Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore User_Manual-Government_Employee

User_Manual-Government_Employee

Published by Napaporn Nitthiyanon, 2021-06-07 03:13:55

Description: User_Manual-Government_Employee

Search

Read the Text Version

๙๗ คาํ อธบิ าย การสรรหาและเลือกสรรคนพกิ ารเป็นพนักงานราชการ ตามหนงั สือคณะกรรมการบรหิ ารพนักงานราชการ ท่ี นร ๑๐๐๔.๑/คพร./พิเศษ ๑๗๙๑ ลงวนั ท่ี ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๔ กฎกระทรวงกําหนดจํานวนคนพิการท่ีนายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการและ หน่วยงานของรัฐจะต้องรับเข้าทํางาน และจํานวนเงินที่นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการ จะต้องนําส่งเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้กําหนดให้ หน่วยงานของรัฐซ่ึงมีผู้ปฏิบัติงานต้ังแต่หนึ่งร้อยคนขึ้นไปรับคนพิการท่ีสามารถทํางานได้ ไม่ว่าจะอยู่ในตําแหน่งใดในอัตราส่วนผู้ปฏิบัติงานท่ีมิใช่คนพิการทุกหน่ึงร้อยคนต่อคนพิการหน่ึงคน เศษของหนง่ึ ร้อยคนถา้ เกินหา้ สิบคนตอ้ งรบั คนพกิ ารเพิ่มอกี หนึง่ คน “ผู้ปฏิบัติงาน” ตามความหมายของกฎกระทรวง หมายถึง ข้าราชการ พนักงานราชการ หรือผู้ปฏิบัติงาน ที่เรียกช่ืออย่างอื่นของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งปฏิบัติงานประจําในหน่วยงานของรัฐนั้น และให้หมายรวมถึงผู้ซ่ึงปฏิบัติงานอยู่ในต่างประเทศ และผู้ซึ่งอยู่ระหว่างการลาโดยได้รับเงินเดือนด้วย โดยไม่รวมถึงลูกจ้างช่ัวคราว หรือพนักงานจ้างเหมาท่ีปฏิบัติงานโดยมีกําหนดระยะเวลา ตามสญั ญาจ้าง ทั้งน้ี การนับจํานวนผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐให้นับทุกวันที่ ๑ ตุลาคม ของทุกปี โดยมแี นวทางดังตอ่ ไปน้ี หน่วยงาน วธิ กี ารนบั จํานวนผปู้ ฏบิ ัตงิ าน กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการ นับจํานวนผู้ปฏบิ ตั ิงานรวมกันเปน็ กระทรวง ท่ีเรยี กชือ่ อยา่ งอ่ืนท่ีมีฐานะเป็นกรม ทงั้ น้ี ให้ปลดั กระทรวงดําเนินการจดั สรรให้ หนว่ ยงานในสงั กดั รบั คนพิการเข้าทํางาน โดย พจิ ารณาจากลักษณะงานที่คนพิการสามารถทําได้ ตามความเหมาะสม

๙๘ หนว่ ยงาน วธิ กี ารนบั จํานวนผู้ปฏิบตั งิ าน ราชการสว่ นท้องถิ่น นบั จํานวนผูป้ ฏบิ ัติงานของแตล่ ะองคก์ ารบริหาร ส่วนจงั หวัด เทศบาล องคก์ ารบริหารส่วนตาํ บล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถน่ิ อื่นท่มี กี ฎหมายจัดตั้ง รัฐวสิ าหกิจท่ตี งั้ ข้นึ โดยพระราชบัญญัติหรอื นับจํานวนผูป้ ฏิบตั งิ านของแต่ละรฐั วสิ าหกจิ พระราชกฤษฎีกา หนว่ ยงานอ่ืนของรฐั ท่เี ปน็ นิตบิ ุคคล นบั จาํ นวนผู้ปฏิบัตงิ านของแต่ละหน่วยงานอื่นของรฐั กฎกระทรวงฉบับน้ีมีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับตั้งแต่วันท่ีได้ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ซงึ่ ไดป้ ระกาศไปแล้วเมือ่ วนั ท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๕๔ การสรรหาและเลอื กสรรคนพกิ าร คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการจึงกําหนดแนวทางปฏิบัติในการสรรหา และเลือกสรรคนพิการเป็นพนักงานราชการ ซ่ึงสามารถดําเนินการสอบแข่งขันคนพิการรวมกับ บุคคลอื่นเป็นการท่ัวไป หรือเปิดสอบแข่งขันเฉพาะในกลุ่มคนพิการก็ได้ โดยสามารถดําเนินการ ดงั แนวทางตอ่ ไปนี้ ๑. การกําหนดลกั ษณะงานและคณุ สมบตั ขิ องบุคคลท่ีจะรับสมคั ร ส่วนราชการสามารถกําหนดลักษณะงานท่ีต้องการสรรหาและเลือกสรร พนักงานราชการและกาํ หนดคณุ สมบตั ิของบคุ คลทีจ่ ะรบั สมัครดงั น้ี ๑.๑ การเปิดรับสมัครคนพิการในตําแหน่งงานต่างๆ สามารถพิจารณาลักษณะงาน ทม่ี ีความเหมาะสมกบั ประเภทความพกิ าร เชน่ - ตําแหน่งงานพนักงานรับโทรศัพท์ อาจพิจารณาเปิดรับสมัครผู้พิการทางการเห็น ผพู้ กิ ารทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย เป็นต้น - ตาํ แหน่งงานด้านช่าง หรอื ศิลปหตั ถกรรม พนักงานเขียนโฉนด อาจพิจารณา เปิดรับสมัครผู้พิการทางการได้ยิน ผู้พิการทางการเคล่ือนไหวหรือทางร่างกาย ผู้พิการทาง สตปิ ัญญา ผู้พกิ ารทางการเรยี นรู้ เป็นตน้

๙๙ - ตําแหน่งงานที่ไม่ต้องใช้การปฏิบัติงานภาคสนาม โดยเป็นงานด้านวิเคราะห์ วจิ ยั อาจพิจารณาเปดิ รบั สมัครผูพ้ กิ ารทางการเคลือ่ นไหวหรอื ทางรา่ งกาย เปน็ ต้น ๑.๒ การกาํ หนดคณุ สมบตั ขิ องบคุ คลทจ่ี ะรับสมคั รดงั น้ี - เป็นผู้ท่ีมีคุณสมบัติท่ัวไปและเป็นผู้ท่ีไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ ๘ ของระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ - กําหนดคุณสมบัติอื่น ๆ (ความพิการที่เหมาะสมกับลักษณะงาน) เช่น ความพิการทางการเห็น ความพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย ความพิการทางการเคลื่อนไหว หรือทางร่างกาย ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม หรือออทิสติก ความพิการทางสติปัญญา ความพิการทางการเรียนรู้ เปน็ ต้น - กําหนดคณุ วุฒกิ ารศกึ ษาตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง การกําหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงานและการจัดทํากรอบอัตรากําลัง พนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒. การประกาศรบั สมัคร ส่วนราชการสามารถสรรหาและเลือกสรรพนกั งานราชการได้โดย ๒.๑ ประกาศรบั สมัครเปน็ การทั่วไป (ท้งั บคุ คลทวั่ ไปและคนพิการ) หรือ ๒.๒ ประกาศรับสมัครเฉพาะคนพิการเป็นการเฉพาะ เพื่อให้โอกาสคนพิการได้ แข่งขนั กนั เฉพาะในกลุ่มคนพิการด้วยกัน ท้ังน้ี ให้เป็นไปตามลักษณะงานและคุณสมบัติของบุคคล ที่ส่วนราชการกาํ หนด ๓. วธิ ีการสรรหาและเลือกสรร ให้ส่วนราชการดําเนินการสรรหาและเลือกสรรคนพิการเพ่ือจัดจ้างเป็น พนักงานราชการตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการสรรหาและเลือกสรรตามท่ีกําหนด ในประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนกั งานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขการสรรหา และการเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบสญั ญาจา้ งของพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒

๑๐๐ ๔. ประเภทของคนพิการ การกําหนดคุณสมบัติอื่น ๆ (ความพิการท่ีเหมาะสมกับลักษณะงาน) ตามข้อ ๑.๒ สามารถกําหนดตามแนวทางของประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ ลงวันท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๕๒ ซ่ึงได้กําหนดประเภท ความพิการไว้ ๖ ประเภท ดังน้ี ๑) ความพิการทางการเห็น ๒) ความพิการทางการไดย้ ินหรือการสอ่ื ความหมาย ๓) ความพกิ ารทางการเคลอ่ื นไหวหรอื ทางร่างกาย ๔) ความพกิ ารทางจติ ใจหรือพฤติกรรม หรือออทิสติก ๕) ความพิการทางสติปัญญา ๖) ความพกิ ารทางการเรียนรู้ รายละเอียดหลักเกณฑ์กําหนดความพิการท้ัง ๖ ด้านเป็นไปตามประกาศ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๒ สําหรับการวินิจฉัยและออกใบรับรองความพิการที่ระบุประเภทความพิการข้างต้น เพื่อใชป้ ระกอบคาํ ขอบตั รประจําตัวคนพิการ ใหผ้ ูป้ ระกอบวชิ าชพี เวชกรรมเป็นผู้ตรวจวินิจฉัยและ ออกใบรับรองความพิการเพื่อใช้ประกอบคําขอบัตรประจําตัวคนพิการ เว้นแต่นายทะเบียนกลาง หรือนายทะเบียนจังหวัด เห็นว่าบุคคลน้ันมีสภาพความพิการท่ีสามารถมองเห็นได้โดยประจักษ์ จะไมต่ อ้ งให้มกี ารตรวจวินจิ ฉัยก็ได้ ซงึ่ ผู้ท่ีจัดว่าเปน็ คนพกิ ารนั้น ควรจะเปน็ ผทู้ มี่ บี ตั รประจําตัวคนพิการ ดังน้ัน ในการสรรหาและเลือกสรรคนพิการ นอกเหนือจากการกําหนดประเภท ความพกิ ารแลว้ ควรกาํ หนดเพม่ิ เตมิ ว่า “จะตอ้ งเปน็ ผูท้ ่ีมีบัตรประจาํ ตวั คนพกิ าร” ไวด้ ้วย -------------------------------------

๑๐๑ ประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนกั งานราชการ เร่อื ง คา่ ตอบแทนของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อให้การบริหารค่าตอบแทนตามลักษณะงานและผลผลิตของงานของ พนักงานราชการมีความเหมาะสม สอดคล้องกับขนาดของงาน ขีดสมรรถนะ และการประเมินผล การปฏิบตั งิ านของพนักงานราชการ อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๑๔ และข้อ ๑๕ วรรคสาม ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ จึงกําหนดค่าตอบแทน ของพนกั งานราชการไว้ดงั น้ี ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า“ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง ค่าตอบแทน ของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔” ข้อ ๒ ใหย้ กเลกิ (๑) ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง ค่าตอบแทนและ สิทธปิ ระโยชน์ของพนกั งานราชการ ลงวนั ท่ี ๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๗ (๒) ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนและ สทิ ธปิ ระโยชน์ของพนักงานราชการ (ฉบับท่ี ๒) ลงวนั ท่ี ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๔๗ (๓) ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนและ สิทธปิ ระโยชน์ของพนกั งานราชการ (ฉบับท่ี ๔) ลงวันที่ ๒๗ ตลุ าคม ๒๕๔๘

๑๐๒ (๔) ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง ค่าตอบแทนและ สทิ ธปิ ระโยชนข์ องพนักงานราชการ (ฉบบั ที่ ๕) ลงวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ (๕) ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง ค่าตอบแทนและ สิทธปิ ระโยชน์ของพนักงานราชการ (ฉบับท่ี ๖) ลงวนั ท่ี ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ (๖) ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง ค่าตอบแทนและ สทิ ธปิ ระโยชนข์ องพนักงานราชการ (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๒ ขอ้ ๓ ในประกาศนี้ “พนกั งานราชการ” หมายความว่า พนักงานราชการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ดว้ ยพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ “ค่าตอบแทน” หมายความว่า เงินเดือนซ่ึงจ่ายให้แก่พนักงานราชการ ในการปฏิบัตงิ านใหแ้ ก่ส่วนราชการ ตามอัตราทกี่ ําหนดในประกาศน้ี ข้อ ๔ การกําหนดอัตราค่าตอบแทนของพนักงานราชการ ให้คํานึงถึงหลักการ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) หลักคณุ ภาพ เพ่ือให้ไดบ้ คุ ลากรทม่ี คี วามรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ เขา้ มาปฏบิ ัตงิ านภายใตร้ ะบบสัญญาจ้าง (๒) หลักความยุติธรรม เพื่อให้เกิดความเสมอภาคในโอกาส ไม่เหลื่อมลํ้า และไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิ (๓) หลักการจูงใจ การจ่ายค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ให้เพียงพอ โดยคํานึงถึงค่าครองชีพท่ีเปล่ียนแปลง ค่าตอบแทนในภาคเอกชน อัตราเงินเดือนข้าราชการพลเรือน และฐานะการคลังของประเทศ (๔) หลักความสามารถ อัตราค่าตอบแทนจะจ่ายตามความรู้ ความสามารถ ขีดสมรรถนะ และผลงานตามการประเมินผลการปฏิบัติงาน ข้อ ๕ อตั ราคา่ ตอบแทนพนักงานราชการใหเ้ ปน็ ไปตามบัญชีแนบทา้ ยประกาศน้ี

๑๐๓ พนักงานราชการในกลุ่มงานใดซึ่งมีคุณสมบัติเฉพาะในกรณีใดจะได้รับ ค่าตอบแทนจาํ นวนเทา่ ใด ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ี คพร. กาํ หนดตามบัญชที ้ายประกาศนี้ ในการกําหนดค่าตอบแทนของพนักงานราชการในกลุ่มงานเช่ียวชาญเฉพาะ ให้พิจารณาจาก คุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ และผลงาน รวมทั้งสามารถเจรจาต่อรอง การได้รับค่าตอบแทน โดยคํานึงถึงงบประมาณของส่วนราชการตามแผนงาน โครงการ และสามารถทําสัญญาไดค้ ราวละ ๑ ปี ต่อสญั ญาจ้างไดต้ ามแผนงาน โครงการ สําหรับการกําหนดค่าตอบแทนของพนักงานราชการในกลุ่มงานเช่ียวชาญพิเศษ ให้พิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ และผลงานความเช่ียวชาญพิเศษตามความ ต้องการของแผนงานหรือโครงการ รวมท้ังสามารถเจรจาต่อรองการได้รับค่าตอบแทน โดยคํานึงถึงงบประมาณของส่วนราชการตามแผนงาน โครงการด้วย ข้อ ๖ ผู้ได้รับการว่าจ้างเป็นพนักงานราชการประเภทท่ัวไป ซ่ึงมีประสบการณ์ ตรงตามลักษณะงานในตําแหน่งท่ีได้รับการว่าจ้าง ให้ได้รับการปรับอัตราค่าตอบแทนเพ่ิมข้ึน รอ้ ยละ ๕ ตอ่ ทกุ ประสบการณ์ ๒ ปี แต่ใหไ้ ดร้ บั อตั ราค่าตอบแทนเพิม่ ขึ้นสงู สุดไม่เกนิ ๕ ชว่ ง ข้อ ๗ หลักเกณฑ์การเลือ่ นค่าตอบแทนประจาํ ปี ให้พนักงานราชการได้รับการพิจารณาเลื่อนค่าตอบแทนตามผลการประเมิน การปฏบิ ัตงิ าน ดงั นี้ (๑) ต้องมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานในรอบปีงบประมาณท่ีแล้วมาไม่น้อยกว่า ๘ เดอื น เพ่ือจูงใจใหพ้ นกั งานราชการที่ปฏิบตั งิ านของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดี ในวนั ที่ ๑ ตุลาคม ของทกุ ปี (๒) พิจารณาเล่ือนค่าตอบแทนพนักงานราชการที่มีผลการปฏิบัติงาน ไมต่ ํ่ากว่าระดบั ดี ได้ไม่เกนิ อัตรารอ้ ยละ ๖ ของฐานค่าตอบแทน ตามผลการปฏบิ ัติงาน ทั้งนี้ ควบคุมวงเงินงบประมาณการเลื่อนค่าตอบแทนในวงเงินไม่เกินร้อยละ ๔ ของอตั ราค่าตอบแทนพนักงานราชการ ณ วนั ท่ี ๑ กนั ยายน

๑๐๔ ข้อ ๘ ในกรณีที่มีการคํานวณเพื่อปรับอัตราค่าตอบแทน หรือเล่ือนค่าตอบแทน หากคํานวณแล้วมีเศษไม่ถงึ สบิ บาท ใหป้ รับเพิ่มขึน้ เป็นสิบบาท ข้อ ๙ ให้ส่วนราชการจัดทําคําส่ังเล่ือนค่าตอบแทนของพนักงานราชการ ตามการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านในข้อ ๗ ข้อ ๑๐ พนักงานราชการในกลุ่มงานใด ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน เพ่ือต่อสัญญาจ้างได้ ให้พนักงานราชการผู้นั้นได้รับการพิจารณาเลื่อนค่าตอบแทนในกลุ่มงานน้ัน ตามผลการประเมินการปฏิบัติงานตามหลกั การในข้อ ๗ ได้ ข้อ ๑๑ คณะกรรมการอาจกําหนดให้พนักงานราชการประเภททั่วไปมีสิทธิได้รับ ค่าตอบแทนสําหรับตําแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษ และค่าตอบแทนอื่นๆ ท่ีปฏิบัติงานหรือมีลักษณะงาน เช่นเดยี วกับขา้ ราชการพลเรือนที่ได้รบั ค่าตอบแทนดังกลา่ วก็ได้ ข้อ ๑๒ ให้พนักงานราชการได้รับค่าตอบแทนการออกจากราชการโดยไม่มี ความผดิ ไดต้ ามหลกั เกณฑท์ ่คี ณะกรรมการประกาศกําหนด ข้อ ๑๓ ในกรณีท่ีจะให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนแตกต่างไปจากท่ีกําหนดในประกาศนี้ ให้ส่วนราชการเสนอคณะกรรมการพิจารณา ท้ังนี้ ตัง้ แต่วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ (นายสาทติ ย์ วงศ์หนองเตย) รฐั มนตรปี ระจําสํานักนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการบริหารพนกั งานราชการ

๑๐๕ บัญชีกลุ่มงานบริการ อตั รา บาท/เดือน ขน้ั สงู ๑๘,๕๐๐ ข้ันต่ํา ๖,๑๐๐ บญั ชกี ลุม่ งานเทคนิค อตั รา บาท/เดือน ก. กลมุ่ งานเทคนคิ ทั่วไป ขั้นสงู ๒๒,๘๒๐ ขั้นตาํ่ ๗,๐๑๐ ข. กลุ่มงานเทคนคิ พเิ ศษ ข้นั สงู ๕๖,๙๔๐ ขนั้ ต่ํา ๑๒,๒๓๐ บญั ชกี ลุ่มงานบริหารทวั่ ไป อตั รา (บาท/เดือน) ขนั้ สงู ๓๑,๗๗๐ ขน้ั ตาํ่ ๙,๕๓๐ บญั ชกี ลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ อัตรา (บาท/เดือน) ขนั้ สงู ๔๐,๗๙๐ ขั้นต่ํา ๑๐,๓๓๐ บัญชีกลุม่ งานเช่ียวชาญเฉพาะ อัตรา บาท/เดือน ขัน้ สงู ๖๕,๐๙๐ ข้นั ตาํ่ ๓๕,๘๘๐ บัญชกี ลุ่มงานเชี่ยวชาญพเิ ศษ ประเภทท่ีปรึกษา บาท/เดือน ๑. ระดบั สากล ไม่เกนิ ๒๐๘,๐๐๐ ๒. ระดับประเทศ ไมเ่ กิน ๑๕๖,๐๐๐ ๓. ระดบั ทัว่ ไป ไมเ่ กนิ ๑๐๔,๐๐๐ แนบท้ายประกาศคณะกรรมการฯ เรือ่ ง คา่ ตอบแทนของพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ลว ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔

๑๐๖ บัญชีกําหนดอัตราค่าตอบแทนของผูไ้ ด้รับปรญิ ญา ประกาศนียบตั รวิชาชพี ท่ี ก.พ. รับรองคณุ วฒุ ิแลว้ หรอื ผูม้ ีทกั ษะประสบการณ์ (แนบทา้ ยประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนักงานราชการ เร่ือง คา่ ตอบแทนของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวนั ท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔) ลาํ ดับ คุณวุฒทิ ี่ ก.พ. รบั รองแลว้ อัตราคา่ ตอบแทน ๑ ปริญญาเอก หรือเทยี บเท่า กลุ่มงาน บาท ๒ ปริญญาเอก หรือเทียบเท่า ๓ วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ วิชาชีพเฉพาะ ๑๗,๐๕๐ เวชกรรมของแพทยสภา ที่มีกําหนดเวลาศึกษาอบรมไม่น้อยกว่า บริหารท่ัวไป ๑๕,๗๔๐ ๓ ปี ต่อจากวุฒิปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต และได้รับใบประกอบ วิชาชีพเวชกรรมแล้ว หรือหนังสืออนุมัติบัตรในสาขาวิชา วชิ าชพี เฉพาะ ๑๗,๐๕๐ เดยี วกันกบั วฒุ บิ ตั ร ๔ วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ วิชาชพี เฉพาะ ๑๗,๐๕๐ ทันตกรรมของทันตแพทยสภา ที่มีกําหนดเวลาศึกษาอบรม ไม่น้อยกว่า ๓ ปี ต่อจากวุฒิปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑิต วิชาชีพเฉพาะ ๑๒,๖๑๐ และได้รับใบประกอบวิชาชีพทันตกรรมแล้ว หรือหนังสือ บริหารทัว่ ไป ๑๑,๖๔๐ อนุมตั บิ ัตรในสาขาวชิ าเดยี วกันกับวฒุ ิบตั ร วชิ าชพี เฉพาะ ๑๓,๒๕๐ ๕ ปรญิ ญาโททวั่ ไป หรอื เทียบเท่า ๖ ปรญิ ญาโทท่วั ไป หรือเทียบเทา่ วชิ าชพี เฉพาะ ๑๑,๓๑๐ ๗ ปรญิ ญาแพทยศาสตรบณั ฑติ ปริญญาทันตแพทย- ศาสตรบณั ฑติ และไดร้ บั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี หรอื วชิ าชีพเฉพาะ ๑๐,๓๓๐ ปริญญาสตั วแพทยศาสตรบณั ฑิต บรหิ ารทั่วไป ๙,๕๓๐ ๘ ปริญญาตรีท่มี หี ลักสูตรกาํ หนดเวลาศึกษาไมน่ อ้ ยกวา่ ๕ ปี ต่อจาก เทคนิคพเิ ศษ ๑๒,๒๓๐ วฒุ ปิ ระกาศนยี บตั รมธั ยมศกึ ษาตอนปลายเฉพาะปรญิ ญาท่ี ก.พ. กาํ หนดให้ไดร้ บั เงินเดือนตามหลักสูตร ๕ ปี ๙ ปรญิ ญาตรีทมี่ ีหลกั สตู รกาํ หนดเวลาศกึ ษาไมน่ ้อยกว่า ๔ ปี ตอ่ จากวฒุ ปิ ระกาศนียบตั รมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา่ ๑๐ ปริญญาตรที ีม่ ีหลกั สตู รกําหนดเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๔ ปี ตอ่ จากวุฒปิ ระกาศนียบตั รมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเทา่ ๑๑  ไม่ต่ํากว่าปรญิ ญาตรี และมีประสบการณ์ในงานท่ีปฏิบตั ิมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า๘ปี หรอื  ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรืออนุปริญญา หลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ในงานท่ีปฏิบัติ

๑๐๗ ลําดับ คณุ วฒุ ิที่ ก.พ. รับรองแลว้ อตั ราคา่ ตอบแทน มาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐ ปี หรือ กล่มุ งาน บาท  ประกาศนยี บัตรวิชาชีพเทคนคิ (ปวท.) หรอื อนปุ ริญญา บริการ/เทคนคิ ๘,๕๒๐ หลกั สูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนยี บตั รประโยคมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทยี บเท่า และมีประสบการณ์ในงานทป่ี ฏบิ ตั ิ บรกิ าร/เทคนิค ๗,๗๗๐ มาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ ๑๑ ปี หรือ บริการ/เทคนคิ ๗,๐๑๐  ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) และมีประสบการณใ์ นงาน ที่ปฏิบตั ิมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า ๑๒ ปี บรกิ าร ๖,๑๐๐ ๑๒ ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สงู (ปวส.) หรือ อนุปริญญาหรือประกาศนยี บัตรของส่วนราชการตา่ งๆ ท่ีมหี ลักสตู ร กาํ หนดระยะเวลาศึกษาไวไ้ มน่ ้อยกวา่ ๓ ปี ตอ่ จากวฒุ ิประกาศนยี บัตรมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๑๓ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี เทคนิค (ปวท.) ประกาศนียบตั รวชิ าการศึกษาชนั้ สูง (ป.กศ.สูง) และ อนุปรญิ ญา หรือประกาศนียบตั รของส่วนราชการตา่ ง ๆ ทม่ี ี หลกั สตู รกําหนดระยะเวลาศกึ ษาไม่นอ้ ยกวา่ ๒ ปี ตอ่ จาก วฒุ ปิ ระกาศนยี บตั รมธั ยมศึกษาตอนปลาย หรือไม่น้อยกวา่ ๔ ปี ตอ่ จากวฒุ ิประกาศนยี บัตรมัธยมศึกษาตอนตน้ หรือ เทยี บเทา่ ๑๔ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) หรอื ประกาศนยี บัตร ท่ีมหี ลกั สตู รกําหนดระยะเวลาศกึ ษาไม่น้อยกวา่ ๑ ปตี ่อจาก วฒุ ิประกาศนียบตั รมธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรือไม่นอ้ ยกว่า ๓ ปี ตอ่ จากวฒุ ิประกาศนียบัตรมัธยมศกึ ษาตอนต้น หรือ เทยี บเท่า กรณีกลมุ่ งานเทคนิคทต่ี อ้ งใชท้ กั ษะเฉพาะของบุคคล ซ่ึงมไิ ดผ้ ่านการเรียนการสอนในสถาบนั การศึกษาใดเปน็ การ เฉพาะ จะตอ้ งมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในงาน ทจ่ี ะปฏบิ ตั ิไม่ตํ่ากว่า ๕ ปี ใหไ้ ดร้ ับค่าตอบแทน ๑๕ ประกาศนยี บัตรมัธยมศึกษาตอนต้น และ ประกาศนยี บัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรอื เทียบเท่า

๑๐๙ ประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนกั งานราชการ เรอ่ื ง ค่าตอบแทนของพนกั งานราชการ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยท่ีได้มีการปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนซ่ึงเป็นฐานคํานวณอัตรา ค่าตอบแทนของพนักงานราชการ ดังนั้น จึงสมควรปรับปรุงอัตราค่าตอบแทนของพนักงาน ราชการให้สอดคลอ้ งกับการปรบั อัตราเงนิ เดือนดงั กลา่ ว อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๑๔ และข้อ ๑๖ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ จึงกําหนด ค่าตอบแทนของพนักงานราชการไว้ดังน้ี ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่อื ง คา่ ตอบแทนของพนักงานราชการ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔” ขอ้ ๒ ประกาศน้ใี หใ้ ชบ้ ังคบั ต้งั แตว่ นั ท่ี ๑ เมษายน ๒๕๕๔ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกบัญชีกลุ่มงานบริการ บัญชีกลุ่มงานเทคนิค บัญชีกลุ่มงานบริหารทั่วไป บัญชีกลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ บัญชีกลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ และบัญชีกลุ่มงานเช่ียวชาญพิเศษ ท้ายประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ืองค่าตอบแทนของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ และใหใ้ ชบ้ ญั ชีแนบท้ายประกาศน้แี ทน ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ (นายสาทติ ย์ วงศห์ นองเตย) รฐั มนตรีประจาํ สํานกั นายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการบริหารพนกั งานราชการ

๑๑๐ บัญชกี ลุ่มงานบริการ อตั รา บาท/เดือน ขัน้ สงู ๑๙,๔๓๐ ขั้นตาํ่ ๖,๔๑๐ บัญชกี ลุ่มงานเทคนคิ อัตรา บาท/เดือน ก. กลุม่ งานเทคนคิ ทั่วไป ขน้ั สงู ๒๓,๙๗๐ ขนั้ ต่ํา ๗,๓๗๐ ข. กลุม่ งานเทคนคิ พเิ ศษ ข้ันสงู ๕๙,๗๙๐ ข้ันต่ํา ๑๒,๘๕๐ บัญชีกลุ่มงานบรหิ ารท่วั ไป อัตรา (บาท/เดือน) ขนั้ สงู ๓๓,๓๖๐ ขั้นต่ํา ๑๐,๐๑๐ บัญชีกลุ่มงานวิชาชพี เฉพาะ อตั รา (บาท/เดือน) ข้ันสงู ๔๒,๘๓๐ ข้ันต่ํา ๑๐,๘๕๐ บัญชกี ลุม่ งานเชย่ี วชาญเฉพาะ อัตรา บาท/เดือน ขน้ั สงู ๖๘,๓๕๐ ขัน้ ตํ่า ๓๗,๖๘๐ บัญชีกลุ่มงานเชยี่ วชาญพเิ ศษ ประเภทที่ปรกึ ษา บาท/เดือน ๑. ระดบั สากล ไม่เกิน ๒๑๘,๔๐๐ ๒. ระดบั ประเทศ ไม่เกนิ ๑๖๓,๘๐๐ ๓. ระดบั ทว่ั ไป ไมเ่ กนิ ๑๐๙,๒๐๐ แนบท้ายประกาศคณะกรรมการฯ เร่อื ง คา่ ตอบแทนของพนกั งานราชการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ ลว ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔

๑๑๑ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่อื ง ค่าตอบแทนของพนักงานราชการ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ ด้วยเห็นสมควรปรับปรุงบัญชีกําหนดอัตราค่าตอบแทนของผู้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่ ก.พ. รับรองคุณวุฒิแล้ว หรือผู้มีทักษะประสบการณ์เพ่ือให้สอดคล้อง กบั การปรับอตั ราคา่ ตอบแทนของพนักงานราชการ อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๑๔ และข้อ ๑๖ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ จึงกําหนดอัตรา คา่ ตอบแทนของผไู้ ดร้ ับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ท่ี ก.พ. รับรองคุณวุฒิแล้ว หรือผู้มีทักษะ ประสบการณข์ องพนกั งานราชการไว้ดังน้ี ขอ้ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรือ่ ง คา่ ตอบแทนของพนกั งานราชการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔” ขอ้ ๒ ประกาศนใ้ี หใ้ ช้บงั คับตั้งแตว่ ันท่ี ๑ เมษายน ๒๕๕๔ เป็นตน้ ไป ขอ้ ๓ ใ ห้ย ก เ ลิ ก บัญ ชีกํ า ห น ด อั ต ร า ค่ าตอบแทนของผู้ ได้ รั บปริ ญ ญ า ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ท่ี ก.พ. รับรองคุณวุฒิแล้ว หรือผู้มีทักษะประสบการณ์ ท้ายประกาศ คณะกรรมการบรหิ ารพนักงานราชการ เร่อื ง ค่าตอบแทนของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใช้ บญั ชีแนบท้ายประกาศนี้แทน ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ (นายสาทติ ย์ วงศ์หนองเตย) รฐั มนตรีประจาํ สาํ นักนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการบริหารพนกั งานราชการ

๑๑๒ บญั ชกี ําหนดอตั ราค่าตอบแทนของผไู้ ด้รับปริญญา ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ท่ี ก.พ. รับรองคณุ วุฒิแล้ว หรือผู้มีทกั ษะประสบการณ์ (แนบทา้ ยประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่อื ง คา่ ตอบแทนของพนักงานราชการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔) ลาํ ดบั คณุ วุฒิท่ี ก.พ. รบั รองแลว้ กลมุ่ งาน อัตราคา่ ตอบแทน บาท ใหม่ เดิม ๑ ปรญิ ญาเอก หรือเทยี บเท่า วชิ าชพี เฉพาะ ๑๗,๐๕๐ ๑๗,๙๑๐ ๒ ปริญญาเอก หรือเทยี บเท่า บรหิ ารทั่วไป ๑๕,๗๔๐ ๑๖,๕๓๐ ๓ วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ วชิ าชีพเฉพาะ ๑๗,๐๕๐ ๑๗,๙๑๐ เวชกรรมของแพทยสภา ที่มีกําหนดระยะเวลาการศึกษา อบรมไม่น้อยกว่า ๓ ปี ต่อจากวุฒิปริญญาแพทยศาสตร- บัณฑิต และได้รับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมแล้ว หรือ หนงั สอื อนุมัติบตั รในสาขาวชิ าเดียวกันกับวฒุ บิ ตั ร ๔ วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบ วิชาชพี เฉพาะ ๑๗,๐๕๐ ๑๗,๙๑๐ ๑๒,๖๑๐ ๑๓,๒๕๐ วิชาชีพทันตกรรมของทันตแพทยสภา ที่มีกําหนด ระยะเวลาการศึกษาอบรมไม่น้อยกว่า ๓ ปี ต่อจาก วุฒิปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑิต และได้รับใบ ประกอบวิชาชีพทันตกรรมแล้ว หรือหนังสืออนุมัติบัตร ในสาขาวชิ าเดยี วกันกบั วฒุ ิบตั ร ๕ ปรญิ ญาโททว่ั ไป หรือเทียบเทา่ วิชาชีพเฉพาะ ๖ ปริญญาโททวั่ ไป หรือเทียบเทา่ บรหิ ารท่วั ไป ๑๑,๖๔๐ ๑๒,๒๓๐ ๗ ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต ปริญญาทันตแพทยศาสตร- วิชาชีพเฉพาะ ๑๓,๒๕๐ ๑๓,๙๒๐ บัณฑิต และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพหรือ ๑๑,๓๑๐ ๑๑,๘๘๐ ปรญิ ญาสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ ๑๐,๓๓๐ ๑๐,๘๕๐ ๘ ปริญญาตรีท่ีมีหลักสูตรกําหนดระยะเวลาการศึกษา วิชาชีพเฉพาะ ๙,๕๓๐ ๑๐,๐๑๐ ไม่น้อยกว่า ๕ ปี ต่อจากวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษา ตอนปลายเฉพาะปริญญาท่ี ก.พ. กําหนดให้ได้รับเงินเดือน ตามหลกั สูตร ๕ ปี ๙ ปริญญาตรีท่ีมีหลักสูตรกําหนดระยะเวลาการศึกษา วชิ าชพี เฉพาะ ไม่น้อยกว่า ๔ ปี ต่อจากวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษา ตอนปลายหรอื เทียบเทา่ ๑๐ ปริญญาตรีท่ีมีหลักสูตรกําหนดระยะเวลาการศึกษา บริหารท่วั ไป ไม่น้อยกว่า ๔ ปี ต่อจากวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษา ตอนปลายหรอื เทียบเทา่

๑๑๓ ลาํ ดบั คณุ วุฒิท่ี ก.พ. รับรองแลว้ กล่มุ งาน อัตราค่าตอบแทน บาท ใหม่ เดิม ๑๑  ไมต่ ํา่ กว่าปริญญาตรี และมีประสบการณใ์ นงาน เทคนิคพิเศษ ๑๒,๒๓๐ ๑๒,๘๕๐ ท่ีปฏิบัตมิ าแล้วไมน่ อ้ ยกว่า ๘ ปี หรือ ๘,๕๒๐ ๘,๙๕๐ ๗,๗๗๐ ๘,๑๖๐  ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) หรือ ๗,๐๑๐ ๗,๓๗๐ อนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยค ๖,๑๐๐ ๖,๔๑๐ มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์ ในงานทปี่ ฏบิ ัตมิ าแล้วไม่นอ้ ยกวา่ ๑๐ ปี หรอื  ประกาศนยี บัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือ อนุปรญิ ญาหลักสตู ร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตร ประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา่ และมี ประสบการณใ์ นงานทปี่ ฏบิ ัติมาแล้วไมน่ ้อยกว่า ๑๑ ปี หรือ  ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) และมปี ระสบการณ์ ในงานทีป่ ฏบิ ัติมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี ๑๒ ประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.) หรืออนปุ ริญญาหรือ บรกิ าร/เทคนคิ ประกาศนียบัตรของส่วนราชการต่างๆ ทมี่ ีหลักสูตรกําหนด ระยะเวลาการศึกษาไวไ้ มน่ ้อยกว่า ๓ ปี ตอ่ จากวุฒิประกาศนยี บัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๓ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี เทคนคิ (ปวท.) บรกิ าร/เทคนคิ ประกาศนียบัตรวิชาการศกึ ษาชนั้ สูง (ป.กศ.สูง) และ อนุปรญิ ญา หรือประกาศนียบัตรของส่วนราชการตา่ ง ๆ ท่ี มหี ลกั สตู รกําหนดระยะเวลาการศึกษาไมน่ ้อยกว่า๒ปี ตอ่ จากวุฒิประกาศนยี บัตรมธั ยมศึกษาตอนปลาย หรือ ไม่นอ้ ยกวา่ ๔ ปี ตอ่ จากวฒุ ปิ ระกาศนียบตั รมัธยมศึกษา ตอนต้น หรือเทียบเท่า ๑๔ ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) หรือประกาศนียบัตร บรกิ าร/เทคนคิ ทมี่ ีหลักสูตรกาํ หนดระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๑ ปีต่อจากวุฒิประกาศนยี บตั รมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื ไมน่ ้อยกว่า ๓ ปี ตอ่ จากวุฒิประกาศนยี บัตร มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หรือเทียบเท่า กรณีกลุ่มงานเทคนิคที่ตอ้ งใช้ทกั ษะเฉพาะ ของบคุ คลซึ่งมไิ ด้ผ่านการเรียนการสอนใน สถาบันการศกึ ษาใดเปน็ การเฉพาะ จะตอ้ งมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในงานทจ่ี ะปฏิบัตไิ มต่ ํ่ากว่า ๕ ปี ใหไ้ ด้รับคา่ ตอบแทน ๑๕ ประกาศนียบตั รมธั ยมศึกษาตอนตน้ และ บรกิ าร ประกาศนยี บตั รมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื เทียบเทา่

๑๑๕ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง ค่าตอบแทนของพนักงานราชการ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๕ ด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันท่ี ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ เห็นชอบให้ปรับบัญชี เงินเดือน ค่าจ้าง และค่าตอบแทนรายเดือนของบุคลากรภาครัฐโดยให้ปรับอัตราเงินเดือน หรือค่าจ้างขั้นตํ่าและขั้นสูงของผู้มีสิทธิได้รับเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวในสัดส่วนร้อยละห้า และมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๔ เห็นชอบให้ปรับเงินเพิ่มการครองชีพ ช่ัวคราวของพนักงานราชการ ซึ่งได้รับการบรรจุแต่งตั้งในตําแหน่งท่ีใช้ผู้สําเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีข้ึนไป หรือระดับต่ํากว่าปริญญาตรี เพื่อให้พนักงานราชการมีรายได้เพียงพอ ในการดํารงชีพตามภาวะเศรษฐกิจท่ีปรับสูงขึ้น จึงเห็นสมควรปรับปรุงบัญชีกําหนดอัตรา ค่าตอบแทนของผู้ได้รับปรญิ ญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่ ก.พ. รับรองคุณวุฒิแล้ว หรือผู้มีทักษะ ประสบการณ์เพอ่ื ให้สอดคล้องกบั นโยบายรฐั บาลดังกล่าว อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๑๔ และข้อ ๑๖ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการจึงกําหนดอัตรา ค่าตอบแทนของผู้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่ ก.พ. รับรองคุณวุฒิแล้ว หรือผู้มีทักษะ ประสบการณข์ องพนกั งานราชการ ดังน้ี ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง ค่าตอบแทน ของพนกั งานราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๕” ข้อ ๒ ประกาศน้ใี ห้ใช้บังคบั ต้งั แต่ (๑) ข้อ ๔ ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๔ จนถึงวันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔

๑๑๖ (๒) ข้อ ๓ ข้อ ๕ และ ข้อ ๖ ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๕ เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกบัญชี กําหนดอัตราค่าตอบแทนของผู้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ท่ี ก.พ. รับรองคุณวุฒิแล้ว หรือผู้มีทักษะประสบการณ์ ท้ายประกาศ คณะกรรมการบรหิ ารพนกั งานราชการ เรือ่ ง คา่ ตอบแทนของพนักงานราชการ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ และ ใหใ้ ชบ้ ัญชีแนบทา้ ยประกาศน้แี ทน ข้อ ๔ ให้พนักงานราชการซ่ึงได้รับค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละหนึ่งหมื่นสองพัน สองร้อยแปดสิบห้าบาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราวเดือนละหนึ่งพันห้าร้อยบาท แต่เมื่อรวมกับคา่ ตอบแทนแล้ว ต้องไม่เกินเดอื นละหน่ึงหมน่ื สองพนั สองรอ้ ยแปดสิบหา้ บาท กรณีจํานวนค่าตอบแทนท่ีได้รับตามวรรคหนึ่งรวมกันแล้วไม่ถึงเดือนละ แปดพันหกร้อยสิบบาท ให้พนักงานราชการน้ันได้รับเงินเพ่ิมการครองชีพชั่วคราวเพิ่มข้ึนจาก ค่าตอบแทนอกี จนถึงเดอื นละแปดพนั หกรอ้ ยสบิ บาท ข้อ ๕ ในกรณีท่ีการจ้างพนักงานราชการในตําแหน่งที่กําหนดคุณสมบัติเฉพาะ สําหรับกลุ่มงานตามท่ีคณะกรรมการประกาศกําหนด และคุณสมบัติเฉพาะสําหรับกลุ่มงานน้ัน ต้องใช้วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ให้พนักงานราชการท่ีได้รับการว่าจ้างในตําแหน่ง ดังกล่าวที่มีค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละหนึ่งหม่ืนห้าพันบาท ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราว เพ่ิมขึน้ จากคา่ ตอบแทนอีกจนถงึ เดอื นละหนงึ่ หมน่ื หา้ พันบาท ข้อ ๖ ในกรณีท่ีการจ้างพนักงานราชการในตําแหน่งท่ีกําหนดคุณสมบัติเฉพาะ สําหรับกลุ่มงานตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด และคุณสมบัติเฉพาะสําหรับของกลุ่มงานน้ันต้อง ใช้วุฒิการศึกษาระดับตํ่ากว่าปริญญาตรี ให้พนักงานราชการที่ได้รับการว่าจ้างในตําแหน่งดังกล่าว ท่ีมีอัตราค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละหนึ่งหมื่นสองพันสองร้อยแปดสิบห้าบาท ได้รับ เงินเพ่ิมการครองชีพชั่วคราวเดือนละหน่ึงพันห้าร้อยบาท แต่เม่ือรวมกับค่าตอบแทนแล้ว ตอ้ งไมเ่ กินเดือนละหนึ่งหมน่ื สองพนั สองรอ้ ยแปดสิบห้าบาท

๑๑๗ ก ร ณี ท่ี พ นั ก ง า น ไ ด้ รั บ ก า ร ว่ า จ้ า ง ใ น ตํ า แ ห น่ ง ที่ มี อั ต ร า ค่ า ต อ บ แ ท น ไม่ถึงเดือนละเก้าพันบาท ให้พนักงานราชการผู้น้ันได้รับเงินเพ่ิมการครองชีพชั่วคราวเพิ่มข้ึนจาก ค่าตอบแทนอกี จนถึงเดือนละเกา้ พันบาท ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๐ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ (นายยงยุทธ วิชยั ดษิ ฐ) รองนายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการบริหารพนกั งานราชการ

๑๑๘ บัญชีกาํ หนดอตั ราคา่ ตอบแทนของผ้ไู ด้รบั ปริญญา ประกาศนียบตั รวิชาชพี ที่ ก.พ. รับรองคุณวุฒแิ ลว้ หรือผมู้ ีทกั ษะประสบการณข์ องพนักงานราชการ แนบทา้ ยประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง คา่ ตอบแทนของพนักงานราชการ (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวนั ท่ี ๒๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๕ อตั ราคา่ ตอบแทนแรกบรรจุ ลาํ ดบั คณุ วุฒทิ ่ี ก.พ. รบั รองแลว้ กลมุ่ งาน บาท ๑ ปริญญาเอก หรือเทียบเท่า ๑ เม.ย ๒๕๕๔ ตั้งแต่ ๑ ม.ค. ๒๕๕๕ วิชาชพี เฉพาะ ๑๗,๙๑๐ ๒๔,๗๐๐ ๒ ปริญญาเอก หรือเทยี บเท่า บริหารทว่ั ไป ๑๖,๕๓๐ ๒๒,๘๐๐ ๓ วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการ วิชาชีพเฉพาะ ๑๗,๙๑๐ ๒๔,๗๐๐ ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา ที่มี กําหนดระยะเวลาการศึกษาอบรมไม่น้อยกว่า ๓ ปี ต่อจากวุฒิปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต และได้รับ ใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมแล้ว หรือหนังสือ อนมุ ัตบิ ัตรในสาขาวิชาเดยี วกันกบั วุฒบิ ัตร ๔ วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการ วชิ าชพี เฉพาะ ๑๗,๙๑๐ ๒๔,๗๐๐ ประกอบวิชาชีพทันตกรรมของทันตแพทยสภา ท่ีมีกําหนดระยะเวลาการศึกษาอบรมไม่น้อยกว่า ๓ ปี ต่อจากวุฒิปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑิต และได้รับใบประกอบวิชาชีพทันตกรรมแล้ว หรือหนังสืออนุมัติบัตรในสาขาวิชาเดียวกันกับ วฒุ บิ ตั ร ๕ ปรญิ ญาโททั่วไป หรือเทยี บเทา่ วชิ าชพี เฉพาะ ๑๓,๒๕๐ ๑๙,๘๙๐ ๖ ปรญิ ญาโทท่ัวไป หรอื เทียบเทา่ บริหารทวั่ ไป ๑๒,๒๓๐ ๑๘,๓๖๐ ๗ ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑติ ปรญิ ญาทนั ตแพทยศาสตร วชิ าชพี เฉพาะ ๑๓,๙๒๐ ๒๐,๕๗๐ บัณฑติ และไดร้ ับใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ หรอื ปริญญาสตั วแพทยศาสตรบณั ฑติ

๑๑๙ อัตราคา่ ตอบแทนแรกบรรจุ ลาํ ดับ คุณวุฒิท่ี ก.พ. รับรองแลว้ กลุ่มงาน บาท ๑ เม.ย ๒๕๕๔ ตง้ั แต่ ๑ ม.ค. ๒๕๕๕ ๘ ปรญิ ญาตรที ีม่ หี ลักสูตรกาํ หนดระยะเวลาการศกึ ษา วิชาชีพเฉพาะ ๑๑,๘๘๐ ๑๖,๒๓๐ ไม่นอ้ ยกว่า ๕ ปี ต่อจากวฒุ ปิ ระกาศนียบัตร มัธยมศึกษาตอนปลายเฉพาะปริญญาท่ี ก.พ. กําหนดให้ไดร้ ับเงนิ เดอื นตามหลักสูตร ๕ ปี ๙ ปริญญาตรีทม่ี หี ลกั สตู รกาํ หนดระยะเวลาการศึกษา วชิ าชีพเฉพาะ ๑๐,๘๕๐ ๑๕,๑๙๐ ไม่น้อยกวา่ ๔ ปี ตอ่ จากวุฒปิ ระกาศนยี บตั ร มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเทา่ ๑๐ ปริญญาตรที มี่ หี ลกั สูตรกาํ หนดระยะเวลาการศึกษา บรหิ ารท่ัวไป ๑๐,๐๑๐ ๑๔,๐๒๐ ไม่น้อยกวา่ ๔ ปี ต่อจากวฒุ ิประกาศนยี บตั ร มัธยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทยี บเท่า ๑๑  ไมต่ ่าํ กว่าปริญญาตรี และมปี ระสบการณ์ เทคนคิ พิเศษ ๑๒,๘๕๐ ๑๗,๙๙๐ ในงานทีป่ ฏิบตั ิมาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ ๘ ปี หรอื  ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสงู (ปวส.) หรอื อนปุ รญิ ญาหลกั สูตร ๓ ปี ตอ่ จากประกาศนยี บัตร ประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่า และมีประสบการณใ์ นงานทปี่ ฏิบัติมาแลว้ ไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี หรือ  ประกาศนยี บตั รวิชาชีพเทคนคิ (ปวท.) หรอื อนปุ ริญญาหลกั สตู ร ๒ ปี ตอ่ จากประกาศนียบัตร ประโยคมธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเท่า และมีประสบการณใ์ นงานทป่ี ฏบิ ัติมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๑ ปี หรือ  ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) และมี ประสบการณใ์ นงานทีป่ ฏบิ ตั ิมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๒ ปี ๑๒ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.) หรือ บริการ/ ๘,๙๕๐ ๑๑,๑๖๐ อนปุ รญิ ญาหรือประกาศนยี บตั รของส่วนราชการ เทคนคิ ตา่ ง ๆ ท่มี ีหลกั สูตรกําหนดระยะเวลาการศึกษา ไว้ไม่น้อยกวา่ ๓ ปี ตอ่ จากวฒุ ปิ ระกาศนยี บัตร มัธยมศึกษาตอนปลาย

๑๒๐ อตั ราคา่ ตอบแทนแรกบรรจุ ลาํ ดับ คุณวุฒทิ ี่ ก.พ. รับรองแลว้ กลุม่ งาน บาท ๑ เม.ย ๒๕๕๔ ตัง้ แต่ ๑ ม.ค. ๒๕๕๕ ๑๓ ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพเทคนิค (ปวท.) ประกาศนียบตั รวชิ าการศกึ ษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) บรกิ าร/ ๘,๑๖๐ ๑๐,๓๗๐ และอนุปรญิ ญา หรอื ประกาศนียบตั รของ สว่ นราชการต่าง ๆ ทมี่ หี ลกั สตู รกําหนด เทคนคิ ระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า๒ปี ตอ่ จากวฒุ ิ ประกาศนียบตั รมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ บริการ/ ๗,๓๗๐ ๙,๑๕๐ ไม่นอ้ ยกวา่ ๔ ปี ต่อจากวฒุ ปิ ระกาศนียบัตร เทคนิค มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หรอื เทยี บเทา่ บรกิ าร ๖,๔๑๐ ๘,๓๐๐ ๑๔ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) หรือประกาศนยี บตั ร ท่มี ีหลักสตู รกําหนดระยะเวลาการศกึ ษา ไมน่ ้อยกว่า ๑ ปีตอ่ จากวฒุ ปิ ระกาศนียบัตร มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ ปี ต่อจากวุฒิประกาศนยี บัตรมัธยมศกึ ษาตอนต้น หรือเทียบเทา่ กรณีกลมุ่ งานเทคนิคทต่ี อ้ งใช้ทกั ษะเฉพาะ ของบุคคลซึ่งมิไดผ้ ่านการเรยี นการสอนในสถาบนั การศึกษาใดเปน็ การเฉพาะ จะตอ้ งมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในงานทจ่ี ะปฏิบตั ิ ไม่ต่ํากวา่ ๕ ปี ให้ได้รับค่าตอบแทน ๑๕ ประกาศนยี บตั รมธั ยมศึกษาตอนตน้ และ ประกาศนยี บัตรมธั ยมศึกษาตอนปลาย หรือ เทียบเท่า

๑๒๑ คําอธบิ าย ประกาศคณะกรรมการบริหารพนกั งานราชการ เร่อื ง คา่ ตอบแทนของพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ และทแ่ี ก้ไขเพ่มิ เตมิ ---------------------------------------------------- ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนของพนักงานราชการ กําหนดขึ้นตาม หมวด ๒ ข้อ ๑๔ ข้อ ๑๕ วรรคสามแห่งระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย พนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ แนวคิด การกําหนดค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ให้แก่พนักงานราชการตามที่คณะกรรมการ บรหิ ารพนกั งานราชการกําหนดเพือ่  ตอบแทนการปฏิบัติงานให้แก่ส่วนราชการตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน ตลอดจนสอดคลอ้ งกับขนาดของงาน ขดี สมรรถนะและผลการประเมินการปฏบิ ัติงาน  หลักความสามารถเพ่ือให้ได้บุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ เขา้ มาปฏิบตั ิงานภายใต้ระบบสัญญาจา้ ง  หลักความเสมอภาค  หลักการจูงใจโดยการจา่ ยคา่ ตอบแทนใหเ้ พียงพอและสูงกวา่ อตั ราข้าราชการแรกบรรจุ สาระสาํ คญั ของประกาศ จากแนวคิดดังกล่าว คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ (คพร.) ได้กําหนดแนวทางปฏิบัติ ให้ส่วนราชการดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ตามประกาศ คพร. เร่อื ง คา่ ตอบแทนของพนักงานราชการ โดยมีสาระสําคญั ดังตอ่ ไปน้ี (๑) การกําหนดแนวทางปฏิบัติให้แก่ส่วนราชการในการกําหนดอัตราค่าตอบแทนให้แก่ พนักงานราชการเม่ือได้รบั การวา่ จ้าง ได้รับคา่ ตอบแทนตามกลมุ่ ลักษณะงาน (๒) การจ้างผู้มีประสบการณ์ตรงตามลักษณะงานในตําแหน่งที่ได้รับการว่าจ้างให้ได้รับ อัตราคา่ ตอบแทนที่สูงขึน้ (๓) การเลือ่ นขั้นค่าตอบแทนประจําปี

๑๒๒ ๑. การไดร้ ับอตั ราคา่ ตอบแทนของพนักงานราชการ๒ ผู้ได้รับการว่าจ้างเป็นพนักงานราชการ จะได้รับอัตราค่าตอบแทนตามคุณสมบัติเฉพาะ ตามกลุ่มงาน เช่น  กลุ่มงานเทคนคิ ทั่วไป ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนตามบัญชีกลุ่มงานเทคนิค ซ่ึงมีอัตราค่าตอบแทน จําแนก ตามคณุ วฒุ กิ ารศึกษา ประสบการณ์ ตามบญั ชีแนบท้ายประกาศที่ คพร. กําหนดดงั น้ี (ก) ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่าหรือเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในงานท่จี ะปฏิบตั ไิ ม่ตา่ํ กว่า ๕ ปี ให้ได้รบั ค่าตอบแทนในอัตรา ๙,๑๕๐ บาท (ข) ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือเทียบเท่า ให้ได้รับค่าตอบแทน ในอัตรา ๑๐,๓๗๐ บาท (ค) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า ให้ได้รับค่าตอบแทน ในอัตรา ๑๑,๑๖๐ บาท  กลมุ่ งานเทคนคิ พเิ ศษ (ก) ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และมีประสบการณ์ในงานท่ีปฏิบัติมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่า ๑๒ ปี หรอื (ข) ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) และมีประสบการณ์ในงานที่ปฏิบัติ มาแล้วไมน่ ้อยกวา่ ๑๑ ปี หรอื (ค) ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และมีประสบการณ์ในงานที่ปฏิบัติมาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี หรือ (ง) ไมต่ ํา่ กว่าปรญิ ญาตรี และมปี ระสบการณ์ในงานที่ปฏบิ ัติมาแล้วไมน่ ้อยกวา่ ๘ ปี ให้ไดร้ ับคา่ ตอบแทนในอตั รา ๑๗,๙๙๐ บาท ๒ หลักการจาํ แนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ ไดก้ ําหนดนิยาม “ค่าตอบแทนพนักงานราชการ” หมายถึง เงินที่จ่ายเปน็ ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานใหแ้ ก่พนักงานราชการตามอัตราท่ีคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการกาํ หนด รวมถึงเงินท่ี กาํ หนดให้จา่ ยในลกั ษณะคา่ ตอบแทนพนกั งานราชการ และเงินเพ่ิมอื่นทจี่ ่ายควบกับค่าตอบแทนพนกั งานราชการ เช่น เงนิ ชว่ ยเหลอื การครองชพี พเิ ศษ เปน็ ต้น

๑๒๓  กล่มุ งานบริหารทวั่ ไป ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนตามบัญชีกลุ่มงานบริหารท่ัวไป ซ่ึงมีอัตราค่าตอบแทน จาํ แนกตามคณุ วฒุ ิการศึกษาดังนี้ (ก) วุฒิปรญิ ญาตรีหลกั สตู ร ๔ ปี ให้ได้รบั ค่าตอบแทนในอตั รา ๑๔,๐๒๐ บาท (ข) วุฒิปรญิ ญาโท ให้ได้รับค่าตอบแทนในอตั รา ๑๘,๓๖๐ บาท (ค) วฒุ ิปริญญาเอก ให้ไดร้ ับอัตราค่าตอบแทนในอตั รา ๒๒,๘๐๐ บาท  กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนตามบัญชีกลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ ซ่ึงมีอัตราค่าตอบแทน จําแนกตามคณุ วฒุ ิการศึกษาดังน้ี (ก) วฒุ ปิ ริญญาตรหี ลกั สตู ร ๔ ปี ให้ได้รบั ค่าตอบแทนในอตั รา ๑๕,๑๙๐ บาท (ข) วฒุ ปิ ริญญาตรหี ลักสตู ร ๕ ปี ใหไ้ ดร้ ับคา่ ตอบแทนในอัตรา ๑๖,๒๓๐ บาท (ค) วุฒปิ ริญญาโท ให้ไดร้ บั คา่ ตอบแทนในอตั รา ๑๙,๘๙๐ บาท (ง) วฒุ ิปริญญาเอก ใหไ้ ด้รับอตั ราค่าตอบแทนในอัตรา ๒๔,๗๐๐ บาท  กลุ่มงานเช่ยี วชาญเฉพาะ ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนตามบัญชีกลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ ซึ่งกําหนดอัตรา ค่าตอบแทนโดยพิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ และผลงาน รวมท้ังสามารถเจรจา ต่อรองการได้รบั คา่ ตอบแทน โดยคาํ นงึ ถึงงบประมาณของส่วนราชการตามแผนงาน โครงการ  กล่มุ งานเชี่ยวชาญพเิ ศษ ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนตามบัญชีกลุ่มงานเช่ียวชาญพิเศษ ซ่ึงกําหนดอัตรา ค่าตอบแทนโดยพิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ และผลงานความเช่ียวชาญพิเศษ รวมทั้งสามารถเจรจาต่อรองการได้รับค่าตอบแทน โดยคํานึงถึงงบประมาณของส่วนราชการ ตามแผนงาน โครงการ ความต้องการของผู้ทรงคุณวุฒิ/ท่ีปรึกษา/ผู้เช่ียวชาญพิเศษ ในระดับสากล ระดับประเทศ หรือระดบั ท่ัวไป โดย (ก) ระดบั สากล ใหไ้ ดร้ ับอตั ราคา่ ตอบแทน ไมเ่ กนิ ๒๑๘,๔๐๐ บาท/เดือน (ข) ระดับประเทศ ใหไ้ ดร้ ับอตั ราคา่ ตอบแทน ไม่เกิน ๑๖๓,๘๐๐ บาท/เดอื น (ค) ระดบั ทัว่ ไป ใหไ้ ดร้ ับอตั ราค่าตอบแทน ไมเ่ กนิ ๑๐๙,๒๐๐ บาท/เดอื น

๑๒๔ ในกรณีที่จะให้พนักงานราชการได้รับอัตราค่าตอบแทนแตกต่างไปจากที่ กําหนดในประกาศน้ี ให้ส่วนราชการเสนอคณะกรรมการพิจารณา เช่น กรณีผู้ได้รับการว่าจ้าง ได้รับวฒุ กิ ารศึกษาสงู กว่าท่กี าํ หนดในประกาศจะไดร้ ับคา่ ตอบแทนในอตั ราใด เป็นต้น ๒. การได้รับอัตราคา่ ตอบแทนของพนักงานราชการในกรณีเปน็ ผ้มู ีประสบการณ์ ในกรณีท่ีส่วนราชการจ้างพนักงานราชการจากผู้มีประสบการณ์ตรงตามลักษณะงานใน ตําแหน่งท่ีได้รับการว่าจ้าง ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนเพิ่มข้ึนตามประสบการณ์เพ่ิมข้ึนร้อยละ ๕ ต่อทุกประสบการณ์ ๒ ปี แต่ให้ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มข้ึนได้สูงสุดไม่เกิน ๕ ช่วง สําหรับการจ้าง พนกั งานราชการในกลมุ่ งานตา่ งๆ ดงั นี้  กลมุ่ งานเทคนคิ พิเศษ ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนเพ่ิมข้ัน ๕ % ต่อทุกประสบการณ์ ๒ ปี แต่ให้ได้รับอัตรา คา่ ตอบแทนเพิ่มขึ้นสูงสดุ ไมเ่ กนิ ๕ ช่วง ตัวอย่าง นาย ก. เป็นลูกจ้างประจําในตําแหน่งช่างเครื่องบิน กรมการบินพลเรือน มาเป็นเวลา ๑๒ ปี ต่อมาลาออกเพื่อสมัครเป็นพนักงานราชการ โดยมีคุณสมบัติครบถ้วน เหมาะสมท่ีจะได้รับการว่าจ้างในกลุ่มงานเทคนิคพิเศษ คือ มีคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง และมีประสบการณ์ไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี ตามความต้องการของส่วนราชการในตําแหน่งช่างเคร่ืองบิน แต่เน่ืองจาก นาย ก. มีประสบการณ์มากกว่าส่วนราชการกําหนด ๒ ปี ก็อาจได้รับค่าตอบแทนเพ่ิมขึ้น ตามประสบการณเ์ พิม่ ข้ึนอกี รอ้ ยละ ๕ จากอตั ราข้ันต่าํ ของกลุม่ งานเทคนคิ พิเศษคือ อัตรา ๑๒,๘๕๐ บาท ดังน้นั นาย ก. จะไดร้ ับคา่ ตอบแทนในอตั รา ๑๓,๕๐๐ บาท  กลุ่มงานวชิ าชพี เฉพาะ ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนเพิ่มขั้น ๕ % ต่อทุกประสบการณ์ ๒ ปี แต่ให้ได้รับอัตรา คา่ ตอบแทนเพ่มิ ข้นึ สูงสดุ ไมเ่ กนิ ๕ ชว่ ง ตัวอย่าง นาย ข. จบปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต และได้รับใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพ ดํารงตําแหน่งนายแพทย์ ณ โรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึงมาเป็นเวลา ๕ ปี ต่อมาลาออก และได้รับการว่าจ้างเป็นพนักงานราชการกลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะและได้รับค่าตอบแทนเพ่ิมข้ึน ตามประสบการณ์ตามประกาศการสรรหาและเลือกสรรของกรมสุขภาพจิต ในตําแหน่งนายแพทย์ ดังนั้น นาย ข. จะได้รับอัตราค่าตอบแทนจากอัตราค่าตอบแทนตามคุณวุฒิในอัตรา ๑๓,๙๒๐ บาท และได้รับค่าตอบแทนเพ่ิมข้ึน ๕ % จํานวน ๒ ช่วง จากประสบการณ์จํานวน ๕ ปี ดังน้ัน นาย ข. จะได้รับคา่ ตอบแทนในอัตรา ๑๕,๓๖๐ บาท

๑๒๕ ๓. หลกั เกณฑก์ ารเลอื่ นขน้ั ค่าตอบแทนประจาํ ปี พนักงานราชการจะได้รับการพิจารณาเลื่อนค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงานในวันที่ ๑ ตุลาคมของทกุ ปี ดังน้ี (๑) ต้องมีระยะเวลาการปฏิบัติงานในรอบปีงบประมาณท่ีแล้วมา (๑ ตุลาคม – ๓๐ กันยายน ปถี ัดไป) ไม่นอ้ ยกว่า ๘ เดือน (๒) มีการประเมินผลการปฏิบัติงานไม่ต่ํากว่าระดับดี ให้ได้รับการเลื่อนค่าตอบแทน ตามผลการปฏบิ ัติงานไดไ้ ม่เกินอัตราร้อยละ ๖ ของฐานคา่ ตอบแทน ทั้งน้ี วงเงินงบประมาณสําหรับการเล่ือนค่าตอบแทนพนักงานราชการเล่ือนได้ไม่เกิน ร้อยละ ๔ ของผลรวมอัตราค่าตอบแทนพนกั งานราชการในส่วนราชการน้ัน ณ วันที่ ๑ กันยายน ของทุกปี ตัวอย่าง นาย ค. ได้รับการว่าจ้างเป็นพนักงานราชการในกลุ่มงานบริหารทั่วไป ตําแหน่งพนักงานคุมประพฤติ กรมราชทัณฑ์ ในอัตรา ๑๐,๐๑๐ บาท ต้ังแต่วันท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๔ ต่อมาได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงานเฉล่ียในระดับดีเด่น (๕.๒%) ดังนั้น ในวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ จะไดร้ บั ค่าตอบแทนในอัตรา ๑๐,๕๔๐ บาท การคาํ นวณอัตราคา่ ตอบแทน ในกรณีท่ีมีการคํานวณเพอ่ื ปรับอัตราค่าตอบแทน หรือเล่ือนขั้นค่าตอบแทน หากคํานวณ แล้วมเี ศษไม่ถงึ สิบบาท ใหป้ รับเพม่ิ ข้นึ เปน็ สิบบาท เช่น  การปรบั อัตราคา่ ตอบแบบช่วงเงินเดือน ๑๐,๕๔๐ ๑๐,๕๓๐.๕๒ ๑๐,๐๑๐ (ปรบั อัตราค่าตอบแทนเพ่มิ ขนึ้ ๕.๒ %) การจัดทาํ คาํ สั่งและการใหไ้ ด้รับคา่ ตอบแทน ให้ส่วนราชการจัดทําคําสั่งเลื่อนข้ันค่าตอบแทนของพนักงานราชการตามผลการประเมิน และแนบสญั ญาจ้างเพือ่ เบิกจ่ายค่าตอบแทนของพนักงานราชการ

๑๒๖ ในกรณีที่พนักงานราชการมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนไม่เต็มเดือนในเดือนใด ให้ได้รับ คา่ ตอบแทนตามส่วนของจาํ นวนวนั ท่มี ีสิทธิได้รับค่าตอบแทนในเดอื นน้นั การไดร้ ับค่าตอบแทนกรณีต่อสญั ญาจา้ ง ในกรณีที่สัญญาจ้างของพนักงานราชการส้ินสุดลง หากส่วนราชการใดยังมีความจําเป็น ที่จะจ้างพนักงานราชการผู้นั้นทํางานต่อและเป็นผู้ผ่านการประเมินเพื่อต่อสัญญาได้ก็ให้ พนักงานราชการผู้น้ันได้รับการพิจารณาเล่ือนค่าตอบแทนในตําแหน่งและกลุ่มงานเดิม ตามผลการประเมนิ การปฏบิ ตั งิ าน การได้รับค่าตอบแทนวิชาชีพเฉพาะ ค่าตอบแทนสําหรับตําแหน่งที่มีเหตุพิเศษและ คา่ ตอบแทนอื่น (ตามข้อ ๑๑ ของประกาศฯ) ในกรณีที่มีการว่าจ้างพนักงานราชการประเภทท่ัวไป ท่ีปฏิบัติงานหรือมีลักษณะงาน เช่นเดียวกับข้าราชการพลเรือนที่ได้รับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษ ให้พนักงานราชการ ผู้น้ันได้รับค่าตอบแทนดังกล่าวด้วย เช่น ค่าตอบแทนสําหรับตําแหน่งท่ีมีเหตุพิเศษของ พนกั งานราชการ ในกรมราชทณั ฑ์ ผปู้ ฏบิ ตั กิ ารใตน้ ้าํ ในกรมศิลปากร ครกู ารศกึ ษาพิเศษ เปน็ ต้น ตัวอย่าง นาย ค. ได้รับการว่าจ้างเป็นพนักงานราชการกลุ่มงานบริหารท่ัวไป ในตําแหน่ง พนักงานคุมประพฤติ ศูนย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กรมคุมประพฤติ ได้รับคําส่ัง ให้ปฏิบัติงานด้านการฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอยู่เป็นปกติ ดังนั้น นาย ค. จะได้รับ ค่าตอบแทนสําหรับตําแหน่งที่มีเหตุพิเศษในอัตรา ๑,๐๐๐ บาท/เดือน เช่นเดียวกับข้าราชการพลเรือน ท่ไี ดร้ บั เงนิ เพม่ิ ดงั กลา่ ว

๑๒๗ ประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนกั งานราชการ เร่อื ง สิทธปิ ระโยชน์ของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อให้การกําหนดสิทธิประโยชน์พนักงานราชการเป็นมาตรฐานให้ส่วนราชการ ถือปฏบิ ัติ อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๑๕ วรรคหนึ่งและวรรคสาม ข้อ ๑๘ และ ข้อ ๓๐ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะกรรมการ บรหิ ารพนักงานราชการ จงึ กําหนดสิทธิประโยชนข์ องพนกั งานราชการไว้ดงั นี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า“ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรอื่ ง สิทธปิ ระโยชนข์ องพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔” ข้อ ๒ ประกาศน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่บัดน้ีเป็นต้นไป เว้นแต่ข้อ ๗ ให้ใช้บังคับต้ังแต่ วันท่ี ๒ มนี าคม ๒๕๔๘ เป็นต้นไป ขอ้ ๓ ในประกาศน้ี “ป”ี หมายความวา่ ปงี บประมาณ ขอ้ ๔ พนกั งานราชการมสี ิทธิลาในประเภทต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี (๑) การลาป่วย มีสิทธิลาป่วยได้เท่าท่ีป่วยจริงโดยนับแต่วันทําการ การลาป่วย ตั้งแต่ ๓ วันทําการขึ้นไป ผู้มีอํานาจอนุญาตอาจส่ังให้มีใบรับรองแพทย์จากสถานพยาบาล ท่ที างราชการรับรองประกอบการลา หรอื ประกอบการพจิ ารณาอนญุ าตกไ็ ด้ (๒) การลาคลอดบุตร มสี ิทธลิ าคลอดบุตรได้ ๙๐ วนั (๓) การลากจิ ส่วนตัว มสี ิทธลิ ากิจส่วนตวั ได้ปีละไมเ่ กิน ๑๐ วันทาํ การ

๑๒๘ (๔) การลาพักผ่อน มีสิทธิลาพักผ่อนปีละ ๑๐ วันทําการ สําหรับในปีแรก ท่ีได้รับการจ้างเป็นพนักงานราชการยังไม่ครบ ๖ เดือน ไม่มีสิทธิลาพักผ่อน เว้นแต่ผู้ที่เคยได้รับ การจ้างเป็นพนักงานราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ เดือน และได้พ้นจากการเป็นพนักงานราชการ ไปแลว้ แต่ต่อมาไดร้ ับการจา้ งเป็นพนกั งานราชการในส่วนราชการเดมิ อกี (๕) การลาเพื่อรับราชการทหารในการเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพื่อฝึกวิชาทหาร เข้ารับการระดมพล หรือเพ่ือทดลองความพร่ังพร้อมตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร ทั้งน้ี เมอื่ พน้ จากการเข้ารบั การตรวจเลอื กหรือเตรยี มพล ใหร้ ายงานตัวกลับเขา้ ปฏิบตั ิงานภายใน ๗ วนั (๖) การลาเพื่อไปอุปสมบท หรือประกอบพิธีฮัจญ์ พนักงานราชการที่ได้รับ การจา้ งต่อเน่ืองไมน่ อ้ ยกว่า ๔ ปี มีสิทธิลาเพ่ือไปอุปสมบท หรือประกอบพิธีฮัจญ์ได้จํานวน ๑ ครั้ง ตลอดช่วงเวลาของการมีสถานภาพเป็นพนักงานราชการ โดยการลาอุปสมบทมีสิทธิลาได้ไม่เกิน ๑๒๐ วัน และการลาไปประกอบพิธีฮัจญ์มีสิทธิลาได้ไม่เกิน ๑๒๐ วัน ตามระยะเวลาที่ใช้ในการ ประกอบศาสนกิจตามหลักการของศาสนาอิสลาม ทั้งนี้ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาอนุมัติการลา ดงั กลา่ วตามความเหมาะสม เพือ่ ไม่ให้เกิดความเสยี หายแกร่ าชการ ข้อ ๕ พนกั งานราชการมสี ิทธิไดร้ ับคา่ ตอบแทนระหว่างลาดงั นี้ (๑) ลาป่วย ให้ได้รับค่าตอบแทนระหว่างลาได้ปีหนึ่งไม่เกิน ๓๐ วัน ส่วนที่เกิน ๓๐ วัน มีสิทธิได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้จากกองทุนประกันสังคม ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์และ เง่อื นไขตามกฎหมายวา่ ดว้ ยประกันสงั คม (๒) ลาคลอดบุตร ให้ได้รับค่าตอบแทนระหว่างลาได้ไม่เกิน ๔๕ วัน และมีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพ่ือการคลอดบุตรจากกองทุนประกันสังคม ท้ังนี้ ตามหลกั เกณฑ์และเงือ่ นไขตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม (๓) ลากิจสว่ นตัว ให้ไดร้ บั ค่าตอบแทนระหว่างลาได้ปหี นึ่งไมเ่ กนิ ๑๐ วัน (๔) การลาพกั ผ่อนประจาํ ปี ให้ไดร้ ับค่าตอบแทนระหว่างลาได้ปีหนง่ึ ไมเ่ กนิ ๑๐ วัน (๕) การลาเพื่อรับราชการทหารในการเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพื่อฝึกวิชาทหาร เข้ารับ การระดมพล หรอื เพ่ือทดลองความพรั่งพร้อม ใหไ้ ดร้ ับคา่ ตอบแทนระหว่างลาได้ปีหนึง่ ไมเ่ กนิ ๖๐ วัน (๖) การลาเพื่อไปอุปสมบท ให้ได้รับค่าตอบแทนระหว่างลาได้ไม่เกิน ๑๒๐ วัน และการลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ให้ไดร้ ับคา่ ตอบแทนระหวา่ งลาไดไ้ ม่เกนิ ๑๒๐ วนั ในกรณีที่พนักงานราชการเข้าทํางานไม่ถึง ๑ ปี ให้ทอนสิทธิท่ีจะได้รับ ค่าตอบแทนการลากจิ ส่วนตวั และการลาพกั ผ่อนลงตามสว่ นของจาํ นวนวันท่จี ้าง

๑๒๙ ขอ้ ๖ ให้พนกั งานราชการได้รบั สิทธิประโยชน์อ่ืนๆ ดงั น้ี (๑) คา่ ตอบแทนการปฏบิ ัตงิ านนอกเวลาราชการ พนักงานราชการที่ได้รับอนุมัติให้อยู่ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการปกติ หรืออยู่ปฏิบัติงานในวันหยุดสุดสัปดาห์ หรือในวันหยุดพิเศษ ให้มีสิทธิได้รับค่าตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทน การปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการของข้าราชการโดยอนโุ ลม (๒) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พนักงานราชการที่ได้รับคําสั่งจากผู้มีอํานาจอนุญาตให้เดินทาง ไปปฏิบัติหน้าท่ีราชการ มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการตามกฎหมายว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการของข้าราชการโดยอนุโลม (๓) คา่ เบีย้ ประชุม พนักงานราชการท่ีได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการหรืออนุกรรมการหรือ เลขานุการหรือผู้ช่วยเลขานุการในคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการแล้วแต่กรณี มีสิทธิได้รับ เบ้ยี ประชมุ ตามกฎหมายวา่ ด้วยเบ้ียประชุมกรรมการโดยอนโุ ลม (๔) ค่าใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรม กรณีที่ส่วนราชการมีความประสงค์ท่ีจะให้พนักงานราชการเข้ารับการ ฝึกอบรม สัมมนาทางวิชาการ เพ่ือพัฒนาหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในหน้าท่ีท่ีได้รับ มอบหมาย ให้มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่าย ในการฝกึ อบรมของส่วนราชการโดยอนโุ ลม (๕) ค่าตอบแทนการออกจากราชการโดยไมม่ ีความผิด ในกรณีที่ส่วนราชการบอกเลิกสัญญาจ้างกับพนักงานราชการผู้ใด ก่อนครบกําหนดเวลาจ้าง โดยมิใช่ความผิดของพนักงานราชการดังกล่าว ให้พนักงานราชการผู้น้ัน ไดร้ ับคา่ ตอบแทนการออกจากราชการโดยไมม่ ีความผิด ดังนี้ (ก) พนักงานราชการที่ได้ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๔ เดือน แต่ไม่ครบ ๑ ปี ใหจ้ ่ายค่าตอบแทนเท่ากับอัตราคา่ ตอบแทนท่ไี ด้รบั อยู่กอ่ นวันออกจากราชการ (ข) พนักงานราชการท่ีได้ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๑ ปี แต่ไม่ครบ ๓ ปี ให้จ่าย ค่าตอบแทนจาํ นวนสามเทา่ ของอตั ราคา่ ตอบแทนทีไ่ ด้รบั อยูก่ อ่ นวนั ออกจากราชการ (ค) พนักงานราชการท่ีได้ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๓ ปี แต่ไม่ครบ ๖ ปี ใหจ้ ่ายค่าตอบแทนจํานวนหกเทา่ ของอัตราคา่ ตอบแทนทไ่ี ด้รบั อยกู่ อ่ นวนั ออกจากราชการ

๑๓๐ (ง) พนักงานราชการที่ได้ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๖ ปี แต่ไม่ครบ ๑๐ ปี ใหจ้ า่ ยคา่ ตอบแทนจาํ นวนแปดเท่าของอัตราคา่ ตอบแทนทไ่ี ดร้ บั อยกู่ อ่ นวนั ออกจากราชการ (จ) พนักงานราชการที่ได้ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๑๐ ปีข้ึนไป ให้จ่าย ค่าตอบแทนจาํ นวนสบิ เทา่ ของอัตราค่าตอบแทนทไ่ี ด้รับอยู่กอ่ นวนั ออกจากราชการ ข้อ ๗ เงินทดแทนกรณีประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย เนื่องจากการทํางาน ให้ราชการ ในระหว่างที่พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ ยังไม่มีผลใช้บังคับ กับพนักงานราชการ หากพนักงานราชการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย เนื่องจาก การทํางานให้ราชการ ให้พนักงานราชการมีสิทธิได้รับเงินทดแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ อัตราการจ่ายเงินทดแทนในหมวด ๒ แห่งพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ และให้นํากฎหมาย ว่าด้วยการสงเคราะหข์ า้ ราชการผู้ไดร้ บั อันตราย หรือการป่วยเจ็บ เพราะเหตุปฏิบัติราชการเฉพาะ ในส่วนที่เก่ียวกับการลามาใช้บังคับกับพนักงานราชการโดยอนุโลม ทั้งน้ี ในการเบิกจ่าย เงินทดแทนให้เบกิ จา่ ยจากงบบุคลากรของส่วนราชการท่ีพนกั งานราชการสงั กัดปฏิบัติงานอยู่ การยื่นขอเงินค่าทดแทนให้พนักงานราชการซึ่งประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย หรือผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน ยื่นคําร้องขอเงินทดแทนต่อส่วนราชการ ท่ีพนักงานราชการสังกัดปฏิบัติงานอยู่ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันท่ีประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย แล้วแต่กรณี เว้นแต่พนักงานราชการที่ประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย ก่อนวันที่ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการฉบับนี้มีผลใช้บังคับ ท้ังนี้ การย่ืนคําร้อง ขอใช้สิทธิให้กรอกข้อความในแบบ คพร./สป.๑ และ คพร./สป.๒ ที่แนบท้ายประกาศน้ี และ ทางราชการอาจสง่ ตัวพนักงานราชการเขา้ รับการรักษาพยาบาลไดต้ ามความจําเป็น ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔ (นายสาทติ ย์ วงศห์ นองเตย) รฐั มนตรีประจําสาํ นักนายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการบริหารพนักงานราชการ

๑๓๑ คําอธิบาย ประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนักงานราชการ เรอื่ ง สิทธิประโยชนข์ องพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ การไดร้ บั สทิ ธิประโยชนข์ องพนกั งานราชการ ตามระเบียบสํานักนายรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้กําหนดให้ พนักงานราชการได้รับสิทธิประโยชน์ โดยให้ส่วนราชการกําหนดหลักเกณฑ์การได้รับสิทธิ ประโยชน์ตามระเบียบดังกล่าวได้ตามความเหมาะสมว่า พนักงานราชการประเภทใดหรือ กลุ่มลักษณะงานใด ควรจะได้รับสิทธิประโยชน์ใดบ้าง แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับหลักเกณฑ์ ทีก่ าํ หนดการไดร้ บั สทิ ธินนั้ ตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ประกาศ หรือมตคิ ณะรฐั มนตรี ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการได้กําหนดสิทธิประโยชน์ของ พนกั งานราชการ เพอ่ื เปน็ มาตรฐานใหส้ ่วนราชการถอื ปฏบิ ัตดิ งั น้ี  สทิ ธิการลาประเภทตา่ งๆ จาํ นวนวนั ลา และการไดร้ บั คา่ ตอบแทนระหว่างลา (๑) ลาป่วย มีสิทธิลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริงโดยนับแต่วันทําการ การลาป่วยต้ังแต่ ๓ วันทําการข้ึนไป ผู้มีอํานาจอนุญาตอาจส่ังให้มีใบรับรองแพทย์จากสถานพยาบาลท่ีทางราชการ รับรองประกอบการลา หรือประกอบการพิจารณาอนุญาตก็ได้ และให้ได้รับค่าตอบแทนระหว่างลาได้ ปีหน่ึงไม่เกิน ๓๐ วัน ส่วนที่เกิน ๓๐ วัน มีสิทธิได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้จากกองทุน ประกันสงั คม ทัง้ น้ี ตามหลักเกณฑ์และเงอื่ นไขตามกฎหมายว่าดว้ ยประกนั สงั คม (๒) ลาคลอดบุตร มีสิทธิลาคลอดบุตรได้ ๙๐ วัน และให้ได้รับค่าตอบแทนระหว่าง ลาได้ไม่เกิน ๔๕ วัน และมีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรจากกองทุน ประกันสังคม ทง้ั นี้ ตามหลกั เกณฑ์และเงอ่ื นไขตามกฎหมายวา่ ด้วยประกนั สงั คม (๓) ลากิจส่วนตัว มีสิทธิลากิจส่วนตัวได้ปีละไม่เกิน ๑๐ วันทําการ และให้ได้รับ ค่าตอบแทนระหวา่ งลาได้ปหี นึ่งไม่เกิน ๑๐ วัน (๔) ลาพักผ่อน มีสิทธิลาพักผ่อนปีละ ๑๐ วันทําการ สําหรับในปีแรกที่ได้รับการจ้าง เป็นพนักงานราชการยังไม่ครบ ๖ เดือน ไม่มีสิทธิลาพักผ่อน เว้นแต่ผู้ที่เคยได้รับการจ้างเป็น พนักงานราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ เดือน และได้พ้นจากการเป็นพนักงานราชการไปแล้ว แต่ต่อมาได้รับการจ้างเป็นพนักงานราชการในส่วนราชการเดิมอีก และให้ได้รับค่าตอบแทน ระหว่างลาได้ปหี นงึ่ ไมเ่ กิน ๑๐ วนั

๑๓๒ (๕) ลาเพ่ือรบั ราชการทหารในการเรียกพลเพอ่ื ตรวจสอบ เพื่อฝึกวิชาทหาร เข้ารับ การระดมพล หรือเพ่ือทดลองความพร่ังพร้อม ตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร ท้ังนี้ เม่ือพ้นจาก การเข้ารับการตรวจเลือกหรือเตรียมพล ให้รายงานตัวกลับเข้าปฏิบัติงานภายใน ๗ วัน และให้ได้รับ คา่ ตอบแทนระหวา่ งลาไดป้ ีหนึง่ ไมเ่ กนิ ๖๐ วัน (๖) ลาเพ่ือไปอุปสมบท หรือประกอบพิธีฮัจญ์ พนักงานราชการท่ีได้รับการจ้าง ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๔ ปี มีสิทธิลาเพื่อไปอุปสมบท หรือประกอบพิธีฮัจญ์ได้จํานวน ๑ ครั้ง ตลอด ช่วงเวลาของการมีสถานภาพเป็นพนักงานราชการ โดยการลาอุปสมบทมีสิทธิลาได้ไม่เกิน ๑๒๐ วัน และการลาไปประกอบพิธีฮัจญ์มีสิทธิลาได้ไม่เกิน ๑๒๐ วัน ตามระยะเวลาที่ใช้ในการประกอบ ศาสนกิจตามหลักการของศาสนาอิสลาม ทั้งน้ี ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาอนุมัติการลาดังกล่าว ตามความเหมาะสม เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ และให้ได้รับค่าตอบแทนระหว่างลาได้ ไม่เกิน ๑๒๐ วัน ในกรณีที่พนักงานราชการเข้าทํางานไม่ถึง ๑ ปี ให้ทอนสิทธิท่ีจะได้รับค่าตอบแทน การลากิจสว่ นตัว และการลาพักผ่อนลงตามส่วนของจาํ นวนวันทจ่ี า้ ง  สิทธิประโยชน์อ่ืนๆ ได้แก่ ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการ คา่ เบ้ียประชุม ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม  สทิ ธปิ ระโยชนจ์ ากการประกนั สงั คม ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ กําหนดใหพ้ นกั งานราชการ ได้รับสิทธิประโยชน์และมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ซึ่งกฎหมาย ประกันสังคมกําหนดให้ส่วนราชการ (นายจ้าง) หักค่าตอบแทนจากพนักงานราชการ ๕ % นําส่งสมทบในส่วนของผู้ประกันตน ส่วนราชการจ่ายสมทบในส่วนของนายจ้าง ๕ % เข้ากองทุน ประกันสังคมให้กับพนักงานราชการ และรัฐบาลจ่ายสมทบ ๒.๗๕ % โดยพนักงานราชการ มีสิทธไิ ดร้ ับประโยชนท์ ดแทนจากกองทุน ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ประโยชน์ทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย อันมิใช่เน่ืองจาก การทาํ งาน (๒) ประโยชนท์ ดแทนในกรณคี ลอดบตุ ร (๓) ประโยชน์ทดแทนในกรณีทุพพลภาพ อนั มใิ ชเ่ นื่องจากการทาํ งาน

๑๓๓ การทํางาน (๔) ประโยชน์ทดแทนในกรณีตาย โดยมิใช่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเน่ืองจาก (๕) ประโยชนท์ ดแทนในกรณสี งเคราะหบ์ ุตร (๖) ประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ (๗) ประโยชน์ทดแทนในกรณวี ่างงาน  สทิ ธิประโยชน์จากกองทุนเงนิ ทดแทน พนักงานราชการจะได้รับเงินทดแทนกรณีประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย เน่ืองจากการทํางานให้ราชการ ในระหว่างที่พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ ยังไม่มี ผลใช้บังคับกับพนักงานราชการ หากพนักงานราชการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย เน่ืองจากการทํางานให้ราชการ ให้พนักงานราชการมีสิทธิได้รับเงินทดแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราการจ่ายเงินทดแทนในหมวด ๒ แห่งพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ และให้นํากฎหมายว่าด้วยการสงเคราะห์ข้าราชการผู้ได้รับอันตราย หรือการป่วยเจ็บ เพราะเหตุปฏิบัติราชการเฉพาะในส่วนที่เก่ียวกับการลามาใช้บังคับกับพนักงานราชการ โดยอนุโลม ท้ังนี้ ในการเบิกจ่ายเงินทดแทนให้เบิกจ่ายจากงบบุคลากรของส่วนราชการ ท่ีพนักงานราชการสงั กดั การย่ืนคําขอเงินค่าทดแทนให้พนักงานราชการซึ่งประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย หรอื ผูม้ ีสทิ ธิตามกฎหมายว่าด้วยเงนิ ทดแทน ยนื่ คําร้องขอเงินทดแทนต่อส่วนราชการที่พนักงานราชการ สังกัดภายในระยะเวลาหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย แล้วแต่กรณี เว้นแต่พนักงานราชการท่ีประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย ก่อนวันที่ประกาศ คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการฉบับนี้มีผลใช้บังคับ ท้ังนี้ การย่ืนคําร้องขอใช้สิทธิ ให้กรอกข้อความในแบบ คพร./สป.๑ และ คพร./สป.๒ ที่แนบท้ายประกาศ และทางราชการ อาจสง่ ตัวพนกั งานราชการเข้ารับการรกั ษาพยาบาลไดต้ ามความจาํ เปน็  การไดร้ ับค่าตอบแทนกรณีออกจากงานโดยไม่มีความผิด ในกรณีที่ส่วนราชการบอกเลิกสัญญาจ้างกับพนักงานราชการผู้ใดก่อนครบ กําหนดเวลาตามสัญญาจ้าง โดยมิใช่ความผิดของพนักงานราชการดังกล่าว ให้พนักงานราชการ ผ้นู ั้นได้รับคา่ ตอบแทนการออกจากราชการโดยไม่มีความผิด ดังนี้

๑๓๔ (ก) พนักงานราชการที่ได้ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๔ เดือน แต่ไม่ครบ ๑ ปีให้จ่าย ค่าตอบแทนเท่ากบั อัตราคา่ ตอบแทนที่ไดร้ ับอยูก่ อ่ นวนั ออกจากราชการ (ข) พนักงานราชการทไี่ ด้ปฏบิ ัติงานติดต่อกันครบ ๑ ปี แต่ไม่ครบ ๓ ปี ให้จ่ายค่าตอบแทน จํานวนสามเท่าของอัตราคา่ ตอบแทนทไ่ี ดร้ ับอยกู่ ่อนวันออกจากราชการ (ค) พนักงานราชการท่ีได้ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๓ ปี แต่ไม่ครบ ๖ ปี ให้จ่าย ค่าตอบแทนจํานวนหกเท่าของอตั ราค่าตอบแทนที่ไดร้ บั อยู่ก่อนวันออกจากราชการ (ง) พนักงานราชการที่ได้ปฏิบัติงานติดต่อกันครบ ๖ ปี แต่ไม่ครบ ๑๐ ปี ให้จ่าย ค่าตอบแทนจํานวนแปดเท่าของอัตราค่าตอบแทนทไ่ี ดร้ บั อยกู่ อ่ นวันออกจากราชการ (จ) พนักงานราชการท่ีไดป้ ฏิบตั ิงานตดิ ต่อกนั ครบ ๑๐ ปขี ึ้นไป ให้จ่ายค่าตอบแทน จํานวนสบิ เทา่ ของอตั ราคา่ ตอบแทนทไ่ี ดร้ ับอยกู่ ่อนวนั ออกจากราชการ

๑๓๕ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรอื่ ง แนวทางการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อเป็นการปรับปรุงการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ ให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส เป็นธรรม และมีมาตรฐาน ท่ีเหมาะสมและเป็นประโยชน์ แกส่ ่วนราชการยิ่งขนึ้ อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๑๙ วรรคสอง ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ จึงกําหนดแนวทาง การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานพนักงานราชการไว้ดงั นี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรอื่ ง แนวทางการประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔” ข้อ ๒ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง แนวทาง การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานราชการ ลงวันท่ี ๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๗ ขอ้ ๓ การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ ในการทส่ี ว่ นราชการจะใช้เปน็ เครื่องมอื ในการบริหารพนักงานราชการและนําผลการประเมินไปใช้ เป็นขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณาในเรื่องตา่ ง ๆ แล้วแต่กรณี ดงั น้ี (๑) การเลอ่ื นค่าตอบแทน (๒) การเลกิ จ้าง (๓) การต่อสญั ญาจ้าง (๔) อื่นๆ

๑๓๖ ข้อ ๔ การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของพนักงานราชการ มี ๒ ประเภท ดังนี้ (๑) การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านของพนักงานราชการทว่ั ไป (๒) การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านของพนักงานราชการพเิ ศษ ข้อ ๕ ให้ส่วนราชการกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ภายใตห้ ลกั การทีจ่ ะประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานบนพื้นฐานของผลสาํ เรจ็ และผลสัมฤทธ์ขิ องงาน โดย สว่ นราชการกาํ หนดตัวชวี้ ดั ผลการปฏิบตั งิ านท่มี ีความชดั เจน ข้อ ๖ การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการท่ัวไป ให้ประเมินจาก ผลงานของพนักงานราชการผู้นั้น โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานและพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน โดยกาํ หนดให้มีสัดส่วนของผลสัมฤทธ์ิของงานไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ (ก) การประเมินผลสมั ฤทธขิ์ องงาน ใหพ้ จิ ารณาจากองค์ประกอบดังน้ี (๑) ปริมาณผลงาน (๒) คณุ ภาพผลงาน (๓) ความรวดเร็วหรือความตรงต่อเวลา (๔) การใชท้ รัพยากรอยา่ งคุม้ คา่ (ข) การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ให้ส่วนราชการกําหนดสมรรถนะ ที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อความสําเร็จของงาน และระบุพฤติกรรมบ่งช้ีที่พึงประสงค์ ของแต่ละสมรรถนะ แล้วให้ประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกในการปฏิบัติงานจริงของพนักงานราชการ เปรียบเทยี บกับสมรรถนะและพฤติกรรมบ่งชี้ทก่ี าํ หนด ในแต่ละรอบการการประเมิน ให้ส่วนราชการนําผลคะแนนการประเมินผล การปฏิบัติงานของพนักงานราชการมาจัดกลุ่มตามผลคะแนนเป็น ๕ ระดับ คือ ดีเด่น ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ โดยกาํ หนดช่วงคะแนนประเมนิ ของแต่ละระดับผลการประเมนิ ดงั น้ี ดเี ดน่ ๙๕ – ๑๐๐ คะแนน ดีมาก ๘๕ – ๙๔ คะแนน ดี ๗๕ – ๘๔ คะแนน

๑๓๗ พอใช้ ๖๕ – ๗๔ คะแนน ต้องปรบั ปรงุ นอ้ ยกว่า ๖๕ คะแนน แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการทั่วไป ส่วนราชการ อาจพิจารณาใช้ตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ หรืออาจปรับใช้ตามความเหมาะสมของลักษณะงาน และวิธีท่ีส่วนราชการเลือกใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการก็ได้ ท้ังนี้ การประเมินดังกล่าวต้องครอบคลุมงาน/ภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย ความสําเร็จของงาน ผลผลิต หรอื ผลลพั ธ์ท่คี าดหวงั จากการปฏิบัติงาน และตวั ช้ีวดั ผลการปฏิบตั งิ าน ข้อ ๗ การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการท่ัวไป ให้ดําเนินการ ตามวิธีการดังตอ่ ไปนี้ (๑) ช่วงเริ่มรอบการประเมิน ให้ส่วนราชการกําหนดเป้าหมายผลสําเร็จ ของงานในภาพรวมของส่วนราชการท่ีจะมอบหมายให้พนักงานราชการปฏิบัติ จากนั้นให้ ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน และพนักงานราชการแต่ละคน ร่วมกันวางแผนการปฏิบัติงานเพ่ือให้ บรรลุเป้าหมายและ/หรือความสําเร็จของงานซ่ึงพนักงานราชการผู้น้ันต้องรับผิดชอบในรอบ การประเมินนั้น โดยกําหนดดัชนีช้ีวัดหรือหลักฐานบ่งช้ีความสําเร็จของงานอย่างเป็นรูปธรรม รวมท้งั ระบุพฤตกิ รรมในการทาํ งานที่คาดหวงั ดว้ ย (๒) ในระหว่างรอบการประเมิน ให้ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมินติดตาม ความกา้ วหน้าในการปฏิบัติงานตามแผนการปฏิบัติงานตาม (๑) รวมทั้งคอยให้คําปรึกษาแนะนํา และช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน เพ่ือให้พนักงานราชการสามารถปฏิบัติงานให้ บรรลุเปา้ หมายและผลสาํ เร็จของงานที่กําหนด (๓) เม่ือครบรอบการประเมิน ให้ผบู้ งั คบั บัญชา/ผปู้ ระเมินดาํ เนนิ การดงั น้ี (๓.๑) ประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการตามหลักเกณฑ์ และวธิ ีการท่สี ว่ นราชการกาํ หนด (๓.๒) จัดทําบัญชีรายชื่อพนักงานราชการตามลําดับคะแนนผลการ ประเมนิ (๓.๓) เสนอบัญชีรายชื่อพนักงานราชการตามลําดับคะแนนผลการ ประเมินให้คณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงาน พิจารณามาตรฐาน

๑๓๘ ความโปร่งใสและเป็นธรรมของการประเมิน ก่อนที่จะเสนอผลการประเมินต่อหัวหน้า ส่วนราชการเพื่อนําไปใช้ในการบริหารงานบุคคลตอ่ ไป (๓.๔) แจ้งผลการประเมินโดยตรงแก่พนกั งานราชการ และให้คําปรึกษา แนะนําแกพ่ นกั งานราชการ เพอ่ื แกไ้ ขปรับปรุงการปฏิบัตงิ านให้ดยี ่งิ ขึน้ ข้อ ๘ ให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการทั่วไป ปีละ ๒ ครั้ง ตามปีงบประมาณ คอื ครั้งท่ี ๑ ประเมินผลในช่วงการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ถึง ๓๑ มนี าคม ปถี ัดไป ครั้งท่ี ๒ ประเมินผลในช่วงการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ ๑ เมษายน ถึง ๓๐ กนั ยายน ปีเดียวกนั ข้อ ๙ ให้หัวหน้าส่วนราชการแต่งต้ังคณะกรรมการกล่ันกรองการประเมินผลการ ปฏิบัตงิ าน ประกอบด้วย (๑) หวั หน้าส่วนราชการ เปน็ ประธาน หรือผทู้ ีไ่ ด้รบั มอบหมาย เป็นกรรมการ (๒) หัวหนา้ หน่วยงานทมี่ ี เป็นกรรมการและเลขานกุ าร พนักงานราชการทว่ั ไปปฏิบตั ิงาน หรอื ผทู้ ีไ่ ด้รับมอบหมาย (๓) ผปู้ ฏบิ ตั ิงานด้านการเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการกล่ันกรองการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีหน้าที่ในการกล่ันกรอง การประเมินผลการปฏิบัติงานเพ่ือให้เกิดความเป็นธรรมจากการใช้ดุลพินิจของผู้บังคับบัญชาหรือ ผู้ประเมนิ ก่อนที่จะเสนอผลการประเมินต่อหวั หน้าสว่ นราชการ ข้อ ๑๐ พนักงานราชการทั่วไปผู้ใดซ่ึงผู้บังคับบัญชาได้ประเมินผลการปฏิบัติงาน แล้วมีคะแนนเฉล่ียของผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน ๒ ครั้งติดต่อกันตํ่ากว่าระดับดี ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทาํ ความเห็นเสนอหวั หนา้ สว่ นราชการเพื่อพจิ ารณาสัง่ เลิกจ้างต่อไป

๑๓๙ ข้อ ๑๑ กรณีท่ีจะมีการต่อสัญญาจ้างพนักงานราชการท่ัวไปผู้ใด ให้ส่วนราชการ ดําเนนิ การดังน้ี (๑) ส่วนราชการจะต้องมีกรอบอัตรากําลังของพนักงานราชการ จึงจะ สามารถดาํ เนนิ การตอ่ สญั ญาจ้างได้ (๒) ส่วนราชการจะต้องมีหลักฐานโดยละเอียดชัดเจนท่ีแสดงว่า นโยบาย แผนงาน หรือโครงการที่ดําเนินการอยู่น้ัน ยังคงมีการดําเนินการต่อและจําเป็นต้องใช้ พนักงานราชการปฏิบัติงานต่อไป หากส่วนราชการไม่มีแผนงานหรือโครงการท่ีจําเป็นต้องปฏิบัติ หรือไมม่ ีหลักฐานแสดงโดยชดั เจน ก็ให้เลกิ จา้ งพนกั งานราชการ (๓) ให้นําผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการท่ัวไปผู้นั้น มาประกอบการพิจารณาในการต่อสัญญาจ้าง โดยผู้ท่ีได้รับการพิจารณาให้ต่อสัญญาจ้าง จะตอ้ งมีคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน ๒ คร้ังติดต่อกันในปีที่จะต่อสัญญาจ้าง ไม่ต่ํากว่าระดับดี ข้อ ๑๒ การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการพิเศษ ให้กําหนด หลกั เกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามแนวทางดังต่อไปนี้ (๑) ให้หัวหน้าส่วนราชการและผู้รับผิดชอบงาน/โครงการร่วมกัน ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานราชการพิเศษ (๒) การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการพิเศษให้ประเมิน จากผลการปฏิบัติงานตามเป้าหมายและพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ตามข้อตกลง/เงื่อนไขในสัญญาจ้าง ทง้ั น้ี กําหนดใหม้ ีสัดส่วนของผลสัมฤทธิ์ของงานไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ (๓) ให้ส่วนราชการกําหนดระยะเวลาในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานราชการพิเศษเป็นรายเดือน หรือเป็นระยะๆ เม่ืองาน/โครงการ ได้ดําเนินการสําเร็จ ไปแล้วร้อยละ ๒๕ ร้อยละ ๕๐ ร้อยละ ๗๕ และร้อยละ ๑๐๐ หรืออ่ืนๆ โดยเทียบเคียงกับ เป้าหมายของงาน/โครงการ

๑๔๐ ข้อ ๑๓ ให้ส่วนราชการวางระบบการจัดเก็บผลการประเมิน เพื่อนําไปใช้ ตามวัตถปุ ระสงคท์ ่กี าํ หนดไวใ้ นขอ้ ๔ ทั้งนี้ ตัง้ แต่วันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔ (นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย) รฐั มนตรีประจาํ สาํ นักนายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการบริหารพนักงานราชการ

๑๔๑ แบบประเมินผลการปฏิบัตงิ านพนกั งานราชการทว่ั ไป ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มูลของผู้รบั การประเมนิ รอบการประเมนิ คร้งั ท.ี่ .......... ระหวา่ งวันท่ี ............................................ ถงึ วนั ที่ .................................. ช่อื ผ้รู บั การประเมิน (นาย/นาง/นางสาว).......................................................................................................... วันเรม่ิ สญั ญาจ้าง ....................................................... วันสนิ้ สดุ สญั ญาจา้ ง ........................................ ช่อื งาน/โครงการ .............................................................................................................................................. ตําแหน่ง ............................................. กลุม่ งาน ............................................. สังกัด ................................... ส่วนที่ ๒ การประเมินผลสัมฤทธข์ิ องงาน หนา้ ท/่ี ภารกิจ ตัวช้วี ัด/ผลงานจริง ระดับคา่ เปา้ หมาย (ก) %นาํ้ หนัก คะแนน (ค) ๑. ตัวชว้ี ัด : ๑๒ ๓๔ ๕ (ข) (ค = กxข) ผลงานจริง : ๒. ตวั ชี้วัด : ผลงานจริง : รวม ๑๐๐% คะแนนผลสมั ฤทธิ์ = คะแนนรวมของทกุ ตวั ชว้ี ัด (ค) = = X ๑๐๐ ของงาน ๕ หมายเหตุ : ๕ ซ่งึ เปน็ ตัวหาร หมายถึง คะแนนเตม็ ของระดบั คา่ เป้าหมาย ๑๐๐ ซึง่ เปน็ ตวั คณู หมายถึง การแปลงคะแนนรวมของผลสมั ฤทธิ์ของงานใหเ้ ป็นคะแนนที่มี ฐานคะแนนเตม็ เปน็ ๑๐๐ คะแนน

๑๔๒ ส่วนที่ ๓ การประเมนิ พฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงาน % คะแนน น้ําหนกั (ค) ระดับท่แี สดงออกจริง (ก) (ข) (ค = กxข) พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ๑ ๒๓ ๔ ๕ ๑. สมรรถนะ... ตาํ่ กวา่ ตาํ่ กวา่ ตามกําหนด เกินกว่า เกนิ กว่าที่ * (ระบุพฤตกิ รรมบ่งชี้) กําหนดมาก กาํ หนด ท่ีกําหนด กาํ หนดมาก ๒. สมรรถนะ... * (ระบพุ ฤติกรรมบง่ ช้)ี รวม ๑๐๐% คะแนนพฤตกิ รรม = คะแนนรวมของทกุ สมรรถนะ (ค) = = X ๑๐๐ การปฏบิ ัติงาน ๕ หมายเหตุ : ๕ ซึ่งเปน็ ตวั หาร หมายถงึ คะแนนเต็มของระดบั ที่แสดงออกจริง ๑๐๐ ซง่ึ เป็นตัวคณู หมายถงึ การแปลงคะแนนรวมของพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติงานใหเ้ ป็นคะแนนทม่ี ี ฐานคะแนนเต็มเป็น ๑๐๐ คะแนน ส่วนที่ ๔ การสรปุ ผลการประเมนิ องค์ประกอบการประเมิน คะแนน (ก) นํ้าหนัก (ข) รวมคะแนน (ก) x (ข) ผลการประเมนิ ดา้ นผลสมั ฤทธ์ิของงาน ๘๐% ผลการประเมนิ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัตงิ าน ๒๐% รวม ๑๐๐% ระดบั ผลการประเมนิ ระดับผลการประเมิน รอบที่ ๑ ระดบั ผลการประเมนิ รอบท่ี ๒ สรุปผลการประเมินทง้ั ปี  ดีเดน่ ๙๕–๑๐๐ %  ดีเดน่ ๙๕–๑๐๐ % (ผลการประเมนิ คร้งั ที่ ๑ ๒+ ผลการประเมินครงั้ ท่ี ๒)  ดีมาก ๘๕–๙๔ %  ดีมาก ๘๕–๙๔ %  ดี ๗๕–๘๔ %  ดี ๗๕–๘๔ %  ดเี ดน่ ๙๕–๑๐๐ %  พอใช้ ๖๕–๗๔ %  พอใช้ ๖๕–๗๔ %  ดีมาก ๘๕–๙๔ %  ต้องปรับปรงุ ๐–๖๔ %  ต้องปรบั ปรงุ ๐–๖๔ %  ดี ๗๕–๘๔ %  พอใช้ ๖๕–๗๔ %  ตอ้ งปรบั ปรุง ๐–๖๔ %

๑๔๓ ความคดิ เหน็ เพิม่ เติมของผู้ประเมนิ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... สว่ นท่ี ๕ การรบั ทราบผลการประเมนิ ลงชอื่ :…………………………........ ตําแหน่ง : ………………………….. ผู้รับการประเมนิ : วันท่ี : ………………………………..  ไดร้ ับทราบผลการประเมนิ แล้ว ลงชอื่ : ……………………………… ผู้ประเมิน : ตําแหน่ง : ………………………….  ไดแ้ จง้ ผลการประเมินเมอื่ วันท…่ี …………………… วันท่ี : ……………………………….. ส่วนท่ี ๖ ความเหน็ ของผู้บงั คับบญั ชาเหนอื ข้ึนไป ผู้บังคับบญั ชาเหนอื ขน้ึ ไป : ลงช่อื : …………………………………….  เห็นด้วยกบั ผลการประเมนิ ตําแหน่ง : ………………………………..  มีความเห็นต่าง ดังนี้ วันท่ี : …………………....................... …………………………………………………………….. ……………………………………………………………. ลงชือ่ : ………………………………………………. ……………………………………………………………. ตําแหนง่ : …………………………………………… วนั ท่ี : ……………………………… ผบู้ ังคับบญั ชาเหนอื ข้ึนไปอีกช้นั หนง่ึ (ถา้ ม)ี :  เห็นดว้ ยกบั ผลการประเมิน  มีความเหน็ ต่าง ดังนี้ …………………………………………………………….. ……………………………………………………………. …………………………………………………………….

๑๔๔ แบบประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านพนักงานราชการพเิ ศษ สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลของผรู้ บั การประเมนิ ชอ่ื ผู้รบั การประเมิน (นาย/นาง/นางสาว)......................................................................................................... วันเริ่มสัญญาจา้ ง .......................................................วันสิ้นสุดสญั ญาจ้าง ................................................... ช่ืองาน/โครงการ ................................................................................................................................................ ช่อื สว่ นราชการ ................................................................................................................................................. ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน  ประจําเดอื น ..................................................................................  ความสาํ เรจ็ ของงาน  ๒๕%  ๕๐%  ๗๕%  ๑๐๐%  อื่น ๆ (โปรดระบุ) ........................................................................ สว่ นท่ี ๒ การประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิของงาน ระดบั คา่ เปา้ หมาย (ก) %นาํ้ หนัก คะแนน (ค) ๑๒ ๓๔ ๕ (ข) (ค = กxข) หนา้ ท/ี่ ภารกิจ ตัวชี้วัด/ผลงานจรงิ ๑. ตัวช้ีวัด : ผลงานจริง : ๒. ตัวชวี้ ัด : ผลงานจรงิ : รวม ๑๐๐% คะแนนผลสมั ฤทธ์ิ = คะแนนรวมของทุกตวั ช้ีวดั (ค) = = X ๑๐๐ ของงาน ๕ หมายเหตุ : ๕ ซง่ึ เป็นตวั หาร หมายถึง คะแนนเตม็ ของระดับค่าเป้าหมาย ๑๐๐ ซง่ึ เปน็ ตัวคูณ หมายถึง การแปลงคะแนนรวมของผลสมั ฤทธขิ์ องงานใหเ้ ป็นคะแนนทม่ี ี ฐานคะแนนเต็มเปน็ ๑๐๐ คะแนน

๑๔๕ สว่ นที่ ๓ การประเมินพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงาน พฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงาน ๑ ระดับทีแ่ สดงออกจริง (ก) % คะแนน น้ําหนกั (ค) ๑. สมรรถนะ... ตํา่ กวา่ ๒๓ ๔ ๕ * (ระบุพฤตกิ รรมบ่งช้ี) กําหนดมาก (ข) (ค = กxข) ตาํ่ กวา่ ตามกาํ หนด เกินกวา่ เกินกว่าท่ี ๒. สมรรถนะ... กาํ หนด ที่กาํ หนด กาํ หนดมาก * (ระบุพฤตกิ รรมบ่งช)ี้ รวม ๑๐๐% คะแนนพฤตกิ รรม คะแนนรวมของทกุ สมรรถนะ (ค) = X ๑๐๐ การปฏิบตั งิ าน = = ๕ หมายเหตุ : ๕ ซง่ึ เป็นตวั หาร หมายถึง คะแนนเตม็ ของระดบั ทแ่ี สดงออกจริง ๑๐๐ ซงึ่ เป็นตวั คณู หมายถึง การแปลงคะแนนรวมของพฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านใหเ้ ป็นคะแนนทม่ี ี ฐานคะแนนเต็มเปน็ ๑๐๐ คะแนน ส่วนท่ี ๔ การสรปุ ผลการประเมิน คะแนน (ก) นาํ้ หนัก (ข) รวมคะแนน (ก) x (ข) ๙๐% องค์ประกอบการประเมนิ ๑๐% ผลการประเมนิ ด้านผลสมั ฤทธ์ิของงาน ๑๐๐% ผลการประเมนิ ดา้ นพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติงาน รวม ระดบั ผลการประเมนิ  ดเี ด่น ๙๕ – ๑๐๐ %  ดมี าก ๘๕ – ๙๔ %  ดี ๗๕ – ๘๔ %  พอใช้ ๖๕ – ๗๔ %  ตอ้ งปรับปรุง ๐ – ๖๔ %

๑๔๖ ความคดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ ของผ้ปู ระเมิน .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... สว่ นที่ ๕ การวเิ คราะหผ์ ลการปฏิบตั งิ าน จุดเด่น .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ขอ้ จํากัด .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ลงช่ือ …………………………….... (หวั หน้าสว่ นราชการ) () ตาํ แหน่ง ……………………………… วันที่ ……………………………….

๑๔๗ คําอธบิ าย ประกาศคณะกรรมการบรหิ ารพนกั งานราชการ เรอ่ื ง แนวทางการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ----------------------------------- ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เร่ือง แนวทางการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของพนักงานราชการ กําหนดขึ้นตามหมวด ๓ ข้อ ๑๙ แห่งระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ดว้ ยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ แนวคดิ  การจ้างพนักงานราชการอยู่ภายใต้แนวคิดและปรัชญาท่ีเป็นทางเลือกการจ้างงาน ภาครัฐท่ียืดหยุ่น คล่องตัว ภายใต้สัญญาจ้าง เพ่ือสนับสนุนภารกิจของส่วนราชการที่มีเหตุผล ความจําเป็นต้องใช้กําลังคนเพิ่มข้ึน หรือเป็นการจ้างเพ่ือสนับสนุนงานเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์สําคัญ ที่มีผลกระทบสูงต่อการปฏิบัติงานของส่วนราชการ และเป็นการจ้างระยะส้ัน ระยะเวลาการจ้าง ส้ินสดุ ตามภารกิจ ซึง่ จะมุง่ เน้นผลงานและผลสัมฤทธ์ิของงานของผปู้ ฏิบัติงานเป็นหลกั หลักการ  การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของพนักงานราชการมีประสิทธภิ าพ โปร่งใส เป็นธรรม  การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการสอดคล้องกับแนวคิดและปรัชญา ของการจ้างพนักงานราชการที่เป็นการจ้างงานภายใต้สัญญาจ้าง และมุ่งเน้นผลงานและ ผลสัมฤทธิ์ของงานของผปู้ ฏิบัติงานเปน็ หลัก วัตถุประสงค์  เพ่ือประโยชนใ์ นการทส่ี ว่ นราชการจะใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการบริหารพนักงานราชการ และนาํ ผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาในเรอ่ื งตา่ งๆ แล้วแตก่ รณีดงั นี้ (๑) การเล่ือนคา่ ตอบแทน (๒) การเลกิ จ้าง (๓) การตอ่ สญั ญาจา้ ง  เพื่อสร้างแรงจูงใจ และให้รางวัลตอบแทนพนักงานราชการที่มีผลงานได้มาตรฐาน หรือ สูงกว่ามาตรฐาน  เพื่อรกั ษาความเป็นธรรม ทัง้ การบริหารคา่ ตอบแทน และการบรหิ ารงานบุคคล

๑๔๘ หลักเกณฑ์ในการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน พนักงานราชการมีด้วยกัน ๒ ประเภท ได้แก่ พนักงานราชการทั่วไป และพนักงานราชการพิเศษ ซ่ึงมีลักษณะการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน โดยพิจารณาจากองค์ประกอบในเรื่องความยากง่ายของงาน การใช้ทักษะ ประสบการณ์ หรือความเชี่ยวชาญ และผลกระทบจากการปฏิบัติงานท่ีมีต่อชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน โดยพนักงานราชการท่ัวไปจะปฏิบัติงานในลักษณะที่เป็นงานประจํา หรืองานทั่วไปของส่วนราชการ เช่น งานบริการ งานเทคนิค งานบริหารท่ัวไป งานวิชาชีพเฉพาะ ซึ่งมีท้ังงานปฏิบัติที่ไม่สลับซับซ้อนมากนัก งานท่ีมีการกําหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานไว้ชัดเจน มีการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจในระดับที่ไม่ยุ่งยาก งานตามนโยบายสําคัญของรัฐบาล งานจําเป็นเร่งด่วน งานที่มีผลกระทบต่อชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของประชาชน งานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบในเชิงวิจัยและพัฒนา เป็นต้น ซึ่งแตกต่างจาก พนักงานราชการพิเศษซ่ึงมีลักษณะการปฏิบัติงานท่ีต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญสูงมากเป็นพิเศษ เพื่อปฏิบัติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและจําเป็นเฉพาะเรื่อง ของส่วนราชการ ซึ่งจะเป็นการจ้างให้ปฏิบัติงานที่มีภารกิจหรือเป้าหมายชัดเจน และมีกําหนด ระยะเวลาส้ินสดุ แน่นอน อย่างไรก็ตาม การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการท่ัวไปและพนักงานราชการพิเศษ อยู่บนหลักเกณฑ์พื้นฐานผลสําเร็จของงานเช่นเดียวกัน แต่จะมีเพียงรายละเอียดการประเมิน บางส่วนท่ีแตกต่างกันออกไป ท้ังนี้ เพ่ือให้เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติงาน และลักษณะ ของการจ้างงาน ซง่ึ สามารถสรุปสาระสาํ คัญของหลักเกณฑก์ ารประเมินผลการปฏิบัติงานได้ ดงั นี้ ๑. แนวทางการประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของพนกั งานราชการท่วั ไป ๑.๑ องค์ประกอบการประเมิน ๑.๑.๑ ให้ครอบคลุมอย่างน้อย ๒ องค์ประกอบ คือ “ผลสัมฤทธ์ิของงาน” และ “พฤติกรรมการปฏิบัติงาน” โดยสัดส่วนคะแนนผลสัมฤทธิ์ของงานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จากคะแนนเต็ม ๑๐๐ ท้งั น้ี สว่ นราชการอาจกําหนดมากกว่า ๒ องคป์ ระกอบก็ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook