นวัตกรรมรปู แบบ/วิธีปฏบิ ัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) ระดบั ปฐมวัย “การจดั ประสบการณ์ Learning on mobile เพ่ื อส่งเสริมพั ฒนาการ ด้านสติปญั ญาของเดก็ ปฐมวัย นางสปุ ราณี รอดศรี ครชู านาญการ โรงเรยี นวดั นาวง สำนักงำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำปทุมธำนี เขต 1 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พื้นฐำน กระทรวงศกึ ษำธิกำร
นวตั กรรมรปู แบบ/วธิ ปี ฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practices) ระดับปฐมวยั การจดั ประสบการณ์ Learning on mobile เพ่อื ส่งเสริมพฒั นาการ ดา้ นสติปญั ญาของเด็กปฐมวัย นางสปุ ราณี รอดศรี ครชู านาญการ โรงเรยี นวดั นาวง อาเภอเมอื งปทมุ ธานี จังหวดั ปทมุ ธานี สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คานา การจัดประสบการณ์ Learning on mobile เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของ เด็กปฐมวัย เป็นนวัตกรรมที่คิดค้นและพัฒนาข้ึน เพ่ือใช้แก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในช่วง สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งจากการดาเนินการ อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 สามารถแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี เป็นท่ี นา่ พอใจ ขอขอบคุณ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรโรงเรียนวัดนาวง ผู้ปกครอง และผู้มี ส่วนเก่ียวขอ้ งทุกทา่ นท่ใี หค้ วามร่วมมอื ในการขับเคลือ่ นนวัตกรรมจนประสบความสาเร็จ หวังเป็น อยา่ งยง่ิ ว่า การจัดประสบการณ์ Learning on mobile เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของ เด็กปฐมวัย จะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนและหน่วยงานหรือผู้ที่สนใจ ในการนาไปประยุกต์ใช้เพื่อ แก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโค โรนา 2019 (COVID-19) และด้านอ่นื ๆ ในโอกาสต่อไป นางสุปราณี รอดศรี ผจู้ ดั ทา เอกสารประกอบการประเมินนวตั กรรมรูปแบบ/วธิ ีปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practices) ระดบั ปฐมวยั นางสปุ ราณี รอดศรี ก
สารบัญ เรอื่ ง หน้า คานา ก สารบญั ข ชอ่ื ผลงาน 1 ชอื่ ผูน้ าเสนอผลงาน 1 ความสาคญั ของผลงาน นวตั กรรม หรอื แนวปฏบิ ตั ทิ ี่นาเสนอ 1 จุดประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดาเนินงาน 2 กระบวนการผลติ ผลงาน หรือข้นั ตอนการดาเนนิ งาน 3 ผลการดาเนินงานและประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับจากผลงานหรือนวตั กรรม 7 ปัจจัยความสาเร็จในการดาเนินงานผลงานหรือนวตั กรรม 8 บทเรยี นทไ่ี ดร้ บั 9 การเผยแพร่และการได้รับการยอมรับ (รางวลั ทไี่ ด้รบั ) 9 การขยายผลตอ่ ยอด หรือประยกุ ตใ์ ช้ผลงาน นวตั กรรมหรือแนวปฏิบตั ิ 10 ภาคผนวกทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับผลงานหรอื นวัตกรรม 10 บรรณานกุ รม 10 ขเอกสารประกอบการประเมินนวัตกรรมรปู แบบ/วิธปี ฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลศิ (Best Practices) ระดับปฐมวัย นางสุปราณี รอดศรี
แบบสรปุ ผลงาน นวตั กรรมรปู แบบ/วธิ ีปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practices) ระดับปฐมวัย 1. ช่ือผลงาน การจดั ประสบการณ์ Learning on mobile เพ่ือสง่ เสริมพฒั นาการด้านสตปิ ญั ญาของ เด็กปฐมวัย 2. ชื่อผนู้ าเสนอผลงาน นางสุปราณี นามสกุล รอดศรี ตาแหน่ง ครูชานาญการ โรงเรียนวัดนาวง สังกัด สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 ตาบล หลักหก อาเภอ เมือง จังหวัด ปทุมธานี รหสั ไปรษณยี ์ 12000 Email: supraneerodsri1234@gmail.com เว็บไซตโ์ รงเรียน : http://watnawong.ac.th/ 3. ความสาคัญของผลงาน นวัตกรรม หรือแนวปฏิบตั ทิ ี่นาเสนอ 3.1 ความเปน็ มาและสภาพปญั หา เด็กปฐมวัยเป็นวัยท่ีสาคัญท่ีสุดสาหรับพัฒนาการของชีวิตมนุษย์ พัฒนาการช่วงอายุ ระหว่าง 0-6 ปี ถือว่าเป็นช่วงโอกาสทองของการเรียนรู้ ในวัยนี้สมองเติบโตอย่างรวดเร็วถ้าเด็กได้รับการพัฒนา และได้รับการกระตุ้นด้วยวิธีการท่ีถูกต้อง จะช่วยสร้างเสริมให้มีความพร้อมสมบูรณ์ท้ัง ร่างกาย อารมณ-์ จิตใจ สังคม และสตปิ ญั ญา (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ 2543 : 16) การศึกษา ปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างมี คณุ ภาพและตอ่ เนอ่ื ง ได้รับการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุขและเหมาะสมตามวัยมีทักษะ ชวี ิตและปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (กระทรวงศึกษาธกิ าร 2560 : 3) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความสาคัญใน การดูแลนักเรียน ผปู้ กครอง ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จึงไดจ้ ดั ทาแนวทางการจดั การเรียนการสอน ของโรงเรียน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานการณ์การระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2564 เพ่ือให้โรงเรียนใช้เป็นแนวทางในการจัดการ เรยี นการสอนของโรงเรยี นในสังกัดอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลต่อระบบการศึกษาเป็นอย่างมาก สถานการณ์การระบาดเกิดขึ้นในช่วง สถานศึกษาปิดภาคเรียน โดยในช่วงต้นเดือนเมษายน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้เลื่อนวันเปิดภาค เรียนท่ี 1 ไป เปน็ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2564 โรงเรยี นจงึ ไดเ้ ตรยี มความพรอ้ มในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ที่สอดรับกับมาตรการ ปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) พร้อมกับเตรียมมาตรการต่าง ๆ เพ่อื ปอ้ งกันไมใ่ หผ้ เู้ รยี นได้รบั ผลกระทบจากรูปแบบการเรียนการสอนทีเ่ ปลยี่ นไป ซึง่ ในช่วงเดือนมีนาคม 2564 ท่ีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เร่ิมควบคุมยาก และเขา้ สภู่ าวะโรคระบาดใหญท่ ่วั โลก การจัดการเรียนการสอนต้องเล่อื นเปดิ ภาคเรียน ฯลฯ เอกสารประกอบการประเมินนวตั กรรมรปู แบบ/วิธปี ฏบิ ัติทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practices) ระดับปฐมวัย นางสุปราณี รอดศรี 1
ดังน้ัน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การจัดการ เรียนการสอนต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่อง เพ่ือเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียนท้ังในห้องเรียนและนอก ห้องเรยี น ครูผู้สอนจงึ ใช้การจัดประสบการณ์ Learning on mobile เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ของเด็กปฐมวัย เป็นกระบวนการเรียนรู้ โดยยึดหลักการที่สาคัญที่เรียกว่า 4I อันได้แก่ Information คือ ความเป็นสารสนเทศในตัวเอง, Interactive การมีปฎิสัมพันธ์กับผู้เรียน, Individual คือ การเรียนรู้ด้วย ตนเอง, Interactive คือ การตอบสนองโดยทนั ทีซ่ึงสามารถบูรณาการการใช้เทคโนโลยีมาสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ ซึ่งจะช่วยให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาที่ดี อีกทั้งเหมาะสมกับการจัดการ เรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21 และการจดั การศึกษาออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 3.2 แนวทางการแกป้ ญั หาและพฒั นา จากเหตุผลดังที่ได้กล่าวมา ข้าพเจ้าจึงได้ศึกษา ค้นหาวิธีการ และนวัตกรรมจัดการเรียนรู้มา ใช้ในการพัฒนาเทคนิคการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย จึงเป็นท่ีมาของนวัตกรรม การจัด ประสบการณ์ Learning on mobile เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กเข้า มามีส่วนร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียน มีบทบาทในการเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา และ เรยี นรูอ้ ย่างมีความสุขในยุคปัจจุบัน ซงึ่ เปน็ สงิ่ สาคัญในการพัฒนาเด็กในระดบั ปฐมวยั ให้มีพฒั นาการที่ดขี ้นึ 4. จดุ ประสงค์และเป้าหมายของการดาเนนิ งาน 4.1 จดุ ประสงค์ 4.1.1 เพ่ือพัฒนาการจัดประสบการณ์ Learning on mobile มาใช้เป็นหลักในการจัดกิจกรรม และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัย ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) 4.1.2 เพือ่ เปรยี บเทยี บพฒั นาการด้านสติปัญญาก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ Learning on mobile 4.1.3 เพอื่ ประเมินความพึงพอใจในการจัดประสบการณ์ Learning on mobile 4.2 เปา้ หมาย 4.2.1 การจัดประสบการณ์ Learning on mobile ในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่สี ามารถบรู ณาการการใช้เทคโนโลยีมาสนับสนุนการจัดประสบการณ์ ซ่ึงจะช่วยให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทั้งในห้องเรียนและนอก หอ้ งเรียน 4.2.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กปฐมวัยในระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 3 จานวน 30 คน โรงเรียนวัดนาวง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 มีพัฒนาการ ทางด้านสตปิ ญั ญาทีด่ ขี นึ้ เอกสารประกอบการประเมนิ นวัตกรรมรปู แบบ/วธิ ีปฏิบัติทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practices) ระดบั ปฐมวยั นางสปุ ราณี รอดศรี 2
4.2.3 เด็กปฐมวัยและผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดประสบการณ์ Learning on mobile รอ้ ยละ 80 5. กระบวนการผลติ ผลงาน หรือขนั้ ตอนการดาเนินงาน 5.1 การออกแบบผลงาน นวตั กรรม หรอื แนวปฏบิ ัติ นวัตกรรม การจัดประสบการณ์ Learning on mobile คือ การเรียนรู้ในรูปแบบ m-Learning (mobile learning) หมายถึง การจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสาเร็จรูป (Instruction Package) ท่ีนาเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีไร้สาย (wireless telecommunication network) และเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกท่ีและทุกเวลา โดยใช้สายสัญญาณ เดก็ ปฐมวัยและครผู ู้สอนใชเ้ ครื่องมอื สาคญั คือ อปุ กรณ์ประเภทเคล่ือนท่ีได้โดยสะดวก และสามารถเช่ือมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยไม่ต้องใช้สายสัญญาณแบบเวลาจริง ได้แก่ Notebook Computer, Portable computer, Tablet PC, Cell Phones (ศิวพร หวังพิพัฒน์วงศ์. 2551) โดยมี ข้ันตอนการออกแบบนวตั กรรม ดังน้ี 5.1.1 วเิ คราะหส์ ภาพการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ 5.1.2 ศกึ ษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ฉบบั พุทธศกั ราช 2560 5.1.3 ศึกษาขอ้ มูลเก่ยี วกบั บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน 5.1.4 วางแผนการออกแบบกิจกรรม รวมทั้งการผลิตสื่อ โดยกาหนดจุดมุ่งหมาย และ รปู แบบของสื่อให้เหมาะสมกับพัฒนาการตามวยั ของเดก็ ปฐมวยั 5.1.5 สร้างนวัตกรรมการจัดประสบการณ์ Learning on mobile เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการ ด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย โดยแต่ละกิจกรรม เชื่อมโยง สอดคล้องกัน และนาไปใช้กับเด็กปฐมวัย ระดบั ช้ันอนบุ าลปีท่ี 3 ของโรงเรยี นวัดนาวง ปกี ารศึกษา 2564 พร้อมท้ังมีการประเมินผลการใช้นวัตกรรม การจดั ประสบการณ์ Learning on mobile 5.2 การดาเนินการจดั ประสบการณ์ (ตามวงจรคณุ ภาพเดมมงิ่ PDCA) 5.2.1 Plan = P 1. กาหนดเป้าหมาย การพัฒนาการจัดประสบการณ์ Learning on mobile โดยใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสร้างให้เป็นโปรแกรม เพื่อให้เด็กนาไปเรียนรู้ด้วยตนเองและเกิดการเรียนรู้ ในโปรแกรมประกอบไปด้วยเน้ือหา เกมการศึกษา ใบกิจกรรม ลักษณะของการนาเสนอ อาจมีทั้งตัว หนังสือ ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว สีหรือเสียง เพื่อดึงดูดให้เด็กปฐมวัยเกิดความสนใจมากยิ่งข้ึน เป็นรปู แบบการจดั ประสบการณท์ ีน่ าเอาหลักการของบทเรียน โปรแกรม และเคร่ืองช่วยสอนมาผสมผสาน กัน รูปแบบของส่ือ ถูกออกแบบให้ทางานภายใต้ทรัพยากรของเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยตรง ข้อมูลการ เรียนรู้จะอยู่ในรูปของไฟล์ข้อมูลท่ีนามาลงหรือติดต้ัง ลงบนเครื่องอุปกรณ์ประเภทเคลื่อนท่ีได้โดยสะดวก และสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยไม่ต้องใช้สายสัญญาณแบบเวลาจริง ได้แก่Notebook Computer, Portable computer, Tablet PC, Cell Phones 2. วางแผนการทางาน ดาเนินการโดยวิเคราะห์สภาพการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ศกึ ษาหลักสตู รปฐมวัย สาระทค่ี วรเรียนรู้ ประสบการณส์ าคญั มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย และตัวบ่งชี้ 3เอกสารประกอบการประเมินนวัตกรรมรปู แบบ/วิธปี ฏบิ ตั ิทเี่ ป็นเลิศ (Best Practices) ระดบั ปฐมวัย นางสปุ ราณี รอดศรี
ศึกษาข้อมูลเก่ียวกับพัฒนาการท้ัง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง วางแผนการผลิตส่ือ โดย กาหนดจดุ มงุ่ หมาย และรปู แบบของสื่อให้เหมาะสมกบั พัฒนาการตามวยั ของเด็กปฐมวัย 3. นาการประสบการณ์ โดยใช้ Learning on mobile สาหรับนักเรียนช้ันอนุบาล ปีท่ี 3 ไปขอคาแนะนาจากผู้บริหาร และคณะครูโรงเรียนวัดนาวง ในด้านความเหมาะสมของ องค์ประกอบของ การจัดประสบการณ์ Learning on mobile เพ่ือมาปรบั ปรงุ แก้ไขใหส้ มบรู ณย์ ่งิ ข้ึน 4. เตรียมวัสดุ อปุ กรณส์ าหรับการจัดประสบการณ์ 5.2.2 DO = D 5. ลงมือปฏิบัติงานตามแผนการจดั ประสบการณ์ Learning on mobile ❖ คณุ ครูสง่ คู่มอื และคาแนะนาในการจดั ประสบการณใ์ หเ้ ดก็ และผปู้ กครอง 4เอกสารประกอบการประเมนิ นวตั กรรมรูปแบบ/วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เี่ ป็นเลศิ (Best Practices) ระดบั ปฐมวัย นางสปุ ราณี รอดศรี
❖ คุณครูสง่ นทิ าน เพลง คาคล้องจอง ฯ ลงในกลมุ่ ไลน์ห้องเรียน ให้เดก็ รับชมและรบั ฟัง ❖ คุณครูส่งกิจกรรมการเรียนรู้ ในการจัดประสบการณ์ Learning on mobile ลงในกลุ่มไลน์ชั้น เรียน 5เอกสารประกอบการประเมินนวตั กรรมรูปแบบ/วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นเลศิ (Best Practices) ระดับปฐมวยั นางสปุ ราณี รอดศรี
❖ เด็กเข้าเรยี นตามตารางเวลาการจดั ประสบการณ์ 6เอกสารประกอบการประเมนิ นวตั กรรมรูปแบบ/วธิ ีปฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practices) ระดับปฐมวยั นางสปุ ราณี รอดศรี
❖ เดก็ ส่งผลงานหลงั ได้รับการจดั ประสบการณ์ Learning on mobile 5.2.3 Check = C 6. ตรวจสอบผลงาน โดยการประเมนิ ผลการจัดประสบการณ์ Learning on mobile และสงั เกตผลการใช้กิจกรรม นาขอ้ บกพรอ่ งจากการดาเนนิ กจิ กรรม ไปปรบั ปรงุ พฒั นา และตอ่ ยอดเปน็ กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ อยา่ งต่อเนื่อง 5.2.4 Action = A 7. ปรบั ปรุงผลงานให้ดขี น้ึ โดยออกแบบเพิ่มเตมิ ปรับปรงุ กจิ กรรมให้น่าสนใจ ดึงดูด ความสนใจมากย่ิงขึ้น 6. ผลการดาเนินการ ผลสัมฤทธิแ์ ละประโยชน์ที่ได้รับ 6.1 ผลทเี่ กิดตามจุดประสงค์ 6.1.1 มีรูปแบบการจัดประสบการณ์ Learning on mobile มาใช้ในการจัดประสบการณ์ สาหรับเด็กปฐมวัย ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค โรนา 2019 (COVID-19) 6.1.2 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาหลังการจัดประสบการณ์ Learning on mobile สูงขนึ้ 6.1.3 เดก็ และผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจดั ประสบการณ์ Learning on mobile 7เอกสารประกอบการประเมนิ นวัตกรรมรปู แบบ/วธิ ปี ฏบิ ัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practices) ระดบั ปฐมวยั นางสุปราณี รอดศรี
6.2 ผลสมั ฤทธิข์ องงาน การจดั ประสบการณ์ Learning on mobile ทาใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทางดา้ นสติปัญญาสูงขึ้น โดยมีความคิดรวบยอด ความคิดเชิงเหตุผล และเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้ มีส่วนร่วมกับกิจกรรมการ เรียนรู้ในชั้นเรียน มีบทบาทในการเรียนรู้ และเรียนรู้อย่างมีความสุข ซ่ึงเป็นส่ิงสาคัญในการพัฒนา เดก็ ในระดบั ปฐมวยั ให้มพี ัฒนาการทีด่ ยี งิ่ ขึ้น 6.3 ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั สาหรบั ครู 1. เป็นส่ือออนไลน์ โดยใช้การจัดประสบการณ์ Learning on mobile ในการจัด ประสบการณ์ท่ีต้องการพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการท่ีดีข้ึนตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ครูสามารถ นาไปประยุกต์ใชใ้ นชน้ั เรียนของตนได้หรือพัฒนาเป็นนวตั กรรมการเรียนรู้ ได้ 2. เป็นสื่อท่ีใช้ในการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับทฤษฎี ได้พัฒนาหน่วยการเรียนรู้ การใช้นวัตกรรม การจัดประสบการณ์ Learning on mobile มาเป็นตัวช่วยใช้ในการจัด ประสบการณ์ ทาให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสูงข้ึนอย่างเห็นได้ชัด ซ่ึงเป็นนวัตกรรมสื่อการ เรียนรู้รูปแบบใหม่ที่ออกแบบและสอดแทรกเน้ือหาหน่วยการเรียนรู้ลงไป ให้เด็กมีส่วนร่วมในการ เรยี นรู้ ฝึกปฏิบตั ิในการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง จนผูเ้ รยี นเกิดการเรียนรไู้ ดใ้ นทส่ี ุด 3. เป็นการกระตุ้นครูผู้สอนให้สนใจใฝ่รู้สืบเสาะหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เน่อื งและนาสิ่งใหม่ๆ มาใชเ้ พือ่ พัฒนาการเรยี นการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล สาหรับนักเรยี น 1. เป็นสื่อทีส่ ามารถส่งเสริมพัฒนาการทางดา้ นสตปิ ัญญาไดอ้ ย่างหลากหลาย 2. เดก็ เรียนรู้อย่างมคี วามสขุ สนกุ สนานในการเรียนรู้ สาหรับผปู้ กครอง 1. เป็นสื่อที่ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กปฐมวัยกับผู้ปกครอง และสามารถ ศึกษาได้ตลอดเวลา ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโค โรนา 2019 (COVID-19) 2. เป็นส่อื ท่ีชว่ ยกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ เกิดความสนใจ ใฝ่รู้ รจู้ ักสืบเสาะหาความรู้ อยาก รอู้ ยากเห็นไปพร้อม ๆ กับบตุ รหลาน 7 . ปจั จัยความสาเร็จ 7.1 บุคลากรที่มีส่วนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประสบผลสาเร็จ คือผู้บริหาร สถานศึกษาของโรงเรียนวัดนาวงที่มีการสนับสนุนและส่งเสริมให้ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ หลากหลายตามศักยภาพของเด็กปฐมวัย ส่งเสริม สนับสนุนให้ ครู ผู้จัดทาสื่อ /นวัตกรรมเพื่อ พัฒนาการจัดประสบการณ์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 7.2 ใช้หลักการจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมโดยอาศัยความร่วมมือของผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียนโรงเรยี นวัดนาวง ผู้ปกครอง และ ชมุ ชนหรือหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งร่วมกนั 8เอกสารประกอบการประเมินนวัตกรรมรปู แบบ/วธิ ปี ฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลิศ (Best Practices) ระดับปฐมวยั นางสปุ ราณี รอดศรี
วางแผนเตรยี มความพรอ้ มการเรียนในชว่ งสถานการณโ์ รคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 7.3 ผู้บริหารโรงเรียนวัดนาวง ให้การนิเทศ ติดตาม และเยี่ยมชั้นเรียนอย่างเป็นกัลยาณมิตร สง่ เสริม สนับสนุนการจัดกจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนือ่ ง และลงพ้ืนทเ่ี ย่ียมบา้ นนักเรียนทว่ั ถงึ 7.4 การดาเนินการพัฒนานวัตกรรมให้สาเร็จลุล่วงเกิดสัมฤทธ์ิผลอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลน้ัน จะต้องอาศัยความร่วมมือที่ดีจากทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อีกทั้ง ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ครผู ู้สอน และผ้ปู กครองมีสว่ นสาคญั ที่จะปลกู ฝงั ให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้อย่าง ต่อเนอื่ ง 8. บทเรียนทไ่ี ดร้ บั 8.1 เด็กปฐมวัยเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี การนามาประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ และเป็นการจัด ประสบการณ์ Learning on mobile ที่เป็นประโยชน์สามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน และสามารถเผยแพรใ่ ห้ผูอ้ ่นื ไดศ้ ึกษา 8.2 นวัตกรรมการจัดประสบการณ์ Learning on mobile ทาให้เด็กปฐมวัยมีส่วนร่วมใน กระบวนการเรียนร้อู ยา่ งเป็นระบบ สง่ ผลให้เดก็ ปฐมวยั มพี ฒั นาการทางด้านสติปญั ญา 8.3 นวัตกรรมการจัดประสบการณ์ Learning on mobile เป็นส่ือในการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ การปลูกฝังให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาท่ีดี ฝึกทักษะการฟัง และการทา กิจกรรมในใบกิจกรรมท่คี รผู สู้ อนไดใ้ หใ้ นแตล่ ะสัปดาห์ 8.4 ในการนานวัตกรรมไปใช้นั้นครูต้องจัดการเรียนรู้แบบให้เด็กปฏิบัติจริง เด็กเป็นศูนย์กลางการ เรยี นรู้ โดยวิธกี ารท่หี ลากหลาย เปน็ การสอนทเ่ี นน้ ความสาคัญของเดก็ หรือยึดเด็กเป็นศูนย์กลางและใช้ เทคนคิ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ใช้สื่อประสมเป็นส่ิงสาคัญ เพ่ือส่งเสริมให้การจัดประสบการณ์ มชี วี ติ ชวี า ชว่ ยให้เดก็ ได้ศกึ ษาค้นควา้ และเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองในการกิจกรรมต่างๆ ท่คี รูมอบหมาย 9. การเผยแพรแ่ ละการได้รบั การยอมรับ (รางวลั ท่ไี ดร้ ับ) การจัดประสบการณ์ Learning on mobile เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็ก ปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 โรงเรียนวัดนาวง จังหวัดปทุมธานี สามารถนามาบูรณาการร่วมกับ หนว่ ยการเรียนรู้อนื่ ๆ ในการจดั ประสบการณผ์ ่านส่อื ออนไลนไ์ ด้ โดยได้เผยแพร่ผ่านกลุ่มไลน์ผู้ปกครอง เว็บไซตข์ องโรงเรยี นวัดนาวง Facebook ของโรงเรยี นวดั นาวง และ Google site 9เอกสารประกอบการประเมินนวัตกรรมรูปแบบ/วธิ ีปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลศิ (Best Practices) ระดบั ปฐมวยั นางสุปราณี รอดศรี
10. การขยายผลต่อยอด หรอื ประยุกต์ใชผ้ ลงาน นวตั กรรมหรือแนวปฏิบัติ ในปีการศึกษา 2565 ข้าพเจ้าได้นานวัตกรรม การจัดประสบการณ์ Learning on mobile เพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 โรงเรียนวัดนาวง มา ประยุกต์ใช้ในการ ทบทวนหลังการจัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ผ่านช่องทาง ส่อื ออนไลน์ เปน็ การส่งเสรมิ ใหผ้ ้ปู กครองมสี ว่ นรว่ มในการจดั ประสบการณ์ โดยการส่งนวัตกรรมการจัด ประสบการณ์ Learning on mobile ตามหน่วยการเรียนรู้ หลังการจัดประสบการณ์ตามหน่วยการ เรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ ให้เด็กและผู้ปกครองทบทวนความรู้ของเน้ือหาการจัด ประสบการณ์ร่วมกัน เพื่อให้นักเรียนมีพัฒนาการด้านสติปัญญาท่ีสูงขึ้น อันส่งผลต่อพัฒนาการท้ัง 4 ดา้ นของเด็กปฐมวยั 11. ภาคผนวก/เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับนวตั กรรม แผน คู่มอื นวตั กรรม การจดั ประสบการณ์ แบบประเมิน การจัดประสบการณ์ การใช้นวัตกรรม Learning on mobile เพือ่ ความพึงพอใจ สง่ เสรมิ พัฒนาการทางดา้ น สตปิ ัญญาของเดก็ ปฐมวัย บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย 2560.กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ศวิ พร หวงั พพิ ฒั น์วงศ์. (2551). วารสารนกั บรหิ าร ปีท่ี 28, ฉบบั ท่ี 1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), หนา้ 70-73, สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ (2543) ปฏริ ูปการเรยี นร้ผู ้เู รยี นสาคญั ที่สดุ . กรงุ เทพฯ : บริษทั พิมพด์ ี 10เอกสารประกอบการประเมินนวัตกรรมรปู แบบ/วิธปี ฏบิ ัติท่ีเปน็ เลิศ (Best Practices) ระดบั ปฐมวัย นางสปุ ราณี รอดศรี
นวตั กรรมรูปแบบ/วธิ ีปฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลิศ (Best Practices) ระดับปฐมวัย ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 โรงเรยี นวดั นาวง อำเภอเมือง จงั หวัดปทุมธำนี สำนักงำนเขตพ้นื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำปทมุ ธำนี เขต 1 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน กระทรวงศึกษำธกิ ำร
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: