Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการอบรมเกษตรกรรมฯ

โครงการอบรมเกษตรกรรมฯ

Published by layraman, 2020-06-26 05:06:34

Description: โครงการอบรมเกษตรกรรมฯ

Search

Read the Text Version

1. โครงการลำดับที่ 01_2020 2. ชื่อโครงการ : โครงการพฒั นาคุณภาพ ชีวติ สมาชกิ ครสิ ตจกั รทอC งถ่นิ ตามหลักปรชั ญา เศรษฐกิจ พอเพยี ง “ การบรหิ ารจดั การพื้นท่ี ทำกินและการทำระบบเกษตรกรรมอยาQ ง ยัง่ ยนื ” 3. ผรูC บั ผิดชอบโครงการ : หนว( ยงานพฒั นาและบรกิ ารสงั คม สภาครสิ ตจักรในประเทศไทย 29 ถนนรัตนโกสนิ ทรF ต.วัดเกตุ อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม( 50000

4. ตอบสนองนโยบายสภาครสิ ตจกั รในประเทศ ไทย : นโยบายที่ 6 ดRานการพัฒนาและบริการ สังคม ยุทธศาสตรFท่ี 10 การส(งเสริมคริสตจักรเปTน ศูนยFกลางพัฒนาและบริการสงั คม ประเด็นยุทธศาสตรFที่ 10.1 เพิ่มความรRูและ การพัฒนาศักยภาพการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ สมาชิกคริสตจักรและชุมชนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงและการพ่ึงตนเองแบบยั่งยืน 5. หลักการและเหตุผล : \"การจะเป*นเสือน้ันมันไม3สำคัญ สำคัญอย3ูที่ เราพออย3ูพอกิน และมีเศรษฐกิจการเป*นอย3ูแบบ พอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว3า อGุมชู

ตัวเองไดG ใหGมีพอเพียงกับตัวเอง\" พระราช ดำรัส \"เศรษฐกิจแบบพอเพียง\" พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทาน เม่ือวนั ท่ี 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2540 เศรษฐกิจพอเพียง(sufficiency economy) เปTนปรัชญาท่ีช้ีแนวทางการดำรงอยู(และปฏิบัติ ตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต(ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการ พัฒนาและบริหารประเทศ ใหRดำเนินไปในทาง สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหR กRาวทันต(อโลกยุคโลกาภิวัฒนF ท่ีพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระ ราชดำรัส แก(พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด ตั้งแต(ปn พ.ศ. 2517 และภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 ไดRทรงเนRนย้ำเปTนแนวทางการแกRไข

เพื่อใหRรอดพRน และสามารถดำรงอย(ูไดRอย(าง มั่นคงและยั่งยืนภายใตRกระแสโลกาภิวัฒนF และ ค ว า ม เป ล่ี ย น แ ป ล ง ต( า ง ๆ ส ำ นั ก ง า น คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห(งชาติ ไดRเชิญผRูทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจ และสาขาอื่นๆ มาร(วมกันประมวลและกล่ันกรอง พระราชดำรัส เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อบรรจุ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห(งชาติ ฉบับ ท่ี 9 (พ .ศ . 2545-2549) แ ล ะ ไดR จั ด ท ำเปT น บทความเรื่อง \"ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง\" แ ล ะ ไดR น ำ ค ว า ม ก ร า บ บั ง ค ล ทู ล พ ร ะ ก รุ ณ า ข อ พระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เม่ือวันที่ 22 ตุลาคม 2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแกRไข พระราชทาน และทรงพระกรุณาโปรดเกลRาฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหRนำบทความ

ที่ทรงแกRไขแลRวไปเผยแพร( เพื่อเปTนแนวทาง ปฏิบัติของสำนักงานฯ และทุกฝvายท่ีเกี่ยวขRอง ตลอดจนประชาชนโดยท่ัวไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจกิ ายน 2542 มีใจความดงั น้ี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจ พอเพียงเป*นปรัชญาชี้แนวทางการดำรงอย3ูและ ปฏิบัติตนของประชาชนใน ทุกระดับ ต้ังแต3ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน ถึงระดับรัฐ ท้ังในการ พัฒนาและบริหารประเทศ ใหGดำเนินไป ในทาง สายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือใหG กGาวทันต3อยุคโลกาภิวัฒ นV ความพ อเพี ยง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป*นที่จะตGองมีระบบภูมิคุGมกันใน

ตัว ดีพอสมควร ต3อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิด จากการเปลี่ยนแปลงท้งั ภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตGองอาศัย ความรอบรGู ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอย3างยิ่ง ในการ นำวิชาต3างๆ มาใชGในการวางแผนและดำเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะตGองเสริมสรGาง พื้ น ฐาน จิตใจ ของคน ใน ชาติ โดยเฉพ าะ เจGาหนGาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุก ระดับ ใหGมีสำนึก ในคุณธรรม ความซ่ือสัตยV สุจริตและใหGมคี วามรอบรูGที่เหมาะสม ดำเนินชีวิต ดGวยความอดทน ความเพียร มีสติป^ญญา และ ความรอบคอบ เพื่อใหGสมดุลและพรGอมต3อการ รองรับการเปล่ียนแปลง อย3างรวดเร็วกวGางขวาง ทั้งดGานวัตถุ สังคมสิ่งแวดลGอมและวัฒนธรรมจาก โลกภายนอกไดGเป*นอย3างด”ี

การทำเกษตรในทศวรรษหนRา ผลผลิตสา หรับผRูบริโภคจะเนRนคุณภาพเปTนหลัก หรือ อาหารปลอดภัย (food safety) การคRาจะเนRน ดRาน คุณ ภ าพ ของผลผลิตมากขึ้น การท ำ การเกษตรดRวยระบบอินทรียFจะเขRามามีบทบาท ทดแทนการใชRสารเคมี จากรายงานการสำรวจ ข อ ง อ ง คF ก า ร อ า ห า ร แ ล ะ เก ษ ต ร แ ห( ง สหประชาชาติเมื่อปn พ.ศ. 2543 พบว(าประเทศ ไทยมีเน้ือท่ีทำการเกษตรอันดับท่ี 48 ของโลก แต(ใชRยาฆ(าแมลงอันดับ 5 ของโลก ใชRยาฆ(าหญRา อันดับ 4 ของโลก ใชRฮอรFโมนอันดับท่ี 4 ของโลก ประเทศไทยนำเขRาสารเคมีสังเคราะหFทางการ เกษ ตรเปT นเงินปnละกว(า 3 หม่ืนลRานบ าท เกษตรกรตRองซ้ือป•จจัยการผลิตที่เปTนสารเคมี

สังเคราะหFเพ่ือใชRในการเพาะปลูก ซึ่งเปTนตRนทุน การผลิตทางตรงที่เกษตรกรตRองแบกรับ ส(งผลใหR ตRองมีการลงทุนต(อไร(สูงและตRองใชRเพ่ิมขึ้นอย(าง ต(อเนื่อง ขณะท่ีราคาผลผลิตไม(ไดRปรับตัวสูงขึ้น ตามสัดส(วนของตRนทุนที่สูงข้ึน ส(งผลใหRเกษตรกร ขาดทุนเรื้อรัง มีหนี้สินลRนพRนตัว ดังนั้น เกษตร อนิ ทรียFจะเปนT หนทางของการแกRป•ญหาเหล(านไ้ี ดR แนวคิดพื้นฐานของเกษตรอินทรียFคือ การบริหารจัดการการผลิตทางการเกษตรแบบ องคFรวม ซึ่งแตกต(างอย(างชัดเจนจากการเกษตร แผนใหม(ที่มุ(งเนRนการเพิ่มผลผลิตชนิดใดชนิด หน่ึงสูงสุด โดยการพัฒนาเทคนิคต(างๆ เกี่ยวกับ การใหRธาตุอาหารพืชและป€องกันกำจัดสิ่งมีชีวิต อ่ืนที่อาจมีผลในการทำใหRพืชที่ปลูกมีผลผลิต

ลดลง แนวคิดเช(นนี้เปTนแนวคิดแบบแยกส(วน เพราะแนวคิดน้ีต้ังอย(ูบนฐานการมองว(า การ เพาะปลูกไม(ไดRสัมพันธFกับส่ิงแวดลRอมและระบบ นิเวศ ดังนั้นการเลือกชนิดและวิธีการใชRป•จจัย การผลิตต(างๆ ม(ุ งเฉพ าะแต(การป ระเมิ น ประสิทธิผลต(อพืชหลักที่ปลูก โดยไม(ไดRคำนึงถึง ผลกระทบต(อทรัพยากรการเกษตรหรือนิเวศ การเกษ ตร สำหรับเกษ ตรอินทรียFซึ่งเปTน การเกษตรแบบองคFรวมจะใหRความสำคัญกับการ อนุรักษFทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศ การเกษตร โดยเฉพาะอย(างย่ิงการฟƒ‚นฟูความ อุดมสมบูรณFของดิน, การรักษาแหล(งน้ำใหR สะอาด และการฟƒ‚นฟูความหลากหลายทาง ชีวภาพของฟารFม ท้ังนี้เพราะแนวทางเกษตร อินทรียFอาศัยกลไกและกระบวนการของระบบ

นิเวศในการทำการผลิต ดังน้ันเกษตรอินทรียFจะ ประสบความสำเร็จไดR เกษตรกรจำเปTนตRอง เรยี นรRูกลไกและกระบวนการของระบบนิเวศ เกษตรอินทรียF คือ ระบบการเกษตรท่ีผลิต อาหารและเสRนใย ดRวยความย่ังยืนท้ังทาง ส่ิงแวดลRอม สังคม และเศรษฐกิจ โดยเนRนหลักท่ี การปรับปรุงบำรุงดิน การเคารพต(อศักยภาพทาง ธรรมชาติของพืช สัตวF และนิเวศการเกษตร เกษตรอินทรียFลดการใชRป•จจัยการผลิตจาก ภายนอก และหลีกเลี่ยงการใชRสารเคมีสังเคราะหF เชน( ปุย… เคมี สารเคมีกำจัดศัตรพู ชื และ เวชภณั ฑF สำหรับสัตวF แต(ในขณะเดียวกัน เกษตรอินทรียF พยายามประยุกตFกลไกและวัฏจักรธรรมชาติใน การเพ่ิมผลผลิต และพัฒนาความตRานทานต(อโรค

ของพืชและสัตวFเลี้ยง หลักการเกษตรอินทรียFนี้ เปTนหลักการสากล ท่ีสอดคลRองกับเงื่อนไขทาง เศรษฐกิจ-สังคม ภูมิอากาศ และวัฒนธรรมของ ทอR งถิน่ ดRวย ป•จจุบันการทำการเกษตรของประเทศไทย มี การใชRป…ุยเคมีและสารเคมีกาจัดศัตรูพืชจำนวน มาก ซึ่งนับจะมีราคาแพงเพ่ิมขึ้นทุกปn สารเคมีที่ ใชRมีการสะสมในดิน นRา และผลผลิต เปTน อันตรายต(อผRูผลิตและผูRบริโภค ผลผลิตท่ีเปTน สินคRาส(งออกมีโอกาสที่จะถูกประเทศคู(คRาส(งคืน กลับ (ทำใหRผลผลิตราคาตกต่ำ) จึงมีความจำเปTน จะตRองเปล่ียนระบบการผลิตใหม( หันมาใชR สารอินทรียFทดแทน อย(างนRอยก็เพ่ือใหRผูRผลิต/ เกษตรกรปลอดภัย และผูRบริโภค (อาหารปลอด

สารพิษ)สามารถพัฒนาไปส(ูการผลิตอาหารปลอด สารพิษ เปTนเกษตรอินทรียFในที่สุด สามารถ แข(งขันในตลาดโลก จากเหตุผลดังกล(าวขRางตRน จำเปT น ตRองบู รณ าการ รณ รงคF ใหR สม าชิก คริสตจักร เกษตรกรมีความรูR ความเขRาใจ รูRจัก ผลิตและใชRสารอินทรียFทดแทนสารเคมี โดย จัดตั้งกล(ุมเกษตรกรเครือข(ายผRูใชRสารอินทรียFใน การเกษตร สรRางระบบตลาดที่เปTนธรรม และ สรRางกล(ุมเกษตรกรใหRเขRมแข็ง สามารถบริหาร จัดการท่ีดินที่มีอย(ูเพื่อการเกษตรไดRอย(างย่ังยืน นำสู(เป€าหมาย...เพื่อรื้อฟ‚ƒนสวนเอเดนที่พระเจRา ท ร ง ส รR า ง ใ หR ก ลั บ คื น ม า ส(ู ค ว า ม ส ม ดุ ล ย ท า ง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลRอม โดยเฉพาะ การบริหารจัดการพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ดิน น้ำ ปvา คน ใหRสามารถอย(ูร(วมกันไดRอย(างเก้ือกูล สมดุล

และเพื่อการผลิตอาหารใหRมีพอกิน พออย(ู พอใชR พอร(มเย็น รวมทั้งเพื่อแบ(งป•นสำหรับเพื่อน มนษุ ยชาติ 5. วตั ถุประสงคY : 1. เพือ่ ใหRสมาชกิ คริสตจักรที่เขาR รว( ม โครงการฯมคี วามรRคู วามเขาR ใจและสามารถทำ การเกษตรแบบวิถีธรรมชาติและผลติ พืชผัก อาหารอินทรียใF หRพอกิน พออยู( พอใชR พอรม( เยน็ และเพียงพอสำหรับการดำรงชีวิตในครอบครวั ไดR อยา( งมปี ระสิทธภิ าพ 2. เพอื่ พัฒนากล(ุมสมาชกิ คริสตจักรใหR สามารถรวมกล(มุ เครอื ข(ายกสกิ รรมธรรมชาติ สภาคริสตจักรในประเทศไทย เปTนเครือข(ายที่มี

ความเขมR แขง็ มีพลังและเชอื่ มโยงกับเครือขา( ย องคFกรอนื่ ท่เี ก่ยี วขRอง 3. เพอ่ื ตดิ ตามผล สรRางพ้ืนท่ีรูปธรรมตRนแบบ พฒั นาเปนT ศนู ยเF รยี นรขRู องชมุ ชน และขยายผลใน พื้นที่ต(อไป 6. กลุQมเปา[ หมาย/พื้นทด่ี ำเนินการ : 1. สมาชิกคริสตจักรทอR งถิ่นทเี่ ปTนเกษตรกร ในครสิ ตจกั รภาคท่ี 1-22 จำนวน 50 คน 2.ครสิ ตจกั รภาคในพืน้ ที่ดำเนนิ การคัดเลอื ก สมาชิกคริสตจักรเขาR รว( มฝˆกอบรมฯ 7. วิธกี ารดำเนนิ งาน และกิจกรรม : 7.1 โครงการอบรม “การพฒั นากสิกรรม ธรรมสร(ู ะบบเศรษฐกจิ พอเพียง”

คณุ สมบัตขิ องผRูเขRารว( มโครงการฯ 1. เปนT สมาชกิ คริสตจักรทRองถ่นิ ทเี่ ปTน เกษตรกรและมีความสนใจอย(างแทRจริง 2. มที ีด่ ินทำกนิ เปTนของตนเอง 3. สามารถเขRารว( มโครงการฯเปTนกลุ(มคน ในหม(ูบาR น หรือชุมชนคริสตจักร ๆ ละ 5 คนขนึ้ ไป และอยูใ( นระดับอำเภอเดยี วกัน หรอื ใกลRเคียง กันทีส่ ามารถตดิ ตามรวมกลุ(มกันไดRง(าย และกรณี ทสี่ ามารถมาร(วมโครงการฯไดทR ัง้ สาม-ี ภรรยาไดR จะเปนT การดยี ิง่ ชว( งระยะเวลาการฝกˆ อบรม ความยาวของหลกั สูตร นาน 4 คนื 5 วนั ระหวา( งวันท่ี มถิ นุ ายน 2020 (รวมวัน เดนิ ทางไป-กลับ) จำนวน 50 คน

ชือ่ สถาบนั ถ(ายทอดกระบวนการการ ฝˆกอบรม/ท่ีอยู( ศูนยกF สกิ รรมธรรมชาตมิ าบเอือ้ ง ทอี่ ย:ู( 114/1 ม.1 ต.หนองบอนแดง บRานบงึ ชลบุรี 20170 โทรศพั ท:F 038 263 078 7.2 โครงการ อบรมออกแบบพื้นที่ โคก หนอง นาโมเดล กลมุ( เปา€ หมาจำนวน 30 คน ที่ผา( นการ อบรมหลักสตู รการพัฒนากสิกรรมส(ูระบบ เศรษฐกิจพอเพยี ง 7.3 โครงการ เอามอื้ สามัคคี และพฒั นาศูนยเF รยี นรRู 8. ระยะเวลาดำเนนิ การ : วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2020-30 เมษายน 2021

9. ผรCู บั ผิดชอบโครงการ : นาขวัญจิตร คำแสน และทีมงาน ตดิ ต(อ ประสานงาน โทรฯ 085-6237493 อีเมลF [email protected] หน(วยงานพฒั นาและบรกิ ารสงั คม สภา คริสตจกั รในประเทศไทย 10. เนือ้ หา และรูปแบบ/วธิ ีการดำเนนิ งาน : 1. การตดิ ตามหลงั การฝกˆ อบรมฯ โดยการไป เย่ียมทกุ คนถึงทบี่ าR นและกระตRนุ หนุนเสรมิ ใน พน้ื ทีอ่ ย(างต(อเนื่องรว( มกบั สถาบันชุมชน เกษตรกรรมยั่งยนื เพ่ือใหเR กดิ การปฏบิ ัติในพนื้ ท่ี รปู ธรรมที่ชดั เจน การรวมกลุ(มในระดับ คริสตจักร ชุมชน ระดบั อำเภอ พัฒนาเปนT

เครอื ขา( ยกลมุ( เกษตรอินทรยี สF ภาครสิ ตจักรฯ ตอ( ไป และการขยายผลไปพ้ืนที่ใกลRเคยี ง รวมท้งั การจัดระบบตลาดเกษตรอนิ ทรยี Fทเี่ ปTนธรรมใน ชมุ ชน ตลาดนัด ตลาดกลาง รวมถึงการเชือ่ มตอ( กับหน(วยงานสถาบันในสงั กัดสภาครสิ ตจกั รใน ประเทศไทย ทต่ี RองการสินคRาเกษตรอินทรยี F และ ผลิตภณั ฑFของคริสตจกั รทRองถ่นิ 2. สนับสนนุ งบประมาณหนุนเสรมิ ในพ้นื ท่ี รปู ธรรมบRางตามความจำเปTน 3. พัฒนาพน้ื ทีร่ ปู ธรรม โคกหนองนาโมเดล (พ้ืนทร่ี าบ) และนาข้ันบนั ได(บนพนื้ ท่ีสงู ) เปTน ศูนยเF รียนรแRู ละศูนยผF ลิตภณั ฑขF องชมุ ชน

11. งบประมาณ : งบประมาณรบั สภาครสิ ตจักรในประเทศไทย 300,000.00 บาท งบประมาณจา3 ย 1) โครงการอบรม “การพัฒนากสกิ รรม ธรรมส(ูระบบเศรษฐกิจพอเพยี ง” 250,000.00 บาท 2) โครงการ เอามอ้ื สามคั คี และพฒั นา ศนู ยเF รียนรูR 50,000.00 บาท

12. บทบาทหนวQ ยงาน/คริสตจกั รภาค/ สถาบนั ท่เี ก่ียวขCอง : การประสานงาน บรู ณาการ สนบั สนุน กระบวนการขบั เคลอื่ นงานเพือ่ ใหRเกิดพ้ืนท่ี รูปธรรม 13. ตัวชี้วัด : หนQวยงาน 1. มจี ำนวนสมาชกิ คริสตจกั รตาม กลม(ุ เป€าหมายท่ีผา( นการอบรมฯและสามารถ กลับมาทำเกษตร อนิ ทรียF ไมน( Rอยกว(า 10 รายตอ( ปn

2. สมาชิกคริสตจักรทอR งถนิ่ ตาม กลมุ( เปา€ หมายท่ไี ดRรบั การฝกˆ อบรมการเกษตร แบบกสกิ รรมธรรมชาติ อยา( งนRอย 50 คนต(อปn 3. เกดิ ศนู ยเF รยี นรเูR ศรษฐกจิ พอเพยี งอย(าง นRอย 1 แหง( สภาคริสตจักรในประเทศไทย 77. มกี ารจดั การฝˆกอบรมเพื่อพฒั นา ศักยภาพสมาชกิ ครสิ ตจกั รตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในทกุ คริสตจกั รภาค 15 พฤศจิกายน 2019


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook