Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Approach-Community-health

Approach-Community-health

Published by Napaporn Nitthiyanon, 2021-06-15 06:34:10

Description: Approach-Community-health

Search

Read the Text Version

146  กระทรวงวัฒนธรรม โทรศัพท 0 2422 8892 , 0 2422 8884 – 5 สายดวน 1765 www.m-culture.go.th  สํานกั พัฒนาสงั คม กรุงเทพมหานคร โทรศัพท 0 2245 5165-6 , 0 2247 9455 www.bankok.go.th 1.5 ดานการอํานวยความสะดวกและความปลอดภัยในอาคาร สถานท่ี ยานพาหนะ บริการ สาธารณะอ่ืน ผูสูงอายุไดรับการจัดสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมสําหรับผูสูงอายุ การดูแล ชวยเหลือจาก เจาหนาที่ การบริการสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และการจัดพาหนะอํานวยความสะดวกสําหรับผูสูงอายุ ขอทราบขอ มลู เพ่มิ เติมไดท ี่ :  กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย โทรศพั ท 0 2201 8099  สํานักสงเสริมการพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม และการมสี วนรว ม กระทรวงมหาดไทย โทรศพั ท 0 2241 9000 ตอ 4131 - 4135 www.moi.go.th  สาํ นักพฒั นาสังคม กรุงเทพมหานคร โทรศพั ท 0 2245 5165-6 , 0 2247 9455 www.bankok.go.th  สํานกั งานปลัดกระทรวงคมนาคม โทรศัพท 0 2283 3071 , 0 2283 3076 Call center ศนู ยปลอดภัยคมนาคม: 1356 www.mot.go.th  เมอื งพทั ยา โทรศพั ท 0 3825 3100 , 0 3825 3260 Call center 1337 www.pattaya.go.th

147  กรมกิจการผสู งู อายุ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย โทรศพั ท 0 2642 4305 www.dop.go.th 1.6 ดา นการลดหยอนคาโดยสาร และการอํานวยความสะดวกในการเดินทางการรถไฟแหง ประเทศไทย การรถไฟแหง ประเทศไทย ผูสูงอายไุ ดร ับการลดคาโดยสารคร่ึงราคาทุกชั้นตลอดทาง ทุกสาย (ไมรวมคาธรรมเนียม) ระหวา งเดือนมถิ นุ ายน – กันยายน โดยผสู งู อายไุ มตองเขาแถวซื้อตว๋ั มที ี่น่ังรอรับตว๋ั พนกั งานชวยยกสัมภาระ ขอทราบขอมลู เพ่มิ เติมไดที่ :  การรถไฟแหง ประเทศไทย โทรศพั ท 0 2223 0341 www.railway.co.th แอรพอรต เรล ลิงค ผูสูงอายุไดรับการลดคาโดยสารใหผูสูงอายุคร่ึงราคา โดยใชบัตรผูสูงอายุ (senior card) และยกเวนคา โดยสารวันผูสูงอายุแหงชาติ 13 เมษายน ของทกุ ป ขอทราบขอมูลเพิม่ เตมิ ไดท่ี :  แอรพอรต เรล ลงิ ค โทรศัพท 0 2308 5600 ตอ 2906 - 2907 www.srtet.co.th รถไฟฟาใตด นิ (MRT) ผูสูงอายุไดรับการลดคาโดยสารใหผูสูงอายุคร่ึงราคา เปนไปตามขอบังคับท่ีกําหนด และ ยกเวนคา โดยสารวนั ผูสูงอายุแหง ชาติ 13 เมษายน ของทุกป ขอทราบขอมูลเพ่มิ เตมิ ไดท่ี :  การรถไฟฟาขนสง มวลชนแหง ประเทศไทย (MRT) โทรศพั ท 0 2716 4000 www.mrta.co.th รถไฟฟา (BTS) ผสู งู อายุไดรับการบรกิ ารโดยใหล ิฟตบรกิ ารทส่ี ถานหี มอชิต สยาม อโศก ออนนุช และชอง นนทรี ขอทราบขอมลู เพ่มิ เตมิ ไดท่ี :

148  บริษทั ระบบขนสงมวลชนกรงุ เทพ จํากดั (มหาชน) โทรศัพท 0 22617 7300 www.bts.co.th รถโดยสารประจําทาง ขสมก. ผูสูงอายุไดรับการลดคาโดยสารคร่ึงราคา (ไมรวมคาธรรมเนียม) ตลอดวัน และยกเวน คาโดยสารในวนั ผูสูงอายุแหงชาติ วันที่ 13 เมษายน ของทุกป มีการจัดท่ีน่ังสํารองเปนการเฉพาะ ขอทราบ ขอ มลู เพม่ิ เตมิ ไดท ่ี :  องคก ารขนสงมวลชนกรงุ เทพ (ขสมก.) โทรศพั ท 0 2246 0339 , 1348 www.bmta.co.th รถโดยสารบริษัทขนสง จาํ กัด (บขส.) ผสู งู อายุไดรบั การลดคาโดยสารคร่ึงราคา (ไมรวมคาธรรมเนยี ม) มกี ารจดั ท่ีนง่ั พักผอ น และ หองสุขา ขอทราบขอมลู เพ่ิมเตมิ ไดท ่ี :  บริษัท ขนสง จํากัด โทรศัพท 0 2936 2852 www.transport.co.th พฤหัสบดี เครือ่ งบนิ การบินไทย ผูสงู อายไุ ดร บั การลดคา โดยสารในเสน ทางการบินภายในประเทศ ดงั น้ี 1) รอยละ 15 ชัน้ ธุรกจิ 2) รอยละ 35 ของอัตราคาโดยสารปกติ ในช้ันประหยัด สําหรับการเดินทาง วันจันทร – 3) รอ ยละ 30 ของอตั ราคา โดยสารปกติในชัน้ ประหยัด สําหรับการเดินทางวนั ศุกร – อาทิตย 4) การอํานวยความสะดวกข้ึนเคร่ืองเปน ลําดับแรก ขอทราบขอมลู เพิ่มเติมไดท ่ี :  บรษิ ัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) โทรศัพท 0 2545 1000 www.thaiairways.co.th

149 ทาอากาศยาน ผูสงู อายไุ ดร ับ 1) การจดั ส่งิ อาํ นวยความสะดวก ไดแ ก ลฟิ ต โทรศัพท ทางลาด หองสุขา มมุ พกั ผอน พ้ืนที่ จอดรถรบั – สง ผูสูงอายทุ มี่ าใชบ ริการ 2) ดําเนินการตามมาตรการกําหนดใหสายการบินถือปฏิบัติการใหผูโดยสารสูงอายุขึ้น เครือ่ งบนิ ลําดบั แรก ขอทราบขอมูลเพิม่ เติมไดที่ :  บรษิ ัท ทา อากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) โทรศพั ท 0 2535 1111 , 1722 www.airportthai.co.th เรอื ดว นเจา พระยา เรือในคลองแสนแสบ และเรอื ขามฝาก ผูสูงอายุไดรับการลดคาโดยสารคร่ึงราคาแกผูสูงอายุที่ใชบริการเรือโดยสารประจําทาง ในแมน าํ้ เจา พระยา ไดแก เรอื ดวนเจาพระยา (ยกเวนเรือพิเศษธงเขียวและเรือทัวรธงฟา) เรือในคลองแสนแสบ และเรือขา มฝาก ขอทราบขอ มูลเพิม่ เตมิ ไดท ี่ :  กรมเจาทา โทรศัพท 0 2233 1311 – 8 สายดว น 1199 www.md.go.th หมายเหตุ ผูสูงอายุตองแจงและแสดงบัตรประจําตัวประชาชนตอเจาหนาท่ีกอนซ้ือต๋ัว โดยสารบรกิ ารขนสงสาธารณะ 1.7 ดานการยกเวนคา เขา ชมสถานทขี่ องรฐั ผูสูงอายุไดรับการยกเวนคาเชาชมสถานที่ของรัฐ เชน พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ อุทยาน แหงชาติ อุทยานประวัติศาสตร สถานท่ีทองเที่ยวในความรับผิดชอบขององคการอุตสาหกรรมปาไมและ องคก ารสวนพฤกษศาสตร เปน ตน ขอทราบขอมูลเพิ่มเตมิ ไดท ่ี :  กรมอุทยานแหงชาติ สตั วปา และพันธพุ ืช กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม โทรศัพท 0 2561 0777 ตอ 1742 , 0 2579 6666 www.dnp.got.h

150  กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม โทรศัพท 0 2221 7811 , 0 2223 0973 www.fineartsi.go.th  กระทรวงวัฒนธรรม โทรศัพท 0 2209 3530 , 0 2209 3531 1.8 ดานการชวยเหลือผูสูงอายุ ซ่ึงไดรับอันตรายจากการถูกทารุณกรรม หรือถูกแสวงหา ประโยชนโ ดยมชิ อบดวยกฎหมายหรอื ถูกทอดทงิ้ ผูสงู อายไุ ดร ับการใหค ําแนะนํา ปรึกษา และใหความชว ยเหลอื กรณผี ูสูงอายุท่ีถูกทารุณกรรม แสวงหาประโยชนโดยมิชอบดว ยกฎหมาย และถูกทอดทิ้ง จะไดรับการชวยเหลือตามประกาศกระทรวงการ พัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย เรอ่ื ง กาํ หนดหลักเกณฑ วิธกี าร และเงอ่ื นไขการคุมครอง การสงเสริม และการสนับสนนุ การชวยเหลือผูส ูงอายุ ซงึ่ ไดรับอนั ตรายจากาการถกู ทารณุ กรรม หรือถูกแสวงหาประโยชน โดยมิชอบดวยกฎหมาย หรือถูกทอดทิง้ และการใหคําแนะนํา ปรึกษา ดําเนินการอ่ืนท่ีเก่ียวของในการแกไข ปญหาครอบครวั โดยชวยเหลอื เปนเงินไดตามความจําเปนและเหมาะสม ครั้งละไมเกิน 500 บาท ขอทราบ ขอมูลเพิม่ เติมไดท่ี :  สาํ นักอยั การสูงสดุ โทรศพั ท 0 2142 1444 www.ago.go.th  กรมคมุ ครองสทิ ธิและเสรภี าพ กระทรวงยตุ ธิ รรม โทรศัพท 0 2141 2758 สายดวน 1111 กด 77 www.rlpd.moj.go.th  สาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ โทรศพั ท 0 2251 4730 สายดว น 1599 www.royalthaipolice.go.th  กรมกจิ การผูส งู อายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย โทรศพั ท 0 2642 4305 , 0 2642 4306 www.dop.go.th

151 1.9 การใหคําแนะนํา ปรึกษา ดําเนินการอ่ืนที่เก่ียวของในทางคดี และในทางการแกไข ปญหาครอบครวั ผูสูงอายุไดรับการใหคําแนะนํา ปรกึ ษา และใหความชว ยเหลือ กรณีผูสงู อายุท่ีถูกทารุณกรรม แสวงหาประโยชนโ ดยมิชอบดวยกฎหมายและถูกทอดทิ้ง จะไดรับการชวยเหลือตามประกาศกระทรวงการ พฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย เร่อื ง กาํ หนดหลักเกณฑ วิธกี าร และเง่อื นไขการคุมครองการสงเสริม และการสนบั สนนุ การชว ยเหลือผูสูงอายุ ซ่ึงไดร บั อนั ตรายจากการถูกทารุณกรรม หรือถูกแสวงหาประโยชน โดยมิชอบดวยกฎหมาย หรือถูกทอดทิ้ง และการใหคําแนะนํา ปรึกษา ดําเนินการอื่นที่เกี่ยวของในทางการ แกไ ขปญ หาครอบครัว ขอทราบขอมลู เพมิ่ เติมไดท่ี :  กรมคมุ ครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพ กระทรวงยตุ ิธรรม โทรศัพท 0 2141 2758 สายดว น 1111 กด 77 www.rlpd.moj.go.th  กรมกจิ การผูสงู อายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย โทรศัพท 0 2642 4305 , 0 2642 4306 www.dop.go.th 1.10 ดานการชวยเหลือดานท่ีพักอาศัย อาหารและเครื่องนุงหมใหตามความจําเปนอยาง ท่วั ถงึ กรณีผูสูงอายทุ ีเ่ ดือดรอน จะไดรับการชวยเหลือตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนุษย เร่ือง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขการคุมครอง การสงเสริม และการ สนบั สนุนการจัดท่ีพักอาศัย อาหาร เคร่ืองนุงหมใหผูสูงอายุตามความจําเปนอยางทั่วถึง โดยชวยเหลือตาม ความจําเปนและเหมาะสม ไมเกินวงเงินคร้งั ละ 2,000 บาท และจะชวยไดไมเ กิน 3 ครงั้ ตอคนตอป ขอทราบ ขอมลู เพ่ิมเติมไดท ี่ :  กรมกิจการผูส งู อายุ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย โทรศัพท 0 2642 4305 , 0 2642 4306 www.dop.go.th

152 1.11 ดา นการชว ยเหลือเงนิ เบี้ยยงั ชพี ผูสูงอายุที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ สัญชาติไทย ไมเปนผูไดรับสวัสดิการหรือสิทธิ ประโยชนอ นื่ ใดจากหนว ยงานของรัฐ รัฐวสิ าหกิจ หรือองคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ (อปท.) ทไ่ี ดจัดใหอ ยา งเปน ประจาํ จะไดรับการชวยเหลอื เงินเบ้ียยังชีพเปน รายเดือนตลอดชีวติ โดยแบง ตามชวงอายุแบบขน้ั บนั ได ดังน้ี อายุ 60 – 69 ป ไดร บั เดือนละ 600 บาท อายุ 70 – 79 ป ไดรบั เดือนละ 700 บาท อายุ 80 – 89 ป ไดร ับเดอื นละ 800 บาท อายุ 90 ปข้นึ ไป ไดร บั เดือนละ 1,000 บาท ขอทราบขอมลู เพิม่ เตมิ ไดที่ :  สํานกั สงเสริมการพฒั นาเศรษฐกจิ สังคม และการมีสวนรว ม กระทรวงมหาดไทย โทรศัพท 0 2241 9000 ตอ 4131 - 4135 www.moi.go.th  เมอื งพทั ยา โทรศัพท 0 3825 3100 Call center 1337 www.pattaya.go.th  สาํ นกั พัฒนาสังคม กรงุ เทพมหานคร โทรศพั ท 0 2245 5166 www.bankok.go.th  กรมกจิ การผูสูงอายุ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย โทรศพั ท 0 2642 4305 , 0 2642 4306 www.dop.go.th 1.12 การสงเคราะหใ นการจดั การศพตามประเพณี ผูสงู อายุทีม่ คี ณุ สมบัติตามหลักเกณฑ 1) มีอายุเกนิ หกสบิ ปบรบิ ูรณข้นึ ไป 2) มีสญั ชาติไทย 3) อยูในครอบครัวที่ยากจนตามขอ มลู ความจําเปน พื้นฐาน (จปฐ.) กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย หรือกรงุ เทพมหานคร หรือเมอื งพัทยา

153 4) ไมมีญาติ หรือมีญาติแตมีฐานะยากจนไมสามารถจัดการศพตามประเพณีได กรณีท่ี ผสู ูงอายยุ ากจนและไมไ ดรบั การสํารวจขอ มลู ความจําเปน พนื้ ฐาน (จปฐ.) กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย หรือกรงุ เทพมหานคร หรือเมืองพทั ยา ตองใหนายกเทศมนตรี หรือนายกองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล หรอื กํานัน หรอื ผูใหญบาน หรือประธานชุมชน หรือผูอํานวยการสํานักงานเขต หรือนายอําเภอ หรือนายกเมืองพัทยา เปนผอู อกหนังสือรับรอง โดยยื่นคําขอภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันท่ีออกใบมรณบัตร หากผานคุณสมบัติจะ ไดรบั การชวยเหลือรายละ 2,000 บาท ขอรับบริการไดที่ (1) สาํ นกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ งั หวัดทุกจงั หวัด (2) สาํ นกั งานเขตกรงุ เทพมหานคร (3) ทีว่ า การอาํ เภอ (4) เมอื งพัทยา (5) เทศบาล (6) องคก ารบริหารสว นตาํ บล ขอทราบขอ มลู เพ่มิ เตมิ ไดท ี่  กรมกิจการผูสงู อายุ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย โทรศพั ท 0 2642 4305 , 0 2642 4306 www.dop.go.th  สาํ นักพัฒนาสงั คม กรงุ เทพมหานคร โทรศัพท 0 2245 5166 , 0 2247 9450 , 0 2247 9455 www.bankok.go.th 1.13 การอืน่ ที่คณะกรรมการประกาศกําหนด การจดั บริการสถานที่ทองเท่ียว การจัดกิจกรรมกีฬาและนันทนาการตามที่คณะกรรมการ ผูสูงอายแุ หงชาติประกาศกําหนด ดานการทองเท่ยี ว ผสู ูงอายไุ ดรบั การจัดกิจกรรมโครงการนันทนาการสาํ หรบั ผสู งู อายุ เชน นันทนาการสัญจร ผสู ูงอายรุ ืน่ รมย (ไหวพระ 9 วัด) ดา นกฬี าและนันทนาการ ผูสงู อายไุ ดร บั 1) การบริการตรวจสขุ ภาพ ทดสอบสมรรถภาพทางรา งกาย

154 2) การใชบริการในสนามกฬี า สวนสุขภาพ ลานกีฬาแอโรบิค สนามเปตอง หองออกกําลังกาย 3) การเขา รว มกิจกรรมตา ง ๆ เชน การแขงขันกฬี า การลีลาศ 4) การรับสมัครเปนสมาชิกชมรมศภุ ชลาลัย ขอทราบขอมลู เพม่ิ เตมิ ไดท่ี  กระทรวงการทอ งเท่ยี วและกฬี า โทรศพั ท 0 2283 1500 www.mots.go.th การจัดบริการเพ่ืออํานวยความสะดวก ดานพิพิธภัณฑ โบราณสถาน หอจดหมายเหตุ แหงชาติ และการจัดกิจกรรมดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ตามท่ีคณะกรรมการผูสูงอายุแหงชาติ ประกาศกําหนด ผูสงู อายไุ ดร บั 1) จัดบรกิ ารโดยตรงสาํ หรับผสู งู อายุ เชน ลฟิ ต พื้นเรยี บ ราวบันได ทางลาด ราวจับในหองน้าํ 2) จัดเจา หนาที่อํานวยความสะดวกและปลอดภยั สําหรับผสู ูงอายุ 3) จัดบริการรถเขน็ ขอทราบขอมูลเพ่มิ เตมิ ไดท่ี  กระทรวงวฒั นธรรม โทรศพั ท 0 2422 8892 , 0 2422 8884 - 5 www.m-culture.go.th ผูอุปการะเล้ียงดูบุพการี ซึ่งเปนผูสูงอายุท่ีไมมีรายไดเพียงพอแกการยังชีพ ผูน้ันมีสิทธิ ไดร ับการลดหยอนภาษี ท้งั น้ีตามหลักเกณฑ วธิ กี าร และเงื่อนไขท่ีกําหนดในประมวลรษั ฎากร ผเู ลี้ยงดบู ิดา มารดา ไดร บั การลดภาษเี งนิ ได จํานวน 30,000 บาท ขอทราบขอมูลเพิม่ เติมไดท ี่  กรมสรรพากร โทรศพั ท 0 2272 8407 , 0 2272 9479 , 0 2272 9000 , 0 2272 8000 www.rd.go.th

155 1.14 ดา นกองทุนผสู งู อายุ ผสู ูงอายสุ ามารถกยู มื เงนิ ทนุ ประกอบอาชีพรายบคุ คลได คนละไมเกิน 30,000 บาท และ รายกลุม ๆ ละไมนอยกวา 5 คน ไดกลุมละไมเกิน 100,000 บาท โดยตองชําระคืนเปนรายงวด ภายใน ระยะเวลาไมเ กนิ 3 ป โดยไมมดี อกเบ้ยี เอกสารทีใ่ ชประกอบการยืน่ กู 1) สําเนาบัตรประชาชนของผูกูยมื ฯ และผคู ้ําประกัน 2) สําเนาทะเบยี นบา นของผูกยู ืมฯ และผคู า้ํ ประกนั 3) สาํ เนาบัตรประจําตวั คสู มรส และทะเบียนบา น (ถาม)ี 4) หนังสือรับรองเงนิ เดือน (ซึ่งออกใหไ มเกนิ 90 วัน) หรือ สลิปเงินเดือน เดือนลาสุดของ ผูคา้ํ ประกนั ขอทราบขอมลู เพ่ิมเตมิ ไดท ี่  กองทุนผสู งู อายุ กรมกิจการผสู งู อายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย โทรศัพท 0 2354 6100 www.olderfund.opp.go.th 2. สิทธิในวาระสุดทา ย (พนิ ัยกรรมชวี ติ ) ตามพระราชบญั ญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 ใน “มาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดง เจตนาไมประสงคจะรับบริการสาธารณสุขท่ีเปนไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิตตนหรือ เพื่อยตุ ิการทรมานจากการเจ็บปวยได การดําเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตาม หลักเกณฑและวธิ กี ารทกี่ ําหนดในกฎกระทรวงเมื่อผูป ระกอบวชิ าชีพดา นสาธารณสุขไดปฏิบัติตามเจตนาของ บคุ คลตามวรรคหน่งึ แลว มใิ หถ ือวาการกระทํานัน้ เปนความผิดและใหพนจากความรับผิดท้ังปวง” (บริษัทอีสาน ลอวเ ยอร, มปป.) หนังสือ แสดงเจตนาปฏิเสธการรกั ษาหรือ Living Will ตามมาตรา 12 พระราชบัญญัติสุขภาพ แหงชาติ พ.ศ. 2550 เปน เครือ่ งมืออนั หนึ่งที่จะชวยสะทอนความตอ งการของผูปวยไปยังแพทย พยาบาลและ บคุ ลากรท่ใี หการดแู ลรักษา ถอื เปน การวางแผนการรกั ษาลวงหนา อยางหนึ่ง แพทย พยาบาลท่ีเกย่ี วของในการ รกั ษาและญาติใกลชดิ ควรเคารพความประสงคของผปู ว ยเพราะถอื เปน สทิ ธผิ ปู วยอยา งหน่งึ กฎหมายมไิ ดบงั คบั ผูปวยใหตองทําหนังสือน้ี กลาวไดวาหนังสือแสดงเจตนาน้ี มีสวนชวยใหคนเราสามารถปฏิเสธการรักษาที่ไม จําเปนของผูปวยท่ีอยูในวาระสุดทาย ผูปวยสามารถขอเลือกตายอยางสงบ มีโอกาสร่ําลากับคนใกลชิด

156 ขณะเดียวกันแพทย พยาบาลกม็ ิไดท อดทงิ้ ผูป วยแตอ ยา งใด หากยังใหการดแู ลรักษาตามอาการ เพ่ือลดความ ทุกขทรมาน หนงั สือแสดงเจตนานย้ี งั ชว ยใหเ รามีโอกาสเตรียมพรอมทางจิตวิญญาณ เพ่ือระลึกถึงการเตรียม ตวั ตายในวนั ขางหนา ทําใหเ ห็นถึงความเปน อนิจจงั ของชีวิตมนษุ ย หนงั สือแสดงเจตนา (พินยั กรรมชีวิต) การตายอยางสงบ เปนธรรมชาติและมีศักด์ิศรีของความเปนมนุษย เปนสิทธิที่บุคคลพึงมีและ พงึ ไดร บั การเคารพ ยอมรับจากผูอ่ืน สังคม และกฎหมาย แตปญหาที่ทําใหหลายคนไมสามารถตายอยางมี ศักดิ์ศรีได เกิดขึ้นเน่ืองจากไมไดแสดงเจตจํานงในการใชสิทธิน้ีไวลวงหนา หรือเม่ือเกิดเหตุการณคับขันข้ึน ท่เี ราไมอยูใ นสภาพทจ่ี ะบอกกลาวความตอ งการที่จะตายดีได ก็จะมีผูอื่น ญาติ แพทย มาตัดสินแทนเรา ซ่ึงก็ เขา ใจไดวา ญาติอาจจะไมรูความจรงิ วาผูปวยอยูในภาวะใกลตายแลว หรือยังหวังที่จะใหคนท่ีตนรักหายและ กลับบา นไดย งั มอี ยูต ลอดเวลา หรือแมร แู ตก ็คิดวาตองรักษาพยาบาลใหเ ต็มท่ีเพอื่ เปนการทดแทนบญุ คุณใหกับ คนท่ีตนรัก ย่ิงในครอบครัวท่ีมีญาติพี่นองมาก ยิ่งยากแกการตัดสินใจ ปจจุบันเราจึงเริ่มพูดถึงแนวคิด เรื่อง พินัยกรรมชีวิต (Living will) คือใหมีการแสดงความจํานงไวลวงหนาได อาจจะระบุแนวทางปฏิบัติทางการ แพทยท ีเ่ ราตอ งการหรอื ไมต อ งการในกรณีตาง ๆ ไว ในหลายประเทศมีกฎหมายรับรองในเร่ืองน้ี และลาสุด ประเทศไทยก็มีพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550 ซ่ึงระบุถึงสิทธิในการจากไปอยางสงบตาม ธรรมชาตไิ วด วยบคุ คลมสี ทิ ธิทาํ หนงั สอื แสดงเจตนาไมป ระสงคจ ะรบั บริการสาธารณสุขที่เปน ไปเพียงเพ่ือยืด การตายในวาระสดุ ทา ยของชวี ิตตน หรอื เพอื่ ยุติการทรมานจากการเจ็บปวยได การดําเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่ กาํ หนดในกฎกระทรวง เม่อื ผปู ระกอบวิชาชพี ดานสาธารณสุขไดป ฏบิ ตั ติ ามเจตนาของบคุ คลตามวรรคหนง่ึ แลว มิใหถือวาการกระทําน้ันเปนความผิดและใหพนจากความรับผิดท้ังปวง เจตนารมณของกฎหมายน้ีเปนไป เพ่ือรับรองสิทธขิ องผูทปี่ รารถนาจะจากไปอยา งสงบ ตามความเชื่อของตน และคาดวาจะชวยลดทอนปญหา ความขัดแยงระหวางญาติพน่ี อง และทีมผูใหการรกั ษา ซ่ึงหลายครงั้ จะพบวามีปญหาระหวางแนวคิดท่ีจะยื้อชีวิต และความเหน็ ท่ีตองการปลอ ยการตายใหเ ปน ไปตามธรรมชาติ คาํ แนะนําสาํ หรบั ผตู องการทําหนงั สือแสดงเจตนา 1) ผทู ําหนังสอื จะตองเปน ผมู สี ตสิ มั ปชญั ญะบริบรู ณ และมีความเขา ใจในเนือ้ หาของหนังสือ แสดงเจตนา โดยควรขอคําแนะนําจากแพทย พยาบาล หรือผูท่ีมีประสบการณ มีความรูในเร่ืองน้ี ในการกรอกขอมูล รายละเอียดตาง ๆ โดยผูทําหนังสือสามารถเขียนหรือพิมพหนังสือดวยตนเอง หรือใช แบบฟอรมของโรงพยาบาล (หมายเหตุ สถานพยาบาลหรือโรงพยาบาล สามารถจัดทําแบบฟอรมหนังสือ แสดงเจตนาไวเ องได)

157 กรณีท่ีเขียนหนังสือไมได หรือไมสะดวกในการเขียนหนังสือ สามารถพูดสื่อสารกับคนอ่ืน เพื่อบอกความประสงคของตนเองได โดยใหผูอ่ืนชวยเขียนหรือพิมพแทน แลวใหผูทําหนังสือลงช่ือหรือ พมิ พนวิ้ หัวแมม อื ตอ หนา พยาน ซงึ่ อาจเปนคนในครอบครัว คนใกลชดิ ทไี่ วว างใจก็ได 2) กฎหมายไมไดกําหนดอายุของผูทําหนังสือแสดงเจตนาไว แตควรเปนผูที่มีอายุครบ 20 ป บรบิ ูรณ เพราะมีวฒุ ิภาวะในการตดั สินใจดว ยตนเองไดแ ลว กรณีเด็กหรอื ผูเยาวทีย่ งั ไมบ รรลนุ ติ ภิ าวะคอื มอี ายุ ยังไมครบ 20 ปบ รบิ รู ณ ตองการทาํ หนงั สือแสดงเจตนา จะตอ งไดรบั ความยนิ ยอมจากผปู กครอง (บดิ า มารดา หรือผปู กครองที่ศาลแตงตัง้ ) โดยแพทย พยาบาลจะตองใหขอมูล และอธิบายแนวทางการรักษาใหผูปกครอง เดก็ หรือผเู ยาว และอาจตองมกี ารวิเคราะหสภาพจติ อารมณในขณะนั้น และใหผปู กครองและผูปวยมีสว นรว ม ในการตดั สนิ ใจเทาท่สี ามารถทําได 3) ทกุ คนสามารถทําหนงั สอื แสดงเจตนาในขณะท่ยี ังมีสุขภาพดีอยูก็ได แตผูที่เหมาะสม คือ กลุม ผูปวยท่ีมีความเส่ยี งท่จี ะอยูในวาระสุดทายของชวี ิตตามการวินิจฉัยของแพทย การกรอกเนอ้ื หาในหนังสือ ทร่ี ายละเอยี ดบางประการ ตอ งไดร ับคาํ แนะนําจากแพทย พยาบาล หรือผูท่ีมีความรู ความเขา ใจในเรือ่ งน้ี 4) การทาํ หนงั สือแสดงเจตนาควรมพี ยานรูเ หน็ ในขณะทําหนังสือแสดงเจตนาอยางนอย 2 คน เชน สมาชกิ ในครอบครัว ญาติ เพ่ือนหรอื คนใกลช ิด ก็สามารถเปน พยานได เพื่อยืนยันความประสงคของผูทํา หนงั สือ รวมถึงเนื้อหาของหนังสือดงั กลา ว 5) เน้อื หาของหนงั สือแสดงเจตนาจะระบุวธิ ีการรกั ษาผูปว ยทตี่ อ งการหรือไมต องการไว เชน เม่ือเปนผูปวยระยะสุดทายแลว ไมตองการเจาะคอเพ่ือใสทอชวยหายใจ หรือไมตองการถูกปมหัวใจ แตต อ งการเสียชวี ิตอยางสงบ หรือตอ งการเสยี ชวี ิตทบ่ี า นทามกลางคนในครอบครัว เปนตน เน้ือหาในหนังสือ จะไมระบเุ รื่องทรัพยสิน การทําพินัยกรรม หรือการจัดการเร่ืองมรดกของผูทําหนังสือ เพราะควรจัดทําเปน เอกสารตางหากออกไป โดยขอคําแนะนําจากผูม ีความรูทางกฎหมาย 6) ผทู าํ หนงั สือแสดงเจตนาควรจัดเกบ็ หนังสอื ไวเอง หรือมอบใหบุคคลที่ใกลชิดเก็บรักษาไว และมอบสาํ เนาหนงั สืออยางละ 1 ฉบบั ใหแ กญาติ คนในครอบครัว พยาน หรอื แพทยที่เคยทําการรักษาพยาบาล ตนเอง เพ่ือใหทราบความประสงคข องผูท าํ หนังสอื 7) เมื่อผูท าํ หนังสือแสดงเจตนาเขา รับการรักษาในสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาล ใหผูปวย หรอื ญาตนิ าํ หนังสือแสดงเจตนาหรือสําเนาหนังสือมาแสดงตอ แพทย พยาบาล หรอื เจาหนา ท่ขี องโรงพยาบาล โดยไมช ักชา ในกรณีทไ่ี มไ ดนาํ หนังสือแสดงเจตนาหรือสําเนามาดวยญาติหรือผูปวยควรแจงยืนยันตอแพทย พยาบาลวา ผูป วยไดทาํ หนังสอื แสดงเจตนาตาม พระราชบญั ญัติสุขภาพแหงชาติ มาตรา 12 และใหนาํ หนังสอื แสดงเจตนามาแสดงในภายหลัง

158 8) ในกรณีทีผ่ ูทําหนงั สือแสดงเจตนาหมดสติหรือไมส ามารถสอ่ื สารกบั ผูอน่ื ได บุคคลทใ่ี กลช ดิ ทผี่ ูทาํ หนังสอื ฯ ไวว างใจใหตัดสินใจแทน ควรปรึกษาหารือกับแพทยถึงแนวทางการรักษาผูปวย อยางไรก็ดี จะตอ งเปน การตัดสนิ ใจทสี่ อดคลองกบั ความประสงคข องผปู วยทท่ี าํ หนังสอื 9) ผทู ําหนงั สอื แสดงเจตนาสามารถยกเลิกหรือแกไขปรับปรุงหนังสือไดทุกเม่ือ หรือถาทํา หนงั สือไวน านหลายปแลว กค็ วรขอคําแนะนําจากแพทย พยาบาลในการปรับปรุง และควรแจงใหพยานหรือ บุคคลใกลชิด ญาติหรอื ผูเ กีย่ วของเพื่อใหท ราบในเร่ืองนีโ้ ดยไมช ักชา ทั้งนี้ แมผ ูที่ปรารถนาจะจากไปอยางสงบจะไดแจงความประสงคไว หากถึงเวลาที่ตัวเขาไม สามารถบอกกลาว ช้ีแจงความตอ งการได กค็ งข้นึ อยูกบั ญาติ และผูใ หก ารรักษาวาจะเคารพในความปรารถนา ของผทู ่กี ําลังจะจากไปหรือไม การรอ งขอการตายดี จะเปนไปไดก ็เมื่อผูทาํ หนังสือแสดงเจตนาไดส่ือสารเรื่องความตายกัน อยา งเนือง ๆ กับบคุ คลในครอบครวั บคุ คลรอบขา งใหไ ดรบั รูความคดิ ความเหน็ และความเช่อื ของกันและกัน และทายทส่ี ดุ มีความเคารพในความตองการของผูท ี่แสดงเจตนา และไมเห็นความตายเปนศัตรูท่ีตองเอาชนะ การทําหนังสือแสดงเจตนาชวยใหบุคคลดังกลาวตายไดอยางสงบ เพราะชวยลดทอนความกังวล ตอผูอยู เบื้องหลัง ธรุ ะ การงานทีค่ ่ังคาง หรือแมแ ตชวยใหม ัน่ ใจวา จะไดรบั การดูแลใหต ายอยางสงบได และยังชวยลด ความสบั สน และความขดั แยงในหมญู าติวาจะจดั การ ดําเนินการอยา งไร ประเด็นสําคัญที่ควรพจิ ารณาในการเขียนพินัยกรรมชีวติ มี 6 ประเดน็ สําคัญ คอื 1) ตอ งการใหญ าติ และทีมแพทย รักษา จัดการรางกายอยางไร เชน หากเราปวยในภาวะ ไรสติ หรอื เมอื่ เสียชวี ิตแลว จะใหทําการใดไดบ าง 2) ตองมีการจัดการทรัพยสิน เงินทอง ประกันชีวิต หรือไม อยางไร บางกรณีอาจระบุถึง ภาวะหนี้สินดว ย 3) ตอ งการใหส ิง่ ใดกับคนใกลชิด หรอื บุคคลในครอบครวั ลูก พนี่ อ ง ญาติ มิตรสหาย 4) ประโยชนท างสงั คมท่ีอยากทาํ หลงั เสียชวี ิต เชน บริจาคส่ิงของ ของสะสม หรือเครื่องใช ของเราใหใครบาง (ทั้งน้ีก็ไมควรสรางภาระ หรือรบกวนผูอื่นมากนัก ตัวอยางกรณีหนึ่ง อยากทําความดี บริจาคอปุ กรณการเรียนตามท่ีตาง ๆ ซง่ึ ตอ งใชค า ใชจายและการจัดการมาก กลบั สรางภาระใหแ ม) 5) มกี ารงานที่คัง่ คา ง ที่จะใหด าํ เนินการตอ หรือไม อยางไร 6) ความตองการในการจัดงานศพ เชน รปู แบบงานศพ ของชํารวย เปน ตน ซง่ึ อาจมกี ารระบุ บคุ คลในการจดั การ

159 นอกจากน้ีบางคนอาจจะเขยี นบรรยายความรูส กึ ตาง ๆ คาํ ขอบคณุ คาํ ขอโทษ ใหกับสมาชิก ในครอบครัว ญาติ และเพื่อนในเร่อื งตาง ๆ ดว ย หรืออาจใชเทคโนโลยชี วยบนั ทกึ นา้ํ เสียงและภาพเปน ที่ระลึก บอกผานความรูส ึก ความทรงจํา ความฝน เจตจาํ นงใหค นท่ีอยขู า งหลงั ไดร ับทราบตอไป 3. กฎหมายสาํ หรับผูสงู อายุ เร่อื งท่ไี ดร ับความสนใจมากท่สี ดุ ไดแ ก การใหทดี่ ินและบานแกบตุ รหลาน สญั ญาคา้ํ ประกนั และ การทาํ พนิ ยั กรรม 3.1 การจดั การทรัพยส ิน การใหท ่ดี นิ และบา นแกบ ตุ รหลาน คําถามวา จะยกท่ดี ินและบานใหแกบตุ รหลานในระหวาง ทมี่ ีชวี ิตอยู หรอื ควรจะยกใหเปนมรดก นนั้ ควรยกที่ดนิ และบา นใหบุตรหลานในระหวางที่มีชีวิตอยูเปนการดีกวา ทั้งน้ีเพราะผูที่ไดรับ จะไดชื่นชมยนิ ดี และแสดงความกตญั กู ตเวทีตอผใู หในขณะทีม่ ีชีวิตอยไู ดเ ต็มท่ี ดีกวาท่ีจะไดรับรูวาตนไดรับ มรดกเปนท่ีดินและบาน ซ่ึงจะทําไดก็แตทําบุญอุทิศสวนกุศลใหแกผูใหซ่ึงวายชนมไปแลว นอกจากนี้ ยังตัด ปญ หากรณีพิพาทท่ีอาจเกิดขึ้นระหวางทายาท ในเร่ืองทรัพยมรดก และอาจเปนผลใหบุคคลที่ควรจะไดรับ ท่ีดนิ และบา นตามความปรารถนาของผยู กใหเ สียสิทธิจากความไมสมบรู ณข องพินัยกรรม หรือจากกรณีพิพาท ระหวางทายาทก็เปนได อยางไรก็ตาม มีขอแนะนําสําหรับเจาของท่ีดินและบานท่ีจะยกใหแกบุตรหลานวา ควรจะจดทะเบียนสทิ ธเิ กบ็ กนิ ใหแกต นเองและ คูสมรส (ถายังมีชีวิตอยู) ไวตลอดชีวิตดวย ท้ังนี้ เพราะประมวล กฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา 1417 กาํ หนดใหสิทธิไว คือ “อสังหาริมทรัพยอาจตองตกอยูในบังคับสิทธิ เก็บกิน อันเปนเหตุใหผูทรงสทิ ธินัน้ มีสิทธิครอบครองใชแ ละถือเอาซ่งึ ประโยชนแหง ทรพั ยส ินน้ัน ผูทรงสทิ ธิเกบ็ กนิ มอี าํ นาจจดั การทรพั ยส นิ ผทู รงสทิ ธเิ ก็บกนิ ในปา ไม เหมอื งแร หรอื ทขี่ ดุ หิน มสี ทิ ธิทําการแสวงประโยชนจ ากปา ไม เหมอื งแร หรอื ท่ีขดุ หนิ นน้ั ” และมาตรา 1418 กําหนดวา “สทิ ธเิ ก็บกินนั้น จะกอใหเกิดโดยมีกําหนดเวลา หรือตลอดชีวิตแหงผูทรงสิทธิก็ได ถาไมมีกําหนดเวลา ทานใหสันนิษฐาน ไวกอนวาสิทธเิ ก็บกนิ มีอยตู ลอดชีวิตผูทรงสิทธิ ถามีกําหนดเวลา ทานใหนําบทบัญญัติมาตรา 1403 วรรค 3 มาใชบังคับอนโุ ลม ถา ผทู รงสทิ ธเิ กบ็ กินถึงแกค วามตาย ทานวาสทิ ธนิ น้ั ยอ มสิน้ ไปเสมอ จะเห็นไดว าบดิ ามารดา ผูท่ียกที่ดินและบานใหแกบุตรหลานยังมีสิทธิครอบครอง ใช และถือเอาซึ่งประโยชนแหงที่ดินและบานนั้น ตามกฎหมาย โดยจะยงั อยูอ าศัย นาํ ออกใหเชาหรือจัดหาผลประโยชนใด ๆ จนตลอดชีวิตของตนไดโดยไมมี ผูใ ดมสี ทิ ธมิ ารบกวน ในทางปฏบิ ัติจะตอ งจดทะเบียนสิทธิเก็บกินดังกลาวตอเจาพนักงานท่ีดินในเขตที่ดินนั้น ต้งั อยู และเสยี คา ธรรมเนยี มราชการโฉนดละ 40 บาท หลังจากการจดทะเบยี นสิทธิเกบ็ กินแลว บุตรหลานทไี่ ด กรรมสิทธิ์ท่ีดินและบานก็ยังมีกรรมสิทธิ์โดยสมบูรณ สามารถจําหนายจายโอนตอไปได เพียงแตผูรับโอน

160 กรรมสทิ ธิ์ในที่ดินและบานยังตองผูกพันที่จะใหบิดามารดาผูทรงสิทธิเก็บกินยังคงมีสิทธิครอบครองใช และ ถือเอาซึง่ ประโยชนแหง ท่ดี ินและบานไดต ลอดชีวิต ในกรณีที่บิดามารดาไมมีความประสงคจะใชสิทธิเก็บกิน ตอ ไปแลว กส็ ามารถไปจดทะเบยี นยกเลกิ สทิ ธิเก็บกนิ ดังกลาวไดต ามความประสงค ประโยชนท ีจ่ ะไดร บั การจดทะเบียนสิทธเิ กบ็ กินทาํ ใหล กู หลานซ่ึงอาจรวมถึงเขยสะใภ ไมอ าจขบั ไลหรือบีบค้ันให บดิ ามารดา หรือปยู า ตายาย ซึ่งเปนผูยกบานและท่ดี ินใหตองออกไปจากท่ีดินและบานจนตลอดชีวิต 3.2 การทําสญั ญาคาํ้ ประกัน ความหมายของสญั ญาค้าํ ประกัน คอื สญั ญาซงึ่ บคุ คลหนึ่ง เรยี กวา “ผูคํ้าประกัน” สัญญาวา จะชําระหนี้ใหแ กเ จา หนเ้ี ม่อื ลูกหนไ้ี มย อมชําระ เชน ก กูเงินจาก ข เปน จาํ นวนเงิน 100,000 บาท โดยนาย ค เซ็นช่ือคํ้าประกัน หรือรับรองวาหาก ก ไมชําระหนี้เงินกู นาย ค จะชําระหน้ีแทน ก เอง สัญญาดังกลาว เรยี กวา “สญั ญาคาํ้ ประกัน” โดย นาย ก เรยี กวา “ลูกหนี้” นาย ข เรียกวา “เจาหนี้” นาย ค เรียกวา “ผูค้ํา ประกนั ” (ศนู ยขอมูลกฎหมายกลาง สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า, มปป.) ขอ พงึ สังเกตและควรระมัดระวงั ขอ ปฏบิ ัตใิ นการเขา ทําสญั ญาคํ้าประกัน ผูท ี่จะเขา เปน ผูค ้าํ ประกันในการชําระหนี้ของบุคคล อ่ืนนนั้ ควรปฏิบัติดังนี้ 1) อานสญั ญาค้ําประกนั ใหครบถว นทกุ ขอกอนลงชือ่ ในสญั ญาคา้ํ ประกนั 2) หากประสงคท่ีจะค้ําประกันหนี้เพียงบางสวนก็ใหเขียนระบุไวโดยแจงชัดในสัญญา คาํ้ ประกนั วา ประสงคท ่จี ะคา้ํ ประกันเปนจาํ นวนเทา ใด 3) หากไมประสงคที่จะรับผิดรวมกันกับลูกหน้ีในฐานะลูกหนี้รวมกันแลว ก็ตองดูในสัญญา วามขี อ ความท่ีระบุวา ใหต นรับผิดรวมกันกับลูกหนห้ี รือไม ถาไมม จี ึงคอ ยลงชือ่ ในสัญญาค้ําประกัน ลักษณะทีส่ ําคัญของสัญญาคา้ํ ประกัน ไดแก 1) สัญญาค้ําประกันตองเปนการประกันการชําระหนี้ดวยตัวบุคคลมิใชการประกันการ ชําระหนด้ี ว ยทรพั ย ดังน้ัน กูเงินแลวออกเช็คคํ้าประกัน การออกเช็คดังกลาวมิใชสัญญาคํ้าประกัน แตเปนการ ออกเช็คเพ่อื เปน การประกนั การชาํ ระหน้ีเงนิ กู 2) ตองมีหนีร้ ะหวา งเจาหน้กี ับลกู หน้ี ในทางกฎหมายเรียกวา “หน้ีประธาน” โดยหน้ีประธาน จะเกดิ จากสญั ญาหรือละเมิดก็ได และผูค้ําประกันเขาทําสัญญากับเจาหน้ีเพ่ือค้ําประกันตามมูลหนี้ประธาน เรยี กวา “หน้ีอปุ กรณ” ดงั นน้ั เมื่อไมมีหน้ีประธานหรือหน้ีประธานระงับไปแลวแมไดทําสัญญาคํ้าประกันไว ผคู ้ําประกนั ก็ไมตองรับผิด แตทั้งนี้ หนี้ประธานจะตองเปนหน้ีที่สมบูรณ กลาวคือ จะตองเปนหนี้ที่สามารถ บังคบั กนั ไดร ะหวา งเจา หนแ้ี ละลกู หน้ีโดยชอบดวยกฎหมาย กรณีท่ีหนี้ประธานสมบูรณแตขาดหลักฐานเปน

161 หนังสือ ตามที่กฎหมายกําหนดก็มีการคํ้าประกันหนี้รายน้ันได ถาการค้ําประกันน้ันมีหลักฐานเปนหนังสือ เจา หน้กี ็มสี ทิ ธฟิ องผูคาํ้ ประกันได แตผูคํ้าประกันมีสิทธิท่ีจะยกขอตอสูของลูกหน้ีวาหน้ีนั้นขาดหลักฐานเปน หนังสือขน้ึ ตอสูเจา หน้ไี ด 3) ผูค าํ้ ประกันจะตอ งผกู พันตนตอเจาหน้ี เพื่อชาํ ระหน้เี มือ่ ลกู หน้ีไมชาํ ระหนี้ ผูค ํ้าประกนั อาจทําสัญญาค้ําประกนั อยา งไมจํากดั จํานวน คอื รับผดิ ในมูลหน้ขี องลูกหนี้ เตม็ จาํ นวนหนีซ้ ่งึ รวมทง้ั ดอกเบี้ย และคาใชจ า ยอนื่ ๆ ที่ลกู หน้ีตองชําระแกเจาหน้ีดว ย หรอื ผูค ํา้ ประกันอาจทํา สัญญาคํ้าประกันจํากัดความรับผิดชอบของตนใหรับผิดเพียงเทาที่ระบุจํานวนเงินที่จะค้ําประกันแกเจาหนี้ เทา น้ันก็ได แตส าํ หรับดอกเบ้ียผคู ํ้าประกนั ยงั คงตอ งรับผดิ อยดู ี เวนเสียแตวาจะระบุไววารับผิดในเงินตนรวม ดอกเบ้ียไมเ กินจาํ นวนที่ระบไุ ว สิทธิของเจาหนี้ท่ีจะเรียกใหผูคํ้าประกันชําระหน้ีเกิดข้ึนเม่ือลูกหน้ีผิดนัดไมชําระหน้ี ลูกหน้ีผดิ นัด ไดแก หน้ถี งึ กําหนดชาํ ระแลวลกู หนไี้ มชาํ ระหนต้ี ามกาํ หนดเวลาดังกลาวน้ัน หรือเจาหนี้เรียกให ชําระหนี้โดยกาํ หนดเวลาใหชําระหน้ีแตลูกหนี้ไมชําระภายในเวลาดังกลาวน้ันหรือกรณีท่ีเปนหน้ีอันเกิดจาก มูลละเมดิ ลกู หน้ีไดช อื่ วา ผดิ นัดนบั แตว นั ทาํ ละเมิด สิทธิของผูค้ําประกัน 1) เมอื่ เจา หน้ีเรยี กใหผคู ํ้าประกนั ชําระหน้ี ผูค าํ้ ประกันจะขอใหเรยี กลกู หนีช้ ําระหนี้กอนก็ได เวน แตลูกหนจ้ี ะถูกศาลพิพากษาใหเ ปนคนลม ละลาย หรอื ลูกหนมี้ ิไดอ ยูในประเทศในขอ น้ผี ูค ้าํ ประกนั สามารถ ทาํ สญั ญาตกลงยกเวน ขอ กฎหมายน้ีได 2) ผูคํ้าประกันสามารถพิสูจนวาลูกหน้ีน้ันมีทางท่ีจะชําระหน้ีได และการบังคับใหลูกหน้ี ชาํ ระหน้ีนัน้ ไมเปนการยาก แมว า เจา หน้ีเรียกใหลูกหน้ีชําระหน้ีแลวก็ตาม เจาหน้ีจะตองบังคับการชําระหน้ี รายน้นั เอาจากทรพั ยสินของลกู หน้กี อน ถา ผูค้าํ ประกนั พิสจู นไดด ่ังวานน้ั 3) ผูคา้ํ ประกนั มีสทิ ธเิ รยี กใหเ จา หนี้บังคบั ชําระหนีเ้ อาจากทรัพยข องลกู หนี้ที่เจาหนี้ยึดถือไว เปน หลกั ประกนั ได สิทธขิ องผคู า้ํ ประกนั ภายหลงั การชําระหน้ีแลว ถา ผคู ํา้ ประกนั ไดชาํ ระใหแกเ จา หน้ีไปแลว ยอมมีสทิ ธิไลเบ้ยี เอาคนื จากลกู หน้เี ทาจํานวนทตี่ น ไดชดใชแ ทนลูกหนไี้ ปแลว เมือ่ ผคู ํา้ ประกนั ไดชําระหน้ีใหแ กเ จาหนไ้ี ปแลว ผูคา้ํ ประกันยอ มรบั ชวงสทิ ธิของเจาหนี้ที่มีตอ ลกู หนก้ี ลาวไปดวย คือ หากลกู หนมี้ ีทรัพยเปนประกันการชําระหนี้ตอเจาหนี้ ผูค้ําประกันก็มีสิทธิที่จะบังคับ เอากับทรพั ยนนั้ ไดเสมอื นวาลกู หนไ้ี ดป ระกนั ไวกบั ตน

162 ผูค ้าํ ประกนั ยอ มพนจากความรบั ผิด ไมต องชําระหนใี้ หแ กเ จา หนี้ ในกรณีดงั ตอ ไปนี้ 1) ถาหนี้ท่ีตนค้ําประกันน้ันไดกําหนดวันชําระหนี้ไวแนนอนแลวตอมาเจาหนี้ยอมผอนเวลา ใหแกลูกหนี้แลวผูค้ําประกันเปนอันหลุดพนจากความรับผิด เชน นาย ก กูเงินจากนาย ข กําหนดชําระคืน ภายใน 1 ป โดยมีนาย ค เปนผูค้ําประกัน ตอมานาย ข ขยายเวลาการชําระหน้ีจาก 1 ป เปน 2 ป โดยนาย ค ไมไ ดย นิ ยอมดว ยในการผอนเวลาดังกลาวยังคงตอ งรับผิดชอบตามสญั ญาคา้ํ ประกัน 2) เม่ือหนี้ถึงกําหนดชาํ ระแลวผคู าํ้ ประกนั ขอชาํ ระหนแี้ ทนลกู หน้ี ถา เจาหนี้ไมยอมรับชําระหนี้ ผคู ้ําประกนั ก็เปนอนั หลดุ พนจากความรับผดิ 4. การทําพนิ ัยกรรม ตามกฎหมาย เมื่อผูใดเสียชีวิตลง มรดกของผูน้ันยอมจะตกเปนของทายาท เชน บิดา มารดา บตุ ร สามีหรือภรรยา เปนตน ตามสัดสวนที่กฎหมายกําหนด แตหากกอนที่บุคคลน้ันจะเสียชีวิตเขาอาจทํา พินัยกรรมยกทรัพยสินของตนใหแกผูใดก็ได โดยบุคคลท่ีถูกระบุใหเปนผูรับมรดกอาจไมใชทายาทเสมอไป (มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช, 2550) การทําพินัยกรรม หมายถึง การแสดงความประสงคท่ีจะใหทรัพยสินของตนเองตกเปนของ บุคคลบางคนเม่ือตนเองตายไปแลว มิใชการยกทรัพยสินใหแกผูอื่นในขณะท่ีเจาของทรัพยสินยังมีชีวิตอยู การทําพินัยกรรมตอ งทําตามหลักเกณฑและวธิ กี ารท่กี ฎหมายกาํ หนด 4.1 พินยั กรรมมลี ักษณะอยางไร พินัยกรรม คือการแสดงเจตนากําหนดการเผ่ือตายในเร่ืองทรัพยสินของตน หรือในเรื่อง ตาง ๆ ที่จะเปนผลบังคับใชตามกฎหมายเม่ือตนตาย พินัยกรรมเปนการแสดงเจตนาที่ประสงคใหมีผล เมอ่ื ตนเองตายไปแลว ซึ่งจะยกทรัพยสินใหแกใครก็ได หรือใหผูใดเขามาจัดการทรัพยสินอยางหนึ่งอยางใด ของตนก็ได แตจะทาํ ใหพ นิ ัยกรรมน้ันมผี ลบังคับไปถึงทรพั ยสินของผอู ่ืนที่มใิ ชของตนนน้ั ยอ มทําไมไ ด เชน นายแดงทําพินัยกรรมวา เม่ือตนเองตายจะขอยกท่ีดินของนายขาว ซึ่งเปนพี่ชายตน ใหแ กน างเหลือง ซง่ึ เปนการยกทรัพยสินของผูอื่นใหแกนางเหลือง กรณีเชนนี้ทําไมได เพราะไมใชทรัพยสิน ของตน เอกสารที่มีขอ ความเปน พินัยกรรมแมไมม ีคาํ วา เปนพินยั กรรม ก็ถือวาเปนพินัยกรรมมีผลใหได แตถา มีคาํ วาพินัยกรรม แตไมมีขอความวาพินัยกรรม ใหมีผลบังคับเมื่อตายไปแลว ก็ไมถือวาเปนพินัยกรรม เชน สมชายเขยี นหนังสอื ไวว า ตัง้ แตน ้ีตอ ไปขอทําพินัยกรรมยกเงินสดใหแกนายเจริญ 5,000 บาท ดังนี้ ถือวาไมใช พินัยกรรม เพราะไมประสงคจะใหนายเจริญไดรับเงินเม่ือหลังจากที่นายสมชายตายไปแลว ดังนั้น จึงตองมี ขอ ความวา “ใหม ผี ลบังคบั ใชเ ม่ือตายไปแลว”

163 การทาํ พินยั กรรมอาจไมใ ชเ ร่ืองการยกทรพั ยส นิ ใหผ ูใ ดกไ็ ด แตอ าจเปน เรอื่ งอ่นื ๆ ท่ีใหม ผี ล ตามกฎหมายก็ได เชน การทาํ พนิ ัยกรรมวาเมือ่ ตนเองตายไปแลวขอยกปอดใหแกโรงพยาบาลราชวถิ หี รือใหจ ดั งานศพของตนโดยการเผาภายใน 3 วัน ดังนี้ก็เปนพินัยกรรมเชน กนั 4.2 ใครท่ีไมม ีสทิ ธทิ ําพินยั กรรมบา ง ผูที่ทาํ พินัยกรรมไดตองมอี ายคุ รบ 15 ปบ ริบรู ณ จงึ มีสทิ ธิตามกฎหมายในการทําพินัยกรรม หากอายุต่ํากวา 15 ป ทําพินัยกรรม ถือวาพินัยกรรมน้ันใชไมได (พินัยกรรมนั้นไมมีผล) หรือตามกฎหมาย เรียกวาเปนโมฆะ นอกจากน้ัน บุคคลใดท่ีศาลไดมีคําส่ังใหเปนบุคคลไรความสามารถแลว ก็ไมสามารถทํา พินัยกรรมไดเชนกัน หากฝาฝนทําพินัยกรรมข้ึนมาผลก็คือ พินัยกรรมน้ันใชไมไดหรือตามกฎหมายเรียกวา เปนโมฆะเชนกนั 4.3 การจาํ แนกพินัยกรรม การทาํ พินยั กรรมนัน้ ตองทําตามแบบท่ีกฎหมายกาํ หนด มฉิ ะนนั้ ไมถอื วา เปนพนิ ัยกรรม พินัยกรรมมอี ยู 5 แบบ ดังน้ี 4.3.1 พินัยกรรมแบบธรรมดา (ป.พ.พ. มาตรา 1656) 4.3.2 พนิ ัยกรรมเขยี นเองทง้ั ฉบับ (ป.พ.พ. มาตรา 1657) 4.3.3 พนิ ัยกรรมทําเปนเอกสารฝา ยเมอื ง (ป.พ.พ. มาตรา 1658) 4.3.4 พนิ ัยกรรมทาํ เปนเอกสารลบั (ป.พ.พ. มาตรา 1660) 4.3.5 พนิ ยั กรรมทาํ ดวยวาจา (ป.พ.พ. มาตรา 1663) อนงึ่ พนิ ัยกรรมทัง้ 5 แบบ ดงั กลา ว มี 3 แบบ ที่ผูทําจะตองไปติดตอกบั ทางอาํ เภอหรอื เขต คือ แบบท่ี 3,4 และ 5 สวนแบบท่ี 1 และแบบที่ 2 ผูทําสามารถดําเนินการไดเองโดยไมตองติดตอกับทาง อําเภอหรือเขตแตอยา งใด พินัยกรรมแตละแบบมีลักษณะแตกตางกัน ผูทําพินัยกรรมสามารถเลือกทําแบบใดก็ได ท่ีสําคัญคือ ขอความในพินัยกรรมตองมีสาระเปน เรื่องกําหนดการเผือ่ ตายเอาไว ผูสงู อายทุ ่ปี ระสงคจ ะทาํ พนิ ัยกรรม สามารถเลือกทาํ พินัยกรรมแบบใดแบบหนึ่งในจํานวน ท้งั หมด 5 แบบ หลักเกณฑก ารทาํ พินยั กรรมในแตล ะแบบมรี ายละเอียดดงั น้ี 4.3.1 พนิ ัยกรรมแบบธรรมดา การทาํ พินยั กรรมแบบธรรมดาถอื วา เปน พนิ ัยกรรมแบบทนี่ ยิ มใชก นั มากทส่ี ดุ บางราย จะวา จางทนายความเปนผจู ดั ทําหรอื รางขอความในพินยั กรรมใหตามความประสงคของผทู ํา

164 หลักเกณฑก ารทําพินยั กรรมแบบธรรมดา 1) ตอ งทาํ เปน หนังสอื โดยจะเขยี นหรือพิมพก็ได (จะเขียนหรือพิมพเปนภาษาไทย หรือภาษาตา งประเทศกไ็ ด) 2) ตอ งลงวัน เดอื น ป ในขณะทท่ี าํ เพื่อพิสูจนค วามสามารถของผูท าํ 3) ผูทําพินัยกรรมตองลงลายมือช่ือไวตอหนาพยานอยางนอยสองคนพรอมกัน จะลงลายมือช่ือหรือพมิ พน้วิ มือกไ็ ด แตจ ะใชต ราประทับแทนการลงชื่อหรือเคร่ืองหมายแกงไดไมได (แกงได คือ รอยขีดที่ทําไวเปนเครื่องหมาย หรือรอยกากบาท) และพยานที่จะลงลายมือช่ือในพินัยกรรมจะพิมพ ลายน้ิวมอื หรือใชตราประทบั หรือลงแกงได หรือลงเครื่องหมายอยางอ่ืนแทนการลงชื่อไมได จะตองลงลาย มือชือ่ อยางเดียว 4) การขดู ลบ ตกเติม หรือการแกไขเปล่ยี นแปลงอยา งอื่น ซึ่งพินัยกรรมน้ันยอมไม สมบรู ณ เวน แตในขณะท่ีขูด ลบ ตกเติม หรือแกไ ขเปลย่ี นแปลงน้ัน ไดลงวัน เดือน ป และผูทําพินัยกรรมตอง ลงลายมือชื่อ หรือพิมพนิ้วมือตอหนาพยานอยางนอยสองคนพรอมกัน และพยานอยางนอยสองคนน้ันตอง ลงลายมอื ชือ่ รบั รองลายมือชอ่ื ของผทู ําพนิ ัยกรรมในขณะน้ัน (ตองเปนพนิ ยั กรรมแลว) 4.3.2 พินยั กรรมแบบเขียนเองทัง้ ฉบับ หลักเกณฑก ารทําพนิ ัยกรรมแบบเขียนเองทัง้ ฉบบั 1) ตองทําเปน เอกสารทเ่ี ปน หนงั สอื โดยจะใชภาษาไทยหรือภาษาตา งประเทศกไ็ ด 2) ผทู ําพนิ ัยกรรมตองเขยี นดว ยลายมอื ของตนเองทง้ั ฉบบั จะพมิ พไ มไ ด เพราะฉะนน้ั ผูท่ีเขียนหนังสือไมไดยอมไมสามารถจะทําพินัยกรรมแบบน้ีได พินัยกรรมแบบนี้จะมีพยานหรือ ไมมกี ็ได เพราะกฎหมายไมไดหา มไว พินัยกรรมแบบนี้จึงมีความสะดวกตรงท่ีไมจ ําเปน ตองมพี ยานรเู ห็นในการ ทําพนิ ัยกรรม 3) ตองลงวัน เดอื น ป ในขณะท่ีทาํ 4) ตองลงลายมือช่ือผทู ําพินยั กรรม จะใชลายพมิ พน้ิวมอื หรือเครอ่ื งหมายอน่ื ไมได 5) หากมกี ารแกไข ขดู ลบ ตก เติมพินยั กรรมผูทําพินัยกรรมจะตองทําดวยมือของ ตนเองจะใหผ อู น่ื ทาํ ไมไ ด และจะตองลงลายมอื ชื่อกํากบั ไว ณ จดุ ท่แี กไข ขดู ลบ ตก เติมดวย หากมีการแกไข ขูด ลบ ตก เตมิ พนิ ยั กรรม แตไมมกี ารลงลายมอื ชอ่ื กาํ กบั ถือวา ไมไ ดม ีการแกไข ขูดลบ ตกเตมิ ในจดุ นั้น ๆ อนง่ึ พนิ ยั กรรมแบบธรรมดากบั พินยั กรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับมีสวนคลายกันมาก มขี อ แตกตางบางประการ คอื พินยั กรรมแบบธรรมดาผูทาํ พินัยกรรมไมจ าํ เปนตองเขยี นเอง หรือพิมพเ อง และ จะเขยี นหรอื พิมพก ไ็ ด ทสี่ าํ คัญพินัยกรรมแบบธรรมดาตองมีพยานอยางนอยสองคนดวย และหากบุคคลอ่ืน เปน ผูเขยี นหรือพิมพค วรลงลายมอื ช่อื ผูเขียน และพยานดวย โดยระบุชื่อผูเขียน ผูพ มิ พแ ละพยาน ขอแตกตาง

165 อกี ประการหน่งึ คอื พินัยกรรมแบบธรรมดาผูทําพินัยกรรม สามารถพิมพลายนิ้วมือแทนการลงลายมือชื่อได แตต องมีพยานลงลายมอื ช่ือรับรองลายพมิ พน ้ิวมอื ไวส องคน 4.3.3 พินยั กรรมทาํ เปนเอกสารฝา ยเมอื ง การขอทาํ พินยั กรรมเปนเอกสารฝายเมือง ผูรอ งสามารถยน่ื คํารอ งขอใหน ายอาํ เภอ/ ผูอํานวยการเขต ณ อาํ เภอหรอื เขตใดก็ได ดาํ เนินการใหตามความประสงค ข้ันตอนการทําพินัยกรรมทําเปน เอกสารฝา ยเมือง เปนดังน้ี 1) ผูทําพินัยกรรม แจงขอความที่ตนประสงคจะใหใสไวในพินัยกรรมของตนแก นายอาํ เภอ/ผอู ํานวยการเขตตอหนาพยานอีกอยา งนอ ยสองคนพรอมกนั 2) นายอาํ เภอ/ผอู าํ นวยการเขตจะจดขอความที่ผูทําพินัยกรรมแจงใหทราบแลวนั้น ลงไว และอานขอ ความนั้น ใหผูทาํ พนิ ัยกรรมและพยานฟง 3) เม่ือผูทําพินัยกรรมและพยานรับทราบชัดเจนวา ขอความที่นายอําเภอ/ ผอู ํานวยการเขตจดนน้ั ถกู ตอ งตรงกันกบั ท่ผี ทู ําพนิ ัยกรรมแจง ไวแลว ใหผ ูท ําพินัยกรรมและพยานลงลายมือชื่อ ไวเปน หลกั ฐาน 4) ขอ ความท่ีนายอาํ เภอ/ผูอํานวยการเขตจดไวนนั้ ใหน ายอําเภอ/ผูอํานวยการเขตลง ลายมือชื่อ และลงวัน เดือน ป จดลงไวดวยตนเองเปนสําคัญวา พินัยกรรมนั้นไดทําถูกตองตามหลักเกณฑ ท่ีระบุไวข างตน แลวประทับตราตําแหนงไวเ ปน หลักฐาน การทําพินัยกรรมแบบเอกสารฝายเมือง ไมจําเปนตองทําในที่วาการอําเภอหรือ ก่งิ อาํ เภอ/ ท่ที าํ การเขตเสมอไป ถาผทู ํารอ งขอจะทาํ นอกทที่ ําการดังกลาวก็ได 4.3.4 พนิ ยั กรรมทําแบบเอกสารลบั ข้นั ตอนการทาํ พินยั กรรมแบบเอกสารลบั เปนดงั นี้ ผทู ่ีประสงคจ ะทาํ พนิ ยั กรรมเปนเอกสารลับ ใหผูนั้นแสดงความจํานงตามแบบของ เจา พนักงานย่นื ตอกรมการอําเภอ (นายอําเภอ) ณ ท่ีวาการอําเภอ หรือก่ิงอําเภอแลวปฏิบัติตามหลักเกณฑ ตอ ไปน้ี 1) ตองมีขอความเปน พินยั กรรมและลงลายมอื ชื่อผทู ําพินัยกรรม 2) ผทู าํ พินยั กรรมตองผนึกพนิ ัยกรรม แลว ลงลายมอื ช่ือคาบรอยผนึก 3) ผทู ําพินยั กรรมตองนําพินัยกรรมที่ผนึกนั้น ไปแสดงตอนายอําเภอและ มีพยาน อยา งนอ ย 2 คน และใหถอยคําตอ บคุ คลทง้ั หมดนั้นวาเปน พินยั กรรมของตน 4) พนิ ัยกรรมเขียนเองโดยตลอด ผทู าํ พินัยกรรมจะตองแจงนามและภูมิลําเนาของ ผเู ขยี นใหทราบดวย

166 5) เมอ่ื นายอําเภอ/ผอู าํ นวยการเขตจดถอยคําของผูทําพินัยกรรม และวัน เดือน ป ที่ทําพินัยกรรมมาแสดงไวในซองพับและประทับตราประจําตําแหนงแลว นายอําเภอ/ผูอํานวยการเขต ผทู ําพนิ ยั กรรม และพยานลงลายมอื ช่อื บนซองน้นั อนึ่ง หากบุคคลผูเปนทั้งใบ และหูหนวก หรือผูที่พูดไมได มีความประสงคจะทํา พนิ ยั กรรมเปนเอกสารลบั ก็สามารถทําได โดยใหผูนั้นเขียนดวยตนเองบนซองพินัยกรรมตอหนานายอําเภอ/ ผูอ าํ นวยการเขต และพยานอยางนอ ย 2 คน วา พนิ ยั กรรมท่ผี นกึ นัน้ เปนของตน แทนการใหถอยคํา ถา ผทู ําพินยั กรรมแบบเอกสารลบั ประสงคขอรับไปทันที ก็ใหน ายอาํ เภอมอบใหไ ปได โดยใหผ ทู าํ พนิ ยั กรรมลงลายมือช่อื รับในสมุดทะเบียน 4.3.5 พินยั กรรมทําดวยวาจา การทําพนิ ยั กรรมดวยวาจาเปนกรณีเมื่อมีพฤติการณพิเศษ ซ่ึงบุคคลใดไมสามารถ จะทาํ พนิ ยั กรรมตามแบบอืน่ ท่กี ฎหมายกําหนดไวได เชน ตกอยูในอันตรายใกลความตาย หรือเวลามีโรคระบาด หรือสงคราม ซ่งึ ในพฤตกิ ารณเชน นี้ ผทู ําพนิ ยั กรรมไมอาจหาเคร่อื งมอื เคร่อื งเขียนไดทันทวงที หรือกวาจะหา ไดก ็ถึงตายเสียกอ น ผทู าํ พนิ ัยกรรมสามารถทาํ พนิ ัยกรรมดว ยวาจาได ดังน้ี 1) ผทู ําพนิ ยั กรรมแสดงเจตนากําหนดขอพินัยกรรมตอหนาพยานอยางนอย 2 คน ซึ่งอยพู รอ มกนั ณ ท่นี ้นั 2) พยานทั้งหมดตองไปแสดงตนตอนายอําเภอโดยมิชักชา และแจงใหนายอําเภอ ทราบถึงขอ ความเหลา นี้ (1) ขอ ความท่ผี ทู ําพินัยกรรมไดสั่งไวดวยวาจา (2) วนั เดอื น ป สถานท่ีทีท่ าํ พินัยกรรม (3) พฤตกิ ารณพ ิเศษทีข่ ดั ขวางมใิ หส ามารถทาํ พินัยกรรมตามแบบอื่นที่กฎหมาย กาํ หนดไวน ้ันดว ย 3) ใหนายอาํ เภอ/ผูอ าํ นวยการเขตจดขอ ความที่พยานแจงไว และพยานท้ังหมดนั้น ตอ งลงลายมอื ช่ือ ถา ลงลายมือชื่อไมไ ดจะลงลายพมิ พน ้วิ มอื โดยมพี ยานลงลายมอื ชื่อรับรอง 2 คนก็ได อนึง่ ความสมบรู ณแ หง พนิ ัยกรรมนีย้ อมส้นิ ไป เมื่อพนกําหนดหนึ่งเดือนนับแตเวลา ผทู าํ พนิ ัยกรรมกลับมาสูฐานะท่ีจะทาํ พินยั กรรมตามแบบอืน่ ทีก่ ฎหมายกาํ หนดไว ขอ พึงระวังในการทาํ พนิ ัยกรรม พินัยกรรมเปนเอกสารท่ีมีความสําคัญ ดังน้ัน กอนที่จะทําพินัยกรรมผูทําตอง พิจารณาไตรตรองใหรอบคอบเสียกอนวาเจตนาจะยกทรัพยสินใหใครเพราะการทําพินัยกรรมเปนการ กําหนดการยกทรัพยสินหรอื ความประสงคท ีจ่ ะจัดการเร่ืองบางเรื่องไวล ว งหนา สําหรับการตายในอนาคตท่ีจะ

167 เกิดขน้ึ ไมจ าํ เปน ตองยกทรัพยส ินใหท ายาทตามกฎหมายของเราเทานั้น หากพินยั กรรมไดท าํ ไปแลว และถกู ตอ ง ก็ตองบงั คับตามพินยั กรรม ทายาทอนื่ จะมาอางขอแบงทรัพยมรดกตามพินัยกรรมท่ีทํายกใหผูอื่นไปแลวมิได เพราะพินยั กรรมคอื การแสดงเจตนาทีส่ ําคัญของเจามรดกทก่ี ฎหมายยอมรับและบงั คับให พินัยกรรมแบบธรรมดากบั พนิ ัยกรรมแบบเขียนเองทง้ั ฉบับนับวาเปนท่ีนิยมทํากันมาก ดังนั้น ในทนี่ ีจ้ งึ จะขอยกตัวอยางการเขยี นและวิธกี ารเขยี นพินยั กรรมในทัง้ 2 แบบดังกลาว ตัวอยา ง พินัยกรรมแบบธรรมดา ทาํ ทบี่ า นเลขท่ี 3 หมู 2 ต.กันตา อ.ปากชอ ง จ.นครราชสีมา วนั ท่ี 1 มกราคม 2550 ขา พเจา นางไขมุก วาจาดี อายุ 73 ป อยูบานเลขท่ี 12 ม. 3 ต.ยายชา อ.สามพราน จ.นครปฐม ขอทาํ พนิ ัยกรรมไววา เมือ่ ขา พเจา ถึงแกกรรมไปแลว ทรัพยสินของขาพเจาใหตกเปนกรรมสิทธิ์ ของบุคคลดงั ตอไปน้ี ขอ ที่ 1 ทีด่ ินโฉนดเลขที่ 123 เลขท่ีดิน 456 ต.เขายายเท่ียง อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา เน้ือที่ 10 ไร พรอมบา นบนทด่ี ินใหตกเปนของนายประสงค วาจาดี ขอที่ 2 ใหเงินสดในบัญชีท่ีธนาคารกรุงเทพ จํากัด สาขาปากชอง ท้ังหมดใหตกเปนของ นางดวงใจ ใจเพชร ขอท่ี 3 ใหทรัพยสินอ่ืน ๆ นอกจากนี้ ใหตกเปนของ นางสาวรัศมี นาดี แตเพียงผูเดียว พินัยกรรมฉบับนี้ขาพเจาและพยานไดอยูพรอมกัน ขาพเจาไดลงลายมือช่ือตอหนาพยาน สองคนพรอ มกนั และพยานทัง้ สองคนไดลงลายมือช่อื ตอหนาขา พเจา โดยพรอมเพรยี งกัน ขณะทําพินัยกรรมนี้ ขาพเจามสี ติสมั ปชญั ญะบรบิ ูรณด ี เพ่อื เปนหลกั ฐานจงึ ลงลายมือชอ่ื ไว ลงชอ่ื …………………………. ผูทําพนิ ัยกรรม (ไขม ุก วาจาดี) ลงชื่อ……..….………………… พิมพหรือเขยี น,พยาน (สดศรี ดวงเลศิ ) ลงชอ่ื …………………………… พยาน (ดวงฤดี มชี ยั )

168 วธิ ีการเขยี นพินยั กรรมแบบเขยี นเองทั้งฉบับ พนิ ยั กรรมแบบเขียนเองทงั้ ฉบบั ทําไดดงั น้ี 1. ใหเ ร่ิมเขียนกลางหนา กระดาษวา พนิ ยั กรรม 2. บรรทดั ถัดลงมาใหระบสุ ถานที่ทท่ี าํ พินัยกรรม คือ เขียนขอ ความวา พนิ ัยกรรมน้ไี ดทําขึ้นทีไ่ หน 3. บรรทัดถัดลงไปใหระบุวา ทําเม่ือวันท่ี/เดือน/ปอะไร ตอจากน้ันยอหนาถัดไปตองระบุ รายละเอียดเก่ียวกับผูทําพินัยกรรมประกอบดวย ชื่อ นามสกุล อายุ อยูบานเลขที่ ถนน หมู ตําบล อําเภอ จังหวดั การระบุรายละเอียดดงั กลา วเพอื่ ใหร ูวา ใครเปนผทู ําพินัยกรรม และผทู าํ พนิ ยั กรรมมีอายุเกนิ กวา 15 ป ขณะทีท่ ําพินัยกรรมตามทีก่ ฎหมายหรอื ไม 4. ขอ ความตอไปใหร ะบวุ า จะใหท รพั ยสินของเราตกทอดแกบ ุคคลใดเมอื่ เราเสียชีวติ ไปแลว ตัวอยาง เชน “ขาพเจาขอทําพินัยกรรมวาเม่ือขาพเจาถึงแกความตายแลว ใหทรัพยสินของ ขา พเจาตกเปนของบุคคลดงั ตอ ไปน้ี” จากนั้นใหระบุรายการทรัพยสินทั้งหลายที่ตั้งใจจะยกให โดยอาจระบุ เปนขอ ๆ เชน ขอ 1 ใหเ งนิ ขาพเจา จํานวน 2,000,000 บาท ที่ฝากไวกับธนาคารกรุงไทย สาขาสุพรรณบุรี ใหตก เปน ของนายอนมุ าน สมดี ขอ 2 ใหท ด่ี ินโฉนดเลขที่ 2345 ตําบลวังหนิ อาํ เภอเมอื ง จังหวัดบุรีรัมย รวมส่ิงปลูกสรางบนที่ดิน ดังกลาว ใหต กเปน ของนางดวงใจ ใจดี ขอ 3 ใหร ถยนตย ่หี อฮอนดา 1 คัน หมายเลขทะเบียน จส1188 กรงุ เทพมหานคร ใหต กเปนของ นางสาวทองดี มงคล อนึ่ง หากผูทําพินัยกรรมประสงคจะยกทรัพยสินทั้งหมดใหแกใครคนใดคนหน่ึงก็อาจเขียนวา “เมอ่ื ขา พเจาถึงแกกรรมไปแลว ใหทรพั ยสินท้งั หมดของขาพเจาตกไดแ ก นายใจ ไชโยแตเพียงผูเดียว” 5. ยอหนาตอไปควรระบุวา ขณะทําพินัยกรรมฉบับนี้ ขาพเจามีสติสัมปชัญญะปกติบริบูรณดี ตอนทายของพินัยกรรมตองลงลายมือช่ือหรือลายเซ็นของผูทําพินัยกรรม และควรวงเล็บช่ือและนามสกุล ดวยตัวบรรจงไวด วย แตจะพิมพล ายมือแทนการลงลายมือช่อื ไมไ ด 6. เม่ือเขียนพินัยกรรมเสร็จแลว ก็เปนอันวาหนังสือฉบับนี้เปนพินัยกรรมไปแลว แตหากผูทํา พินัยกรรมตองการเปลย่ี นแปลงแกไ ขพินยั กรรมทท่ี าํ ไวแ ลวนน้ั กส็ ามารถทําไดแตจะตองลงลายมือช่ือของตน ตรงที่ไดแ กไ ข ขดู ลบ ตก เตมิ นน้ั ไวด วย

169 เม่ือไดทําขึ้นแลวนั้นผูทําพินัยกรรมมีสิทธิจะแกไขเปลี่ยนแปลงได สามารถยกเลิกไดโดยแกไข ฉกี ทําลายพนิ ัยกรรมเสียกไ็ ด หรือทําพินัยกรรมฉบับใหม ซึ่งหากมีการทําใหมใหถือวาพินัยกรรมฉบับเกาถูก เพกิ ถอนไปแลว ความรุนแรงในผูสูงอายุ องคการอนามัยโลกใหนิยามความรุนแรงในผูสูงอายุ ไววา ความรุนแรงในผูสูงอายุ หมายถึง การกระทาํ ทมี่ ีผูเกี่ยวของ 3 ลักษณะ คือ เหย่ือหรือผูถูกกระทํา ผูกระทํา และผูเกี่ยวของรับรู การกระทําที่ เขาขายทารุณใหความถึงการปฏิบัติซ้ํา ๆ หรือเกิดขึ้นครั้งเดียว จากผูที่มีความสัมพันธในฐานญาติ โดยสายเลอื ด หรอื ผใู กลชิด เชน คูสมรส ซ่ึงลักษณะความสัมพันธแบบใกลชิดดังกลาว ไมสมควรเปนสาเหตุ ของการกระทาํ รุนแรงตอกัน ประเภทความรนุ แรงทเี่ กิดขึน้ กบั ผสู ูงอายุ ตามคําจํากัดความขององคก ารอนามยั โลก ไดแก 1) การทํารา ยรา งกาย ทําใหบาดเจบ็ เชน ทบุ ตี กักขัง 2) การทาํ รายดา นจิตใจ เชน ดดุ า ดูแคลน เหยียดหยาม 3) การลว งละเมิดทางเพศ 4) การเอาเปรียบ ขมขู หรือฉอ ฉลทรัพยส ิน มรดก 5) การละเลย ทอดทง้ิ เชน ไมดูแลเรอ่ื งการกินอยู สุขภาพอนามัย การกระทําความรุนแรงในผูสูงอายุเกิดจากหลายสาเหตุ เชน ความกาวราวหรือความเครียด ท่เี กดิ จากท้งั ผูดูแลและผสู งู อายุ ทง้ั น้ี ผสู งู อายตุ องการความเอาใจใสดแู ลเปน พเิ ศษและมักทํารายตนเองไมวา จะเกิดจากความบกพรอ งตอการรับรู ความสามารถในการไดยิน การเคลอ่ื นไหว หรือการไมสามารถชวยเหลือ ตนเองไดเ ทา ทคี่ วร ในขณะท่ผี ูดแู ลมคี วามกา วราวหรอื ความเครยี ดทไ่ี มสามารถจัดการกับปญหาดานการดูแล ไดเ ทา ที่ควร ในสถานการณเชนน้ี ผสู ูงอายมุ คี วามเสีย่ งสูงตอ ความรุนแรง เชน การใหคาํ พูดท่ีรุนแรง การทุบตี กักขงั ละเลย หรอื ถูกทอดทิ้ง (จนั จิรา วชิ ัย และ อมรา สนุ ทรธาดา, 2553) เรื่องที่ 5 การใชส มารท โฟน (Smartphone) เพ่อื การส่ือสารสาํ หรบั ผสู ูงอายุ 1. ความรูพ น้ื ฐานในการใชสมารทโฟน (smartphone) ความแตกตางระหวางสมารทโฟนและโทรศพั ทมือถอื โทรศัพทมือถือ คือ โทรศัพทท่ีถือเอาคุณสมบัติการโทรเปนหลัก แตสมารทโฟนจะเนน แอปพลเิ คชันเปนหลกั เชน การเลน เกมส การเขาอินเตอรเน็ต การจัดการไฟลเอกสาร เปนตน สมารทโฟนจะมี

170 คุณสมบัติตาง ๆ มากมายครอบคลุมในทุก ๆ ดาน คือ สมารทโฟน เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็กที่สามารถ โทรศพั ทแ ละเลน อินเตอรเ น็ตได (กิตตธิ ัช ตนั มา, มปป.) องคป ระกอบของเคร่ืองสมารท โฟน สมารทโฟน มีลักษณะภายนอกทั่วไปประกอบดวย ตัวเครื่องสมารทโฟน สายชารจ และหูฟง สมารท โฟนบางย่ีหอมชี อ งเสียบสายชารจ ที่สามารถเสียบไดเพียงดานเดียว จึงควรระมัดระวังในการชารจไฟ ถามีการฝนเสียบเขาในดานท่ีกลับกัน อาจสรางความเสียหายใหกับตัวเครื่องได การชารจไฟจะชารจ เมือ่ แบตเตอรี่มคี วามจุตา่ํ กวา 10 - 30 % โดยประมาณ ไมควรใชจ นแบตเตอรหี่ มด เน่อื งจากจะทําใหอายุการ ใชงานของแบตเตอรสี่ นั้ ลง องคประกอบหลัก ๆ ท่ีสังเกตไดงาย ๆ คือ สมารทโฟนจะมีปุมกดประมาณ 4-5 ปุม ไดแก ปุมปด - เปด ปมุ เพ่ิม - ลดเสียง ปุมโฮม เปนตน 2. การใชง านสมารทโฟนขน้ั พน้ื ฐาน ทมี่ า : https://www.google.co.th/search?q=สมารท โฟน 1) การโทรออก/การรบั สายสญั ลักษณก ารโทรออก/รับสาย ใน smart phone 2) การปฏิเสธการรับสาย/การวางสายสัญลกั ษณของการปฏิเสธการรับสาย/การวางสาย 3) หนาจอปกติพรอมใชงานหนาจอปกติ จะแอปพลิเคชันตาง ๆ เชน แอปพลิเคชันถายรูป แอปพลิเคชันปฏิทิน แอปพลิเคชันเครื่องคิดเลข แอปพลิเคชันฟงเพลง แอปพลิเคชันแผนที่ แอปพลิเคชันเฟสบุค แอปพลิเคชันฟงวิทยุ เปนตน 4) ปุมโทรออก/รับสาย 5) หนาจอโทรออก

171 ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=ปมุ กดหนา จอโทร หนา จอโทรออกจะมีปุมกดตัวเลข และปมุ โทรออก กดตวั เลข ตามเบอรโ ทรศัพทที่ตองการโทรออก เชน 0 5 6 7 2 1 5 3 2 และกดปุมโทรออก สีเขียวรูปโทรศพั ท 6) หนาจอสนทนา 7) หนาจอสายเขา รับสายโดยกดปุมสีเขียวรูปโทรศัพท หากไมตองการรับสาย ใหกดปุม สีแดงรูปโทรศพั ทค วาํ่ 8) แอปพลิเคชันกลองถายรูป เมื่อตองการจะถายภาพใหกดปุมรูปกลองถายภาพหากตองการ ถา ยภาพทีต่ อ งการ กด 1 คร้งั เทา กบั ถา ยภาพ 1 รูป 9) ปุมแอปพลิเคชันจัดการรูปภาพ ใชสําหรับเรียกดูภาพถายหรือจัดการภาพที่ไดถายไปแลว โดยสามารถลบท้ิงได ตองภาพในสวนทไ่ี มตองการและตกแตง ภาพได 10) อัลบ้ัมรูปภาพเปน สว นท่ใี ชเก็บรปู ภาพ 11) สถานะของแบตเตอร่ี ท่ีสามารถใชงานได ในปจจบุ ันจะแสดงเปนเปอรเซ็นต (%) 12) สถานะของแบตเตอรี่ ทต่ี องนําสมารทโฟนไปชารตไฟ 3. วธิ เี พ่มิ ประสทิ ธิภาพในชีวติ ดว ยสมารทโฟน การมีสมารท โฟนไวใ นครอบครองของทกุ คน แตละคนกม็ กั จะมวี ิธีการใช Smart Phone ใหเกิด ประโยชนต อตัวเองใหมากท่สี ุด ถึงจะความคุมคา อปุ กรณไ ฮเทคชนิดนม้ี คี วามสําคัญกับชีวิตไมนอยกวาปจจัย 4 (หลายคนเรียกสมารทโฟนเปนปจจัยท่ี 5 กันไปแลวดวยซ้ํา) วิธีเพิ่มประสิทธิภาพในชีวิตประจําวันดวย สมารทโฟน

172 3.1 ยดื การใชงานแบตเตอร่มี อื ถอื ใหเพียงพอ แบตเตอร่ีในโทรศัพทมือถือ เราควรจะมีแอปพลิเคชันในเคร่ืองท่ีทําใหเราสามารถใชงาน ในโหมดหนา จอสีขาวดาํ เพือ่ ลดการใชพ ลงั งาน อยางเชน Ultra Power Saving Mode ท่ีจะทําใหแบตเตอร่ี ท่ีเหลอื ไมม าก แตสามารถใชง านตอไปไดอีกหลายชว่ั โมง หรือในสมารท โฟนรนุ ใหม ๆ ท่มี าพรอ มกับการชารจ แบตเตอร่ใี หเ ต็มไดในระยะเวลาท่สี น้ั ลงกวา เดิม กจ็ ะทําใหผ ใู ชงานสามารถมแี บตเตอร่ีใชง านไดเพ่มิ ขึน้ จากการ ชารจไฟในเวลาส้ัน ๆ ได 3.2 ใชคอนเทนตรว มกันในแอปพลเิ คชนั ที่ตางกนั ความสามารถของการใชสมารทโฟน (Smart Phone) ที่ใชระบบปฏิบัติการแบบแอนดรอยด ก็คือ เร่ืองของ Muititasking หรือการทํางานของแอปพลิเคชันไดพรอมกันหลาย ๆ ตัว การนําขอความ รปู ภาพ จากแอปพลเิ คชนั หน่งึ ไปใชในอีกแอปพลิเคชันหนึ่งได เชน นําขอความจากเว็บไซตท่ีเราเขาไปอาน ไปสงใหก ับเพ่อื น ๆ ผา นทางโปรแกรมแชททรี่ องรบั บรกิ าร Multi Windows จะมีฟงกชันช่ือวา Drag and Drop Content (ลากและวางคอนเทนต) สามารถลากคอนเทนตท่ีนอกเหนือจากขอความปกติ (จากคลิปบอรด) เชน อยากแนบไฟลจ าก Gallery ไปบนแอปพลเิ คชัน อีเมลก็สามารถลากผานบรกิ าร Multi Windows ไดทนั ที 3.3 การใช Smart Phone หาของในที่มดื ในโทรศัพทมือถือหลายรุนท่ีมีไฟชวยสองสวางเวลาถายภาพ จะมีอีกหนึ่งประโยชนคือ สามารถเปดใชงานเปนไฟฉายสําหรับสองในที่มืดไดสามารถเรียกใชงานฟงกชันไฟฉายไดจาก Widget บนหนา จอ หรือถาไมม ีกอ็ าจจะสามารถดาวนโหลดแอปพลเิ คชนั ประเภทไฟฉายจาก Google Play Store 3.4 เลน เน็ตไดเ รว็ ข้นึ ในยุค 4G + Wi-Fi ปจจบุ ันเทคโนโลยีเครอื ขายไรสายทั่วโลก เร่ิมท่ีเขาสูยุคที่ 4 หรือเรียกกันติดปากกวา 4G LTE ในยคุ 4G สามารถใชอ นิ เทอรเน็ตบนอุปกรณพกพา หรือสมารทโฟนกันไดรวดเร็วมากขึ้น แตเมื่อความ ตอ งการของผูใชง านไมไดหยดุ อยูแคความเร็วของ 4G แตกลับมองวาทําไมถึงตองเลือกใชงานระหวาง Wi-Fi และ 4G นนั่ จึงกลายเปนท่มี าของ Download Booster 3.5 การใชสมารท โฟน (Smart Phone) เตือนความจาํ ในชวี ติ ประจาํ วนั กลองบนสมารทโฟนมีประโยชนมาก ตัวอยางการใชงานงาย ๆ กัน เชน การจอดรถในหางสรรพสินคา ใชกลองถา ยตําแหนง ของเสา หรอื สัญลกั ษณแ สดงช้นั ของลานจอดรถเม่ือกําลัง จะเขาไปชอปปง เพื่อเปนการงา ยตองการกลับมาทจี่ อดรถ หรือถา ยรูปสินคา ท่จี ะซ้อื อาจจะใชก ารถา ยรูปแทน การจดขอ มลู เชนเบอรโ ทรศพั ทหรือขอมูลท่ีสนใจ เพ่ือเอาไปใชในภายหลัง หรือบางคนอาจจะหาโปรแกรม แปลงขอ มลู บนนามบัตรมาเปนรายการตดิ ตอจากภาพทม่ี อี ยูก ไ็ ด

173 3.6 การใชส มารทโฟน (Smart Phone) สงภาพถา ยผานสญั ญาณไรส ายโดยตรง ไดคณุ ภาพ ดกี วา การถายภาพคู ภาพหมรู ะหวางเพือ่ น ๆ ดวยโทรศัพทม ือถอื เคร่ืองเดียว ก็มักจะไดยินวลีฮิต อยา ง “สง Line มาใหดวย” (หรืออาจจะเปนแอปพลิเคชัน แชทตัวอื่น ๆ ) แตหลายคนอาจจะยังไมทราบวา ภาพทส่ี งผา นแอปพลิเคชนั เหลาน้ัน จะทําใหคุณภาพของภาพถาย และขนาดถูกลดทอนคุณภาพลง เพราะ ผูใหบ ริการแอปพลเิ คชนั เหลานน้ั ตอ งใหบ ริการคนจํานวนมาก และดวย Bandwidth ที่จํากัด จึงตองทําการ ลดขนาดรูปถายกอนจะสงตอไปยังปลายทาง ดังน้ัน ถาอยากไดภาพความละเอียดแบบตนฉบับ สามารถ สงผาน Bluetooth หรือใช Wi-Fi Direct หรือ S Beam สง ไปใหเพื่อนกไ็ ด 3.7 เก็บขอ มูลท่เี ปนความลบั ใหป ลอดภัย ในปจจุบนั มีปญ หาเรือ่ งการลวงขอมลู ที่เปนความลับบนโทรศัพทอยูบอยคร้ัง ทําใหตองหา วิธปี กปอ งความลบั ใหปลอดภัยดวยวิธีตาง ๆ ที่สามารถทําไดงาย ๆ คือ การต้ังคาความปลอดภัยบนหนาจอ สมารทโฟน ซึ่งปจจุบันก็ทําไดหลายรูปแบบ ตั้งแตรหัสผาน ไปจนถึงการสแกนลายน้ิวมือโหมด เรียกวา “Private Mode” ทจี่ ะเพ่มิ ทจี่ ัดเก็บแยกสวนจากหนวยความจาํ เคร่อื งปกตอิ อกไป สําหรบั การเก็บไฟลตาง ๆ เชน รูปภาพ หรือเอกสารสําคัญ และการจะเขาใชงานโหมดสวนตัวน้ี ก็ตองมีการพิสูจนตัวตนดวยรหัสผาน หรอื ลายน้ิวมอื เขามาอีกรอบ ดังนัน้ มน่ั ใจไดว า ขอ มลู คณุ จะปลอดภัยยงิ่ ขึ้น 3.8 ปดระบบโฆษณาทร่ี บกวน การเลนเกมบนมือถือของตัวเอง ปจจุบันก็มีเกมใหดาวนโหลดใน Google Play store อยเู ปนหม่ืน ๆ ที่สําคญั คือ หลายเกมนั้นใหเราดาวนโหลดมาเลนไดฟรี แตก็ตองแลกมาดวยการแฝงโฆษณา มาแสดงบนหนาจออยูบอยคร้ัง จนหลายคนรูสึกรําคาญมีเคล็ดลับงาย ๆ ที่จะปดการแสดงโฆษณาเหลาน้ัน ก็คือ การใชง านโหมดทเ่ี รียกวา “Airplane Mode” ซึง่ ในโหมดน้ีเราจะไมส ามารถเชอ่ื มตอกับอินเทอรเนต็ ได 3.9 หาตวั ชวยใหการถา ยภาพตวั เอง หรอื Selfie งายข้ึน การถายภาพตัวเองหรือ Selfie กลายเปนเทรนดท่ีไดรับความนิยมเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ อาจจะ เปนเพราะกระแสโลกโซเชียลเน็ตเวิรคที่เติบโตข้ึน เรามักเห็นคนถายภาพตนเองดวยกลองหนากันบอย ๆ ในสถานท่ีทองเทย่ี วตาง ๆ แตป ญ หาที่หลายคนพบเจอ ก็คือการเอื้อมไปกดปมุ ชตั เตอรบนจอ บางครั้งอาจจะ ทาํ ใหม ือส่นั ได ดงั น้นั ถาเราหาวิธีกดปมุ ชัตเตอรท่ไี มต องเอ้ือมไปแตะปุมบนหนา จอ ก็จะชวยใหเราไดภาพท่ี ออกมาไมสนั่ ไหว ตองต้งั คา ใหป ุมเพม่ิ ลดระดบั เสียงทาํ งานแทนปุมชัตเตอร การใชฟงกช ันหนวงเวลา ก็ชวยให คณุ ไมตอ งมากดปุมชัตเตอรเอง หรือปจ จบุ ันสมารทโฟนหลายรุนก็มีวิธีถายภาพดวยการแสดงทาทาง หรือใช เสยี ง ก็ชว ยใหการถายภาพสนกุ ข้ึน

174 4. การใชแ อปพลิเคชน่ั จากสมารทโฟน แอปพลิเคชัน คือ ส่ิงสําคัญที่ชวยเสริมสมรรถภาพใหสมารทโฟนเกิดประโยชนในวงกวางแบบ ไรขีดจํากัด หากเทียบกบั คอมพวิ เตอรแ ลวมันก็คอื โปรแกรมในคอมพิวเตอร สามารถทําใหส มารทโฟน กลายเปน แผนที่นําทางไดเพียงแคใชแอปแผนที่ ถาตองการอานหนังสือพิมพก็ติดตั้งแอปพลิเคชันขาวสาร หรือเมื่อ ตอ งการเช็คเทยี่ วบิน โรงแรม และรถเชา ราคาประหยัดก็โหลดแอปพลิเคชันเสิรชเอ็นจ้ิน Skyscanner มาใช แอปพลิเคชันมอื ถอื เหลาน้ีรอคอยที่จะเปลย่ี นสมารทโฟนใหเปนประโยชนไ ดใ นแบบทตี่ องการ 4.1 ไลน (Line) 4.1.1 ความหมายของ ไลน (Line) ไลน (Line) คอื แอปพลิเคชันทมี่ ีความสามารถในการสนทนา เชน การแชท การแชรไ ฟล การสรางกลมุ พดู คุย หรือการสนทนาผา นเสียง ผา นเครอื ขา ยอินเทอรเน็ตบนอุปกรณประเภทพกพา (Mobile Devices) เชน สมารทโฟน แท็บเล็ต เปนตน นอกจากนี้ ไลน (Line) ยังสามารถติดตั้งและใชงานบนเคร่ือง คอมพิวเตอรท ่ัวไปไดด วย (ศูนยบริการองคความรกู ารเกษตร กรมสง เสรมิ การเกษตร, มปป.) จดุ เดน ของไลน (Line) 1) ใชงานงา ย 2) เช่อื มตอ และใชงานผา นเครอื ขา ยอินเทอรเน็ต 3) สามารถโทรหาบุคคลที่อยูใน Friend List ในลักษณะเดียวกันกับการใชงาน โทรศพั ททว่ั ไปผานเครือขายอนิ เทอรเ นต็ โดยไมต อ งเสยี คา ใชจา ยเพ่มิ ในสวนของการโทรออก 4) สามารถสรางกลุม สนทนาเฉพาะกลมุ ได 5) สามารถแชรไ ฟลภ าพ เสียง วีดโิ อ ตลอดจนขอ มลู สถานทไี่ ด 6) สามารถถายทอด อารมณ ความรูสึก ในระหวา งการสนทนาผาน Stickers แบบตาง ๆ 4.1.2 การตดิ ต้งั และใชงานไลน (Line) 1) การติดตง้ั ไลน (Line) บนสมารท โฟน

175 (1) ดาวนโ หลด Line Application ผา น App Store (กรณีสมารทโฟน เปนระบบ IOs) หรือ ผาน Play Store (กรณีสมารทโฟน เปน ระบบแอนดรอยด) ดังภาพ (2) พิมพคาํ วา line ทช่ี อ ง Search ดงั ภาพ (3) จากน้ันคลกิ ที่ไอคอน Free (4) และเลือก Install (5) เมอ่ื การติดตัง้ เสรจ็ สมบูรณจ ะปรากฎไอคอน LINE อยบู นหนาจอของสมารท โฟน ดังภาพ หมายเหตุ เราสามารถทาํ การตรวจสอบท่ี App Store หรือ Play Store อีกคร้ัง จะพบวา สถานะของแอปพลิเคชนั เปล่ยี นเปน OPEN ซง่ึ หมายถึง การติดตง้ั เสรจ็ สมบูรณแ ละแอปพลิเคชนั พรอมใชง านแลว

176 2) การติดตง้ั ไลน (Line) บนเครอ่ื งคอมพวิ เตอร (PC) (1) ดาวนโหลดไฟลสําหรบั ติดตัง้ ไดท่ี http://www.linepc.me ดงั ภาพ

177 ไปที่ Download Line PC ทางเมนูดา นซายของหนาจอ จากน้นั คลิก Download Now ดงั ภาพ คลิกที่ Save file ดงั ภาพ (2) ทําการดบั เบล้ิ คลกิ ทีไ่ ฟล เพอื่ ตดิ ต้งั

178 (3) เลือกภาษาสาํ หรบั ตดิ ตั้ง (4) เริ่มตนตดิ ต้งั จากนั้นคลิก Next

179 (5) คลิก I Agree ในสว นของ Terms of LINE Software (6) เลอื ก Path สําหรบั ใชในการติดต้งั จากนน้ั คลกิ Install

180 (7) ระบบกําลงั ติดต้งั (8) การตดิ ตั้งเสรจ็ สน้ิ จากน้นั คลกิ Close

181 (9) หนา จอสําหรบั การ Log in เขา ใชง านระบบ 3) การใชง านไลน (Line) (1) การลงทะเบียนเพ่ือเขาใชงานคร้งั แรก (1.1) การเขาใชงานคร้งั แรกนน้ั ผใู ชตองทาํ การลงทะเบียน เพื่อเขาใชบริการกอน โดยการระบหุ มายเลขโทรศพั ท เพ่อื ทาํ การยนื ยนั วาหมายเลขโทรศัพทเปนของผูใชง านจรงิ

182 (1.2) เร่ิมการใชงานแอปพลิเคชัน Line จะทําการดึงบัญชีรายช่ือในสมุด โทรศัพทในสมารทโฟน ของเรา และจะแจงวามีใครที่ลงแอปพลิเคชัน Line อยูบาง โดยเราสามารถพิมพ เพือ่ ทําการคนหาเพ่อื นของเราได ดังภาพ (1.3) การเพิ่มเพ่ือนเขาไปในแอพพลิเคช้ัน Line สามารถทําไดหลายรูปแบบ เชน การ Shake it , Contacts , QR Code , Search by ID

183 (1.4) เมอื่ เพิ่มเพื่อนเรียบรอยแลว ผูใชจะสามารถเร่ิมทําการคุย หรือแชทกับ เพือ่ นได โดยกดไปทช่ี อ่ื เพื่อนใน Line จะมใี หเ ลือกวาจะโทรหาหรือวา จะแชท ดงั ภาพ (1.5) การต้งั คาแผน เมนู Setting เชน การตั้งคา Display Name เพอื่ บอกสถานะ ตาง ๆ ของเรา สามารถพิมพไ ดดังตวั อยางในภาพ นอกจากนย้ี ังสามารถต้ังเสยี งเตือนตา ง ๆ ไดจากเมนูนที้ ั้งหมด 4) ประโยชนแ ละการประยุกตใ ชงานไลน (Line) (1) การประยุกตใชง านภายในองคก รตา ง ๆ (2) การประยุกตใ ชงานในธรุ กจิ ตา ง ๆ (3) การประยุกตใ ชง านในการติดตอ สื่อสารภายในครอบครัว หรอื ระหวา งกลมุ เพอื่ น

184 (4) สรางโซเซียลเนต็ เวริ คของตัวเอง (5) รบั ขาวสารลา สุดกบั บญั ชีอยา งเปนทางการของ LINE (6) ใชเ ปนส่อื ในการโฆษณา ประชาสมั พนั ธ หรือบริการลูกคาสาํ หรบั บริษทั และ องคก รตา ง ๆ 4.2 เฟสบุค (Facebook) 4.2.1 การเขา ใชงาน ขอ กาํ หนดของการใชงานตองมีอีเมล ใชสาหรับสมัครลงทะเบียน เชน hotmai.com, Gmail.com (กลุมเผยแพรแ ละพัฒนาบุคลากรดา นเทคโนโลยี สาํ นักเทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนการสอน, 2554) 1) ขน้ั ตอนแรกเขา เวบ็ ไซต http://www.facebook.com 2) เรมิ่ กรอกขอมลู สําหรับลงทะเบยี น โดยกรอกขอ มลู ใหค รบถว น และจํารหสั ผา นไว

185 3) เมื่อหนาจอแสดงภาพดังนี้ ใหพิมพตัวอักขระที่แสดง ใหเวนวรรค ตามภาพ กรณีที่อานตัวอักขระใหออกหรือมองเห็นไมชัดเจนใหคลิก ลองใชคาอื่น เพื่อเปล่ียนตัวอักขระใหม พมิ พขอความในกรอบ กดลงทะเบยี น 4) แสดงขั้น Step 1 การคนหาเพื่อน (ใชสาหรับเชิญชวนเพื่อน หรือเพื่อนที่มีการ ใชง าน Facebook กอนหนาน้แี ลวขั้นตอนน้สี ามารถกําหนดหรอื คนหาไดภ ายหลงั ให คลิก ขา มขั้นตอนน้ี ไปกอ น 5) แสดง Step 2 ขอมูลสวนตัว ในขั้นตอนนี้จะกรอกหรือไมก็ได สามารถกรอกได ภายหลงั กรณีท่ียงั ไมกรอกใหคลิก ขาม กรณที ก่ี รอกขอมลู ให คลกิ บันทกึ และดําเนินการตอ

186 6) Step 3 รูปประจําตัว (สามารถอัพโหลดรูปประจําตัวภายหลังได) กรณีท่ีไม อพั โหลดรูป คลิก ขาม กรณี อัพโหลดรูปภาพใหค ลิก อัพโหลดรูปภาพ

187 7) แสดงหนา จอดังน้ี ระบบแจง ใหย นื ยนั การสมคั ร ผานอีเมลท เี่ ราใชส มคั ร 8) เขา ไปตรวจสอบเชค็ เมลข อง Facebook ทสี่ ง มายังเมลของเรา

188 9) เมื่อคลกิ ยนื ยนั ผา นอเี มลเรยี บรอ ยแลว

189 4.2.2 การเขา สรู ะบบและการออกจากระบบ 1) การเขาสูระบบ เขา เวบ็ ไซต http://www.facebook.com พรอมกรอกอีเมล และ รหัสผา น ลงในชอ งวาง (1) การคนหาเพ่ือน ขอมูล กลุม ขอความ อื่น ๆ สามารถพิมพขอความ อีเมล ช่ือคนท่ีเราตอ งการ กรณพี มิ พ เชน teem ถา ในระบบมขี อมูลดงั กลา วจะแสดงชื่อท่เี ราตอ งการใหคลกิ เลือก กรณี ไมพอให Enter กรณีพบใหคลิก เพ่มิ เปนเพื่อน เพอื่ ขอเปน เพอื่ น (2) การแจง เตือนจากระบบ ระบบจะแจง เตอื นเปน ตัวเลขสแี ดง วาเกิด อะไรกบั Facebook และเพื่อนของเราบา ง และสามารถคลิกดูไดจ ากเมนู รอ งขอเปนเพอ่ื น แจง เตอื นวา มีบคุ คลท่ีตองการรอ งขอเปน เพอ่ื นเรา สามารถคลิกรบั เพอ่ื น ขอ ความ แจงเตอื นวา มคี นสง ขอ ความมาถึงเรา สามารถเปด อา นไดทนั

190 การแจง เตอื น แจงเตือนตา ง ๆ เชน เตอื นวา เพื่อนแสดงความคดิ เห็น แทก็ ภาพ ถกู ใจ 2) การออกจากระบบ เพือ่ ความปลอดภัยปอ งกนั คนอื่นแอบใช Facebook ของเราหลงั เลกิ ใชง าน จริยธรรมในการใช Facebook การท่ี Facebook มีจํานวนผใู ชงานหลายสิบลา นคนท่วั โลก ยอ มหมายถงึ ขอ มูลจํานวนมหาศาลทีจ่ ะ ถูกโพสบน Facebook ในแตละวนั และแนน อนวายอ มมีทัง้ ขอ มูลทม่ี ปี ระโยชนและโทษ ปะปนกนั ไป ถึงแมวา ผดู ูแลระบบ จะมีการดูแลและกลั่นกรองขอมูลในระดับหนึ่ง แตนั่นก็ไมเพียงพอที่จะปองกันอันตรายตาง ๆ ท่ีแฝงมากับ Facebook ได ดังจะเห็นไดจาก ขาวสารเก่ียวกับผูท่ีไดรับความเสียหายจากการใชงาน Facebook ที่ไมเหมาะสมอยเู ปนประจาํ การสรา งจริยธรรมในการใช Facebook จึงเปน อกี ทางแก ทจี่ ะชวยลดปญหาการละเมิดสิทธ์ิของผูอื่น ใน Facebook ได โดยทุกคร้ังท่มี ีการโพสขอมลู ตา ง ๆ จะตอ งคาํ นึงถึงสิ่งตอไปน้ี 1) ใชขอ ความทส่ี ภุ าพ 2) ไมละเมดิ สทิ ธขิ์ องผูอืน่ 3) ไมสรางความแตกแยก 4) ไมห ลอกลวงหรือทําใหคนอนื่ เขาใจผิด 5) ไมผดิ ศีลธรรมและวัฒนธรรมอันดีของสงั คม 4.3 ยทู ปู (YouTube) YouTube เปน เว็บไซตท ่ใี หผ ูใชสามารถโหลดวดิ ีโอออนไลนไ ด ซึ่งปจจุบนั มผี ูใชจ าํ นวนมาก เนอ่ื งดวยรูปแบบการงานท่เี ปด ใหผ ใู ชสามารถเขาถึงไดง า ย (มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบรุ ,ี 2562)

191 โดยสามารถเขาใชง านไดท แ่ี อปพลิเคชนั YouTube หรือทีเ่ วบ็ ไซต www.youtube.com การสมัครและเขาใชงาน เม่ือเขาสูเว็ปไซต YouTube ผูใชสามารถสมัครใชงานไดโดยกดท่ีปุม “ลงชื่อเขาใช” ท่ีมุมซายบนของหนาจอ จากนั้นจะปรากฏหนาจอใหเขาสูระบบ โดยสามารถเขาสูระบบไดดวยบัญชีผูใช Google+ (Gmail) หากไมมบี ัญชีผูใช Google+ ใหก ดที่ปุม “สรางบญั ช”ี (2) เพื่อใชงานบัญชี Gmail

192 หนาหลกั ภายในหนา หลัก YouTube จะประกอบไปดว ยเมนแู ละวดี ีโอตา ง ๆ 1) ชองสําหรับคน หาวีดีโอ หรอื ชอ งทต่ี อ งการรบั ชม 2) เมนหู ลกั ของ YouTube ที่ใชสาํ หรับเลือกวีดีโอ เชน หนาหลัก ชองของฉัน การติดตาม ประวตั กิ ารเขาชม เปน ตน 3) แสดงรายชอ่ื ชองทเี่ ราไดท ําการกดตดิ ตามเอาไว 4) สว นทจ่ี ะแสดงวิดีโอทีน่ าสนใจ วีดีโอแนะนาํ หรือวิดโี อท่เี ราติดตามเอาไว 5. ขอแนะนาํ การใชส มารทโฟนอยางปลอดภัย 5.1 ใชงานพมิ พดว ยนว้ิ มอื เทา ที่จาํ เปน หากจําเปน ตองพมิ พม าก ใหพิมพโดยใชแปนพมิ พผ าน ทางคอมพิวเตอร 5.2 ใชการพดู ผา นทางโทรศพั ท หรือขอความเสียงแทนการพมิ พ 5.3 หลีกเลย่ี งการใชงานตอเน่ืองนาน ๆ อาจทาํ การพักบางเพอ่ื ลดการทาํ งานของกลามเนือ้ 5.4 ใหย กสมารทโฟนใหสูงข้ึนเพื่อลดการกมคอและศีรษะ โดยอาจใชหมอนหรือกระเปาคอย รองแขนเพ่ือลดการเกรง็ ตวั ของบา 5.5 หากตอ งการใชสมาธิในการทาํ งาน ควรปดการสอ่ื สารชั่วคราว หรืออาจใหเหลือแคการรับ สายโทรศพั ท เพ่ือลดการดงึ ความสนใจเมือ่ มขี อความเขามา 5.6 ขณะพกั ใหท ําการยดื เหยยี ดนิ้วและแขนใหส ุด สลบั กับการกาํ มอื แนน ๆ ชา ๆ สัก 10 ครั้ง หรืออาจทําการนวดคลายกลา มเนื้อและเอ็นดว ยตนเอง

193 การดูแลและปอ งกันโรคไมติดตอเรอ้ื รัง (NCDs : Non - Communicable Diseases) กลมุ โรคไมต ิดตอเร้ือรัง หรอื กลมุ โรค NCDs คือ ปญ หาสขุ ภาพอนั ดบั หนงึ่ ของโลก และอันดับหน่ึง ในประเทศไทย ทั้งในมิติของจาํ นวนการเสียชีวติ และภาระโรคโดยรวม แมวากลมุ โรค NCDs จะประกอบดวย โรคจํานวนมาก แตพบวา วิกฤติปญหากลมุ โรค NCDs ในระดบั โลกนน้ั เปน ผลจาก 4 กลุม โรคหลัก เปนสําคัญ ไดแก กลุม โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด กลมุ โรคมะเร็ง กลมุ โรคเบาหวาน และกลมุ โรคปอดเรือ้ รัง ซ่ึง 4 โรคสําคัญน้ี มปี จจัยเสยี่ งทางสุขภาพทสี่ าํ คญั รวมกนั แบงเปน 2 กลมุ คอื 4 ปจ จัยเส่ียงดานพฤติกรรม ไดแก การสูบบุหรี่ การบรโิ ภคเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารทเ่ี ปน อนั ตรายตอ สขุ ภาพ และการมีกิจกรรมทางกาย ที่ไมเ พียงพอ และ 4 ปจจยั เสยี่ งดา นการเปลีย่ นแปลงทางสรรี วทิ ยา ไดแก ภาวะความดนั โลหติ สูง ภาวะนาํ้ ตาล ในเลือดสงู ภาวะไขมนั ในเลอื ดผิดปกติ และภาวะนํ้าหนักเกินและโรคอว น ในปจ จบุ นั ปญ หา NCDs ในประเทศไทยกเ็ ร่ิมทวคี วามรุนแรงขน้ึ อยางชัดเจน โดยเพ่ิมขึ้นท้ังจํานวน ผูเสยี ชวี ติ และสดั สว นการเสยี ชวี ิตจากโรค NCDs โดยการศกึ ษาภาระโรครายงานวา จํานวนผูเสียชีวิตจากโรค NCDs เพม่ิ ขน้ึ จาก 233,797 คน ใน พ.ศ. 2542 หรือรอยละ 60 ของการเสียชีวิตท้ังหมด เปน 314,340 คน ใน พ.ศ. 2552 หรือกลา วไดวา มีจาํ นวนผูเสยี ชีวติ จากโรค NCDs เพิม่ ขน้ึ เฉล่ยี 8,054 คนตอป ดงั นนั้ ควรใหความรูเกี่ยวกบั การดแู ลและปอ งกนั โรคไมตดิ ตอเร้ือรังกับผูที่สนใจในเรื่องความหมาย ของโรคไมติดตอเรื้อรัง สถานการณโรคไมติดตอเรื้อรัง ธรรมชาติวิทยาของการเกิดโรคไมติดตอเรื้อรัง และ การปอ งกนั โรคไมต ิดตอ เรือ้ รงั ในระดับบุคคลและระดบั ชุมชนตอไป เรื่องที่ 1 ความหมายของโรคไมต ดิ ตอ เร้อื รงั โรคไมติดตอ หรือเรียกยอวา NCDs (Non - Communicable Diseases, NCDs) คือ โรคที่ไมใช โรคติดเชื้อ ไมไดเกิดจากเชื้อโรคจึงติดตอไมไดดวยการสัมผัส คลุกคลี หรือติดตอผานตัวนําโรค (Vector) หรือ ผานทางสารคัดหลง่ั ตาง ๆ ซึ่งโรคไมตดิ ตอมปี จ จยั เส่ยี งมาจากพฤตกิ รรมทไ่ี มเ หมาะสมตาง ๆ เชน การด่ืมสุรา การสบู บุหร่ี รบั ประทานอาหารหวาน มัน เค็ม และขาดการมกี จิ กรรมทางกายท่ีเพยี งพอ กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ทางสรรี วทิ ยา ไดแก ไขมนั ในเลอื ดสงู ความดนั โลหติ สงู นํ้าตาลในเลือดสูง ภาวะนํา้ หนักเกนิ และอวน ซ่ึงทําให เปนโรคไมต ดิ ตอเรอื้ รงั ในท่ีสุด โดยกลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง ไดแก โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ขาดเลอื ด และโรคหลอดเลอื ดสมอง โรคไมต ิดตอ เรื้อรงั จะคอ ย ๆ มีอาการและอาการรุนแรงข้ึนเร่ือย ๆ ทีละนอย เมอ่ื ไมไดร บั การดแู ลรักษา

194 เรอ่ื งท่ี 2 สถานการณโ รคไมต ดิ ตอเรือ้ รัง 1. สถานการณแ ละสถติ กิ ารปวย การเสยี ชีวิตกอนวยั อันควรดว ยโรคไมติดตอ เรอ้ื รงั ในป พ.ศ. 2558 กลุม โรค NCDs เปนสาเหตุการเสียชวี ิตของประชากรประมาณ 41 ลานคนทั่วโลก ในแตละป หรือคิดเปนรอยละ 71 ของการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมด และพบวากลุมอายุระหวาง 30 - 69 ป ประมาณ 15 ลานคนเสียชีวิตจากกลุมโรค NCDs หรือเรียกวาเปนการตายกอนวัยอันควร ซ่ึงการเสียชีวิตในกลุมตายกอนวัยอันควร พบวามากกวารอยละ 85 ของการเสียชีวิตเกิดขึ้นในประเทศท่ีมี รายไดตํ่าและประเทศที่มีรายไดปานกลาง จากการประชุมสมัชชาอนามัยโลกครั้งที่ 53 ไดมีการรับรอง ยุทธศาสตรโลกเพ่ือปองกันและควบคุมโรคไมติดตอข้ึนโดยเนนไปที่ 4 หลักโรค 4 การเปล่ียนแปลงทาง สรรี วทิ ยา และ 4 ปจ จยั เสยี่ งหลักทจ่ี ะตองควบคุมอยา งเรง ดวน ทเ่ี รียกวา “4×4×4 model” คือ 4 โรคหลัก ไดแก โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคเบาหวาน โรคมะเรง็ และโรคทางเดนิ หายใจเรือ้ รัง ซ่ึงแตละโรคจะเกิดข้ึน จากการเปลย่ี นแปลงของสรีรวทิ ยาสําคัญ 4 ปจ จยั คือ ภาวะไขมนั ในเลือดสงู ภาวะความดนั โลหติ สงู ภาวะนาํ้ ตาล ในเลอื ดสูง และภาวะนํ้าหนกั เกนิ และอว น โดยทีก่ ารเปลี่ยนแปลงตาง ๆ นั้นเกิดจากพฤติกรรมทางสุขภาพท่ี ไมเหมาะสม ซ่ึงมีปจจัยเส่ียงทางพฤติกรรมรวมท่ีสําคัญประกอบดวย การบริโภคยาสูบ การดื่มเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล การบรโิ ภคอาหารที่ไมเหมาะสม และการมกี จิ กรรมทางกายไมเ พยี งพอ สถานการณในประเทศไทย พบอตั ราการเสียชีวิตอันมีสาเหตุจากโรค NCDs ที่สําคัญเพิ่มข้ึนใน ประชากรไทยระหวางป พ.ศ. 2558 – 2559 โดยในป พ.ศ. 2559 โรคไมติดตอ ท่เี ปนสาเหตุการตาย 3 อันดับแรก ไดแก โรคมะเรง็ รวมทกุ ประเภท รองลงมาคอื โรคหลอดเลอื ดสมอง และโรคหัวใจขาดเลือด คิดเปนอัตราการ เสยี ชีวิตเทา กับ 117.7, 48.7 และ 32.3 ตอประชากรแสนคนตามลําดับ สําหรับโรคเบาหวานแมจะไมไดเปน โรคท่ีมีอัตราการเสียชีวิตอยู 3 อันดับแรก อยางไรก็ตามระยะเวลา 2 ป (พ.ศ. 2558 – 2559) พบอัตรา การเสียชวี ิตเพิม่ สูงขึ้น โดยป พ.ศ. 2559 อัตราการเสียชีวิตจากโรคเบาหวานเทากับ 22.3 ตอประชากรแสนคน และอตั ราการเสยี ชีวิตกอ นวยั อนั ควรท่มี สี าเหตจุ ากโรค NCDs ท่ีสําคญั ดงั นี้ 1.1 โรคหลอดเลือดสมอง อัตราการเสียชีวิตกอนวัยอันควร (อายุ 30 - 69 ป) ในป พ.ศ. 2555 - 2560 มีแนวโนม เพิม่ ข้นึ อยางตอ เนอ่ื งและลดลงเลก็ นอยในป พ.ศ. 2560 โดยพบจํานวนผูเสียชีวิตทั้งหมด 31,172 ราย (อัตรา 47.8 ตอประชากรแสนคน) เปนจาํ นวนผูเ สียชวี ิตที่อยูในกลุมอายุ 30 - 69 ป จํานวน 15,863 ราย อัตราการเสียชีวิต เทากับ 44.6 ตอประชากรแสนคน อัตราเพศหญิงตอ เพศชายเทา กบั 1 : 2.1 1.2 โรคหวั ใจขาดเลือด อัตราการเสียชีวิตกอนวัยอันควร (อายุ 30 - 69 ป) ในป พ.ศ. 2555 - 2560 พบอัตรา การเสยี ชีวติ มีแนวโนมเพ่ิมข้นึ อยา งตอ เน่ืองและลดลงเล็กนอยในป พ.ศ. 2560 โดยในป พ.ศ. 2560 มีจํานวน ผูเสียชวี ติ ทัง้ หมด 20,745 ราย (31.8 ตอประชากรแสนคน) เปน จาํ นวนผูเ สียชีวิตท่ีอยูในกลุมอายุ 30 - 69 ป

195 จํานวน 10,597 ราย อัตราการเสียชีวิตเทากับ 29.8 ตอประชากรแสนคน อัตราเพศหญิงตอเพศชายเทากับ 1 : 2.6 1.3 โรคเบาหวาน อัตราการเสียชีวิตกอนวัยอันควร (อายุ 30 - 69 ป) ในป พ.ศ. 2555 - 2560 พบอัตรา การเสยี ชีวิตมีแนวโนมเพิ่มขน้ึ อยางตอเนอ่ื งและลดลงเล็กนอยในป พ.ศ. 2560 โดยในป พ.ศ. 2560 มีจํานวน ผูเสียชีวิตทั้งหมด 14,322 ราย (22.0 ตอ ประชากรแสนคน) เปนจํานวนผเู สยี ชีวิตที่อยูในกลุมอายุ 30 - 69 ป จํานวน 7,112 ราย อัตราการเสียชีวิตเทากับ 20.0 ตอประชากรแสนคน อัตราเพศชายตอเพศหญิงเทากับ 1 : 1.1 1.4 ภาวะความดันโลหติ สงู อตั ราการเสยี ชวี ิตมีแนวโนมเพ่มิ ขน้ึ อยางตอเน่ืองและลดลงเลก็ นอ ยในป พ.ศ. 2560 โดยใน ป พ.ศ. 2560 มจี ํานวนผเู สยี ชวี ติ ท้ังหมด 8,525 ราย (13.1 ตอ ประชากรแสนคน) เปนจํานวนผเู สยี ชวี ิตท่อี ยใู น กลมุ อายุ 30 - 69 ป จํานวน 2,677 ราย อตั ราการเสียชวี ิตเทา กับ 7.5 ตอประชากรแสนคน อตั ราเพศหญงิ ตอ เพศชายเทา กับ 1 : 1.6 1.5 โรคทางเดนิ หายใจอุดกนั้ เรอื้ รงั อัตราการเสยี ชีวติ กอนวัยอนั ควร (อายุ 30 - 69 ป) ในป พ.ศ. 2555 - 2560 พบอัตราการ เสยี ชวี ิตมแี นวโนมคงที่ โดยมีการเปล่ยี นแปลงเลก็ นอย โดยในป พ.ศ. 2560 มจี ํานวนผูเสียชวี ิตท้งั หมด 6,762 ราย (10.4 ตอประชากรแสนคน) เปนจํานวนผูเสียชีวิตท่ีอยูในกลุมอายุ 30 - 69 ป จํานวน 1,626 ราย อัตรา การเสยี ชีวติ เทา กบั 4.6 ตอประชากรแสนคน อัตราสวนเพศหญิงตอเพศชายเทากับ 1 : 4.3 แสดงใหเห็นวา ในป พ.ศ. 2560 จํานวนผเู สยี ชีวติ ท่ีเปนผชู ายพบมากเปน 4 เทาของผูหญงิ 2. สถานการณพฤติกรรมเสีย่ ง (Risk behavior) การเกิดโรคไมติดตอเร้ือรังสวนใหญเปนผลมาจากการมีพฤติกรรมทางสุขภาพในการใช ชวี ิตประจําวันท่ไี มเหมาะสม ซึ่งประกอบดว ยการบรโิ ภคยาสูบ การดมื่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล การบรโิ ภคอาหาร ที่ไมเหมาะสม และการมีกจิ กรรมทางกายไมเพียงพอ 2.1 พฤติกรรมการสูบบุหรี่ จากรายงานสถิติการบริโภคยาสูบของประเทศไทย ความชุกของ การสบู บหุ รี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปข นึ้ ไป ในชว งป พ.ศ. 2546 - 2560 มแี นวโนมลดลงจากรอยละ 23.0 เปนรอยละ 19.1 โดยแบงประเภทเปนผสู ูบบุหรใ่ี นปจจุบัน (ผูสบู บุหรเ่ี ปนประจาํ และผูสูบบุหร่ีเปนครั้งคราว) รอ ยละ 19.5 ผสู ูบบุหรเ่ี ปน ประจํารอ ยละ 16.0 และผูเลิกบหุ รแ่ี ลว มีรอ ยละ 13.4 เมือ่ พิจารณาตามเพศ ในชว ง ป พ.ศ. 2534 - 2560 ความชกุ ของการสบู บหุ ร่ีในเพศชายสูงกวาเพศหญิง ป พ.ศ.2560 พบความชุกของการ สูบบุหรี่เทากับรอยละ 1.7 พบวาเพศชายมีความชุกของการสูบบุหรี่สูงสุดในกลุมอายุ 30 - 44 ป (รอยละ 45.8) ซึง่ ความชุกของการสูบบุหรจ่ี ะลดลงเม่ืออายุมากขึ้น สว นในเพศหญิงความชุกของการสูบบุหร่ีจะสูงข้ึน ตามอายุ โดยพบความชกุ สงู สุดในกลมุ อายุ 60 - 69 สาํ หรับความชุกของการไดรับควันบุหร่ีมือสองในคนที่ไม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook