศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกนั ...” พระราชดํารสั เนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั วันท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ “...ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพยี งความหมายคือ ทาํ อะไรใหเ้ หมาะสมกบั ฐานะของตวั เอง คือทําจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐ บาท ข้ึนไปเป็นสองหมนื่ สามหมนื่ บาท คนชอบเอาคําพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพยี งไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจ พอเพยี ง คือทาํ เป็น Self-Sufficiency มนั ไม่ใช่ความหมายไม่ใช่แบบที่ฉันคิด ทีฉ่ นั คิดคือเปน็ Self-Sufficiency of Economy เช่น ถ้าเขาตอ้ งการดทู วี ี ก็ควรใหเ้ ขามดี ู ไม่ใช่ไปจํากัดเขาไม่ให้ซื้อทีวดี ู เขาตอ้ งการดเู พ่อื ความสนกุ สนาน ในหม่บู ้านไกลๆ ที่ฉนั ไป เขามีทวี ีดแู ต่ใชแ้ บตเตอรี่ เขาไม่มีไฟฟาู แต่ถ้า Sufficiency น้ัน มที วี เี ขาฟุมเฟือย เปรยี บเสมือนคนไม่มสี ตางค์ไปตัดสทู ใส่ และยงั ใสเ่ นคไทเวอร์ซาเช่ อนั นีก้ ็เกนิ ไป...” พระตําหนักเปย่ี มสุข วงั ไกลกังวล ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔ การดาเนินชีวติ ตามแนวพระราชดาริพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ทรงเขา้ ใจถึงสภาพสังคมไทย ดังน้นั เมือ่ ไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดําริ หรือ พระบรมราโชวาทในด้านต่างๆ จะทรงคํานึงถงึ วถิ ชี ีวิต สภาพสังคมของประชาชนด้วย เพ่ือไม่ให้เกิดความขัดแย้งทาง ความคดิ ท่ีอาจนําไปสคู่ วามขัดแย้งในทางปฏิบัติได้ แนวพระราชดาํ รใิ นการดําเนินชีวติ แบบพอเพียง ๑. ยึดความประหยดั ตดั ทอนค่าใชจ้ ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุมเฟือยในการใช้ชีวติ ๒. ยึดถอื การประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ซ่ือสตั ย์สุจริต ๓. ละเลกิ การแก่งแย่งผลประโยชนแ์ ละแขง่ ขนั กนั ในทางการคา้ แบบต่อสกู้ ันอยา่ งรนุ แรง ๔. ไม่หยดุ นิ่งทจี่ ะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกขย์ าก ด้วยการขวนขวายใฝหุ าความรู้ใหม้ รี ายไดเ้ พ่ิมพูน ขน้ึ จนถงึ ข้ันพอเพยี งเปน็ เปูาหมายสาํ คัญ ๕. ปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ีดี ลดละส่งิ ช่ัว ประพฤติตนตามหลักศาสนา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอเกาะจันทร์ จังหวดั ชลบรุ ี

13 บทที่ 3 วธิ ีดาเนินงาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอย พระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี วันท่ี 25 มิถุนายน 2564 สวนทรัพย์บริบูรณ์ บ้านหนอง งเู หลือม หมู่ที่ 7 ตาํ บลทา่ บุญมี อําเภอเกาะจนั ทร์ จงั หวัดชลบรุ ี วิธดี าเนนิ การ มีขน้ั ตอนดังน้ี 1. สาํ รวจความต้องการของกลมุ่ เปูาหมาย 2. กาํ หนดแผนและปฏิทินการดําเนนิ งาน 3. เสนอโครงการ 4. ประสานผเู้ กี่ยวข้อง 5. ดาํ เนนิ การจัดกิจกรรม 6. เครอ่ื งมอื ในการเกบ็ ข้อมลู 7. วิเคราะห์ขอ้ มลู /สถติ ทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะห์ 1. สารวจความต้องการ กศน.ตําบลท่าบุญมี ได้ดําเนินการประสานงานภาคีเครือข่ายประกอบด้วย เทศบาลตําบลท่าบุญมี องค์การ บริหารส่วนตําบลท่าบุญมี ชมรมกํานันผู้ใหญ่บ้านอําเภอเกาะจันทร์ เกษตรอําเภอเกาะจันทร์ เพ่ือสํารวจความ ตอ้ งการของกลมุ่ เปาู หมาย และนํามาวางแผนจัดกจิ กรรม 2. กาหนดแผนและปฏิทนิ การดาเนินงาน ครู กศน.ตําบล ดําเนินการวางแผนการจัดกจิ กรรม และสํารวจราคาตามรายการวสั ดุ 3. เสนอโครงการ โดยดําเนินการขออนุมัติการจัดกิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารตามรอยพระยุคลบาทสกู่ ารปฏิบัติอยา่ งยัง่ ยนื กศน.ตาํ บล ทา่ บญุ มี 4. ประสานงานผู้เกย่ี วข้อง ดําเนินงานแจ้งสํานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี ภาคีเครือข่าย วิทยากร และผู้เรียนให้ทราบถึงวัน เวลา และ สถานที่ ดาํ เนินการจัดกจิ กรรม 5. ดาเนินการจัดกจิ กรรม กจิ กรรมจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาเพือ่ พัฒนาสังคมและชุมชน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอย พระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี วันที่ 25 มิถุนายน 2564 เวลา 08.30 – 12.00 น. สวนทรพั ยบ์ ริบูรณ์ บ้านหนองงเู หลอื ม หม่ทู ี่ 7 ตาํ บลทา่ บุญมี อําเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบรุ ี จํานวน 15 คน ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเกาะจนั ทร์ จังหวดั ชลบรุ ี

14 6. เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล จากการสงั เกตและแบบประเมนิ ความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรม 7. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู /สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละ ในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวช้ีวัดความสําเร็จของโครงการ ตามแบบสอบถามความคิดเหน็ รายข้อ แล้วนาํ ไปแปรความหมายตามค่าระดบั เกณฑ์ เกณฑ์การประเมนิ ค่าสถิตนิ อ้ ยกว่าร้อยละ 50 ปรบั ปรุง ค่าสถิตริ อ้ ยละ 50-74 พอใช้ ค่าสถติ ิร้อยละ 75-84 ดี คา่ สถิติรอ้ ยละ 85 ขึ้นไป ดีมาก การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละ ในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ ตามแบบสอบถามความคดิ เห็นรายข้อ แล้วนําไปแปรความหมายตามค่าระดับเกณฑ์กําหนดค่าลําดับความสําคัญของ การประเมนิ ผลออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ มากทีส่ ดุ ใหค้ ะแนน 5 มาก ใหค้ ะแนน 4 ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3 น้อย ให้คะแนน 2 น้อยท่สี ดุ ให้คะแนน 1 ในการแปลผล ผู้จัดทําได้ใช้เกณฑ์การพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยตามแนวคิดของ บุญชม ศรีสะอาด และบุญ สง่ นิลแกว้ (2535, หน้า 22-25) 4.51-5.00 หมายความว่า ดีมาก 3.51-4.50 หมายความว่า ดี 2.51-3.50 หมายความว่า ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความว่า น้อย 1.00-1.50 หมายความวา่ ต้องปรบั ปรุง ผู้เข้าร่วมโครงการจะต้องกรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม เพื่อนําไปใช้ในการประเมินผลของการจัดกิจกรรมดังกล่าว และจะได้นาํ ไปเป็นข้อมลู ปรบั ปรุง และพัฒนา ตลอดจนใชใ้ นการจดั ทาํ แผนการดาํ เนินการในปตี อ่ ไป ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภอเกาะจนั ทร์ จงั หวดั ชลบรุ ี

15 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู กจิ กรรมจดั การศกึ ษานอกระบบ การศึกษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชุมชน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ตามรอยพระยุคลบาทส่กู ารปฏบิ ตั ิอย่างย่ังยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี ซึ่งได้สรุปรายงานจากแบบสอบถามความคิดเห็น ขอ้ มูลท่ีได้สามารถวิเคราะหแ์ ละแสดงคา่ สถิติ ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ข้อมูลส่วนตัวผู้ตอบแบบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและ ชุมชน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างย่ังยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี วันที่ 25 มิถุนายน 2564 เวลา 08.30 – 12.00 น. สวนทรัพย์บริบูรณ์ บ้านหนองงูเหลือม หมู่ท่ี 7 ตําบลท่าบุญมี อําเภอ เกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี จํานวน 15 คน ที่ตอบแบบสอบถามได้นํามาจําแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ ผู้จัดทําได้ นาํ เสนอจําแนกตามขอ้ มูลดังกล่าว ดงั ปรากฏตามตารางท่ี 1 ดังตอ่ ไปน้ี ตารางท่ี 1 แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามเพศ เพศ ชาย หญิง ความคดิ เหน็ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ผเู้ ข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารตามรอยพระยคุ ลบาทสู่ 8 53.33 7 46.67 การปฏบิ ัติอยา่ งยั่งยนื กศน.ตาบล ท่าบญุ มี จากตารางที่ 1 แสดงวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการตามรอยพระยุคลบาท สู่การปฏิบัติอย่างย่ังยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี จํานวน 15 คน เป็นเพศชาย จํานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 53.33 เพศหญงิ จาํ นวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 46.67 ตารางท่ี 2 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอายุ อายุ ตา่ กวา่ 15 ปี 15-39 ปี 40-59 ปี 60 ปี ขน้ึ ไป ความคดิ เหน็ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ผเู้ ข้าร่วมโครงการอบรมเชงิ - - 14 93.33 1 6.67 - - ปฏบิ ตั ิการตามรอยพระยุคล บาทสูก่ ารปฏิบัติอย่างยั่งยนื กศน.ตาบล ท่าบญุ มี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบรุ ี

16 จากตารางที่ 2 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคล บาทสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี เมื่อจําแนกตามอายุปรากฏว่า ช่วงอายุ 15-39 ปี จํานวน 14 คน คิดเปน็ ร้อยละ 93.33 และช่วงอายุ 40-59 ปี จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 6.67 ตารางที่ 3 แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอาชพี อาชพี รบั จา้ ง รับราชการ ค้าขาย เกษตรกร อ่นื ๆ ความคดิ เห็น จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ผ้เู ข้ารว่ มโครงการ 5 33.33 - - 2 13.33 - - 8 53.34 อบรมเชิง ปฏิบัติการตามรอย พระยุคลบาทสกู่ าร ปฏบิ ัติอย่างย่งั ยนื กศน.ตาบล ท่าบุญ มี จากตารางท่ี 3 แสดงว่า ผูต้ อบแบบสอบถามของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารตามรอยพระยุคลบาท สู่การปฏิบัติอย่างย่ังยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี เม่ือจําแนกตามอาชีพปรากฏว่า ประกอบอาชีพรับจ้าง จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 อาชีพค้าขาย จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33 และอาชีพอ่ืนๆ จํานวน 8 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 53.34 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเกาะจนั ทร์ จังหวดั ชลบรุ ี

17 ตอนท่ี 2 ข้อมูลเกีย่ วกบั ความคิดเห็นของผู้เขา้ ร่วม ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมกิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างย่ังยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี วันท่ี 25 มิถุนายน 2564 เวลา 08.30 – 12.00 น. สวนทรัพย์บริบูรณ์ บ้านหนองงูเหลือม หมู่ท่ี 7 ตําบลท่าบุญมี อําเภอเกาะจันทร์ จังหวัด ชลบุรี จํานวน 15 คน ดังปรากฏในตารางที่ 4 ตารางท่ี 4 ผลการประเมนิ กิจกรรม กจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชุมชน N = 15 โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารตามรอยพระยคุ ลบาทสูก่ ารปฏบิ ตั ิ x S.D. อนั ดบั ที่ ระดับผลการ อย่างยงั่ ยนื กศน.ตาบล ทา่ บุญมี ประเมนิ ดี 1. เนื้อหาวชิ าท่สี อนตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด 4.07 0.26 9 2. การมาเรยี นตรงตามเวลาและเรยี นครบตามเวลาทีก่ าํ หนด 4.07 0.26 9 ดี 3. ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ของวิทยากร 4.20 0.41 8 ดี 4. สอ่ื /อปุ กรณฝ์ กึ สามารถนํามาใช้ประกอบการเรยี นเพียงใด 4.73 0.46 2 ดีมาก 1 ดมี าก 5. ทา่ นไดร้ บั ความร้ตู ามท่ีคาดหวงั มากน้อยเพยี งใด 4.80 0.41 3 ดมี าก 6. ทา่ นสามารถนําความรู้ความเขา้ ใจท่ีได้รับไปใชใ้ นชีวติ ประจําวนั 4.60 0.51 เพียงใด 7. ความร้ทู กั ษะท่ีสามารถนาํ มาใชป้ ระกอบอาชพี เพียงใด 4.47 0.52 5 ดี 8. สถานทเี่ รียนเหมาะสมเพยี งใด 4.53 0.52 4 ดีมาก 9. ความยตุ ิธรรมหรอื ความโปรง่ ใสเพียงใดในการวดั ผลประเมนิ ผล 4.40 0.51 6 ดี การเรียน 10. ผลการเรียนของท่านควรอย่ใู นระดับใด 4.33 0.49 7 ดี 11. ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพยี งใด 4.47 0.52 5 ดี 12. ความรทู้ ่ีไดร้ บั คุ้มคา่ กบั เวลา และคา่ ใชจ้ ่ายทีเ่ สียไปเพียงใด 4.53 0.52 4 ดีมาก 13. ท่านพึงพอใจกับกิจกรรมนเี้ พยี งใด 4.40 0.51 6 4.43 0.45 ดี รวม ดี จากตาราง 4 พบว่า โดยเฉล่ียแลว้ ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การ ปฏบิ ัตอิ ย่างยง่ั ยืน กศน.ตาํ บล ท่าบญุ มี อยใู่ นระดบั ดี เมอ่ื วเิ คราะหเ์ ป็นรายข้อพบว่า ท่านได้รับความรู้ตามที่คาดหวัง มากน้อยเพียงใด( x = 4.80) เป็นอันดับท่ี 1, สื่อ/อุปกรณ์ฝึก สามารถนํามาใช้ประกอบการเรียนเพียงใด( x = 4.73) เป็นอันดับท่ี 2, ท่านสามารถนําความรู้ความเข้าใจท่ีได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวันเพียงใด( x = 4.60) เป็นอันดับที่ 3, ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเกาะจันทร์ จงั หวดั ชลบรุ ี

18 สถานที่เรียนเหมาะสมเพยี งใด( x = 4.53) และความรทู้ ไ่ี ด้รบั คุ้มคา่ กับ เวลา และค่าใช้จา่ ยที่เสียไปเพียงใด( x = 4.53) เป็นอันดับท่ี 4, ความรู้ทักษะท่ีสามารถนํามาใช้ประกอบอาชีพเพียงใด( x = 4.47) และระยะเวลาในการเรียน/ กจิ กรรมเหมาะสมเพยี งใด( x = 4.47) เป็นอนั ดบั ท่ี 5, ความยตุ ธิ รรมหรือความโปรง่ ใสเพียงใดในการวัดผลประเมินผล การเรียน( x = 4.40) และทา่ นพงึ พอใจกับกิจกรรมนี้เพียงใด( x = 4.40) เป็นอันดับที่ 6, ผลการเรียนของท่านควรอยู่ ในระดับใด( x = 4.33) เป็นอันดับที่ 7, ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร( x = 4.20) เป็นอันดับท่ี 8 และเนอื้ หาวชิ าทีส่ อนตรงตามความต้องการของทา่ นเพียงใด( x = 4.07) และการมาเรียนตรงตามเวลาและเรียนครบ ตามเวลาท่กี าํ หนด( x = 4.07) เป็นอนั ดบั สดุ ท้าย ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเกาะจนั ทร์ จังหวดั ชลบรุ ี

19 ตารางท่ี 5 แสดงค่าร้อยละของระดบั ความพงึ พอใจที่ไดร้ บั ต่อการร่วมกจิ กรรม ประเดน็ ทปี่ ระเมนิ ระดบั การประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ตอ้ งปรับปรุง จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ 1.เนือ้ หาวชิ าท่ีสอนตรงตามความตอ้ งการ 15 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 ของทา่ นเพยี งใด 2.การมาเรียนตรงตามเวลาและเรียนครบตาม 13 86.67 2 13.33 0 0.00 0 0.00 0 0.00 เวลาท่ีกาหนด 3.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของ 14 93.33 1 6.67 0 0.00 0 0.00 0 0.00 วทิ ยากร 4.ส่ือ/อปุ กรณ์ฝกึ สามารถนามาใช้ 11 73.33 4 26.67 0 0.00 0 0.00 0 0.00 ประกอบการเรียนเพยี งใด 5.ทา่ นไดร้ ับความรู้ตามทีค่ าดหวงั มากนอ้ ย 15 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 เพยี งใด 6.ทา่ นสามารถนาความรคู้ วามเข้าใจทีไ่ ดร้ ับไป 15 100.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 ใชใ้ นชวี ติ ประจาวันเพยี งใด 7.ความร้ทู กั ษะที่สามารถนามาใช้ประกอบ 12 80.00 3 20.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 อาชพี เพยี งใด 8.สถานทเ่ี รียนเหมาะสมเพยี งใด 10 66.67 5 33.33 0 0.00 0 0.00 0 0.00 9.ความยตุ ธิ รรมหรือความโปร่งใสเพยี งใดใน 7 46.67 8 53.33 0 0.00 0 0.00 0 0.00 การวดั ผลประเมนิ ผลการเรียน 10.ผลการเรียนของทา่ นควรอย่ใู นระดบั ใด 6 40.00 9 60.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 11.ระยะเวลาในการเรียน/กจิ กรรมเหมาะสม 8 53.33 7 46.67 0 0.00 0 0.00 0 0.00 เพยี งใด 12.ความรูท้ ี่ไดร้ ับคมุ้ คา่ กบั เวลา และ 10 66.67 5 33.33 0 0.00 0 0.00 0 0.00 คา่ ใช้จ่ายท่เี สียไปเพยี งใด 13.ทา่ นพงึ พอใจกบั กจิ กรรมนเ้ี พยี งใด 12 80.00 3 20.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 0 00 (1) รวม 148 47 0 00 (2) = (1) Xคะแนนเตม็ ของแตล่ ะช่อง 740 188 (3) = ผลรวมของความพงึ พอใจ 928 (4) = (3) ¸ จานวนคน 61.87 (5) = (4) X 100 ¸ 95.18 จานวนข้อXคะแนนเตม็ สงู สุด สรุป บรรลุ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเกาะจนั ทร์ จงั หวัดชลบรุ ี

20 จากตารางท่ี 5 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีระดับความพึงพอใจกับประเด็นท่ีประเมิน ดงั ต่อไปน้ี ประเด็นที่ 1 “เนื้อหาวิชาท่ีสอนตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 100 มรี ะดับของความพึงพอใจในระดับ “ดีมาก” ประเด็นที่ 2 “การมาเรียนตรงตามเวลาและเรียนครบตามเวลาท่ีกําหนด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 86.67 มีระดับของความพึงพอใจในระดบั “ดีมาก” ร้อยละ 13.33 มีระดับความพงึ พอใจในระดบั “ด”ี ประเด็นท่ี 3 “ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 93.33 มี ระดับความพงึ พอใจในระดบั “ดมี าก” ร้อยละ 6.67 มีระดบั ของความพงึ พอใจในระดบั “ด”ี ประเด็นท่ี 4 “สื่อ/อุปกรณ์ฝึก สามารถนํามาใช้ประกอบการเรียนเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 73.33 มีระดับของความพงึ พอใจในระดับ “ดีมาก” ร้อยละ 26.67 มีระดับความพึงพอใจในระดบั “ดี” ประเด็นท่ี 5 “ท่านได้รับความรู้ตามที่คาดหวังมากน้อยเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 100 มรี ะดบั ของความพงึ พอใจในระดบั “ดมี าก” ประเดน็ ท่ี 6 “ทา่ นสามารถนําความรู้ความเข้าใจที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวันเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 100 มรี ะดับของความพงึ พอใจในระดบั “ดีมาก” ประเด็นท่ี 7 “ท่านสามารถนาํ ความรู้ความเขา้ ใจที่ไดร้ ับไปใชใ้ นชวี ิตประจําวันเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 80.00 มีระดับของความพึงพอใจในระดบั “ดมี าก” ร้อยละ 20.00 มรี ะดับความพึงพอใจในระดับ “ด”ี ประเด็นท่ี 8 “ทา่ นสามารถนาํ ความรคู้ วามเข้าใจท่ีได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวันเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 66.67 มรี ะดับของความพึงพอใจในระดับ “ดีมาก” ร้อยละ 33.33 มีระดบั ความพึงพอใจในระดบั “ดี” ประเดน็ ท่ี 9 “ท่านสามารถนาํ ความรู้ความเข้าใจท่ีได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวันเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม รอ้ ยละ 46.67 มรี ะดับความพงึ พอใจในระดบั “ดมี าก” ผูต้ อบแบบสอบถาม ร้อยละ 53.33 มีระดับของความพึงพอใจ ในระดบั “ด”ี ประเด็นท่ี 10 “ท่านสามารถนําความรู้ความเข้าใจที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวันเพียงใด” ผู้ตอบ แบบสอบถาม ร้อยละ 40.00 มีระดับของความพึงพอใจในระดับ “ดีมาก” ร้อยละ 60.00 มีระดับความพึงพอใจใน ระดับ “ด”ี ประเด็นที่ 11 “ท่านสามารถนําความรู้ความเข้าใจท่ีได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวันเพียงใด” ผู้ตอบ แบบสอบถาม ร้อยละ 53.33 มีระดับของความพึงพอใจในระดับ “ดีมาก” ร้อยละ 46.67 มีระดับความพึงพอใจใน ระดบั “ดี” ประเด็นท่ี 12 “ท่านสามารถนําความรู้ความเข้าใจที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวันเพียงใด” ผู้ตอบ แบบสอบถาม ร้อยละ 66.67 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “ดีมาก” ร้อยละ 33.33 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “ด”ี ประเด็นที่ 13 “ท่านสามารถนําความรู้ความเข้าใจที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวันเพียงใด” ผู้ตอบ แบบสอบถาม ร้อยละ 80.00 มีความพึงพอใจในระดับ “ดีมาก” รอ้ ยละ 20.00 มคี วามพึงพอใจในระดบั “ด”ี ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเกาะจนั ทร์ จงั หวัดชลบรุ ี

21 อภิปรายผล จากการจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี 1. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่าง ย่ังยืน กศน.ตําบล ทา่ บุญมี จาํ นวน 15 คน เป็นเพศชาย จํานวน 7 คน คดิ เป็นร้อยละ 46.67 เพศหญิง จํานวน 8 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 53.33 2. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่าง ยง่ั ยนื กศน.ตาํ บล ท่าบญุ มี เม่ือจาํ แนกตามอายุปรากฏว่า ช่วงอายุ 15-39 ปี จํานวน 14 คน คิดเป็น ร้อยละ 93.33 และช่วงอายุ 40-59 ปี จาํ นวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.67 3. ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่าง ยั่งยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี เม่ือจําแนกตามอาชีพปรากฏว่า ประกอบอาชีพรับจ้าง จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 อาชพี ค้าขาย จํานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.33 และอาชพี อื่นๆ จาํ นวน 8 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 53.34 4. โดยเฉลี่ยแลว้ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี อยู่ในระดับ ดี เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า ท่านได้รับความรู้ตามที่คาดหวังมากน้อยเพียงใด( = 4.80) เป็นอันดับท่ี 1, ส่ือ/อุปกรณ์ฝึก สามารถนํามาใช้ประกอบการเรียนเพียงใด( = 4.73) เป็นอันดับท่ี 2, ท่าน สามารถนําความรู้ความเข้าใจท่ีได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวันเพียงใด( = 4.60) เป็นอันดับท่ี 3, สถานที่เรียนเหมาะสม เพียงใด( = 4.53) และความรู้ที่ได้รับคุ้มค่ากับ เวลา และค่าใช้จ่ายท่ีเสียไปเพียงใด( = 4.53) เป็นอันดับท่ี 4, ความรู้ ทักษะที่สามารถนํามาใช้ประกอบอาชีพเพียงใด( = 4.47) และระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด( = 4.47) เปน็ อันดบั ที่ 5, ความยตุ ิธรรมหรอื ความโปร่งใสเพียงใดในการวัดผลประเมินผลการเรียน( = 4.40) และท่านพึง พอใจกับกจิ กรรมน้ีเพยี งใด( = 4.40) เป็นอนั ดบั ที่ 6, ผลการเรยี นของทา่ นควรอยู่ในระดับใด( = 4.33) เป็นอันดับท่ี 7, ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร( = 4.20) เป็นอันดับท่ี 8 และเน้ือหาวิชาท่ีสอนตรงตามความ ตอ้ งการของท่านเพียงใด( = 4.07) และการมาเรยี นตรงตามเวลาและเรียนครบตามเวลาท่กี าํ หนด( = 4.07) เป็น อนั ดับสุดท้าย สรุปคา่ x ทัง้ 13 ข้อมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับดี x =4.43 สรุปคา่ S.D. ทงั้ 13 ขอ้ มีความพงึ พอใจ S.D.=0.45 สรุปคา่ เปอรเ์ ซ็นต์ ท้ัง 13 ข้อมีความพึงพอใจอยทู่ ่ี 95.18% ความพงึ พอใจโดยรวมของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมอยู่ใน ระดับดีมาก ข้อเสนอแนะจากแบบประเมินโครงการ - ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมมีความพึงพอใจในกระบวนการจดั กจิ กรรมซึ่งสอดคล้องกับการดําเนนิ ในชีวติ ประจาํ วนั - ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมมคี วามต้องการสามารถศกึ ษาเรียนรู้จากสถานท่ีจริง และแหล่งเรียนรู้อื่นๆ เพื่อนํามาเป็น แนวทางในการพฒั นาตนเองได้ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอเกาะจันทร์ จังหวดั ชลบรุ ี

22 บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะ การจดั กจิ กรรม กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติ อย่างยั่งยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี วันท่ี 25 มิถุนายน 2564 เวลา 08.30 – 12.00 น. สวนทรัพย์บริบูรณ์ บ้านหนอง งเู หลอื ม หม่ทู ่ี 7 ตาํ บลท่าบุญมี อาํ เภอเกาะจนั ทร์ จังหวัดชลบุรี จาํ นวน 15 คน ซึ่งผู้จัดทําได้ดําเนินการตามลําดับข้ัน ดังนี้ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในความสําคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยต่อสังคมไทยและ ประเทศไทย 2. เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ เรื่องเกษตรอินทรีย์ เกษตรทฤษฏีใหม่ การพัฒนาอาชีพ ตา่ งๆ โดยใช้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นแนวทางในการเรยี นรสู้ ามารถนําไปปฏิบัติในชีวิตวนั ได้อย่างเหมาะสม วธิ ดี าเนินการ กลุ่มงานการศึกษาต่อเนื่อง มอบหมายให้ ครู กศน.ตําบล สํารวจความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย ประสาน ภาคีเครือข่าย และประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงกําหนดการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน กศน.ตําบล ท่าบุญมี วันท่ี 25 มิถุนายน 2564 เวลา 08.30 – 12.00 น. สวนทรัพย์บริบูรณ์ บ้านหนองงูเหลือม หมู่ท่ี 7 ตําบลท่าบุญมี อําเภอเกาะจันทร์ จังหวัด ชลบุรี จํานวน 15 คน สรปุ ผลการดาเนินงาน สรปุ ไดว้ ่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างย่ังยืน กศน. ตําบล ท่าบุญมี จํานวน 15 คน เป็นเพศชาย จํานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 53.33 เพศหญิง จํานวน 7 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 46.67 จาํ แนกตามอายปุ รากฏว่า ช่วงอายุ 15-39 ปี จํานวน 14 คน คิดเป็น ร้อยละ 93.33 และช่วงอายุ 40- 59 ปี จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 6.67 จําแนกตามอาชีพปรากฏว่า ประกอบอาชีพรับจ้าง จํานวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 33.33 อาชีพค้าขาย จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33 และอาชีพอื่นๆ จํานวน 8 คน คิดเป็น ร้อยละ 53.34 โดยเฉลยี่ แลว้ ผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน กศน.ตําบล ท่าบญุ มี อย่ใู นระดับ ดมี าก เมื่อวเิ คราะหเ์ ป็นรายข้อพบวา่ ทา่ นได้รับความรู้ตามที่คาดหวังมากน้อยเพียงใด( = 4.80) เปน็ อนั ดบั ท่ี 1, สอื่ /อุปกรณ์ฝึก สามารถนํามาใช้ประกอบการเรียนเพียงใด( = 4.73) เป็นอันดับท่ี 2, ท่านสามารถนํา ความรู้ความเข้าใจท่ีได้รับไปใช้ในชีวิตประจําวันเพียงใด( = 4.60) เป็นอันดับท่ี 3, สถานที่เรียนเหมาะสมเพียงใด( = 4.53) และความรู้ท่ีได้รับคุ้มค่ากับ เวลา และค่าใช้จ่ายท่ีเสียไปเพียงใด( = 4.53) เป็นอันดับที่ 4, ความรู้ทักษะที่ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเกาะจนั ทร์ จังหวดั ชลบรุ ี

23 สามารถนํามาใช้ประกอบอาชีพเพียงใด( = 4.47) และระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด( = 4.47) เปน็ อันดับที่ 5, ความยตุ ธิ รรมหรือความโปร่งใสเพียงใดในการวัดผลประเมินผลการเรียน( = 4.40) และท่านพึงพอใจ กับกิจกรรมน้ีเพียงใด( = 4.40) เป็นอันดับที่ 6, ผลการเรียนของท่านควรอยู่ในระดับใด( = 4.33) เป็นอันดับท่ี 7, ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร( = 4.20) เป็นอันดับที่ 8 และเน้ือหาวิชาที่สอนตรงตามความ ตอ้ งการของทา่ นเพยี งใด ( = 4.07) และการมาเรียนตรงตามเวลาและเรียนครบตามเวลาที่กําหนด( = 4.07) เป็น อนั ดับสุดทา้ ย อภิปรายผล จากการดําเนินการจัดโครงการซ่ึงเป็นการวัดเจตคติการเห็นคุณค่าของโครงการ สรุปได้ว่าโครงการน้ีบรรลุ วัตถุประสงค์ ประชาชนตําบลท่าบุญมี มีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และน้อมนํา กรอบแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางในการดําเนินชีวิต ในสถานการณ์ปัจจุบัน อยู่ในระดับ ดีมาก มีความพงึ พอใจตอ่ โครงการน้กี ารใหค้ วามรู้สอดคล้องกับความต้องการของกลมุ่ เปูาหมาย ขอ้ เสนอแนะ - ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมมคี วามพงึ พอใจในกระบวนการจัดกิจกรรมซึง่ สอดคล้องกับการดาํ เนินในชวี ติ ประจาํ วัน - ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมมคี วามตอ้ งการสามารถศกึ ษาเรียนรู้จากสถานท่ีจริง และแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ เพ่ือนํามาเป็น แนวทางในการพฒั นาตนเองได้ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอเกาะจนั ทร์ จังหวดั ชลบรุ ี

24 ภาคผนวก ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบรุ ี

25 โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารตามรอยพระยุคลบาทสู่การปฏิบัติอย่างย่งั ยนื กศน.ตาบล ทา่ บญุ มี สวนทรัพย์บริบรู ณ์ บา้ นหนองงเู หลือม หมู่ท่ี 7 ตาบลทา่ บุญมี อาเภอเกาะจันทร์ จงั หวัดชลบรุ ี วันที่ 25 มิถนุ ายน 2564 เวลา 08.30 – 12.00 น. ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเกาะจนั ทร์ จงั หวดั ชลบรุ ี

26 บรรณานกุ รม หลักการทรงงาน ในหลวงรัชกาลท่ี 9.(ออนไลน์).แหล่งที่มา : http://www.ops.moe.go.th/ops2017.เข้าถึง เมื่อวนั ที่ 29 มถิ นุ ายน 2564 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง.(ออนไลน์).แหล่งทีม่ า : https://www.hii.or.th/wiki84/.เขา้ ถงึ เ ม่ื อ วั น ท่ี 2 9 มถิ ุนายน 2564 จุดเรมิ่ ตน้ แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง\".(ออนไลน)์ .แหลง่ ท่ีมา : h t t p s : / / w w w . c h a i p a t . o r . t h / s i t e _content/item/3579- 2 0 1 0 - 1 0 - 0 8 - 0 5 - 2 4 - 3 9 . h t m l .เขา้ ถึงเม่ือวันที่ 2 9 มถิ ุนายน 2564 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเกาะจนั ทร์ จงั หวัดชลบรุ ี

27 คณะผ้จู ัดทา คณะดาเนินงาน ขนชัยภูมิ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ ศรศี ักดา ครผู ู้ชว่ ย 1. นางสาวสวุ ภิ า วรรณศรี ครู กศน.ตําบลเกาะจันทร์ 2. นางสาวตวงพร ชัยกิจ ครู กศน.ตําบลท่าบุญมี 3. นางสาวแพรวลี ชัยศกั ด์ิประเสริฐ ครู ศรช. 4. นางสาวศรัณยา นามพันธ์ บรรณารักษ์(อตั ราจ้าง) 5. นายวรี ะชาติ 6. นางสาวพชั ราภรณ์ ครู กศน.ตาํ บลท่าบุญมี ผู้รวบรวม เรยี บเรียง และจดั พิมพ์ 1. นางสาวศรณั ยา ชัยกจิ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอเกาะจนั ทร์ จงั หวดั ชลบรุ ี

กศน.ตำบลทำ่ บญุ มี