5. เม่ือทุกคนได้กลุ่มแล้ว ผู้จัดการเรียนรู้อธิบายให้แต่ละคนแนะนาตัวเองและเล่าเร่ืองส้ั น ๆ เกี่ยวกับตัวเองท่ีคิดไว้ คนละ 1 – 2 นาที จนครบทุกคน จากนน้ั เปิดโอกาสใหค้ นในกลุ่มไดซ้ ักถามเก่ียวกับชวี ิต หรือปัญหาของเพ่อื น ๆ ในกลุ่มได้ (ตามบทบาทท่ไี ดร้ ับ) ใหเ้ วลา 20 นาทใี นกล่มุ 6. จากน้ันผจู้ ัดการเรยี นรูช้ วนคยุ โดยใช้คาถามชวนคดิ ดังนี้ คาถามชวนคดิ ผเู้ รียนเคยมเี พื่อนหรอื คนรจู้ ักในชีวิตจริงที่อยู่ในสถานการณท์ เี่ ราลองสวมบทบาทกันหรอื ไม่ รู้สกึ อยา่ งไรตอ่ คนๆ นน้ั เม่อื ต้องสวมบทบาทเป็นคนๆ น้นั เรามีความรู้สึกอย่างไรบ้าง รูส้ กึ อย่างไรต่อคาถามของเพอื่ นๆ ท่อี ยากรเู้ กยี่ วกับชีวติ เรา มคี วามรู้สึกอย่างไรกบั การเป็นคนๆ นนั้ และตอ้ งมีปฏิสมั พนั ธก์ ับคนอ่ืนๆ เปน็ เรอ่ื งยากหรือง่ายที่จะต้องเปดิ เผยเรือ่ งราวในชีวิตของเราให้คนอ่ืนรเู้ พราะเหตุใด กลุ่มคนที่เราเลือกมาลองสวมบทบาทในกิจกรรมนี้ ในความเป็นจริงได้รับการยอมรับใน สงั คมมากน้องเพยี งใด ผู้เรียนคดิ ว่า เราหรอื สงั คมของเรา มีอคติกบั คนกลุ่มใดบา้ ง และปฏิบัตติ ่อคนเหล่านัน้ อย่างไร ผ้เู รยี นคิดวา่ เราควรปฏบิ ตั กิ บั คนทอ่ี าจมีความเป็นมาหรือเงื่อนไขชีวิตตา่ งจากเราอยา่ งไร การวดั และประเมนิ ผล 1. สงั เกตการณม์ ีส่วนรว่ มในกิจกรรมกลุ่ม 2. การอภิปรายแลกเปล่ียน การซกั ถาม การโตต้ อบ ขอ้ เสนอแนะสาหรับผ้จู ัดการเรียนรู้ ผู้จัดการเรียนรู้ควรเตรยี มบตั รคาให้เทา่ จานวนผู้เรียนโดยอาจใชข้ ้อความบางขอ้ ความซ้า ขอ้ สรปุ สาคัญจากการจดั กิจกรรม 1. ในสังคม คนมีความแตกต่างและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเรอื่ งประสบการณ์ ชาติพันธ์ุ รสนิยม บุคลิก ประสบการณ์ ความเช่ือ สถานภาพ สรรี ะร่างกาย ถือว่าเปน็ เรอ่ื งปกตใิ นสงั คม 2. บางกลุ่มคนอาจจะเป็นคนส่วนน้อยของสังคม แต่ไม่ได้หมายความว่าการที่แตกต่างจากคนส่วนใหญ่ จะทาใหศ้ กั ด์ศิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ด้อยค่าลงไป 3. การมีอคติและเลือกปฏิบัติกับบุคคลหรือกลุ่มคนบางกลุ่ม เช่น ผู้ติดเชื้อเอชไอวี คนรักเพศ เดยี วกนั คนใชย้ าเสพตดิ ฯลฯ อาจจะเกิดจากความไม่รู้ ขาดข้อมูลหรืออคติส่วนบุคลท่ีมีต่อรสนยิ มทางเพศ ภาพลกั ษณห์ รือลกั ษณะที่แตกตา่ ง และค่านยิ มของสงั คมทาใหเ้ กดิ การเหมารวมและตีตราคนบางกล่มุ 197
4. อคตินอกจากจะทาร้ายความรู้สึกแล้ว ยังนาไปสู่โอกาสและการเลือกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม กนั ในสงั คม 5. เป็นเร่ืองสาคัญที่เราควรสารวจอคติ และความรู้สึกของตนเองต่อคนรอบข้าง และเปิดใจกว้าง ท่ีจะทาความเข้าใจและเรียนรู้ที่จะเคารพความแตกต่างและหลากหลาย เพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง เป็นสขุ 6. โลกในอนาคตเป็นโลกแห่งความหลากหลาย และเปลี่ยนแปลงเชื่อมถึงกันอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การเปิดใจเพ่ือการเรียนรู้ความแตกต่าง เป็นทักษะหนึง่ ท่ีสาคญั ของพลโลกท่ีสังคมต้องการในยคุ ศตรวรรษที่ 20 คาถามท้ายบท ออกแบบโปสเตอร์ และคาขวัญในการรณรงค์เพื่อส่งเสริมการยอมรับ เคารพ ให้เกียรติ และ อยู่รว่ มกัน กับผูท้ ่มี คี วามหลากหลายทางเพศ รวมถงึ ผ้ตู ดิ เชอื้ เอชไอวี หมายเหตุ : ใหผ้ จู้ ัดการเรยี นรู้ศึกษาใบความรูท้ ี่ 2 หรือจากแหล่งความรอู้ ืน่ ทเ่ี กยี่ วข้องกับเน้อื หา วัตถปุ ระสงค์ 198
บตั รข้อความ 1. ฉันติดเช้ือเอชไอวี 2. แม่ฉนั ตดิ เชอ้ื เอชไอวี 3. ฉันเคยอยูส่ ถานพินจิ มาปีกว่าๆ 4. พอ่ ของฉันติดคุก 5. ฉนั ชอบผู้หญิงด้วยกนั 6. แมฉ่ ันขายบริการทางเพศ 7. ฉนั เคยทาแท้ง 8. ฉันเคยมปี ระสบการณ์ทางเพศกับคนมากกว่า 5 คน 9. ฉนั เป็นเกย์ 10. ฉันมีเซ็กส์กับผหู้ ญิงหรอื ผู้ชายกไ็ ด้ 11. ฉนั เคยตบตีแฟนเวลาทะเลาะกัน 12. ฉันติดยาบ้า 13. ฉนั เปน็ เด็กข้างถนน 14. ฉันตาบอดเพราะอุบัติเหตจุ ากการขม่ี อเตอร์ไซด์ 15. ฉันเคยฆา่ ตวั ตาย 16. ฉนั มีลกู ตอนเรียน ม.3 ตอนน้ลี กู อยู่กบั แม่ 17. ฉันเคยถูกขม่ ขนื 18. ฉนั เคยลองฉดี เฮโรอีน 19. ฉนั เคยถูกไล่ออกจากโรงเรียน 20. ฉนั เคยหนีออกจากบา้ น 21. แฟนฉันตดิ เช้ือเอชไอวี 22. ถา้ ฉันไม่มเี งนิ บางช่วง กจ็ ะไปทางานกลางคนื 23. ฉนั เคยเปน็ หนองใน 24. ฉันกาลงั ต้งั ครรภ์ แต่ที่บา้ นและทเ่ี รยี นไม่มีใครรู้ 25. ฉันพาแฟนไปทาแทง้ เม่ือวานน้ี 199
ใบความรู้สาหรับกิจกรรมดา้ นท่ี 6 : ดา้ นสังคม และวฒั นธรรม ใบความรู้ที่ 1 เร่อื ง คา่ นยิ มทางเพศตามสังคมและวัฒนธรรม วฒั นธรรมเป็นมรดกของสงั คม เปน็ สิ่งที่มนษุ ย์สร้างสรรค์ขนึ้ ดว้ ยภมู ิปัญญา เพ่อื เป็นวิถีชวี ิตของคน ในสังคม เป็นกฎระเบียบหรือมาตรฐานของพฤติกรรมท่ีคนในสังคมยอมรับ โดยเป็นตัวกาหนด ขัดเกลา สร้างสรรค์มนุษย์ให้มชี ีวิตที่ดงี าม โดยวัฒนธรรมมีผลต่อคา่ นยิ มทางเพศ ดังน้ี คา่ นิยมทางเพศตามสงั คมและวัฒนธรรมไทย 1. บรรทัดฐานทางครอบครัวและสังคม ค่านิยมทางเพศตามสังคมและวัฒนธรรมไทยในอดีต มคี วามแตกตา่ งจากในปัจจุบันอย่างเห็นไดช้ ัด เนอ่ื งจากในอดีตบุตรหลานจะถูกปลกู ฝงั โดยการอบรมเลยี้ งดู ให้เคารพเช่ือฟังคาสั่งสอนของบิดามารดาอย่างเคร่งครัด วิถีชีวิตตลอดจนวิธีการดาเนินชีวิตจะต้องอยู่ใน ขอบเขตที่ทางครอบครัวได้วางเอาไว้ รวมทั้งปัจจัยทางสังคมและสภาพแวดล้อมก็ยังไม่เอื้ออานวย อย่างเช่นปัจจุบนั คา่ นิยมทางเพศในอดตี มีลักษณะ ดงั น้ี ตัวอย่างค่านยิ มทางเพศในอดีต (1) ผู้หญิงต้องอยู่กับเหย้าเฝ้ากับเรือนเพียงอย่างเดียว จึงทาให้ผู้หญิงต้องถูกกดขี่ข่มเหง ด้วยความไม่เสมอภาคทางเพศ (2) ผู้ชายมักเป็นใหญ่ในบ้าน และมีอานาจในการตัดสินใจทุกอย่าง ส่วนผู้หญิงมีหน้าท่ี เพยี งแคด่ ูแลบ้านและบุตรเท่าน้นั (3) การนัดพบกันในอดีตสามารถพบกันได้โดยการแนะนาจากผู้ใหญ่ หรือพบกันตามวัด ในเทศกาลต่าง ๆ ไมม่ ีโอกาสไดม้ าพบกนั ในสถานที่สาธารณะอยา่ งเชน่ ในปัจจุบัน (4) ผู้หญงิ ตอ้ งไมแ่ สดงกิรยิ ายัว่ ยวน แสดงทา่ ทเี ชอื้ เชิญหรอื ให้โอกาสผู้ชายไดเ้ ขา้ มาใกลช้ ิด (5) การถูกควบคุมจากผู้ใหญ่ในเร่ืองของการเลือกคนรัก การแต่งงานที่เรียกว่า “คลุมถุงชน” โดยให้เหตุผลถึงความคู่ควร เหมาะสม เป็นสิ่งสาคัญมากกว่าจะนึกถึงความรักของระหว่างบุคคล ท้ังน้ี มกั จะอ้างว่าใชบ้ รรทัดฐานทางครอบครัวและสังคมเปน็ เครื่องตัดสินใจให้แต่งงานกัน ซง่ึ อาจจะดว้ ยสมคั รใจ หรือถูกบังคับก็ตาม แต่ก็ต้องยินยอมพร้อมท้ังปลูกฝังค่านิยมของเพศหญิงให้มีความรักและซื่อสัตย์ต่อสามี เพียงคนเดียว ตวั อย่างค่านยิ มทางเพศในปัจจุบนั ปัจจุบันสภาพครอบครัวและสังคมได้เปลี่ยนแปลงไป ผู้หญิงต้องทางานหาเลี้ยงครอบครัว เช่นเดียวกับผู้ชาย ส่วนภาระหน้าท่ีการดูแลบ้านและการเล้ียงดูบุตรก็ยังคงเป็นหน้าที่ของผู้หญิงเช่นเดิม ทั้งนี้ ผู้หญิงสามารถได้รับการศึกษาในระดับสูง ๆ ได้เช่นเดียวกับผู้ชาย ผู้หญิงมีสิทธิ์ที่จะสามารถ แสดงความคิดเห็นและโต้แย้งในกรณีต่าง ๆ ได้ เน่ืองจากได้รับสิทธิที่เท่าเทียมกัน ทาให้มีโอกาสมากข้ึน เก่ียวกับเรื่องเพศ เช่น การเลือกฝ่ายชายท่ีจะมาเป็นคู่ครอง การขอหย่าถ้าแต่งงานไปแล้วไม่มีความสุข การเป็นผนู้ าครอบครัว เป็นตน้ 200
2. สภาพแวดล้อม ในอดีตกบั ปัจจุบันแตกต่างกันมาก ในปัจจุบันมีสิ่งยั่วยุ สถานบันเทิงเริงรมย์ต่าง ๆ ศูนย์การค้า ปัญหาสารเสพติดและความรุนแรง ซ่ึงส่งผลให้วัยรุ่นอาจใช้ชีวิตที่หลงผิด จนอาจก่อให้เกิด เป็นปัญหาอาชญากรรมทางสังคมได้ ทาให้มีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี ยากจน ไม่มีโอกาสศึกษาต่อ ต้องหาเล้ียงชีพ โดยไม่สุจริต เกิดความฟุ้งเฟ้อเพื่อต้องการให้ตนเองทัดเทียมกับผู้อื่น และในที่สุดก็เกิดค่านิยมทางเพศ ท่ผี ดิ ๆ เช่น การมคี วามคดิ วา่ การขายบริการทางเพศเปน็ ส่ิงทห่ี ารายไดใ้ หแ้ ก่ตนเองไดอ้ ย่างรวดเรว็ เปน็ ตน้ 3. ส่ือเทคโนโลยี ความก้าวหน้าและรวดเร็วของส่ือเทคโนโลยี อาจเป็นสาเหตุของการทาให้เกิด ค่านิยมทางเพศท่ีไม่ถูกต้อง เน่ืองจากวัยรุ่นสามารถติดต่อหรือคบเพื่อนต่างเพศท่ีไม่เคยรู้จักกันได้ง่าย เพียงแต่โทรศัพท์หรือใช้อินเทอร์เน็ตเป็นส่ือในการติดต่อกัน หากใช้ในทางท่ีไม่เหมาะสมหรือคุยกับบุคคล ทไี่ ม่หวังดดี ้วย อาจก่อใหเ้ กดิ ปญั หาการถูกล่อลวงหรอื ปัญหาในทางไม่ดีอนื่ ๆ ตามมา วัฒนธรรมไทยให้ความสาคัญในเร่ืองความถูกต้องดีงามในเรือ่ งเพศ ซ่ึงเปน็ ส่งิ ท่ีสมาชิกในสังคมไทย ยึดถือปฏิบัติ รวมท้ังการอบรมสั่งสอนถ่ายทอดความเชื่อและค่านิยมสืบต่อกันมาทางสถาบันครอบครัว โดยมพี ่อแมเ่ ป็นผู้คอยสัง่ สอน อบรมชี้แนะลูกให้ยดึ ถือเป็นแนวปฏิบัติในการดารงชีวิต ดังสุภาษติ สอนหญิง ของสุนทรภทู่ วี่ ่า “จงรกั นวลสงวนงามห้ามใจไว้ อย่าหลงใหลจงจาคาที่พร่าสอน คิดถงึ หนา้ บดิ าและมารดร อย่ารบี รอ้ นเร็วนักมกั ไม่ดี เมอื่ สุกงอมหอมหวนจึงควรหล่น อย่กู บั ตน้ อย่าใหพ้ รากไปจากที่ อยา่ ชิงสกุ ก่อนห่ามไม่งามดี เมื่อบญุ มีคงจะมาอยา่ ปรารมภ์” ค่านยิ มทางเพศตามสงั คมและวฒั นธรรมตะวนั ตก ปัจจุบันวัฒนธรรมตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทและมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมทางสังคมของไทยมาก ข้ึน ท้ังน้ีเนื่องมาจากเทคโนโลยีและการส่ือสารท่ีก้าวหน้า รวดเร็ว ส่งผลทา ให้วัยรุ่นมีพฤติกรรม ลอกเลียนแบบ และดาเนินชีวิตตามวัฒนธรรมตะวันตก ซ่ึงวัฒนธรรมบางอย่างก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม มากมาย โดยเฉพาะการมพี ฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม การเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตกไม่ว่าจากสื่อโทรทัศน์ ภาพยนตร์ หนังสือ หรืออินเทอร์เน็ตก็ตาม ได้ทาให้ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามของสังคมไทยเปล่ียนไป ซ่ึงวัฒนธรรมบางอย่าง ส่งผลดี เช่น การกล้าแสดงความคิดเห็น ความขยัน และความทุ่มเทให้กับงาน การมองโลกในแง่บวก การมี แนวคิดทดี่ ีตา่ ง ๆ เป็นตน้ ในขณะท่ีวฒั นธรรมบางอย่างกลายเป็นตัวอยา่ งท่ีไม่ดี ไม่เหมาะสมกับวฒั นธรรมไทย จากพฤตกิ รรมวยั รุ่น เช่น เสรภี าพในการคบเพ่ือนตา่ งเพศ ซ่ึงบางคร้ังมีพฤติกรรมเส่ียงตอ่ การมีเพศสัมพนั ธ์ การถูกเนื้อต้องตัวระหว่างชายกับหญิงมีมากขึ้น พฤติกรรมการแสดงออกทางเพศในที่สาธารณะ เช่น การโอบกอด การแต่งกายท่ีล่อแหลม กิริยามารยาทท่ีไม่เรียบร้อย การแสดงออกอย่างเปิดเผยในเรื่องเพศ หรือการทวี่ ัยรุ่นหญิงบางคนตามจบี ผูช้ าย เปน็ ต้น อทิ ธิพลของวัฒนธรรมตะวนั ตกที่มตี ่อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุน่ ในสังคมไทย พอจะสรุปได้ ดงั น้ี (1) ปัญหาเร่ืองเพศ เช่น การคบเพ่ือนต่างเพศอย่างไม่เหมาะสม การออกเที่ยวกลางคืนกับ เพ่ือนต่างเพศ การแต่งกายดึงดูดเพศตรงข้าม เปิดเผยให้เห็นของสงวนมากเกินไป การมีเพศสัมพันธ์ก่อน แต่งงาน เปน็ ตน้ 201
(2) ปัญหาสังคม เช่น การม่ัวสุมกัน ในสถานเริงรมย์ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การ ทาแทง้ การใชส้ ารเสพติด เป็นต้น ดังนั้น เม่ือไม่อาจสกัดก้ันวัฒนธรรม ต่าง ๆ ที่แพร่กระจายเข้ามาได้ จึงควรเลือกและ สร้างค่านิยมในเรื่องเพศที่เหมาะสมกับสภาพ สังคมไทย เชน่ ลด ละ เลกิ การเที่ยวสถานบริการ ทางเพศ ไม่สาส่อนทางเพศ ไม่คบเพ่ือนต่างเพศ โดยไม่เลือกหน้า ฝ่ายชายแสดงความเป็ น สุภาพบุรุษให้เกียรติไม่ล่วงเกินสุภาพสตรี เป็นต้น ค่านยิ มทางเพศตามสังคมและวฒั นธรรมท้องถิน่ สังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นจะค่อนข้างยึดถือขนบธรรมเนียมและประเพณีอย่างเคร่งครัด โดยถ่ายทอดจากคนแต่ละรุ่นสืบต่อ ๆ กันมา วัฒนธรรมท้องถ่ินชนบท เกิดจากระบบความเชื่อ ความศรัทธา ค่านิยมของบรรพบุรุษแต่ละรุ่นที่สืบต่อกันมา ซึ่งมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน นนั้ ๆ เชน่ หนุ่มสาวพลอดรักกนั ในวัดหรอื สถานทค่ี วรสักการบูชาถอื ว่าหา้ ม การแอ่วสาวจะไปล่วงเกนิ หญิง สาวไมไ่ ด้ จนกว่าหญิงสาวจะยนิ ยอม ซึง่ หมายความวา่ ได้เปน็ คู่รกั กนั แล้ว ที่มา : วริ ุจน์ เมืองมูล. คา่ นิยมทางเพศตามสงั คมและวฒั นธรรม. วันที่คน้ ขอ้ มลู 19 เมษายน 2560. เข้าถึงไดจ้ าก https://sites.google.com/site/.../kha-nim-thang-phes-tam-wathnthrrm-khxng-way-run 202
ใบความรู้ที่ 2 เรอ่ื ง เพศวิถีท่ีเปลยี่ นแปลงไป อคติและความลาเอียง อะไรเป็นสาเหตุ? “มนุษย์ท้ังหลายเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกัน ในเกียรติศักด์ิและสิทธิ ต่างมีเหตุผลและมโนธรรมและ ควรปฏิบัติ ต่อกันด้วยเจตนารมณ์แห่งภราดรภาพ” ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ท้ัง ๆ ท่ีมีอุดมการณ์ อันสูงส่งเช่นนี้ อคติและความลาเอียงก็ยังคงมีอยู่ทั่วไป ในโลก เร่อื งท่ีน่าเศร้านี้ไม่เพียงแสดงว่าเราอย่ใู นยุควิกฤติ แต่ยังแสดงถึงความไม่สมบูรณ์ของมนุษย์ด้วย (บทเพลง สรรเสรญิ 51:5) กระน้ันก็ดี สภาพการณ์ยังไม่สิ้นหวังเสีย ทีเดียว จริงอยู่เราไม่อาจขจัดความลาเอียงที่เห็นอยู่ทั่วไปได้ แต่เราพยายามถอนรากอคติท่ีอาจมีอยู่ในตัว เราได้ เป็นเร่ืองสาคัญที่ต้องยอมรับว่า ไม่ว่าใครก็อาจมีอคติได้ หนังสือการเข้าใจอคติและความลาเอียง (ภาษาองั กฤษ) กล่าววา่ “บางทีขอ้ สรปุ ทอ่ี าจถอื วา่ สาคัญท่ีสุดจากการค้นคว้าวจิ ัยเรื่องอคติ คอื (1) ในบรรดามนุษย์ที่มีความสามารถในการคดิ และพูดไม่มใี ครพ้นจากอคติได้ (2) บ่อยครงั้ การจะลดอคตติ อ้ งอาศยั ความมุ่งมนั่ และ (3) ถ้าตง้ั ใจจริง ๆ แล้วเร่ืองนก้ี ท็ าได้” มีการเรียกการศึกษาว่า “เคร่ืองมือที่มีประสิทธิภาพที่สุด” ในการต่อสู้กับอคติ ตัวอย่างเช่น การศึกษาที่ถูกต้องสามารถเปิดเผยสาเหตุของอคติและทาให้เราวิเคราะห์เจตคติที่แท้จริงของตัวเองได้ อยา่ งชดั เจนยงิ่ ขึ้น และชว่ ยเราให้สุขมุ รอบคอบเม่ือประสบอคติ รสู้ าเหตุ อคติเป็นเหตุให้ผู้คนบิดเบือน ตีความผิด ๆ หรือกระท่ังเพิกเฉยขอ้ เท็จจริงที่ไม่ตรงกับความคิดเดิม ของตน อคติอาจเร่ิมตน้ จากค่านิยมผดิ ๆ ของครอบครัวที่ดูไม่มีพิษมีภยั หรืออาจเกิดจากคนท่ีจงใจสง่ เสริม ทัศนะผิด ๆ เกี่ยวกับชนชาติอื่นหรือวัฒนธรรมอื่น นอกจากนั้นอคติอาจถูกกระตุ้นโดยลัทธิชาตินิยม หรือคาสอนเท็จทางศาสนา และอาจเป็นผลมาจากความหย่ิงทะนงด้วย ขณะที่คุณไตร่ตรองจุดต่าง ๆ ต่อไปน้ี และคิดถึงหลักการที่เก่ียวข้อง ซ่ึงมาจากคัมภีร์ไบเบิล ลองตรวจสอบเจตคติของตัวเองดูว่ามีอะไร ควรเปลย่ี นแปลงหรือไม่ เพศสมั พันธ์ทเี่ ปล่ียนไป ในที่น้ีเสนอการมองจากเพศสัมพันธ์คร้ังแรกของชายไทย โดยเปรียบเทียบจากการวิจัยระดับชาติ หลายชิ้นท่ีรวบรวมโดย นิ่มอนงค์ งามประภาสม (Ngamprapasom, 2001) ท่ีมีคา ถามว่า คู่นอนคนแรก ของคุณคอื ใคร คาตอบทใ่ี หเ้ ลอื กคอื ภรรยา พนักงานหญิงบรกิ าร เพ่อื นสนทิ และคนอ่ืนๆ การอ่านผลครัง้ นี้ 203
ผ้เู ขียนคานวณอายุผู้ตอบ ณ พ.ศ. 2553 เพ่อื ให้ความรู้สึกเป็นปจั จุบนั มากทีส่ ุด พบแบบแผนที่นา่ สนใจดงั นี้ ในรุ่นของชายสูงอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป คือ สัดส่วนมากกว่าคร่ึงหน่ึง มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกกับภรรยา ตนเอง แม้สัดส่วนของชายรุ่นถัดมาคืออายุ 46 - 60 ปี ยังคงมีสัดส่วนการมีเซ็กส์ครั้งแรกกับคู่ตนเองมากที่สุด แต่จานวนเปอร์เซ็นตล์ ดลงไปมาก คือ เหลือเพียงประมาณหน่ึงในสาม ขณะที่สัดสว่ นของผตู้ อบว่าคู่นอนคนแรก คือ หญิงบริการก็เพ่ิมตามมาติด ๆ ในสัดส่วนท่ีใกล้เคียงกัน แต่ในรุ่นอายุ 41 - 45 ปี กลับมีประสบการณ์ ทางเพศคร้ังแรกกับหญิงบริการมากท่ีสุด คือ ร้อยละ 43 และรุ่นน้องถัดมา คืออายุ 36 - 40 ปี ซึ่งเกิด ในช่วง พ.ศ. 2513 - 2517 เป็นรุ่นท่ีเร่ิมมีเซ็กส์ครั้งแรกกับเพ่ือนสนิทเป็นสัดส่วนสูงสุด (ร้อยละ 43) และ รุ่นที่อายุน้อยท่ีสุด (อายุ 31 - 35 ปี) สองในสาม (ร้อยละ 62) มีประสบการณ์ทางเพศครั้งแรกกับเพื่อน รอ้ ยละ 14 กับหญงิ บรกิ าร และรอ้ ยละ 2 กบั คูส่ มรสของตนเอง ทมี่ า: กฤตยา อาชวนิจกุล และกนกวรรณ ธราวรรณ, 2550. (ปรับจาก Ngamprapasom, 2001) น่าสังเกตว่า คาตอบ “คนอ่ืน ๆ” เพ่ิมสูงขึ้นเร่ือย ๆ ตามรุ่นอายุ โดยเฉพาะคนที่เกิดช่วงระหว่าง พ.ศ. 2513 - 2517 และ พ.ศ. 2518 - 2522 ตอบว่ามีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกกับ “คนอื่น ๆ” สูงถึง ร้อยละ 27 และร้อยละ 22 ตามลาดับ คาถามก็คือ เราจะตีความคนอ่ืน ๆ หรือแม้แต่ “เพื่อนสนิท” (ร้อยละ 62) อย่างไร? เช่น เป็นการมีเพศสัมพันธ์กับคนเพศเดียวกันหรือต่างเพศ นั่นคือการสารวจในลักษณะนี้ ยังคง วางอยู่ภายใต้วิธีคิดแบบรักต่างเพศอยู่ ทาให้ผลการศึกษาโน้มเอียงไปในทางการตอกย้า บรรทัด ฐาน ของรักต่างเพศค่อนข้างมาก และชี้ว่าการสารวจเร่ืองเพศท่ีผ่านมายังขาดความละเอียดอ่อน เร่ืองการรัก เพศเดยี วกัน ขณะเดยี วกนั กไ็ มอ่ าจให้ภาพการเปลยี่ นแปลงที่สะท้อนเรื่องความหลากหลายทางเพศ ความเปล่ียนแปลงท่ีชัดเจนในเร่ืองนี้ก็คือ ชายไทยเรียนรู้ประสบการณ์ทางเพศคร้ังแรกกับหญิง บริการและคู่สมรสของตนเองน้อยลงเรื่อย ๆ โดยที่ส่วนใหญ่มีเซ็กส์ครั้งแรกกับเพ่ือนหรือกิ๊ก เพศสัมพันธ์ ก่อนแต่งงาน และการอยู่ก่อนแต่งมีแนวโน้มจะเป็นบรรทัดฐานของคนวัยทางาน และหนุ่มสาวในวัยเรียน หนงั สอื (Yamarat, 2010) สะทอ้ นวา่ ความคิดเรื่องการรักษาพรหมจารียข์ องหญิงไทยไวจ้ นกว่าจะแตง่ งาน ผอ่ นคลายลงมาก และคาถา “รกั นวลสงวนตัว” ท่ีมีความหมายถึงใหม้ ีเซ็กส์เมื่อแต่งงาน กค็ ลายมนต์ในทาง ปฏบิ ัติลงมากเช่นกนั เพศวิถที างเลือกท่ีเปลี่ยนไปในความหลากหลายทางเพศ ก่อนอื่นขออธิบายถึงศัพท์ “ความหลากหลายทางเพศ (sexual diversities)” ซึ่งถูกใช้เป็นชื่อ เครือข่ายคนทางานเกี่ยวกับสิทธิของคนรักเพศเดียวกัน เมื่อกลางปี 2548 เพื่อให้หมายรวมถึงผู้มี เพศวิถีทางเลือกทุกแบบ ไม่ว่าจะเป็น ชายรักชาย หญิงรักหญิง เกย์คิง เกย์ควีน ควิง ทอม ดี้ กะเทย สาวประเภทสอง คนข้ามเพศ ตุ๊ด แต๊บ และ ฯลฯ รวมถึงผู้ท่ีรกั ต่างเพศด้วย แต่ภายหลังเครือข่ายดังกล่าว มีแนวโน้มท่ีจะใช้ศัพท์น้ีเรียกกลุ่ม LGBTI (lesbian, gay, bisexual, transgender, intersex) ว่าคือ กลุ่ม ผู้มีความหลากหลายทางเพศ สาหรับคาว่า “เพศวิถีทางเลือก” ผู้เขียนต้ังใจให้มีความหมายถึง เพศวิถีของ คนส่วนน้อย (sexual minorities) หรือหลายคนเรียกว่า “เพศที่สาม” ซ่ึงดารงอยู่ในสังคมไทยมาเน่ินนาน ดังปรากฏมีรูปจิตรกรรมฝาผนังของหญิงรักหญิงในวัดคงคาราม จังหวัดราชบุรี และในตานานไทยเก่าแก่ เรื่องกาเนิดมนุษย์ที่กล่าวว่า โลกประกอบด้วยสามเพศ : ผู้ชาย ผู้หญิง และกะเทย กะเทยในตานานมิใช่ ชายหรือหญิงที่ผิดปกติ กะเทยเป็นมนุษย์จาพวกหนึ่งที่แตกต่าง ซึ่งอาจมีร่างกายเป็นชายหรือหญิง แต่ด้วยเหตุที่สังคมไทยในอดีตหมาด ๆ ยังคงจัดกลุ่มคนเหล่าน้ีว่า “มีความผิดปกติทางเพศ” หรือ “เบ่ียงเบนทางเพศ” ทาให้ในอดตี คนกลุ่มน้มี ักต้องอยู่อย่างปกปดิ ไม่มกี ลุ่มองค์กรที่เป็นปากเสยี งของตนเอง 204
การควบคุมเร่ืองเพศวิถีในสังคมไทย ในการพิจารณาดวู ่าสงั คมไทยมีวิธกี ารควบคุมเรอ่ื งเพศวถิ ีอย่างไร เราสามารถวเิ คราะห์ผา่ นคาสอน ที่เป็นข้อห้ามปฏิบัติ และข้อสนับสนุนให้ทาโน่นทานี่เร่ืองเพศ หรือคือ don’t and do ในภาษาอังกฤษ ดังตัวอย่างที่ได้มาจากการที่ผู้เขียนทดลองนาเรื่องนี้แลกเปลี่ยนความเห็นกับคนทางานในสถานศึกษา เรื่องเพศศึกษา และผู้ปฏิบัติงานในองค์กรพัฒนาเอกชนที่ทางานด้านเอดส์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550 มากกวา่ 100 ข้อ ในทนี่ ยี้ กมาเพยี งอย่างละ 10 ตวั อยา่ ง ดังนี้ จงทา (do) รักนวลสงวนตัว รักเดียวใจเดียว อดเปรี้ยวไว้กินหวาน มี sex เม่ือพร้อม ทาตัวให้ เรียบร้อยแตง่ ตัวมิดชิด แต่งตัวให้ตรงเพศ เขา้ ตามตรอกออกตามประตู เร่ืองเพศเป็นเรื่องส่วนตัว จงพูดคุย กบั เพศตรงข้ามในท่ีเปดิ เผย อย่าทา (don’t) อย่าริรักในวัยเรียน อย่ามีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร อย่ามีเพศสัมพันธ์ก่อน แต่งงาน อย่าหมกมุ่นในเร่ืองเพศ อย่าแสดงออกว่ามีความต้องการทางเพศ อย่าชิงสุกก่อนห่าม อย่าให้ใคร ถกู เน้อื ต้องตวั อยา่ พดู คยุ เรอื่ งเพศเด็กไม่ควรรเู้ ร่อื งเพศ อยา่ มีเพศสัมพนั ธ์กับเพศเดยี วกนั ตัวอย่างทั้งหมดน้ีช้ีให้เห็นถึงภาคปฏิบัติการของคาสอนต่าง ๆ ท่ีควบคุมเร่ืองเพศ โดยใช้อานาจ ทางวฒั นธรรมเปน็ กลไกควบคุมผา่ นความคดิ เชิงจารตี ประเพณี หรือชดุ ความคิดตา่ ง ๆ ที่ส่งผ่านวาทกรรม แบบหลากหลายช่องทาง และสรา้ งวัฒนธรรมทางเพศสองมาตรฐานข้ึนมา นั่นคอื การใช้ความรู้ความเข้าใจ และค่านิยมตอ่ เร่ืองเพศวิถี ต่างชุดกันในการสั่งสอนผู้หญิงกับผู้ชาย โดยผู้ชายจะได้รับการปลูกฝงั เรอื่ งเพศ แบบหน่งึ และผู้หญิงจะถูกปลูกฝงั อีกแบบหน่ึง ความสัมพันธ์ระหว่างเพศและเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงานของวัยรุ่น ที่ระบุว่า ลูกผู้หญิงจะถูกพ่อแม่ ขัดเกลาให้รับรู้และเกรงกลัวอานาจทางเพศของผู้ชาย ผู้หญิงเกิดความรู้สึกด้อยกว่าผู้ชายในเร่ือง ความสัมพันธ์ทางเพศ รวมถึงเกิดความรู้สึกว่าตัวเองไม่สามารถปกป้องคุ้มครองตัวเองในเรื่องเพศได้ (นิมิต มั่งมีทรัพย์, 2542) แต่พลังอานาจของวาทกรรมเชิงจารีตน้ีก็อ่อนกาลังลงทุกวัน ดังที่กล่าวในข้างต้น แล้วว่า การมีเพศสัมพันธ์ของเยาวชนหนุ่มสาวก่อนการแต่งงาน ได้กลายเป็นบรรทัดฐานใหม่ของคน หนุ่มสาวส่วนใหญ่ในยุคนี้ไปแล้วสะท้อนว่า ทัศนคติท่ีว่าเรื่องเพศเป็นเร่ืองสกปรก เป็นเรื่องไม่ควรพูด และ ไม่ควรเรียนรู้ก่อนการแต่งงาน ก็ไม่เป็นจริงนักในปัจจุบัน (2554) ปรากฏการณ์ท่ีว่าน้ีทาให้เยาวชน ยุคปัจจุบันเหมือนเดินทางอยู่ระหว่างโลกสองโลก คือ โลกที่ยังสอนเรื่องเพศแบบจารีต และโลกที่สัมผัส จากเพ่อื นฝูง จากการโฆษณาและส่ือบนั เทงิ เรงิ รมย์ ท่ีเร่งกระตุ้นให้แสดงและเสพเรอ่ื งเพศ ไมว่ า่ จะเปน็ การ ปรุงแต่งเน้ือตัว จริตกิริยา และทักษะในเร่ืองเพศอย่างเต็มท่ี (กฤตยา อาชวนิจกุล และพริศรา แซ่ก้วย, 2551:89) อย่างไรก็ตาม หลังจากท่ีผู้เขียนทางานและเคล่ือนไหวเรื่องสุขภาวะทางเพศมามากกว่า 20 ปี ก็ได้ข้อสรุปว่า การควบคุมเพศวิถีอย่างเข้มข้นต่อผู้หญิงในสังคมไทย ยังคงมีบางมิติท่ีไม่เคยเปลี่ยนแปลงเลย อย่างน้อยก็ในรอบคร่ึงศตวรรษนี้ ปรากฏการณ์รูปธรรมที่จะขอยกมาอย่างสังเขป ณ ที่นี้ มีสองเรื่อง คือ ความรุนแรงทางเพศ และการทาแท้ง วิถีทางเพศของคนไทยที่เปล่ียนแปลงไปจากเดิม และท่ียังไม่ เปลี่ยนแปลงท่ีบรรยายมาทั้งหมดน้ี มีทั้งที่เป็นเรื่องด้านบวกและด้านลบ ผู้เขียนเป็นหน่ึงในฟันเฟือง ทท่ี างานขบั เคลื่อนเรือ่ งเพศวิถี เพศภาวะ และสทิ ธิอนามัยเจริญพันธุ์ มานานหลายสิบปี ปัจจุบันไดเ้ ขา้ รว่ ม กระแสสร้างสังคมทมี่ สี ุขภาวะทางเพศ และอยากชักชวนผอู้ า่ นไดเ้ ขา้ รว่ มดว้ ย เพือ่ ช่วยกนั ผลักดนั ใหเ้ กดิ (1) รฐั บาลทีต่ ระหนกั วา่ สขุ ภาวะทางเพศเป็นสิทธิพ้ืนฐาน (2) นโยบายและกฎหมายทค่ี มุ้ ครองสิทธิทางเพศ 205
(3) การใหก้ ารศึกษาเรอื่ งเพศศกึ ษารอบดา้ นท่ีเหมาะสมตลอดช่วงอายุ (4) โครงสร้างพ้ืนฐานที่เพียงพอต่อการให้บริการอนามัยเจริญพันธุ์และสุขภาพทางเพศ ทล่ี ะเอียดอ่อนและเปน็ มิตร (5) การวิจัยและระบบเฝ้าระวงั สขุ ภาวะทางเพศท่รี อบด้าน (6) สังคมทใ่ี ห้ความสาคัญต่อความหลากหลายทางเพศ หมายเหตุ : เรียบเรยี งจากงานของกฤตยา อาชวนิจกุล เรื่อง \"เพศวิถีท่ีกาลังเปล่ียนแปลงไปในสังคมไทย\" จาก การประชมุ วิชาการระดบั ชาติคร้ังที่ 7 \"ประชากรและสังคม 2554\" ท่มี า : หนงั สอื พิมพ์โพสตท์ เู ดย์ โดย ทมี ขา่ วในประเทศ ----------------------------------------------------------------- ที่มา : วันทค่ี ้นข้อมลู 19 เมษายน 2560. เขา้ ถึงได้จาก http://www.thaihealth.or.th/Content/18726 206
กจิ กรรมท่ี 23 ถอดรหสั ปรับใช้ สาระสาคญั เป็นการทบทวนส่ิงที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต ว่าตลอด การเรียนรู้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเร่ืองใดบ้าง เรื่องที่ได้เรียนรู้มีความสาคัญอย่างไร และสามารถบอกแนวทาง จากสง่ิ ท่ีได้เรียนรูไ้ ปปรบั ใชใ้ นชวี ิตอยา่ งไร ใหส้ ามารถดารงชีวิตได้อยา่ งมีสุขภาวะท่ีดี มีทกั ษะชีวติ ที่จาเป็น สามารถดารงชวี ิตได้อยา่ งเหมาะสมกับช่วงวยั สอดคล้องกบั โลกศตวรรษที่ 21 จุดประสงค์ เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียน 1. ทบทวนส่ิงที่ได้เรียนรูจ้ ากการกิจกรรมการเรียนร้เู พศวิถศี ึกษาและทักษะชีวติ 2. สามารถบอกแนวทางจากสิ่งทไ่ี ด้เรียนรไู้ ปปรับใช้ในชวี ิตได้ เนื้อหา 1. ความสาคญั ของการเรียนรูต้ อ่ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม 2. กระบวนการปรับเปลย่ี นพฤติกรรม ภาพรวมการจัดกิจกรรม กิจกรรมถอดรหัสปรับใช้ เป็นกิจกรรมสุดท้ายของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิต เพื่อให้ผู้เรียนได้ทบทวนส่ิงสาคัญที่ได้เรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนจากกลุ่ม และสามารถบอกแนวทางจากสิง่ ทีไ่ ดเ้ รียนรู้ไปปรบั ใช้ในชีวติ ของตนเองได้ สือ่ และอุปกรณ์ 1. กระดาษฟลปิ ชาร์ท 2. ปากกาเคมี 3. กระดาษกาว 4. เอกสารอา่ นประกอบสาหรับผ้จู ัดการเรยี นรู้ ขน้ั ตอนการจดั กิจกรรม 1. ผู้จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแต่ละคนได้คิดทบทวนถึงส่ิงท่ีได้เรียนรู้ตลอดระยะเวลาท่ีเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต โดยให้แต่ละคนนั่งนิ่ง ๆ เพื่อได้ทบทวนในใจ และแจก แผ่นกจิ กรรม “ถอดรหัส ปรบั ใช้” ใหแ้ ตล่ ะคนไดเ้ ขยี น โดยใช้เวลา 5 นาที 2. ผู้จัดการเรียนรู้แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 - 4 คน เพ่ือร่วมกันทากิจกรรม “เรื่องเล่า เร้าพลัง” ให้เวลา 10 นาที และเตรียมผู้ออกมานาเสนอ โดยให้แต่ละกลุ่มล้อมวงหันหน้าเข้าหากัน และให้ แต่ละคนบอกเล่าความร้สู ึกตอ่ สิ่งท่ไี ดเ้ รียนรู้ ในประเด็น ดงั นี้ สงิ่ ท่ไี ด้เรยี นรู้จากการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ส่งิ ทีไ่ ดเ้ รียนรู้มีความสาคัญอย่างไร สามารถนาสิ่งท่ีได้เรียนร้ไู ปใชใ้ นชีวิตของตนเองได้อยา่ งไรบา้ ง เมื่อหมดเวลาผู้จัดการเรียนรู้ให้แต่ละกลุ่มได้ออกมานาเสนอ โดยกลุ่มท่ีออกมานาเสนอหลังกลุ่มแรก จะตอ้ งนาเสนอเฉพาะประเดน็ ท่ีไม่ซ้ากบั กล่มุ แรกเท่าน้ัน และบันทึกคาตอบลงบนกระดาษฟลปิ ชาร์ท 208
3. ผู้จัดการเรียนรู้สรุปผลจากการนาเสนออีกครั้งหน่ึง และเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น เพม่ิ เติมไดห้ ลงั จากน้นั และผู้จัดการเรียนรู้ชวนคดิ ชวนคยุ ในประเด็นดังน้ี คิดว่าจะมีปัญหาหรืออุปสรรคอะไร หากเราจะนาส่ิงท่ีได้เรียนรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน จริง ๆ และจะจัดการกับปัญหาหรืออปุ สรรคนัน้ ได้อยา่ งไร เชน่ - หากกลับไปบอกคู่ของตนว่า เราจะใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ ผู้เรียน คิดวา่ คูข่ องตนจะมที ่าทีอย่างไร และหากค่ไู มเ่ ห็นด้วยจะมวี ิธกี ารส่ือสารอยา่ งไร การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมหรือสิ่งทีเ่ คยเชื่อ เคยทา คดิ วา่ ยากหรอื ง่าย เพราะเหตใุ ด เช่น - หากตอ้ งใช้ถงุ ยางอนามัยทกุ ครัง้ กบั ทกุ คนท่ีมีเพศสมั พนั ธ์ คิดวา่ ยากหรอื งา่ ย เพราะเหตุใด และจะทาอย่างไรใหส้ ามารถใช้ถงุ ยางอนามยั ได้ทุกครั้ง หมายเหตุ : ใหผ้ จู้ ดั การเรียนรู้ นาคาตอบจากแผ่นกจิ กรรมถอดรหสั ปรบั ใช้ ในชอ่ งการนาสง่ิ ท่ไี ด้ เรียนรูม้ าเป็นแนวทางในการต้ังคาถาม 4. ผู้จัดการเรียนรู้ขออาสาสมัคร 1 - 2 คน เพื่อออกมาเล่าว่าจะนาส่ิงท่ีได้เรียนรู้ไปใช้ในชีวิต หลังจากนอี้ ยา่ งไร และคิดว่าการเปล่ยี นแปลงในครั้งนี้ จะสง่ ผลอยา่ งไร 5. ผู้จัดการเรียนรู้สรุปการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียน ถึงความสาคัญของการเรียนรู้ คือ การรับรู้ ความเข้าใจ โดยเชื่อมโยงจากสิ่งที่รับรู้กับความรู้เดิมของเรา อันจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซ่งึ ถือเป็นส่งิ สาคญั ในการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล 1. แผ่นกจิ กรรม “ถอดรหสั ปรับใช้” 2. การแลกเปลยี่ นเรียนรูจ้ ากการระดมความคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะสาหรบั ผู้จดั การเรียนรู้ 1. ผู้จัดการเรยี นรคู้ วรเลอื กใชก้ ิจกรรมถอดรหัสปรับใช้ เปน็ กจิ กรรมสุดท้ายเนือ่ งจากเป็นกจิ กรรม ที่ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต เพื่อเชื่อมโยงส่ิงท่ีได้ เรยี นรูน้ าไปสู่การปรับใช้ในชวี ติ ของผู้เรียนได้ 2. ผู้จดั การเรยี นร้คู วรกระตนุ้ ผูเ้ รยี นดว้ ยคาถามชวนคิด ชวนคุย ถงึ ประโยชน์และความสาคญั ของ การนาความรทู้ ่ีไดร้ ับไปปฏิบัตใิ ห้เหมาะสม สอดคล้องกบั ความตอ้ งการและความพร้อมของแตล่ ะคน ข้อสรุปสาคญั จากการกจิ กรรม 1. การทบทวนส่ิงที่ได้เรียนรู้ทาให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญต่อส่ิงที่ได้เรียนรู้ เพื่อเน้นย้าการ รับรู้ ความเข้าใจ จะนาไปสกู่ ารเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรม 2. การบอกแนวทาง การนาไปใช้หลังจากการเรียนรู้เป็นการเชื่อมโยงส่ิงที่ได้เรียนรู้สู่การปฏิบตั ิจริง เพ่ือนาไปสู่การมีสุขภาวะท่ีดี มีทักษะชีวิตท่ีจาเป็น สามารถดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมกับช่วงวัย สอดคลอ้ งกบั โลกศตวรรษที่ 21 209
แผ่นกจิ กรรม “ถอดรหสั ปรบั ใช”้ สงิ่ ท่ไี ด้เรียนรู้ จะนาสง่ิ ท่ีไดเ้ รียนรไู้ ปใชอ้ ย่างไร ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ ................................................................................ 210
เอกสารอา่ นประกอบสาหรับผจู้ ดั การเรยี นรู้ ข้อคิดในเรือ่ งการจดั การเรยี นรู้ ผ้จู ัดการเรียนรู้ควรสร้างการเรียนรู้ให้แก่ผ้เู รียน โดยการกระตุ้น ให้ผู้เรียนนาสิ่งที่เป็นประสบการณ์ของผู้เรียน และการตั้งข้อสังเกต จากประสบการณ์ของผู้อ่ืนท่ีได้เคยพบเห็นมาผนวกกับความคิดเห็น และความรู้สึกของผู้เรียน และส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้จากการเห็น แบบอย่างของพฤติกรรม การกระทา ความแตกต่างหลากหลาย ทัศนะ และมุมมอง ท่ีมีต่อเร่ืองเดียวกัน จึงจะทาให้ผู้เรียนฝึกคิด เปรียบเทียบ แยกแยะส่ิงท่ีตนกระทาหรือเชื่อ กับความคิด ความเช่ือแบบอื่น ๆ จน สามารถเรยี นรู้และเข้าใจตนเองถ่องแทข้ ึน้ การเรียนรู้จะลึกซ้ึงย่ังยืนเพียงใด ขึ้นอยู่กับว่าผู้เรียนจะมีโอกาสได้คิด วิเคราะห์ ใคร่ครวญ และ เปรียบเทียบประสบการณ์ของตนกบั ผู้อ่ืน และคนเรามกั จะเรียนรไู้ ด้ลึกซึ้งมากขน้ึ เม่ือข้อมูลใหม่ ความคิดใหม่ และทักษะใหม่ ๆ เหลา่ นั้น สอดรับและตอบสนองต่อความต้องการหรือชว่ ยคล่ีคลายปัญหาที่ผู้เรียนเผชิญอยู่ ซ่งึ จะทาให้เกิดการลองนาไปใช้ และส่งผลตอบกลับใหเ้ ปน็ การเรยี นรใู้ หม่ได้ ตอ้ งไม่ลืมว่า การศึกษาในห้องเรียนเป็นเพียงส่วนหน่ึงของการเรยี นรู้เพื่อที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลง ตัวเองของผู้เรียนแต่ไม่ใช่ทั้งหมด การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมข้ึนอยู่กับปัจจัยและเงื่อนไขที่หลากหลาย เงื่อนไขบางอย่างต้องมีขึ้นก่อนท่ีบุคคลจะเปลี่ยนแปลงตนเอง อาทิเช่น ต้องมีความรู้ หรือทัศนะบางอย่าง ต่อเรื่องนั้นท่ีเอื้อต่อการเกิดพฤติกรรม นอกจากน้ันยังต้องอาศัยการเก้ือหนุนหรือการเข้าถึงของทรัพยากร อุปกรณ์ หรือบรกิ ารที่จาเป็นต่อการสรา้ งพฤติกรรมนน้ั และท่ีสาคัญต้องมีสิ่งแวดลอ้ มหรือบุคคลแวดล้อมท่ี คอยส่งเสรมิ ตอกย้าใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมโดยสมา่ เสมอ เป็นต้น กระบวนการปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม สังคม การทาพฤติกรรมใหมอ่ ย่างตอ่ เน่อื ง การลองทาพฤตกิ รรมใหม่ เกิดแรงจงู ใจท่จี ะทา ปรบั ความคดิ /มีทกั ษะ เกิดความร้/ู ความตระหนกั ไม่ตระหนกั บคุ คล 211
ข้อเตอื นใจเกยี่ วกบั กระบวนการเรียนรู้ของมนษุ ย์ 1. เราเรยี นร้ทู จี่ ะทาได้ ก็ตอ่ เม่อื ได้ลองลงมือทา 2. เราเรียนรทู้ ่จี ะทาสงิ่ นไ้ี ด้ กต็ ่อเม่อื ไดล้ องทาสงิ่ นี้ 3. เม่ือไม่พร้อมท่ีจะเรียน การเรียนรู้ก็ไม่เกิด การยัดเยียดให้เรียนโดยไม่พร้อมอาจเกิดผลร้าย มากกว่าผลดี 4. หากไม่มแี รงจูงใจ กอ็ าจไม่เกิดการเรยี นรู้ 5. ถ้าจะให้เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องมีปฏิกิริยาตอบรับกับสิ่งที่ผู้เรียนแสดงออกมา ในระหว่างการเรียนอย่างทนั ทว่ งที 6. หากสาระท่ีเรียนน้ันมีความหมายต่อผเู้ รียน การเรียนรู้ย่อมย่ังยนื กวา่ เรอื่ งราวทไี่ ม่มีความหมาย แก่ตัวผเู้ รียน 7. ถา้ ต้องการให้การเรียนรู้เกิดการนาไปปฏบิ ัติ ควรจดั วางการเรียนรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกับการนาไปใช้ ในชวี ิตจรงิ 8. ผู้เรียนจะสนองตอบต่อการเรียนรู้อย่างไรมักข้ึนอยู่กับว่าเขารับรู้เกี่ยวกับสถานการณ์นั้น ๆ อยา่ งไร 9. ผู้เรยี นจะสนองตอบกบั การเรยี นรูไ้ ดด้ ีเพียงไร ขึ้นอยกู่ บั บรรยากาศของการจดั การเรียนรู้น้นั ๆ 10. คนเรามักตอบสนอง โดยการแสดงออกตามสิ่งที่ตนกระทาได้ หรือเคยทาตามเงื่อนไข ทางกายภาพ ภูมิหลังท่ีตนมี และตามแรงกระตุ้นที่ได้รับในขณะน้นั I hear and I forget ฉันไดย้ ิน...จากน้ันกล็ มื (จาได้ 20 % จากท่ไี ด้ยิน) I see and I remember ฉนั ได้เห็น...จากน้นั กย็ งั จาได้ (จาได้ 50 %) I do and I understand ฉันได้ทา...และฉนั เกดิ ความเขา้ ใจ (จาได้ 80 %) (Confuscious) ทม่ี า : องคก์ ารแพธ. (2550). แนวคดิ ในการออกแบบการจดั การเรยี นรสู้ าหรบั ครูและผูป้ ฏิบตั งิ านด้านเพศศกึ ษาสาหรับ เยาวชน. 212
บรรณานกุ รม ชมุ าภรณ์ ฝาชยั ภมู .ิ 2559. เพศวิถศี ึกษา. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท ซีเอ็ดยเู คช่ัน จากดั มหาชน. มลู นธิ ิแพธทูเฮลท.์ 2551. คมู่ ือการจดั กระบวนการเรียนเพศศึกษา สาหรับนาเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2. พมิ พ์ครง้ั ที่ 3. กรุงเพทฯ: บรษิ ัท โกลเด้นไทม์ พรน้ิ ต้ิง จากัด. มูลนิธแิ พธทูเฮลท์. 2558. คมู่ ือการจัดกระบวนการเรียนเพศศกึ ษา สาหรบั นาเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3. พมิ พ์ครั้งท่ี 8. กรุงเพทฯ: บรษิ ัท โกลเดน้ ไทม์ พรน้ิ ต้ิง จากัด. มลู นธิ ิแพธทูเฮลท.์ 2558. คมู่ ือการจัดกระบวนการเรียนเพศศึกษา สาหรับนาเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4. พิมพ์ครง้ั ที่ 8. กรุงเพทฯ: บรษิ ัท โกลเดน้ ไทม์ พรนิ้ ติ้ง จากัด. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สอศ.). 2548. คู่มือการจดั กระบวนการเรียนรู้ “เพศศกึ ษา”. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั เอ็ดดูเท็กซ์ จากัด. สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (มปท). เรื่องเพศ เร่ืองชีวิต เรื่องของเรา คมู่ ือการจัดกิจกรรมการเรียนร้เู พศศกึ ษาสาหรับกลุ่มเป้าหมาย. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ดอกเบ้ีย. สานักอนามยั การเจรญิ พันธ์ กรมอนามัย. 2559. คูม่ ือการเรียนการสอน เร่ือง เพศศึกษาและทกั ษะชวี ิต พิมพค์ รง้ั ที่ 2. นนทบรุ ี: ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั . องคก์ ารแพธ (PATH). 2551. คู่มือการจดั กระบวนการเรยี นรเู้ พศศกึ ษา สาหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1. พิมพค์ ร้ังที่ 3. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท เออร์เจนท์ แทค จากัด. องค์การแพธ (PATH). 2551. คู่มอื การจดั กระบวนการเรียนรูเ้ พศศึกษา สาหรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5. พมิ พ์ครั้งท่ี 3. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท เออรเ์ จนท์ แทค จากดั . องค์การแพธ (PATH). 2551. คู่มือการจัดกระบวนการเรยี นรู้เพศศึกษา สาหรับนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6. พมิ พค์ รั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท เออรเ์ จนท์ แทค จากดั . 213
ภาคผนวก รูปแบบการจัดกจิ กรรม และผลการเรยี นร้ทู คี่ าดหวงั ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดย กาหนดการจดั กจิ กรรม จานวน 1 วัน, 2 วัน, 3 วนั ตวั อย่างกาหนดการจดั ค่ายเพศวถิ ีศกึ ษา กิจกรรม 1 วนั วตั ถปุ ระสงค์ 1. พฤติกรรมทางเพศทีป่ ลอดภยั และมีทักษะในการตัดสินใจทางเพศทถี่ ูกต้อง/ ตอ่ รอง 2. มีความเชอื่ มัน่ มัน่ ใจในภาพลักษณ์ของตนเอง 3. เพ่อื ให้นักศกึ ษามคี วามรเู้ รอื่ งเอดส์/ HIV วนั ท่ี 1 กจิ กรรม หมายเหตุ วัน เวลา 1. ต๊กุ ตาล้มลุก 08.30-09.00 น. (30 นาที) 2. บอกหน่อยอยากรู้ 09.00-10.00 น. (60 นาท)ี 3. ไม่เท่แต่เรา้ ใจ 10.00-11.00 น. (60 นาที) 4. ซองคาถาม 11.00-12.00 น. (60 นาท)ี พักรบั ประทานอาหารกลางวนั 12.00-13.00 น. (60 นาท)ี 5. ฉนั รกั เธอ เธอรักฉนั หรอื เรารักกนั 13.00-14.00 น. (60 นาที) 6. แลกน้า 14.00-15.00 น. (60 นาที) 7. ระดบั ความเสยี่ ง QQR 15.00-16.00 น. (60 นาท)ี 8. สรปุ ภาพรวมกิจกรรม (ถอดรหัสปรบั ใช้) 16.00-16.30 น. (30 นาที) หมายเหตุ : วิเคราะหก์ ลุม่ เป้าหมายและนาไปใช้ตามความเหมาะสมของวัตถปุ ระสงค์ในการจัดกจิ กรรม 214
ตวั อย่างกาหนดการจดั คา่ ยเพศวถิ ศี กึ ษา กิจกรรม 2 วนั วัตถุประสงค์ 1. พฤตกิ รรมทางเพศท่ปี ลอดภยั และมีทกั ษะในการตัดสนิ ใจทางเพศท่ีถูกต้อง/ต่อรอง 2. มีความเชื่อมนั่ มน่ั ใจในภาพลกั ษณข์ องตนเอง 3. เพือ่ ใหน้ กั ศกึ ษามคี วามรู้เรือ่ งเอดส์/ HIV 4. มีความรู้ ความเขา้ ใจและให้คาแนะนาแก่ผ้อู ่นื ในการปฏบิ ัติตน และดาเนินการตามกฎหมาย เม่อื เกดิ ทอ้ งไม่พร้อม 5. รแู้ ละเข้าใจบทบาทของสมาชิกในครอบครัว - ทางเลือก/ เมื่อท้องไม่พรอ้ ม - แหล่ง/ บคุ คล ให้คาปรึกษา - กฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ ง - Gender - ครอบครัว/ลกู 215
วันที่ 1 กจิ กรรม หมายเหตุ วนั เวลา 1. ตุก๊ ตาล้มลกุ 2. บอกหนอ่ ยอยากรู้ 08.30-09.00 น. 3. ไม่เท่แต่เรา้ ใจ 09.00-10.00 น. 4. วงจรชวี ิต 10.00-11.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน 11.00-12.00 น. 5. ซองคาถาม 12.00-13.00 น. 6. ฉันรักเธอ เธอรักฉนั หรือเรารกั กนั 13.00-14.00 น. 7. โลกแห่งความหลากหลาย 14.00-15.00 น. พักรบั ประทานอาหารเยน็ 15.00-16.00 น. ดูหนงั ทางรักทางเลือก 16.00-18.00 น. 18.00-20.00 น. Recap 1. No condom no sex 2. หมาก-คมิ วนั ท่ี 2 3. แลกนา้ 4. ระดบั ความเส่ยี ง QQR 08.30-09.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน 09.00-10.00 น. 5. เขียนชวี ิต 10.00-11.00 น. 6. ต่างคนต่างเหตผุ ล 11.00-12.00 น. 7. นบั จากวันนี้ 12.00-13.00 น. 8. สรุปภาพรวมกิจกรรม (ถอดรหสั ปรบั ใช้) 13.00-14.00 น. 14.00-15.00 น. 15.00-16.00 น. 16.00-16.30 น. หมายเหตุ : วเิ คราะห์กลุ่มเปา้ หมายและนาไปใชต้ ามความเหมาะสมของวัตถปุ ระสงค์ในการจดั กจิ กรรม 216
ตัวอย่างกาหนดการจัดคา่ ยเพศวถิ ศี ึกษา กจิ กรรม 3 วนั และ 3 วนั 2 คืน วัตถปุ ระสงค์ 1. พฤตกิ รรมทางเพศทปี่ ลอดภยั และมีทักษะในการตดั สนิ ใจทางเพศทีถ่ กู ตอ้ ง/ตอ่ รอง 2. มคี วามเช่ือมั่น มัน่ ใจในภาพลักษณ์ของตนเอง 3. เพือ่ ให้นกั ศกึ ษามคี วามร้เู รือ่ งเอดส์/HIV 4. มีความรู้ ความเขา้ ใจและให้คาแนะนาแก่ผ้อู นื่ ในการปฏิบตั ิตน และดาเนนิ การตามกฎหมาย เมอ่ื เกิดทอ้ ง ไมพ่ ร้อม 5. ร้แู ละเข้าใจบทบาทของสมาชกิ ในครอบครัว - ทางเลอื ก/ เม่ือท้องไมพ่ รอ้ ม - แหล่ง/ บุคคล ใหค้ าปรกึ ษา - กฎหมายทเี่ กย่ี วข้อง - Gender - ครอบครวั /ลกู 6. เรือ่ งสิทธิและกฎหมาย วันที่ 1 กจิ กรรม หมายเหตุ วนั เวลา 1. ตกุ๊ ตาล้มลุก 08.30-09.00 น. 2. บอกหนอ่ ยอยากรู้ 09.00-10.00 น. 3. ไม่เท่แต่เร้าใจ 10.00-11.00 น. 4. วงจรชีวิต 11.00-12.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั 12.00-13.00 น. 5. ซองคาถาม 13.00-14.00 น. 6. ฉนั รักเธอ เธอรกั ฉนั หรือเรารกั กัน 14.00-15.00 น. 7. โลกแหง่ ความหลากหลาย 15.00-16.00 น. พักรบั ประทานเย็น 16.00-18.00 น. ดหู นัง ทางรกั ทางเลอื ก 18.00-20.00 น. 217
วนั ท่ี 2 กิจกรรม หมายเหตุ วนั เวลา Recap 1. No condom no sex 08.30-09.00 น. 2. หมาก-คมิ 09.00-10.00 น. 3. แลกน้า 10.00-11.00 น. 4. ระดบั ความเสีย่ ง QQR 11.00-12.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 12.00-13.00 น. 5. ปยุ ฝา้ ย 13.00-14.00 น. 6. ใบอนุญาตการเปน็ พอ่ แม่ 14.00-15.00 น. 7. เขียนชีวติ 15.00-16.00 น. 8. สรปุ ภาพรวมกจิ กรรม 16.00-16.30 น. พักรบั ประทานอาหารเยน็ 16.30-18.00 น. 9. สมั พันธภาพ/role play 18.00-19.00 น. 10. รวมมิตร 19.00-20.00 น. กจิ กรรม หมายเหตุ วันท่ี 3 Recap 1. เนื้อตัวร่างกาย วัน เวลา 2. ปากต่อปาก 08.30-09.00 น. 3. หลากรสหลายแบบ 09.00-10.00 น. 4. ตา่ งคน ต่างเหตุผล 10.00-11.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวนั 11.00-12.00 น. 5. ทเี ล่น ทจี ริง 12.00-13.00 น. 6. ปัญหาเรื่องเพศปรกึ ษาใครดี 13.00-14.00 น. 7. สรุปภาพรวมกจิ กรรม (ถอดรหัสปรบั ใช้) 14.00-15.00 น. 15.00-16.30 น. หมายเหตุ : วิเคราะห์กลุ่มเปา้ หมายและนาไปใช้ตามความเหมาะสมของวตั ถปุ ระสงค์ในการจัดกิจกรรม 218
หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง แหลง่ ขอ้ มูลเพศศึกษา เอดส์ และหนว่ ยงานบริการสาหรบั เดก็ และเยาวชน รายช่อื หนว่ ยงานให้บริการปรกึ ษาและบรกิ ารตา่ ง ๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ปรกึ ษาดา้ นกฎหมาย ศูนยบ์ ริการประชาชน กระทรวงยตุ ิธรรม เคาน์เตอร์เซอร์วสิ บริเวณชนั้ ลอย อาคารกระทรวงยุตธิ รรม ๙๙ ถ.แจ้งวัฒนะ ต.คลองเกลอื อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ๑๑๑๒๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๕๐๒-๐๘๐๐ บริการตลอด ๒๔ ชว่ั โมง หรอื เขยี นจดหมายรอ้ งเรียนสง่ ไปท่ี ตู้ ปณ.๓๒ ปณจ.หลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ สมาคมบณั ฑติ สตรีทางกฎหมายแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ ถ.สุโขทยั เขตดุสิต กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๔๑-๐๗๓๗ (จนั ทร์-ศุกร์ ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.) สมาคมบณั ฑติ สตรีทางกฎหมายแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถมั ภ์ ถ.สุโขทยั เขตดุสติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๔๑-๐๗๓๗ (จนั ทร์-ศกุ ร์ ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.) สภาทนายความแหง่ ประเทศไทย เลขท่ี ๗/๘๙ อาคาร ๑๐ ถ.ราชดาเนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรงุ เทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๖๒๙-๑๔๓๐ กด ๒ (เวลาราชการ) ศนู ยป์ รกึ ษาปัญหากฎหมายทางโทรศัพท์ สานักงานค้มุ ครองสทิ ธแิ ละช่วยเหลือทางกฎหมายแกป่ ระชาชน สานกั งานอัยการสูงสดุ ถ.รัชดาภเิ ษก แขวงจตุจกั ร เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศพั ท์ ๑๑๕๗ (เวลาราชการ ไมพ่ กั เท่ียง) ๐-๒๕๑๕-๔๐๔๒ มูลนธิ ทิ องใบ ทองเปาด์ ๑๕/๑๓๘-๑๓๙ ซ.เสือใหญอ่ ุทิศ ถ.รัชดาภเิ ษก เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๔๑-๖๔๑๖, ๐-๒๕๔๑-๖๕๖๘ (เวลาราชการ) 219
ปรึกษาปญั หาครอบครัว เด็ก วยั รนุ่ สขุ ภาพอนามยั ท่วั ไป สถาบันสุขภาพจติ เด็กและวัยรนุ่ ราชนครนิ ทร์ ๗๕/๑ ถ.พระราม ๖ (ตรงข้าม รพ.รามาธิบดี) แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ บรกิ ารปรกึ ษา โทรศัพท์ ๐-๒๓๕๔-๘๓๐๐ (เวลาราชการ) Teenline โทรศพั ท์ ๐๘-๑๙๒๐-๒๕๒๑ (๑๖.๓๐-๐๘.๐๐ น.) Hotline วัยรนุ่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี โรงพยาบาลรามาธบิ ดี ถ.พระราม ๖ เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๗๐๕๓-๕๕๐๐ (ตลอด ๒๔ ชว่ั โมง) คลินกิ เพอื่ นใจวยั ทนี สถาบันสุขภาพเดก็ แหง่ ชาติมหาราชนิ ี โรงพยาบาลเดก็ ชนั้ ๓ ถ.ราชวถิ ี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๓๕๔-๘๓๓๓-๔๔ ต่อ ๒๓๒๕ (เวลาราชการ) ศูนย์พึ่งได้ : ชว่ ยเหลือเดก็ หญิงชายถูกทาร้ายทางกายและทางเพศ สถาบันสขุ ภาพเด็กแห่งชาตมิ หาราชินี ถ.ราชวิถี เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๓๕๔-๘๓๓๓-๔๔ ต่อ ๒๒๓๑, ๒๓๑๔ และ ๐-๒๓๕๔-๘๒๙๙ (เวลาราชการ) คลนิ ิกวัยร่นุ ศิริราช ๒ ถ.พรานนก แขวงศริ ิราช เขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๔๑๙-๗๐๐๐ ตอ่ ๕๙๙๖ (จันทร์-ศกุ ร์ ๐๘.๐๐-๑๖.๐๐ น.) สถาบันกัลยาราชนครนิ ทร์ กรมสขุ ภาพจติ ถ.พทุ ธมณฑลสาย ๔ เขตทวีวฒั นา กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐ โทรศัพท์ ๐-๒๘๘๙-๙๑๙๑ (ตลอด ๑๔ ชัว่ โมง) ศนู ยว์ จิ ัยและพฒั นาเพศศาสตร์ศกึ ษา สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย อาคารสถาบัน ๒ ซ.จุฬา ๖๒ ถ.พญาไท เขตปทุมวนั กรงุ เทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๑๘-๘๔๓๔-๕ (จนั ทร์-ศุกร์ ๐๙.๐๐-๑๕.๓๐ น.) มลู นธิ ศิ นู ย์ฮอตไลน์ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๗๗-๗๖๙๙, ๐-๒๒๗๗-๘๘๑๑ (จนั ทร์-ศุกร์ ๐๙.๐๐-๑๘.๐๐ น.) ๑๙๐๐-๑๑๑-๑๑๗, ๑๙๐๐-๑๑๑-๑๗๕ (ตลอด ๒๔ ชว่ั โมง) 220
โรงพยาบาลราชวถิ ี – ปรกึ ษาสุขภาพทว่ั ไป ๒ ถ.พญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๓๕๔-๘๑๖๔, ๐-๒๖๔๔-๗๐๐๐-๑๓ ตอ่ ๒๖๐๗ (จันทร์-ศุกร์ ๐๘.๓๐-๑๖.๐๐ น.) ศูนย์ประชาบดี กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ๑๐๓๔ ถ.กรุงเกษม แขวงมหานาค เขตปอ้ มปราบศัตรพู ่าย กรงุ เทพฯ ๑๐๑๐๐ โทรศพั ท์ ๑๓๐๐ (ตลอด ๒๔ ชั่งโมง) กองสังคมสงเคราะห์ สานกั สวสั ดกิ ารสงั คม กรุงเทพมหานคร โทรศพั ท์ ๐-๒๒๔๗-๘๑๘๔ คลนิ กิ กามโรค โรงพยาบาลบางรกั ๑๘๙ ถ.สาธรใต้ เขตสาธร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๘๖-๐๔๓๑, ๐-๒๒๘๖-๐๖๐๘ นนทบุรี โรงพยาบาลศรธี ญั ญา ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๕๒๖-๓๓๔๒ (เวลาราชการ) สานกั พฒั นาสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ ถ.ตวิ านนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรุ ี ๑๑๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๕๒๕-๒๙๗๙, ๐-๒๕๒๗-๐๒๘๘-๙๙ ตอ่ ๘๒๐๘-๙ สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ถ.ตวิ านนท์ ต.ตลาดขวญั อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๙๐-๔๑๒๑, ๐-๒๕๙๐-๔๔๔๗ กองวางแผนครอบครัวและประชากร กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวญั อ.เมอื ง จ.นนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๕๙๐-๔๑๖๙ 221
นครปฐม สถาบนั แหง่ ชาตเิ พ่ือการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลยั มหิดล ถ.พุทธมณฑลสาย ๔ อ.พทุ ธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๔๑-๐๖๐๖-๙ นครสวรรค์ โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ ราชนครินทร์ ๒ หมทู่ ่ี ๔ ต.ทา่ น้าออ้ ย อ.พยุหะครี ี จ.นครสวรรค์ ๖๐๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๕๖-๒๖๗-๒๘๐ (เวลาราชการ), ๐๕๖-๒๖๗-๒๗๙ (นอกเวลาราชการทกุ วนั ) โรงพยาบาลสวรรคป์ ระชารักษ์ ๔๓ ถ.อรรถกวี ต.ปากนา้ โพ อ.เมอื ง จ.นครสวรรค์ ๖๐๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๕๖-๒๒๘-๖๘๗ ต่อ ๕๒๐๒ (เวลาราชการ) เชยี งใหม่ โรงพยาบาลสวนปรงุ ๑๓๑ ถ.ช่างหลอ่ ต.หายยา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ๕๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๕๓-๒๗๖-๗๕๐ (ตลอด ๒๔ ช่วั โมง) สถาบนั พฒั นาการเดก็ ราชนครนิ ทร์ ถ.พฒั นาการ ต.ดอนแก้ว อ.แมร่ ิม จ.เชียงใหม่ ๕๐๑๘๐ โทรศัพท์ ๐๕๓-๘๙๐-๒๔๕ (ตลอด ๒๔ ชวั่ โมง) สุราษฎรธ์ านี โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ ถ.พนุ พิน ต.ท่าข้าม อ.พนุ พนิ จ.สรุ าษฎร์ธานี ๘๔๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๗๗-๓๑๒-๑๔๖ (ตลอด ๒๔ ชั่วโมง) โรงพยาบาลสรุ าษฎรธ์ านี ถ.ศรวี ิชยั ต.มะขามเตยี้ อ.เมอื ง จ.สรุ าษฎร์ธานี ๘๔๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๗๗-๒๗๒-๒๓๑ ต่อ ๒๐๕๓, ๒๐๕๔ (เวลาราชการ) สงขลา โรงพยาบาลจิตเวชสงขลานครินทร์ ถ.ไทรบุรี อ.เมือง จ.สงขลา ๙๐๐๐๐ โทรศพั ท์ ๑๓๒๓ (ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง) 222
อุบลราชธานี โรงพยาบาลพระศรมี หาโพธ์ิ ๒๑๒ ถ.แจง้ สนิท อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี ๓๔๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๕-๒๘๑-๐๔๘ (ตลอด ๒๔ ชว่ั โมง) ๐๔๕-๓๑๓-๕๕๐, ๐๔๕-๓๑๕-๐๖๐ (เวลาราชการ) โครงการเพ่อื นวยั ใสเขา้ ใจเอดส์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี ต.เมืองศรไี ค อ.วารินชาราบ จ.อบุ ลราชธานี ๓๔๑๙๐ โทรศพั ท์ ๐๔๕-๒๘๘-๕๒๓ (เวลาราชการ) นครราชสีมา โรงพยาบาลจติ เวชนครราชสีมาราชนครินทร์ ถ.ชา้ งเผือก ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสีมา ๓๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๔-๓๔๒-๖๘๘ (เวลาราชการ) โรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา ถ.ช้างเผือก ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสีมา ๓๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๔-๒๓๕-๐๕๒ (เวลาราชการ) ขอนแก่น โรงพยาบาลจติ เวชขอนแกน่ ราชนครินทร์ ถ.ชาตะผดงุ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ ๔๐๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๔๓-๒๒๗-๔๒๒ ตอ่ ๒๓๑๔ (ตลอด ๒๔ ชวั่ โมง) นครพนม โรงพยาบาลจติ เวชนครพนม ถ.นครพนม-ท่าอุเทน ต.อาจสามารถ อ.เมอื ง จ.นครพนม ๔๘๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๔๒-๕๙๓-๑๓๖ (เวลาราชการ) ๐๔๒-๕๙๓-๑๑๐-๑๒ (นอกเวลาราชการทกุ วนั ) เลย โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์ หมูท่ ่ี ๔ ต.นาอาน อ.เมอื ง จ.เลย ๔๒๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๒-๘๑๔-๘๙๓ (ตลอด ๒๔ ช่วั โมง) 223
ปรกึ ษาปญั หาดา้ นสทิ ธผิ หู้ ญิง และเดก็ กองคุ้มครองสวัสดกิ ารแรงงานเดก็ โทรศัพท์ ๑๕๔๖ มลู นิธิปวณี า หงสกุล เพ่อื เด็กและสตี ๘๔/๑๔ ถ.รังสิต-นครนายก (คลอง ๗) ต.ผักกดู อ.ธัญบรุ ี จ.ปทมุ ธานี ๑๐๑๒๐ หรือที่ ตู้ ปณ. ๒๒๒ ธัญบุรี โทรศพั ท์ ๑๑๓๔ (เฉพาะกรงุ เทพฯ และปรมิ ณฑล) ๐-๒๕๗๗-๐๕๐๐-๑, ๐-๒๕๗๗-๐๔๓๖-๘ (จนั ทร์-ศกุ ร์ ๐๙.๐๐-๑๘.๐๐ น.) มูลนิธผิ ูห้ ญิง ๒๙๕ ซ.จรญั สนิทวงศ์ ๖๒ เขตบางพลดั กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๓๓-๕๑๔๙, ๐-๒๔๓๕-๑๒๔๖ (จนั ทร์-ศุกร์ ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.) มูลนธิ ิศนู ย์พิทกั ษ์สิทธเิ ด็ก ๑๘๕/๑๖ ถ.จรัญสนิทวงศ์ ๑๒ แขวงทา่ พระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ ๑๐๖๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๑๒-๑๑๙๖, ๐-๒๔๑๒-๐๗๓๙ (จนั ทร์-ศกุ ร์ ๐๙.๐๐ – ๑๗.๐๐ น.) ปรกึ ษาปัญหาดา้ นยาเสพตดิ บา้ นอบอนุ่ ใจ ๓๒/๑๒ หม่บู ้านพฤกษชาติ ซ.๓๒ ถ.สขุ าภิบาล ๓ แขวงสะพานสงู เขตบึงกุ่ม กรงุ เทพฯ ๑๐๒๔๐ โทรศัพท์ ๐-๒๓๗๓-๘๓๗๕ (เวลาราชการ) มูลนธิ ิกลุ่มแสงเทยี น ๕๔๗ วัดบางไสไ้ ก่ ซ.วทิ ยาลัยครบู ้านสมเดจ็ ฯ ถ.อิสรภาพ แขวงหริ ญั รจู ิ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ ๑๐๖๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๖๕-๖๑๖๕, ๐-๒๔๗๒-๔๒๑๒ (เวลาราชการ) เครือขา่ ยผใู้ ช้ยา ประเทศไทย ๒๐๕/๘ ซ.ชัยเกยี รติ ๑ ถ.งามวงศ์วาน แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศัพท์ ๐-๒๙๕๔-๐๘๗๑ (เวลาราชการ) เชยี งราย บ้านฟนื้ ฟผู ตู้ ิดยาเสพตดิ และสงเคราะหค์ นยากจน ๙๕/๗ หมู่ ๑ ต.แม่สลอก อ.แมฟ่ ้าหลวง จ.เชยี งราย ๕๗๑๑๐ โทรศัพท์ ๐๕๓-๗๖๕-๓๘๖ (ตลอด ๒๔ ชวั่ โมง), ๐๘-๖๑๙๕-๒๒๕๑ 224
ชลบุรี บา้ นสันติสขุ ๗๗ ต.หา้ งสงู อ.หนองใหญ่ จ.ชลบรุ ี ๒๐๑๙๐ โทรศพั ท์ ๐๓๘-๒๑๙-๒๔๑ ปรึกษาด้านวางแผนครอบครวั คลนิ กิ ของสมาคมวางแผนครอบครวั แห่งประเทศไทย (สวท) คลนิ กิ สวท เวชกรรม บางเขน ๘ ซ.วิภาวดรี ังสิต ๔๔ ถ.วภิ าวดรี งั สิต แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๙๔๑-๒๓๒๐ ตอ่ ๑๘๑, ๑๘๒ (เวลาราชการ) คลินิก สวท เวชกรรม ดินแดง ๒/๑๑-๑๓ อาคารพาณชิ ย์ ๑ ถ.ประชาสงเคราะห์ เขตดนิ แดง กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๔๕-๑๘๘๘, ๐-๒๒๔๕-๗๓๘๒-๕ (เวลาราชการ) คลินกิ สวท เวชกรรม ปิ่นเกล้า ๓/๒๐-๒๑ ถ.อรุณอมั รนิ ทร์ แขวงอรณุ อมั รินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๓๓-๙๐๗๗ (เวลาราชการ) คลนิ ิก สวท.เวชกรรม หาดใหญ่ ๒๔๐-๒๔๒ ถ.นพิ ทั ธอ์ ทุ ศิ ๓ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ๙๐๑๑๐ โทรศพั ท์ ๐๗๔-๒๔๖-๓๔๓ (เวลาราชการ) คลนิ ิก สวท เวชกรรม ขอนแกน่ ๗๕๒-๗๕๔ ถ.ศรจี นั ทร์ อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ ๔๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๓-๒๒๓-๖๒๗ (เวลาราชการ) คลินกิ สวท เวชกรรม เชยี งใหม่ ๒๐๐/๓ ถ.บารงุ ราษฎร์ อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่ ๕๐๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๕๓-๒๔๖-๓๔๗ (เวลาราชการ) คลนิ กิ สวท เวชกรรม อุบลราชธานี ๑๕๔-๑๕๖ ถ.ศรณี รงค์ อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี ๓๔๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๕-๒๔๓-๓๘๐ (เวลาราชการ) สมาคมพฒั นาประชากรและชุมชน (PDA) ๖ สขุ ุมวิท ๑๒ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๒๙-๔๖๑๑-๒๘ ต่อ ๕๑๐, ๕๑๒, ๕๒๔, ๕๒๖ (จันทร์-ศกุ ร์ ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.) 225
สมาคมสขุ ภาพจติ แหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์ ๓๕๖/๑๐ ถ.ศรอี ยธุ ยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๒๔๗-๙๒๙๒, ๐-๒๒๔๕-๒๗๓๓ (เวลาราชการ) ปรึกษา/ชว่ ยเหลอื ผหู้ ญิงที่ทอ้ งเมอ่ื ไมพ่ รอ้ ม บา้ นพักฉุกเฉิน สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีฯ ๕๐๑/๑ ถ.เดชะตุงคะ เขตดอนเมอื ง กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๙๒๙-๒๒๒๒ (ตลอด ๒๔ ชัว่ โมง) สหทัยมูลนิธิ ๘๕๐/๓๓ ถ.สุขมุ วิท ๗๑ เขตวฒั นา กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๓๘๖-๘๘๓๔-๖, ๐-๒๓๘๑-๑๓๑๘, ๐-๒๓๙๒-๙๓๙๗ (จันทร์-ศุกร์ ๐๘.๓๐-๑๗.๐๐ น.) บา้ นพระคณุ ๑๕/๔๒๕ หมูบ่ ้านกัลยาเฮา้ ส์ ซ.๒ ถ.สขุ มุ วิท ๑๐๗ ต.สาโรงเหนอื อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐-๒๗๕๙-๗๒๐๑, ๐-๒๗๕๙-๑๒๓๘ (จนั ทร์-ศกุ ร์ ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น.) บา้ นสายสัมพนั ธ์ เสถียรธรรมสถาน เสถยี รธรรมสถาน ซ.วชั รพล ถ.รามอินทรา เขตลาดพร้าว กรงุ เทพฯ ๑๐๒๓๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๐๙-๐๐๘๕, ๐-๒๕๑๐-๖๖๙๗ (ทุกวัน ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น.) มลู นิธผิ ู้หญงิ ๒๙๕ ซ.จรญั สนทิ วงศ์ ๖๒ เขตบางพลดั กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๔๓๓-๕๑๔๙, ๐-๒๔๓๕-๑๒๔๖ (จันทร์-ศุกร์ ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.) มูลนิธเิ พื่อนหญิง ๓๘๖/๖๑-๖๒ ซ.รชั ดาภเิ ษก ๔๒ (ซ.เฉลิมสุข) ถ.รชั ดาภเิ ษก แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ ๑๐๙๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๑๓-๒๗๐๘, ๐-๒๕๑๓-๑๐๐๑ (จันทร์-ศุกร์ ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น.) ปรึกษาดา้ นเอชไอวี/เอดส์ ชมรมเพือ่ นวันพุธ ศูนย์วิจยั โรคเอดส์ สภากาชาดไทย ๑๐๔ อาคาร ๒ ชั้น ๑ ถ.ราชดาริ แขวงปทมุ วนั เขตปทุมวัน กรงุ เทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๕๓-๒๖๖๖, ๐-๒๒๕๕-๗๘๙๓ (จนั ทร์-ศุกร์ ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.) 226
คลินิกนริ นาม สภากาชาดไทย ๑๘๗๓ ถ.พระราม ๔ แขวงปทุมวนั เขตปทมุ วัน กรงุ เทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๕๖-๔๑๐๗-๙ ต่อ ๒๐๗ (จนั ทร์-ศุกร์ ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.) ศนู ยว์ จิ ัยโรคเอดส์ (ถามปญั หา รักษาเอดส์) โทรศัพท์ ๑๖๖๓ มลู นธิ เิ ขา้ ถึงเอดส์ ๔๘/๒๘๒ โครงการเซ็นเตอร์เพลส ถ.รามคาแหง (สุขาภิบาล ๓) สะพานสูง กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๓๗๒-๒๒๒๒ (ทกุ วัน ๑๐.๐๐-๒๐.๐๐ น.) สมาคมแนวรว่ มภาคธุรกจิ ไทยต้านภัยเอดส์ ๓๕๑/๒๕ หม่บู ้านพระรามเกา้ วิลล์ ถ.พระราม ๙ ซ.๑๑ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๗๑๖-๘๗๕๐-๗ (จันทร์-ศุกร์ ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น.) ๑๖๔๕ สายดว่ นใหค้ วามรู้/ให้คาปรกึ ษาเรอื่ งเอดส์ ๒๔ ช่ัวโมง มลู นธิ ศิ นู ย์คุ้มครองสทิ ธิด้านเอดส์ ๑๓๓/๒๓๕ หมูบ่ า้ นรืน่ ฤดี ๓ ถ.หทัยราษฎร์ แขวงมนี บรุ ี เขตมนี บุรี กรุงเทพฯ ๑๐๕๑๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๑๗๑-๕๑๓๕-๖ (จันทร์-ศุกร์ ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น.) สายดว่ นเอดสแ์ ละวคั ซีน โทรศัพท์ ๐-๒๓๗๒-๓๒๘๙ (เวลาราชการ) มลู นธิ ศิ ูนย์ฮอตไลน์ ปรกึ ษาปัญหาโรคเอดส์ โทรฟรีทว่ั ประเทศ โทรศัพท์ ๐--๒๒๗๗-๘๘๑๑, ๐-๒๒๗๗-๗๖๙๙ (จันทร์-ศกุ ร์ ๐๙.๐๐-๑๘.๐๐ น.) ๑๙๐๐-๑๑๑-๑๑๗, ๑๙๐๐-๑๑๑-๑๗๕ (ตลอด ๒๔ ชั่วโมง) บ้านพกั ใจ ๓๕๓/๒๒-๒๔ ซ.ข้างธนาคารกสิกรไทย สะพานใหม่ ถ.พหลโยธนิ เขตบางเขน กรุงเทพฯ ๑๐๒๒๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๕๑-๓๒๕๔ (จันทร์-ศุกร์ ๐๘.๐๐-๑๖.๐๐ น.) องคก์ รหมอไร้พรมแดน-เบลเยยี่ ม ปรกึ ษาการดแู ลสขุ ภาพผู้ติดเช้ือเอชไอวแี ละผ้ปู ว่ ยเอดส์ ๕๒๒ หมบู่ า้ นนครไทย ๑๔ ซ.ลาดพรา้ ว ๑๐๑/๑ ถ.ลาดพร้าว เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๓๗๐-๓๐๘๗-๙๐ (จันทร์-ศุกร์ ๐๙.๐๐-๑๘.๐๐ น.) 227
สถาบันสขุ ภาพเด็กแหง่ ชาติมหาราชินี ปรกึ ษาการดูแลสุขภาพเด็กท่มี เี ช้ือเอชไอวี ถ.ราชวิถี เขตราชวถิ ี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๓๕๔-๘๓๓๓-๔๔ ตอ่ ๒๓๒๕ (เวลาราชการ) ปรกึ ษาดา้ นความหลากหลายทางเพศ/รักเพศเดยี วกัน สมาคมฟา้ สรี ้งุ แห่งประเทศไทย ๑๕๙ อาคารเดอะบีส เรซเิ ดน้ ซ์ ชั้น ๘ ซ.โชคชัยร่วมมิตร (ถ.รชั ดาภเิ ษก ๑๙) ถ.วิภาวดรี ังสติ แขวงดินแดง เขตดินแดง กรงุ เทพฯ ๑๐๓๒๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๖๙๑-๕๙๕๗-๘ (ทุกวัน ๑๐.๐๐-๒๒.๐๐ น.) บางกอกเรนโบว์ ๓๗ ถ.ประดิพัทธ์ ๒๑ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๖๑๘-๕๖๓๕ (ทุกวนั ๑๐.๐๐-๒๐.๐๐ น.) กลุ่มสะพาน (เนน้ หญงิ รกั หญงิ ) ตู้ ปณ.๑๖๒ ปทจ.ดสุ ติ กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐๘-๕๐๔๑-๘๔๗๗ (จันทร์-ศกุ ร์ ๐๙.๐๐-๑๗.๓๐ น.) แนะนาเวบ็ ไซต์สาหรับคนทางานเพศศึกษา เว็บไซตไ์ ทย www.teenpath.net เว็บไซต์ท่ีส่งเสริมการเรียนรู้เพศศึกษา และเป็นแหล่งข้อมูลเรื่องเพศสาหรับเยาวชน ครู และพ่อแม่ ดาเนินงานโดยโครงการก้าวยา่ งอยา่ งเข้าใจ มูลนิธแิ พธทูเฮลท์ (PATH) ซึง่ เป็นองค์กรทีท่ างานคลุกคลีกับ วยั รนุ่ มากว่า ๑๐ ปี www.aidsaccess.com รวบรวมสาระน่ารู้เกี่ยวกับเอดส์ รายงานข่าวสาร ความเคล่ือนไหวในกิจกรรมแก้ปัญหาเอดส์ของมูลนิธิ ตอบปญั หา และแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นเรอ่ื งเอดส์ www.anamai.moph.go.th เว็บไซต์กรมอนามัย ในหมวดสุขภาพ เรื่องเพศศึกษาและสุขภาพเพศ มีหัวข้อว่าด้วยเพศศึกษา รัก ออกแบบได้ ยาและผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพเพศ แหล่งบริการสาหรับวัยรุ่น เรียนรู้เร่ืองเพศ และเร่ือง น่ารเู้ ก่ยี วกบั เอดส์ในหมวด Friend Corner เพ่ือนใจวัยรุ่น มีมุม Health Corner ซึ่งเป็นเว็บไซต์ท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวข้องกับเร่ืองเพศใน วยั รุน่ 228
www.anjaree.net เว็บไซต์ของกลุ่มอัญจารี องค์กรสนบั สนุนและปกป้องสิทธิคนรักเพศเดียวกันสาหรบั ผู้หญิง ซ่ึงมีบทความ ข่าวสาร ที่เป็นประโยชน์ต่อการทาความเข้าใจในเรื่องความหลากหลายทางเพศ และบทบาทความเป็น หญงิ ชาย www.bangkokhealth.com เว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลด้านสุขภาพ จัดทาขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร บทความเก่ียวกับสุขภาพ สาหรับ ประชาชนท่ัวไป และข่าวสารท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพ โดยเน้นความถูกต้องแม่นยา เช่ือถือได้ รวมท้ังการ ให้บริการถามตอบปัญหา ด้านสุขภาพฟรี โดยแพทย์ผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางด้านต่าง ๆ ซึ่งปฏิบัติงานใน โรงพยาบาลกรุงเทพ www.budpage.com เวบ็ ไซตท์ ี่ให้ความรคู้ วามเขา้ ใจและแนวทางการแก้ไขปัญหาในการดาเนนิ ชวี ิตตามแนวพุทธศาสนา www.clinicrak.com เว็บไซต์ท่ีรวบรวมบทความจากนายแพทย์และผู้เช่ียวชาญในเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับวัยรุ่น เช่น วัยรุ่นกับ เพศศึกษา ยาเสพติด การเล้ียงลูกวัยรุ่น ฯลฯ ดูแลโดย นายแพทย์รุ่งโรจน์ ตรีนิติ แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครวั www.fasiroong.org เว็บไซต์ของสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นสมาคมท่ีทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ด้านสิทธเิ สรภี าพ ปกป้องศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์และความเท่าเทียมกันในสังคมของกลุ่ม คนท่เี ปน็ ชายรักเพศเดียวกนั www.formumandme.com สาระน่ารู้เกี่ยวกับบทความที่น่าสนใจ รวมทั้งแนะนาเว็บไซต์ที่น่าสนใจสาหรับคุณแม่ท่ีมีลูกในวัยต่างๆ ท้ังผู้ทอี่ ยากเปน็ คณุ แม่ คุณแมล่ กู อ่อน คณุ แม่เด็กเลก็ คุณแม่เดก็ โต วยั รุน่ หรอื คณุ แม่เด็กพเิ ศษ www.jitjai.com จิตใจดอทคอม มีจุดประสงค์เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษา การปฏิบัติตน เพศศึกษา และความรู้ด้าน สุขภาพกายและสุขภาพจิตแก่เยาวชน เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยสมาคม สขุ ภาพจติ แหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์ www.Kapok.com ศนู ย์รวมทุกกิจกรรมเด่นน่าสนใจ ขา่ วสารใหม่สดทันใจ สาระความรู้รอบตวั ครอบคลุมเนอ้ื หาภาพยนตร์ ละคร/ทีวี ทอ่ งเทย่ี ว กีฬา การศึกษา เทคโนโลยี เกม และเร่อื งราวท่ีวัยรนุ่ ควรรู้ www.muslimthai.com เว็บไซตม์ ุสลิมไทยแห่งแรกในประเทศไทย มีหัวขอ้ วา่ ดว้ ยเพศศกึ ษาและวยั รนุ่ บรหิ ารงานโดยชาวมสุ ลิม 229
www.raklukefamilygroup.com เว็บไซต์ของบริษัทแปลน พับลิชชิ่ง จากัด หรือที่มักเรียกกันติดปากคนท่ัวไปว่าทีมงานรักลูก ซึ่งเป็นผ้นู า และเช่ียวชาญในงานสื่อ ดา้ นการพัฒนาเด็ก และครอบครวั ซึ่งสร้างสรรค์งานดว้ ยอุดมคติเพ่ือสรา้ งสรรค์ สังคม เปน็ ท่นี า่ เชอ่ื ถอื ได้ในทางวชิ าการและเข้าถึงได้งา่ ย www.thaimental.com เว็บไซต์น้ีได้รับรางวัลชนะเลิศ The Nation’s Thailand Web Awards ๒๐๐๒ ในสาขา Best Public service จัดทาโดยบริษัท ไทยเมดิคัลเว็บ จากัด ผู้นาทางด้านการพัฒนาเว็บไซต์ทางการแพทย์ โดยมี วัตถุประสงค์หลัก เพ่ือเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพจิตท่ีถูกต้องด้วยภาษาท่ีอ่านเข้าใจง่าย โดยทีมแพทย์ ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะทางดา้ นจิตเวช ท่จี ะมาใหค้ วามรู้ในดา้ นวชิ าการ และใหค้ าปรกึ ษา www.thaisexuality.ihr.chula.ac.th แนะนาชมรมเพศศาสตร์ศึกษา บริการตอบปญั หาทางเพศ ศูนย์ปรึกษาคุณภาพชวี ติ ปัญหาเรือ่ งเพศท่พี บ บอ่ ย กิจกรรมของชมรม และนานาสาระเรื่องเพศ โดยศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนาเพศศาสตร์ศึกษา เว็บไซตต์ ่างประเทศ www.advocatesforyouth.org เว็บไซต์ที่ให้ความรู้เรื่องสุขภาวะทางเพศแก่เยาวชนและผู้ปกครอง โดยองค์กรที่ทางานเพ่ือเยาวชนใน สหรฐั อเมริกาและในประเทศที่กาลังพฒั นา www.boysunderattack.com เวบ็ ไซตซ์ ่ึงให้ขอ้ มลู และตอบคาถามท่ีเกย่ี วข้องกับการเปน็ วัยรุน่ ชาย www.diaryproject.com เว็บไซต์ท่เี ปิดโอกาสให้วัยรุ่นเขยี นระบายความในใจถึงปญั หาท่ีตัวเองพบ พร้อมท้ังให้ผู้อ่านร่วมแนะนาและ แสดงความคดิ เหน็ www.familiesaretalking.org/teen เว็บไซตท์ ี่แนะนาวยั ร่นุ ในการพูดคยุ ปัญหาเกย่ี วกับเร่อื งเพศว่าควรทาอยา่ งไร www.iwannaknow.org เว็บไซตเ์ พอื่ วยั ร่นุ โดยสมาคมสุขภาพสังคมอเมรกิ ัน www.kff.org เวบ็ ไซต์ทใี่ หบ้ ริการข้อมูลงานวจิ ัยเก่ียวกบั พฤติกรรมทางเพศของวัยรนุ่ สหรัฐอเมริกา www.kidshealth.org/teen มูลนิธินีมูรส์ของสหรัฐอเมริกาให้บริการความรู้พ้ืนฐานในเร่ืองร่างกาย อาหาร และความปลอดภัยแก่เด็ก วัยรนุ่ 230
www.plannedparenthood.org เวบ็ ไซตข์ องสหพนั ธก์ ารวางแผนครอบครัวแห่งสหรัฐอเมริกา www.scarleteen.com เวบ็ ไซต์ทเี่ น้นการใหค้ วามรู้เรื่องเพศกับเด็กผู้หญิง www.sxetc.org เว็บไซต์สาหรับวยั รนุ่ จดั ทาโดย เครอื ขา่ ยชีวติ ครอบครวั ศกึ ษา www.teengrowth.com เว็บไซต์ท่ีให้ความรเู้ ก่ียวกับการเตบิ โตของวัยรุ่น www.teenwire.com เว็บไซตเ์ รื่องนา่ ร้สู าหรับวัยรนุ่ จัดทาโดย สหพนั ธว์ างแผนครอบครวั แห่งสหรฐั อเมรกิ า www.youthresource.com เวบ็ ไซตส์ าหรับวัยรุน่ เกย์ และเลสเบ้ยี น www.siceus.org เว็บไซต์ให้ข้อมลู เรอ่ื งเพศศกึ ษา และกระบวนการจัดการเรยี นรูเ้ พศศึกษา 231
คาส่ังสานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เรือ่ ง แต่งตั้งคณะทางานโครงการสง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ดา้ นเพศวิถศี ึกษา และทักษะชวี ิต ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 232
233
234
คาสงั่ สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย เรื่อง แต่งต้ังคณะทางานเพ่ือจัดทาคู่มือการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน เพศวถิ ีศกึ ษาและทกั ษะชวี ติ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 235
236
237
ผู้รบั ผิดชอบ จดั ทาคู่มือการเรยี นรู้ดา้ นเพศวิถศี ึกษาและทักษะชวี ติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. นางเบญ็ จางค์ ถิ่นธานี ผอู้ านวยการกลมุ่ ส่งเสริมปฏบิ ัตกิ าร นางจิดาภา ผวิ ฟัก หัวหน้ากล่มุ งานส่งเสรมิ กิจการนักศึกษา นายวรตั ม์ ศรเี ทพ เรยี บเรยี ง ตรวจสอบเนือ้ หา นางสาวลลดิ า บุญเฉลมิ เรยี บเรียง ตรวจสอบเนอ้ื หา นางสาวเพญ็ นภา อาเทศ ออกแบบรปู เล่ม 238
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243