Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฅนรักป่า

ฅนรักป่า

Published by layraman, 2020-06-20 00:09:46

Description: ฅนรักป่า

Search

Read the Text Version

ฅน รักษ์ป่า ปา่ ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง

ปรฅัก่ ษนา์

“...สมควรท่ีจะปลูกแบบป่าสำหรับใช้ไม้หนง่ึ ป่าสำหรบั ใชผ้ ลหนึ่ง ป่าสำหรบั ใชเ้ ปน็ ฟนื อยา่ งหนง่ึ อนั นแ้ี จกออกไปเป็นกว้างๆ ใหญๆ่ การท่ีจะปลกู ต้นไม้ สำหรบั ไดป้ ระโยชนด์ ังน้ี ในคำวิเคราะห์ของกรมป่าไม้ รู้สกึ วา่ จะไม่ใช่ปา่ ไม้ จะเป็นสวนมากกว่าเป็นป่าไม้ แต่วา่ ในความหมายของการช่วยเพื่อต้นนำ้ ลำธารนั้น ป่าไมเ้ ชน่ นจี้ ะเปน็ สวนผลไมก้ ต็ าม หรือเปน็ สวนไมฟ้ นื ก็ตาม นน่ั แหละเปน็ ป่าไมท้ ถี่ กู ตอ้ ง เพราะทำหน้าที่ เปน็ ป่า คอื เปน็ ตน้ ไม้และทำหน้าทเ่ี ป็นทรพั ยากร ในดา้ นสำหรับเป็นผลทีม่ าเป็นประโยชน์ แกป่ ระชาชนได้...” พระราชดำรสั บางตอนเกยี่ วกับปา่ ๓ อย่าง โยชน์ ๔ อยา่ ง ณ โรงแรมรนิ คำ จังหวดั เชียงใหม่ วันท่ี ๗ มกราคม ๒๕๒๓

ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นแนวคิดของการผสมผสานการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรป่าไม้ ควบคู่ไปกับความต้องการด้านเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนเป็น ทตี่ งั้ ซ่ึงจะสามารถช่วยให้เกดิ การอนุรักษ์และเพิ่มพน้ื ท่ีปา่ ของประเทศ ไดอ้ ยา่ งแยบคาย จากการสง่ เสรมิ ใหช้ าวบา้ นไดต้ ระหนกั และเหน็ คณุ คา่ จากการไดใ้ ช้ประโยชน์จากปา่ ไม้ที่ปลกู สามารถแจกแจงตามการใช้ ประโยชน์ใหเ้ ข้าใจง่ายขึ้นดังน้ี

ระโยชน์เพอ่ื ให้ “ขอ้ มลู วชิ าการระบวุ า่ ตน้ มะม่วง 5 “พออย”ู่ ขนาดกลางทเ่ี ริ่มออกผลได้แล้ว คือการปลูกต้นไม้ท่ีใช้ ๑ ตน้ สามารถดดู ความร้อนและคาย ฅนรักษป์ า่ เนื้อไม้และไม้เชิงเศรษ- ความเย็นออกมาไดเ้ ทา่ กบั เคร่อื งปรับ ฐกิจให้เป็นป่า ไมก้ ล่มุ น้เี ปน็ ไม้อายุยาว อากาศขนาด ๑ ตนั ทท่ี ำความเย็นได้ นานซึ่งจะเน้นประโยชน์ในเน้ือไม้เพ่ือ ๑๒,๐๐๐ บีทยี ู และกนิ ไฟฟา้ ประมาณ สร้างบา้ น ทำเคร่อื งเรอื น และถือได้ว่า ๑,๕๐๐ วตั ต์ ขณะทขี่ ้อมลู การศึกษา เป็นการออมทรัพย์เพ่อื สร้างความม่นั คง ของดร.กินา โลราซิ และคณะ แห่ง ในอนาคตตน้ ไมก้ ลุ่มนเี้ ช่น ตะเคยี นทอง มหาวทิ ยาลัยโคลมั เบยี นวิ ยอรค์ ยางนา แดง สัก พะยูง พยอม เป็นต้น สหรฐั อเมริกา ยนื ยันว่าเด็กๆ อายุ ประโยชนเ์ พ่อื ให้ “พอกิน” ๔-๕ ปี จำนวนร้อยละ ๒๕ ท่ีอยู่ใน คือการปลูกต้นไม้ที่กินได้รวมท้ัง มหานครนิวยอร์ค เปน็ โรคหอบหดื ใชเ้ ปน็ ยาสมุนไพร ไม้ในกลุ่มน้ี เช่น แค นอ้ ยลง หลังจากทำการปลกู ต้นไม้ มะรมุ ทุเรยี น สะตอ ผกั หวาน ฝาง จำนวน ๓๔๓ ต้นตอ่ ตารางกโิ ลเมตร แฮ่ม กล้วย ฟกั ข้าว เป็นตน้ หรอื ประมาณ ๐.๕๕ ต้นต่อไร่ ประโยชนเ์ พ่ือให้ “พอใช้” ในเขตเมอื ง” คือการปลูกต้นไม้ให้เป็นป่าไม้ สำหรับใช้สอยในครวั เรือน อาทิ ทำฟืน เผาถา่ น ทำงานหัตถกรรม หรือทำนำ้ - ยาซกั ลา้ ง ไมใ้ นกลมุ่ น้ี เชน่ มะคำดคี วาย หวาย ไผ่ หมีเหมน็ เป็นตน้ ประโยชน์เพ่ือให้ “พอรม่ เยน็ ” คือประโยชนอ์ ยา่ งที่ ๔ ท่ีเกดิ จากการปลูกปา่ ๓ อย่าง “พอรม่ เย็น” คือป่าท้ัง ๓ อยา่ งจะชว่ ยฟนื้ ฟูระบบ นเิ วศดินและน้ำ ให้กลบั อุดมสมบูรณ์ ร่มรื่นและฉำ่ เย็นข้ึนมา

รักษป์ ่า...ตามรอยพอ่ พระราชดำริ “ป่าเปยี ก” แนะนำใหศ้ นู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา อนั เนอ่ื ง เป็นทฤษฎีการพัฒนาป่าไม้ด้วย มาจากพระราชดำรทิ ำการศกึ ษาทดลอง การใช้ทรัพยากรน้ำให้เกิดประโยชน์สูง และได้รบั ผลสำเรจ็ เป็นท่นี ่าพอใจ สดุ ในการสรา้ งแนวปอ้ งกนั ไฟแบบเปยี ก (Wet Fire Break) โดยพระบาทสมเดจ็ การสรา้ ง “ปา่ เปียก” พระเจ้าอย่หู ัวฯ ทรงตระหนักถงึ คุณค่า วิธที ่ี ๑ ทำระบบปอ้ งกันไฟไหม้ปา่ อนั อเนกอนนั ตข์ องน้ำเปน็ อยา่ งย่ิง ทรง โดยใช้แนวคลองส่งน้ำและแนวพืช 6 คำนึงว่าทุกสรรพสิ่งในสภาพแวดล้อม ชนดิ ตา่ งๆ ปลูกไว้ตามแนวคลอง ของมนษุ ยน์ น้ั จะเกอ้ื กลู ซง่ึ กนั และกนั ได้ วธิ ีที่ ๒ สรา้ งระบบการควบคุมไฟป่า ฅนรักษป์ า่ หากรู้จักประยุกตใ์ ช้ให้เปน็ ประโยชน์ ดว้ ยปา่ เปยี ก โดยอาศยั นำ้ ชลประทาน “ป่าเปียก” เพ่ือป้องกันไฟไหม้ และนำ้ ฝน ป่าน้นั จึงเป็นกลวธิ อี ย่างงา่ ยแตไ่ ด้ประ- วิธีท่ี ๓ ปลูกต้นไมโ้ ตเร็วคลมุ แนว โยชนส์ งู ทพ่ี ระองคท์ รงคดิ คน้ ขน้ึ โดยทรง รอ่ งนำ้ เพอ่ื ใหค้ วามชมุ่ ชน้ื คอ่ ยๆ ทวี

ข้ึนและแผ่ขยายออกไปทั้งสองร่อง ไหลลงมาทลี ะน้อย เพอื่ ช่วยเสริม น้ำ ซึง่ จะทำให้ต้นไมเ้ ติบโตและช่วย การปลูกปา่ บนพ้ืนท่สี งู ในรูป “ภเู ขา ป้องกันไฟป่าเพราะไฟป่าจะเกิดขึ้น ป่า” ให้กลายเป็น “ป่าเปยี ก” ช่วย หากปา่ ขาดความชมุ่ ชน้ื ป้องกนั ไฟป่าได้ วธิ ที ่ี ๔ สรา้ งฝายชะลอความชุ่มชน้ื วธิ ที ่ี ๖ ปลกู ตน้ กลว้ ย ซง่ึ สามารถอมุ้ หรอื ท่เี รยี กวา่ “Check Dam” ข้นึ น้ำไวไ้ ด้มากกว่าพชื ชนิดอ่นื ในพ้ืนที่ เพื่อปิดก้ันร่องน้ำหรือลำธารขนาด ท่กี ำหนดให้เป็นช่องว่างของป่ากว้าง เลก็ เปน็ ระยะๆ เพอ่ื ใชเ้ กบ็ กกั นำ้ และ ๒ เมตร เพือ่ เปน็ แนวปะทะกับไฟปา่ 7 ตะกอนดนิ ไวบ้ างสว่ น โดยนำ้ ทเี่ ก็บ แนวพระราชดำริ “ป่าเปียก” จงึ ฅนรกั ษ์ปา่ ไว้จะซมึ เขา้ ไปสะสมในดิน ทำให้ เป็นทฤษฎีการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าไม้โดย ความชุ่มช้ืนแผ่ขยายเข้าไปท้ังสอง อาศัยความชมุ่ ช้นื ชว่ ยใหป้ ่าชมุ่ ฉ่ำอยู่ ดา้ นจนกลายเป็น “ปา่ เปียก” เสมอ หากสามารถปอ้ งกันไฟปา่ ได้กจ็ ะ วธิ ีท่ี ๕ สบู น้ำขึน้ ท่สี งู แล้วปลอ่ ยให้ ทำให้เกิดการฟน้ื ฟปู า่ ไม้ได้ในทส่ี ุด

ทฤษฎีการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกตาม เลย ปา่ จะเจริญเตบิ โตขนึ้ มาเป็นปา่ สม- หลักการฟื้นฟูสภาพป่าด้วยวัฏจักร บรู ณ์ โดยไมต่ อ้ งไปปลกู สักตน้ เดียว...” ธรรมชาติ (Natural Reforestation) ๑.๒ ปละ “ในสภาพป่าเต็งรัง ปา่ เส่ือม เป็นอีกวิธีการหน่งึ ท่พี ระองค์ทรง โทรมไม่ตอ้ งทำอะไรเพราะตอไมจ้ ะแตก คิดค้นเพ่ือจะเพิ่มปริมาณป่าไม้ของประ กิง่ ออกมาอกี ถงึ แมต้ น้ ไมส่ วยแตก่ ็เปน็ เทศไทย ซ่งึ จะเน้นการทำท่ีเรียบงา่ ยได้ ต้นไม้ใหญไ่ ด.้ ..” ประโยนส์ งู แตป่ ระหยดั สดุ อกี ทง้ั ยงั ชว่ ย ๑.๓ ประคับประคอง “ไม่ไปรังแกป่า ฟน้ื ฟรู ะบบนเิ วศปา่ ไมแ้ บบดง้ั เดมิ ไดเ้ ปน็ หรอื ตอแยต้นไม้ เพียงแต่คมุ้ ครองให้ขึน้ อยา่ งดี มีหลักการอันหลากหลาย ดังน้ี เองเท่านั้น...” หลกั การท่ี ๑. ปลูกปา่ โดยไมต่ ้องปลูก หลกั การที่ ๒. ปลูกป่าในท่ีสูง ทรงเสนอแนวทางปฏบิ ตั ิ ๓ วิธี ดงั นี้ ทรงแนะวิธกี ารดงั นี้ “...ใช้ไม้จำ ๑.๑ ปลอ่ ย “ถา้ เลือกไดท้ ่เี หมาะสมแล้ว พวกทม่ี ีเมล็ดทั้งหลาย ข้ึนไปปลูกบน กท็ งิ้ ปา่ น้นั ไวต้ รงน้ัน ไมต่ ้องไปทำอะไร ยอดท่ีสูง เมื่อโตแล้วออกฝกั ออกเมล็ดก็ 8 ฅนรักษป์ า่

จะลอยตกลงมาแล้วงอกเอง ในที่ต่ำต่อ พนื้ ที่ประเทศหรือประมาณ ๘๐ ล้านไร่ ไป เปน็ การขยายพนั ธโ์ุ ดยธรรมชาต.ิ ..” การจะเพ่มิ เนอ้ื ท่ีป่าไมใ้ ห้ไดร้ อ้ ยละ ๔๐ ของพ้นื ทปี่ ระเทศแลว้ คนไทยตอ้ งช่วย หลกั การที่ ๓. ปลกู ปา่ ธรรมชาติ กันปลูกป่าถึง ๔๘ ล้านไร่ โดยใช้กลา้ ไม้ ทรงเสนอแนวทางปฏิบัติ ดงั น้ี ไม่ต่ำกว่าปีละ ๑๐๐ ลา้ นตน้ และใช้ ๓.๑ ปลกู ต้นไมด้ ัง้ เดิม “ศึกษาดูก่อนวา่ เวลาถงึ ๒๐ ปี จงึ จะเพ่ิมป่าไมไ้ ด้ครบ พืชพนั ธ์ไุ มด้ ง้ั เดมิ มีอะไรบา้ ง แลว้ ปลูก เปา้ หมายทก่ี ำหนดไวเ้ ทา่ นน้ั การปลกู ปา่ แซมตามรายการชนดิ ตน้ ไมท้ ศ่ี กึ ษามา...” ทดแทนจึงเป็นแนวทฤษฎีการพัฒนาป่า ๓.๒ งดปลูกไมต้ ่างถิ่น “...ไมค่ วรนำไม้ ไมอ้ นั เนอ่ื งมาจากพระราชดำรทิ พ่ี ระบาท แปลกปลอมต่างพันธุ์ต่างถิ่นเข้ามาปลูก สมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัวฯ ได้พระราชทาน โดยยงั ไมไ่ ดศ้ กึ ษาอยา่ งแนช่ ดั เสยี กอ่ น...” ในการปลกู ปา่ ทดแทน เพอ่ื คนื ธรรมชาติ สู่แผ่นดินด้วยวิธีทางแบบผสมผสานใน หลกั การท่ี ๔. การปลกู ปา่ ทดแทน เชงิ ปฏบิ ัติ ดงั พระราชดำรติ อนหนึ่งวา่ ในขณะที่ประเทศไทยเรามีพื้นที่ “...การปลกู ปา่ ทดแทนจะตอ้ งทำ ป่าไมเ้ หลืออยูเ่ พยี งร้อยละ ๒๕ ของ อยา่ งมแี ผน โดยการดำเนนิ การไปพรอ้ ม

กับการพัฒนาชาวเขา ในการนเ้ี จ้าหน้า- ชาชนได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีในสภาพ ที่ป่าไม้ ชลประทาน และฝา่ ยเกษตรจะ แวดล้อมที่อดุ มสมบูรณ์ และสามารถพึง่ ต้องร่วมมือกันสำรวจต้นน้ำในบริเวณ พาตนเองไดห้ ลายโครงการ ทงั้ ที่เปน็ พื้นทรี่ ับผดิ ชอบ เพอื่ วางแผนปรบั ปรุง โครงการสว่ นพระองค์ โครงการพระราช ตน้ นำ้ และพฒั นาอาชพี ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง...” ดำรปิ า่ และดนิ อาทิ โครงการศนู ยศ์ กึ ษา หลักการปลกู ป่าในใจคน การพฒั นาเขาหินซอ้ น จ.ฉะเชิงเทรา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน ทรงตระหนักถึงความสำคัญของป่าไม้ จ.สกลนคร โครงการศูนยศ์ ึกษาการ มาตง้ั แตเ่ สดจ็ ขน้ึ ครองราชย์ พระองค์ พฒั นาห้วยฮอ่ งไคร้ จ.เชียงใหม่ เป็นต้น 10 เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปเยย่ี มเยยี นราษฎร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ท่วั ทกุ ภมู ิภาค ทรงได้เหน็ สภาพป่าไม้ที่ ทรงมีพระราชดำรัสในเรื่องของการ ฅนรักษป์ า่ ทรดุ โทรมและถกู ทำลายมากมาย จงึ ทรง ปลูกป่าวา่ “...ควรจะปลกู ตน้ ไมใ้ นใจคน มีพระราชดำริให้มีการอนุรักษ์และฟื้นฟู เสยี กอ่ น แลว้ คนเหลา่ นน้ั กจ็ ะพากนั ปลกู ป่าเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมและระบบ ตน้ ไม้ลงบนแผ่นดนิ และรกั ษาต้นไม้ นเิ วศทางนำ้ ดนิ และปา่ ไม้ เพือ่ ใหป้ ระ- ดว้ ยตนเอง....”

หลักการและวธิ กี ารปลูกป่า ๕ ระดับ กระท้อน ไผ่ สะตอ ฯลฯ แบบกสิกรรมธรรมชาติ ๓. ไม้เตีย้ เปน็ กลุม่ ตน้ ไมพ้ ุม่ เตีย้ ไม้ ในระดบั น้ี เชน่ พรกิ มะเขอื กะเพรา การปลูกปา่ ๓ อยา่ ง ประโยชน์ ผักหวานบา้ น ติว้ เหรียง ฯลฯ ๔ อยา่ ง และการปลกู ตน้ ไมแ้ บบกสกิ รรม ๔. ไมเ้ รย่ี ดนิ ไมใ้ นระดบั นเ้ี ปน็ ตระกลู ธรรมชาติ ประกอบดว้ ยตน้ ไมห้ ลากหลาย “จากการวิจัยพบว่า ต้นไม้ที่ปลูกเป็นป่าในเมืองสามารถชะลอ การไหลของน้ำตามผิวดินให้มีโอกาสซึมลงดินและระเหยได้ ๑๑.๓ ล้านแกลลอนหรือร้อยละ ๑๗ ของฝนที่ตกในปริมาณ ๒๕ มิลลิเมตรเป็นเวลา ๑๒ ชั่วโมง ซึ่งช่วยประหยัด ค่าก่อสร้างระบบระบายน้ำฝนของเมืองได้อย่างดีิ” ท้ังชนดิ พันธุ์ ชว่ งอายุ ลกั ษณะนสิ ยั และ ไมเ้ ลอื้ ย เชน่ พริกไทย รางจืด ฯลฯ ขนาดความสูง โดยเราสามารถจัดแบ่ง ๕. ไมห้ วั ใต้ดิน ไม้ในระดบั นเ้ี ชน่ ขิง ตามระดับช่วงความสูงและระบบนิเวศ ข่า มนั มอื เสอื บกุ กวาวเครือ ฯลฯ ได้ ๕ ระดับอนั ได้แก่ ๑. ไมส้ ูง เป็นกลุ่มตน้ ไม้เรอื นยอด ข้อคำนึงในการปลกู ป่า ๓ อยา่ ง 11 สงู สดุ และอายุยนื ไมใ้ นระดับน้ี เชน่ ประโยชน์ ๔ อย่าง ฅนรกั ษ์ปา่ ตะเคียน ยางนา เต็ง รัง ฯลฯ ๑. ไมเ้ บกิ นำ ไมส้ ะเดา มะรุม แค ๒. ไม้กลาง เป็นกลุม่ ต้นไม้ทไี่ ม่สงู ไมผ้ ล กลว้ ย ออ้ ย และพชื ผกั อายสุ น้ั นัก ไมใ้ นระดบั น้ีได้แกบ่ รรดาไมผ้ ล ควรหามาปลกู กอ่ น เพอ่ื สรา้ งแหล่ง ทเี่ กบ็ กนิ ได้ เชน่ มะมว่ ง ขนนุ มังคดุ อาหารของครอบครัว

๒. ไมป้ ลกู เพ่อื อย่อู าศยั ควรปลูก ๖. ปลูกตน้ ไม้ใหห้ ลากหลาย เพื่อ หลังจากปลูกไม้ในขอ้ ท่ี ๑ ประมาณ การใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลากหลาย ชว่ ย ๑-๒ ปี ลดคา่ ใช้จา่ ย สร้างความมงั่ คงั่ มัน่ คง ๓. ไม้สมุนไพร จะเจรญิ เตบิ โตไดด้ ี ซ่ึงเป็นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันใน เม่อื มคี วามรม่ ร่นื เพียงพอ ครอบครวั และชุมชน ๔. นาขา้ ว กำหนดพน้ื ทใ่ี หเ้ หมาะสม หากมีพ้นื ท่พี อ เพอื่ เก็บขา้ วไว้กนิ ธนาคารตน้ ไม้ ระหว่างปโี ดยไมต่ ้องซอ้ื ประกันชวี ติ ทพ่ี อเพียง มัง่ คง่ั ย่ังยนื ๕. ร่องน้ำ ควรขุดรอ่ งน้ำขนาดเล็ก เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านและ เพื่อให้ความชุ่มช้ืนกับพ้ืนดินและ เครอื ขา่ ยกสกิ รรมธรรมชาตไิ ดเ้ สนอแนว ต้นไม้ ซึ่งจะทำให้สามารถเลยี้ งปลา คดิ “ธนาคารตน้ ไม”้ ใหเ้ ป็นเครอื่ งมอื ธรรมชาตเิ พือ่ ใชเ้ ป็นอาหาร โดยขุด ในการจัดการหนี้และสร้างหลักประกัน ให้เชื่อมตอ่ กนั กบั บ่อขนาดใหญ่ ชวี ติ ของเกษตรกร ใหเ้ กษตรกรทง้ั ทม่ี ี

หนแ้ี ละไมม่ ีหนีป้ ลูกตน้ ไม้มากข้นึ เพอื่ ทั้งท่ีดนิ และตน้ ไม้ มสี ทิ ธิในการดูแล สรา้ งความม่ันคงใหแ้ ก่ตนเอง และตก- รักษา คดิ มลู คา่ และตดั เพ่อื เปน็ สิน- ทอดเป็นมรดกแก่ลกู หลานได้ โดยการ ค้าเหมือนพชื เกษตรอ่นื ทำบญั ชีต้นไมฝ้ ากไวใ้ นธนาคาร ซึ่งเป็น การเปล่ียนรูปแบบจากการออมเงิน • ตน้ ไมท้ กุ ตน้ ยอ่ มมมี ลู คา่ ในระหวา่ ง ดอกเบ้ยี ตำ่ เปน็ การออมต้นไม้ทีใ่ หผ้ ล ทย่ี งั มชี วี ติ (ไมใ่ ชต่ ดั แลว้ จงึ มคี า่ อยา่ ง ตอบแทนทีส่ งู กว่า อกี ทั้งเปน็ การใช้จุด- ปจั จบุ ัน) แข็งของเกษตรกรและแผน่ ดินไทย เป็น 13 ฐานการสรา้ งไทยใหย้ ั่งยนื และสร้างผล ดแี กโ่ ลก โดยมีหลักการสำคญั ดังน้ี ฅนรกั ษป์ า่ • ตน้ ไมท้ ป่ี ระชาชนปลกู เปน็ สิทธิ • การปลูกตน้ ไม้จะต้องยดึ แนวทาง ของประชาชนในการเป็นเจ้าของ ปลูกปา่ ๓ อยา่ ง ได้ประโยชน์ ๔ อยา่ ง ได้แก่ (๑) ปลกู ไว้กนิ คอื กิน เปน็ อาหาร กนิ เปน็ เครอ่ื งดม่ื กนิ เปน็ สมนุ ไพร กนิ เปน็ ขนม (๒) ปลกู ไวท้ ำ

ท่อี ยู่ ไดแ้ ก่ ทำไม้พื้น ไมฝ้ า ไม้เสา สนุนการทำคาร์บอนเครดิตสำหรับ และไมเ้ ครอื่ งบน (๓) ปลกู ไว้เพ่ือใช้ เกษตรกรรายยอ่ ย สอย ไดแ้ ก่ ทำฟนื ทำถ่าน ทำปยุ๋ • รฐั บาลและหนว่ ยงานของรฐั ตอ้ ง ทำสารไลแ่ มลง ทำเครื่องมอื เครอ่ื ง ผลักดนั พัฒนากลไกหนุนเสริมธนา- ใช้ ใชง้ านหัตถกรรม ใชท้ ำสี ใชท้ ำ คารตน้ ไม้ของภาคประชาชน เพอ่ื นำ้ ยาซักล้าง (๔) ปลูกไว้เพ่อื เป็นรม่ สร้างความม่นั คง ม่ังคง่ั ใหม่ในชวี ิต เงาให้ความร่มเย็นเป็นประโยชน์ต่อ สงั คม และประเทศชาติอยา่ งยัง่ ยืน 14 สงิ่ แวดล้อม ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ฅนรักษป์ า่ • ตน้ ไมท้ ป่ี ระชาชนปลกู มีส่วนใน การสร้างความสมดุลให้ระบบนิเวศ ชว่ ยดดู ซับคารบ์ อนไดออกไซด์ แก้ ปญั หาโลกรอ้ น และรฐั บาลตอ้ งสนบั -

รฅปัก่ ษนา์ เจา้ ของ มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ทีป่ รึกษา ดร. ววิ ัฒน์ ศัลยกำธร, ธรี ะ วงษเ์ จรญิ , ปญั ญา ปุลิเวคนิ ทร,์ พงศา ชูแนม, บวั พันธ์ บุญอาจ, ประยงค์ อฒั จักร, ไตรภพ โคตรวงษา และทนิ กร ปาโท เรยี บเรียง ดร. สาคร สรอ้ ยสงั วาลย์, เรงิ ฤทธ์ิ คงเมือง และประยงค์ อฒั จักร ภาพประกอบ เริงฤทธิ์ คงเมือง รูปเล่ม ศิรพิ ร พรศริ ิธิเวช จัดพิมพ์และเผยแพร่ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ๒๑๔๓/๑ ถนน พหลโยธนิ เขตจตุจักร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐ พิมพท์ ี่ โรงพิมพ์ตะวันออก

มูลนธิ กิ สกิ รรมธรรมชาติ ๑๑๔ ซอย บี ๑๒ หมบู่ า้ นสมั มากร แขวงสะพานสงู เขตสะพานสูง กรงุ เทพฯ ๑๐๒๔๐ โทรศัพท์/โทรสาร ๐๒-๗๒๙๔๔๕๖ อเี มล์ [email protected] เวปไซด์ http://www.agrinature.or.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook