หนว่ ยท่ี 4 เคร่อื งเจาะ
76 เคร่ืองเจาะ งานเจาะจดั เป็นกระบวนการผลิตขน้ั พ้ืนฐานทม่ี ลี ักษณะการทางานแบบง่าย ๆ ไมย่ ่งุ ยากซับ ซอ้ นแตม่ ีความสาคัญมาก โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในงานโลหะ การเจาะเป็นกระบวนการ การตดั เฉอื นวสั ดุ งานออก โดยใช้ดอกสว่าน รทู ี่ได้จากการเจาะด้วยดอกสวา่ นจะมลี ักษณะเปน็ รูกลม เชน่ รยู ึดเหล็กดดั ประตหู น้าตา่ งบานพบั กลอนประตบู ้าน ตลอดจนช้ินสว่ นจักรยาน รถยนตต์ ่างๆ มรี สู าหรับการจับยดึ มากมาย ในการเจาะรูบนชิ้นงานสามารถทาได้ด้วยเครอื่ งจกั รกลหลายชนิด เช่นการเจาะรบู นเคร่ือง กลึงเครือ่ งกัด เป็นต้น แต่ในการเจาะรูทป่ี ระหยดั รวดเรว็ และนิยมกนั มากที่สุด คอื การเจาะรดู ว้ ย เคร่ืองเจาะ ดังนนั้ เครือ่ งจักรกลพ้นื ฐานทจี่ ะกลา่ วในหนว่ ยน้ี คือ เคร่อื งเจาะ 1. ชนิดของเครื่องเจาะ เครอื่ งเจาะมหี ลายชนดิ แตส่ ามารถแบ่งออกไดด้ ังนี้ คือ เคร่อื งเจาะต้งั พื้น เครอื่ งเจาะแบบ รัศมี และเคร่อื งเจาะในงานอตุ สาหกรรม 1.1 เครอื่ งเจาะตง้ั โต๊ะ (Bench – model Sensitive Drilling Machine) เปน็ เคร่ืองเจาะขนาด เล็กเจาะรขู นาดไม่เกนิ 13 มลิ ลเิ มตร จะมีความเรว็ รอบสงู ใชเ้ จาะงานทม่ี ีขนาดรูเล็กๆ ทัว่ ๆ ไป การส่ง กาลังโดยทั่วไปจะใช้สายพานและปรบั ความเร็วรอบดว้ ยลอ้ สายพาน 2-3 ขน้ั รปู ที่ 4.1 เครอ่ื งเจาะต้งั โตะ๊ ท่ีมา www.atts.rtaf.mi.th/AIR002/know17.htm งานเคร่อื งมือกลเบือ้ งตน้ (2100-1007)
77 1.2 เครื่องเจาะตงั้ พื้น (Plan Vertical Spindle Drilling Machine) เป็นเคร่ืองเจาะขนาดใหญ่ และเจาะรบู นชิ้นงานท่ีมีขนาดใหญ่ เจาะรไู ดต้ ้ังแตข่ นาดเล็กจนถงึ ขนาดใหญส่ ดุ เท่าทด่ี อกสว่านมแี ละ ใช้งานอนื่ ๆไดอ้ ยา่ งกว้างขวางการส่งกาลังปกติจะใชช้ ุดเฟอื งทด จงึ สามารถปรับความเรว็ รอบได้ หลายระดบั และรบั แรงบิดได้สงู รูปท่ี 4.2 เคร่ืองเจาะต้งั พนื้ ท่มี า http://www.dsn2006.org/catalog/pics/Light_Type_Bench_Drilling_Machine.jpg 1.3 เคร่ืองเจาะรศั มี (Radial Drilling Machine) เปน็ เคร่ืองเจาะขนาดใหญแ่ ละเจาะรบู น ชน้ิ งานท่มี ีขนาดใหญ่กวา่ เคร่อื งเจาะต้งั พน้ื โดยทหี่ ัวจับดอกสว่านจะเลือ่ นไป- มาบนแขนเจาะ (Arm) จงึ สามารถเจาะงานได้ทกุ ตาแหน่ง โดยตดิ ตง้ั งานอยูก่ ับท่ี การส่งกาลังปกตจิ ะใชช้ ุดเฟอื งทด รปู ท่ี 4.3 เครื่องเจาะรัศมี ทมี่ า http://www.made-in-china.com/image/2f0j00sCLtQcOAfpkeM/Radial- Drilling- Machine-Z3050x16-.jpg งานเครือ่ งมอื กลเบ้อื งตน้ (2100-1007)
78 1.4 เครอ่ื งเจาะหลายหัว (Multiple – Drilll-Head Drilling Machine) เป็นเครอ่ื งเจาะที่ออก แบบมาสาหรบั การทางานอตุ สาหกรรมโดยเฉพาะ เครือ่ งเจาะจะมหี ลายหัวจับ ดังนน้ั จงึ สามารถจับ ดอกสว่านไดห้ ลายขนาด หรือจับเคร่อื งมอื ตัดอ่นื ๆ เช่น รมี เมอร์ หรือ หวั จับทาเกลยี วใน จงึ ทางานได้ อยา่ งรวดเรว็ รูปที่ 4.4 เคร่ืองเจาะหลายหวั ทม่ี า http://www.kingsang.com.tw/eg/product_e1.html 1.5 เคร่อื งเจาะแนวนอน (Horizontal Drilling Machine) เปน็ เครอ่ื งเจาะที่ออกแบบ มาให้สามารถทางานไดห้ ลายลกั ษณะ ท้ังการเจาะรู การคว้านรู การกัดและการกลงึ มกั จะพบในโรง งานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ รปู ท่ี 4.5 เครอื่ งเจาะแนวนอน ท่ีมา http://engineering.indiabizclub.com/products/horizontal_boring_machine งานเครอ่ื งมือกลเบ้ืองต้น (2100-1007)
79 2. ส่วนประกอบต่างๆ ของเคร่อื งเจาะและหน้าที่ 2.1 สว่ นประกอบตา่ งๆของเครอื่ งเจาะตงั้ โตะ๊ 2.1.1 ฐานเคร่อื ง (Base) ทาด้วยเหล็กหลอ่ เปน็ สว่ นท่รี องรับนา้ หนกั ท้งั หมดของ เคร่อื งจะยดึ ตดิ แน่นบนโตะ๊ ป้องกนั การส่นั สะเทือนในขณะปฏบิ ัติงาน ชดุ หวั เครื่อง โต๊ะงาน เสาเครอ่ื งเจาะ ฐานเคร่อื ง รปู ที่ 4.6 สว่ นประกอบตา่ งๆของเครอ่ื งเจาะ ที่มา http://www.atts.rtaf.mi.th/AIR002/know17.htm 2.1.2 เสาเครื่องเจาะ (Column) จะเป็นเหล็กรปู ทรงกระบอกกลวง เป็นส่วนท่ยี ึดตดิ กบั ฐานเคร่ือง เพอ่ื รองรับชุดหัวเครอื่ งและรองรบั โต๊ะงาน 2.1.3 โตะ๊ งาน(Table)สว่ นใหญท่ าดว้ ยเหล็กหล่อ เป็นสว่ นท่ีรองรับชิ้นงานทจี่ ะนา มาเจาะหรืออาจรองรับอุปกรณจ์ ับยดึ สาหรบั จบั ยึดชน้ิ งาน เช่น ปากกาจับงาน เป็นตน้ สามารถเลอ่ื น ขน้ึ ลงได้บนเสาเครือ่ งด้วยการหมนุ แขนส่งกาลังด้วยชุดเฟืองสะพาน เมื่อไดต้ าแหนง่ ท่ตี ้องการก็ สามารถยึดใหแ้ นน่ กับเสาเครื่องได้ 2.1.4 ชุดหวั เครอ่ื ง (Drilling Head) จะอย่บู นสุดของเคร่ืองเจาะ ประกอบด้วยส่วน ต่างๆท่สี าคัญดังนี้ - มอเตอรส์ ่งกาลัง (Motor) - สายพานและล้อสายพานส่งกาลัง (Belt & Pulley) - ฝาครอบ (Guard) มีไวค้ รอบสายพานเพ่อื ปอ้ งกนั อันตราย - หวั จับดอกสว่าน (Drill Chuck) ใชจ้ ับดอกสว่านกา้ นตรง สว่ นใหญม่ ีขนาดไมเ่ กิน 1 นิว้ 2 หรอื ประมาณ 12.7 มลิ ลิเมตร งานเครอ่ื งมอื กลเบ้ืองตน้ (2100-1007)
80 - แขนหมุนปอ้ นเจาะ (Hand Feed Level) - สวติ ชป์ ิดเปดิ (Switch) 2.2 ส่วนประกอบท่ีสาคัญของเคร่ืองเจาะตั้งพน้ื สวา่ นตง้ั พนื้ จะมสี ว่ นประกอบท่สี าคญั เหมอื นเคร่ืองเจาะแบบตั้งโตะ๊ จะต่างกันตรงขนาด และความสามารถในการเจาะรู และระบบส่งกาลัง ซ่ึงมีสว่ นประกอบต่างๆดงั นี้ 2.2.1 ฐานเคร่อื ง (Base) ทาดว้ ยเหลก็ หล่อเป็นส่วนทร่ี องรบั น้าหนักทงั้ หมดของ เครือ่ งจะวางอยู่บนพืน้ โรงงาน 2.2.2 เสาเครื่องเจาะ (Column) จะเปน็ เหลก็ รปู ทรงกระบอกกลวง เปน็ สว่ นทยี่ ึดตดิ กบั ฐานเครอื่ ง เป็นส่วนทีร่ องรับชดุ หวั เครื่องและรองรบั โต๊ะ ชดุ หัวเคร่อื ง โต๊ะงาน เสาเครอ่ื งเจาะ ฐานเคร่ือง รปู ที่ 4.7 ส่วนประกอบทีส่ าคญั ของเครอ่ื งเจาะตงั้ พ้ืน ทม่ี า http://www.atts.rtaf.mi.th 2.2.3 โตะ๊ งาน (Table) สว่ นใหญ่ทาดว้ ยเหล็ก มที ง้ั ทเ่ี ปน็ รปู วงกลมหรอื เปน็ รปู ส่ี เหล่ยี มเปน็ สว่ นทร่ี องรับชนิ้ งานทต่ี อ้ งการเจาะ หรอื อาจจะรองรบั อปุ กรณ์จบั ยึดชน้ิ งาน เชน่ ปากกา จับงาน 2.2.4 ชดุ หวั เครอ่ื ง จะอยบู่ นสดุ ของเครอ่ื งเจาะ ประกอบดว้ ยสว่ นตา่ งๆ ทสี่ าคญั ดงั นี้ - มอเตอร์สง่ กาลัง - ระบบส่งกาลงั จะมีการส่งกาลังดว้ ยสายพานและฟันเฟอื ง การสง่ กาลังดว้ ยฟนั เฟืองจะมคี นั โยกบงั คบั เปลยี่ นความเร็วรอบ งานเคร่ืองมือกลเบื้องต้น (2100-1007)
81 - ฝาครอบ เพ่อื ปอ้ งกนั อันตราย - แกนเพลา (Spindle) ภายในเป็นรูเรยี วสาหรบั จับยึดกา้ นเรียวของหวั จับดอกสว่าน หรือจบั กา้ นเรยี วของดอกสวา่ นทม่ี ีขนาดมากกว่า 12.7 มลิ ลิเมตร ข้ึนไป - แขนหมุนป้อนจะมที ัง้ แบบปอ้ นเจาะดว้ ยมอื และการป้อนเจาะอตั โนมตั ิ - แกนตั้งระยะปอ้ นเจาะ ใช้สาหรบั ต้ังความลกึ เพื่อเจาะงานสวิตช์เปดิ ปดิ 2.3 สว่ นประกอบท่ีสาคัญของเครื่องเจาะแบบรศั มี เสาเครือ่ งเจาะ ชดุ หัวเครอ่ื ง ฐานเครื่อง แขนรัศมี ชดุ ป้อนเจาะ แกนเพลา โตะ๊ งาน รูปที่ 4.8 ส่วนประกอบท่สี าคญั ของเครอ่ื งเจาะแบบรัศมี ทมี่ า http://www.kingsang.com.tw/eg 2.3.1 ฐานเคร่อื ง (Base) เปน็ ส่วนทีต่ ิดต้ังอยู่กบั พนื้ โรงงาน ทาดว้ ยเหล็กหลอ่ เป็น ส่วนทร่ี องรบั นา้ หนกั ท้งั หมดของเคร่ือง 2.3.2 เสาเครอ่ื ง (Column) มลี ักษณะเป็นเสากลมใหญก่ วา่ เสาเครอื่ งเจาะธรรมดา จะ ยดึ ตดิ อยูก่ บั ฐานเครอ่ื ง จะเปน็ ที่เคลื่อนขึ้นลงและจับยดึ ของแขนรัศมี 2.3.3 แขนรศั มี (Radial Arm) สามารถเลื่อนขน้ึ ลงไดบ้ นเสาเครือ่ งและสามารถหมนุ รอบเสาเครือ่ งได้เพื่อหาตาแหนง่ เจาะงานเปน็ สว่ นที่รองรับชดุ หัวเครอ่ื ง 2.3.4 ชดุ หัวเครือ่ ง (Drilling Head) อยู่บนรศั มี สามารถเลื่อนเขา้ ออกไดจ้ ากความยาว ของแขนรัศมี เพ่อื หาตาแหนง่ เจาะรู 2.3.5 แกนเพลา (Spindle) เปน็ รปู ทรงกระบอก ภายในเป็นรูเรยี วสาหรบั จับยดึ ก้าน งานเครอื่ งมือกลเบอื้ งตน้ (2100-1007)
82 เรียวของหวั จบั ดอกสว่านหรือจับก้านเรียวของดอกสว่านท่มี ีขนาดใหญ่ 2.3.6 โต๊ะงาน (Table) เป็นอปุ กรณ์ที่ยดึ ติดอยู่บนฐานเครอื่ ง จะมีรอ่ งตัว -ทีเพื่อใชจ้ บั ยดึ ชิ้นงานโดยตรง หรอื ใชส้ าหรับจบั ยึดปากกาจับงาน หรืออปุ กรณ์อืน่ ๆ 2.3.7 มอเตอร์ (Motor) เปน็ ต้นกาลังท่สี ง่ กาลงั ไปหมุนแกนเพลา เพื่อหมุนดอกสว่าน เจาะงานหรือส่งกาลงั เพื่อขบั เคลื่อนส่วนต่างๆ อตั โนมัติ เนือ่ งจากชน้ิ สว่ นแต่ละสว่ นมีขนาดใหญ่ 3. อปุ กรณป์ ระกอบของเคร่ืองเจาะ 3.1 ดอกสว่าน (Drills) 3.1.1 รปู รา่ งลักษณะและชื่อเรียก กา้ นจับเรียว รอ่ งคายเศษ มมุ เอยี งของคมตัดสว่าน ก่นั (TAPER SHANK) คอสว่าน (FLUTES) (HELIX OR RAKE ANGLE) (TANG) (NECK) (MARGIN OR LAND) (FACE) มมุ จกิ เสน้ แนวแกน(AXIS) ความยาวร่องคายเศษ FLANK ความยาวกา้ นจบั ความยาวสว่าน สนั คม (LAND) ความยาวท้งั หมด (OVERALL LENGTH) รูปที่ 4.9 แสดงการเรยี กช่อื สว่ นตา่ งๆของสว่าน ทม่ี า หนงั สอื Shop Theory หน้า 107 สวา่ นลกั ษณะน้ีจะมคี มอยู่ 2 คม มรี ่องคายเศษอยู่ 2 ร่อง สันคมตดั จะ มแี นวหลบหลงั คมยาว ไปตามลาตวั คมจะเกดิ ขนึ้ รอบๆ ลาตวั สวา่ นเป็นแนวเอยี งมุมเหมอื นกับเกลียวฟันไปรอบๆลาตวั โดย ทว่ั ๆไปจะใชง้ านกนั อยู่ 2 ประเภท คอื แบบก้านจบั ตรงและก้านจับเรียว การจับของ ดอกสวา่ นน้ีจะ ทาหน้าท่ีจับยึดเขา้ กบั อปุ กรณก์ ารจบั เคร่อื งเจาะ เชน่ หัวจับดอกสว่าน (Drill Chuck) สาหรับสวา่ น กา้ นตรง และปลอกจบั เรยี ว ( Sleeve) สาหรับสวา่ นก้านเรียว 3.1.2 การบอกขนาดของดอกสวา่ น 1. บอกขนาดเป็นมิลลิเมตร เชน่ 5 มิลลเิ มตร , 10 มิลลิเมตร 2. บอกขนาดเปน็ นิว้ เช่น 1 นิว้ , 5 นิ้ว 28 3. บอกขนาดเป็นเบอร์ เช่น เบอร์ 1 – เบอร์ 80 งานเคร่ืองมอื กลเบ้ืองตน้ (2100-1007)
83 4. บอกขนาดเปน็ ตวั อกั ษร เชน่ A-Z 3.1.3 คมตัดของดอกสว่าน ชนิดคมตัดของดอกสว่าน เกดิ ขนึ้ จากการกดั ร่องคายเศษเจาะ คมตัดนจ้ี ะมี 2 ชว่ งคอื ดา้ นหน้าของดอกสวา่ น และคมตดั รอบ ๆ ลาตวั ในลกั ษณะเกลียวหรอื เปน็ คมตดั ตรง ซึง่ คม ตดั ของสวา่ นนจี้ ะแบง่ ชนดิ ของคมออกได้เป็น 2 ชนดิ คือ คมตัดตรงและคมตดั เลอ้ื ย กรณีของคมตดั เลอื้ ยส่วนใหญ่ทั่วๆ ไปของการใช้งานจะมีคมรอบลาตวั อยู่ 2 คม หมายถงึ มีร่องคายเศษอยู่ 2 รอ่ งนน่ั เอง จะมีสว่านกรณพี ิเศษทมี่ รี อ่ งคายเศษ 3 ร่องหรือ 4 รอ่ งขนึ้ ไป สาหรบั เจาะงานเฉพาะซง่ึ จะใหค้ ณุ สมบตั ิทดี่ ี คอื ย่งิ คมตดั มากความเท่ยี งตรงในการเจาะจะสูงและผวิ รูเจาะจะเรียบ แตก่ ม็ ขี อ้ เสียคือความ แข็งแรงของคมตดั ด้านหน้าจะน้อยลง ก. คมตัด เส้นแกน (WEB) เสน้ แกน (WEB) ข. ค. รอ่ งคายเศษ เส้นแกน (WEB) รปู ท่ี 4.10 แสดงเสน้ แกน (WEB) ของสวา่ น ที่มา หนังสือ Shop Theory หน้า 108 และ 109 เสน้ แกน (WEB) ของสวา่ นน้นั เกดิ จากการกดั รอ่ งคายเศษเจาะ และการขึน้ คมตดั ของ สวา่ น รอ่ งคายเศษจะเปน็ ตวั ใหเ้ กดิ เส้นแกน (WEB) ขนึ้ มลี กั ษณะเปน็ แนวเรยี ว ดา้ นคมตัดจะมคี วาม หนาน้อยกว่าดา้ นโค้งของสวา่ นที่แสดงไวด้ ว้ ยสดี ามองเหน็ ไดช้ ดั เจน เสน้ แกนนจ้ี ะเป็นร่องบดิ ไป รอบๆ ลาตวั สวา่ นและความหนาของเสน้ แกนจะคอ่ ยๆ เรียวเล็กลงไปจากโคนหาปลายคมตดั ดตู าม ภาพ (ก) และ (ข) 3.1.4 มมุ คมตดั ดอกสวา่ น การลบั ดอกสวา่ นมีความจาเปน็ มากในงานช่าง ดงั น้นั ช่างทุกคนควรจะต้อง ลับดอกสวา่ นเป็น เพ่ือทีจ่ ะไดล้ ับดอกสวา่ นได้เม่อื ดอกสว่านไม่คม มมุ จิกหรือมุมรวมปลายดอกสวา่ น ทีใ่ ชง้ านท่ัวๆ ไปจะมมี ุมรวม 118 องศา งานเครื่องมอื กลเบ้ืองตน้ (2100-1007)
84 มมุ คาย มมุ ลมิ่ มมุ คายของรอ่ งดอกสว่าน ดอกสว่านรอ่ งปิด มมุ ฟรี มุมจกิ รปู ที่ 4.11 มุมตา่ งๆของดอกสวา่ น ทม่ี า หนังสือ Shop Theory หน้า 109 และ 114 ตามภาพมมุ คมตัดของดอกสว่านโดยทวั่ ๆ ไปจะประกอบกอบดว้ ยมมุ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การตัด เฉือน เพ่ือจะให้ผลดตี อ่ การตดั เฉอื น คมตดั ทาการตัดเฉอื นไดด้ จี ะต้องมี (1) มมุ คมตดั (Cutting Angle) (2) มุมฟรี (Clearance Angle) (3) มมุ คายเศษ (Rake Angle) (4) มุมจิก (Point Angle ) แตล่ ะมมุ จะมี ความสาคัญต่อการทางาน และมคี วามเกี่ยวขอ้ งซง่ึ กันและกัน (1) มมุ คมตดั (Cutting Angle) จะมลี ักษณะเหมือนกับลิม่ ทาหน้าทีต่ ดั เฉอื นเนอื้ โลหะ (2) มมุ ฟรี ( Clearance Angle) ทาหนา้ ท่ลี ดการเสียดสแี ละลดแรงตา้ นบรเิ วณผวิ หน้าของมมุ จิกของดอกสวา่ น ถา้ ไม่มีมมุ คายเศษ ดอกสว่านจะไม่สามารถตัดเฉอื นผวิ งานได้ (3) มมุ คายเศษ (Rake Angle) ทาหน้าทใ่ี หเ้ ศษตัดเฉอื นเคลอื่ นที่คายออกจากผวิ งานทถ่ี กู ตดั (4) มุมจิก (Point Angle ) ในการตดั โลหะทว่ั ไป จะใช้มุมคมตดั นี้ 118 องศาสาหรบั โลหะ ตัดเฉือนชิน้ งานซึ่งสวา่ นส่วนใหญท่ ามาจากเหลก็ รอบสูง (High Speed Steel) มมุ จิกมีผลตอ่ แรงกด เจาะ ถ้ามุมจกิ โตมากแรงตา้ นเจาะกม็ ากขนึ้ ตามลาดบั แตม่ ุมจิกกช็ ว่ ยในการนาศนู ย์ในการเจาะงาน ในขณะเร่มิ เจาะดว้ ยขนาดของมุมจกิ น้ี จะขน้ึ อยู่กบั วสั ดทุ น่ี ามาเจาะ งานเครอ่ื งมอื กลเบ้อื งต้น (2100-1007)
85 3.2 หวั จบั ดอกสว่าน (Drill Chuck) รูปที่ 4.12 หัวจบั ดอกสวา่ น รปู ที่ 4.13 ประแจขัน หัวจบั ดอกสวา่ น ทีม่ า http://www.dsn2006.org/catalog/pics/ รูปที่ 4.14 แสดงการจบั ดอกสว่านขนาดเลก็ ด้วยหวั จับ (DRILL CHUCK) ที่มา รูปภาพ ถา่ ยโดยผู้เรียบเรียง ตามรูปท่ี 4.14 แสดงการทางานของหวั จบั ดอกสวา่ นแบบใชป้ ระแจขนั แนน่ โดยการประกอบ ดอกสวา่ นเข้ากับหวั จับแลว้ ใช้ประแจเลอ่ื นเขา้ ไปในรูหวั จบั โดยฟนั ของหัวจบั จะสับเข้ากบั รอ่ งฟนั เฟืองที่หัวจับ ถา้ หมุนตามเขม็ นาฬกิ าจะเปน็ การจับยึดสวา่ นแน่น ถ้าหมุนทวนเข็มนาฬกิ าจะเปน็ การ คายดอกสว่านออก ลักษณะของประแจขันหัวจบั ดอกสว่านจะเปน็ ลกั ษณะของฟันเฟอื งดอกจอก (BEVEL GEAR) ดังในภาพที่มกี ้านจบั ขันและกา้ นจบั ขนั จะเสยี บเข้ากับประแจขันหัวจบั ดอกสว่าน ตวั ก้านจับ จะมแี ขนหมนุ สาหรบั ให้มอื จับหมุนบดิ ไป-มา งานเครอื่ งมือกลเบ้อื งต้น (2100-1007)
86 3.3 ปลอกจับสว่านกา้ นเรยี ว (Sleeve) ปลอกจบั แบบ ปลอกจบั สว่าน สองตอน รปู ท่ี 4.15 ปลอกจับสว่านก้านเรียว (SLEEVE) แบบและขนาดตา่ งๆ ท่มี า รูปภาพ ถา่ ยโดยผู้เรยี บเรยี ง ดอกสว่านท่ีมขี นาดใหญ่ๆ การจับดว้ ยหัวจบั (DRILL CHUCK) แบบต่างๆ ทาได้ลาบาก ใน การแกป้ ญั หาใหท้ างานได้สะดวกและยังคงประสทิ ธิภาพเทา่ เดมิ โดยการออกแบบก้านสวา่ นให้มี ลักษณะเป็นกา้ นเรียว ใช้ประกอบเขา้ กับเพลาเจาะของเคร่อื งเจาะขนาดเล็ก หรอื ใช้ประกอบเข้ากบั ปลอกจับดอกสว่าน (SLEEVE) แลว้ จึงประกอบเข้ากับเพลาของเครอื่ งเจาะ ปลอกจบั น้ีมีหลายขนาด สาหรับกา้ นดอกสว่านทีม่ ีขนาดต่างกนั เมอื่ ใช้งานสามารถนามาประกอบรว่ มกันได้ ดูตามรูปท่ี 4.15 เหล็กถอด ค้อน รูปท่ี 4.16 แสดงการถอดหัวจับดอกสวา่ นออก ทมี่ า รูปภาพ ถา่ ยโดยผู้เรยี บเรยี ง งานเคร่อื งมอื กลเบื้องตน้ (2100-1007)
87 กรรมวธิ ีการถอดหัวจบั ดอกสว่านออกจะเหมอื นกนั หมด ไมว่ า่ จะเปน็ หวั จับชนดิ ใดก็ตาม รวมทง้ั การถอดสว่านก้านเรยี วอกี ดว้ ย โดยการใช้เหล็กถอด (DRILL DRIFT) ดภู าพที่ 4.16 มอื หนง่ึ จะ ประคองจบั ไว้ อกี มือหนึ่งถอื คอ้ นเคาะเหลก็ ถอดออก การเคาะจะต้องเคาะเบาๆ ไมเ่ ขา้ ลกั ษณะของ การตี เหลก็ ถอดจะเสียบเขา้ ไปในรเู พลาโดยเอาดา้ นตรงไวด้ า้ นบน เมอื่ เคาะด้านเรียวจะดนั หัวจบั ออก 3.4 ดอกเจาะนาศนู ย์ ดอกเจาะนาศนู ย์ (Center Drill) เป็นดอกเจาะท่ีใชส้ าหรับการเจาะรเู รยี วในชว่ งเรมิ่ ต้นของ การทางานเพ่ือจะนาไปใชง้ านต่อหรือเจาะต่อซ่ึงเรียกวา่ การเจาะน้วี ่าเจาะนา ลักษณะของรูเจาะจะมี รปู รา่ งตามรปู แบบของคมดอกเจาะ ดอกเจาะนาศนู ยม์ ีหลายขนาดใหเ้ ลือกใช้งาน และขึน้ อยู่กบั ผผู้ ลติ จะผลิตออกมาใช้งานซึง่ ในบางครั้งท่ขี าดแคลนสามารถจะนาเอาดอกสว่านหกั หรอื ดอกสวา่ นเกา่ ท่ี เลกิ ใชง้ านแล้วมาลบั แต่งใหไ้ ดม้ มุ กรวยแหลมตามต้องการ และมมี มุ คายเศษด้วยใชเ้ จาะแทนดอกเจาะ นาศนู ยไ์ ด้ ความเรว็ รอบที่ใชก้ ับดอกเจาะจะขนึ้ อยกู่ บั ขนาดของดอกเจาะนาศนู ย์เองโดยใชค้ า่ ความเรว็ ในการหมุนตดั เช่นเดยี วกบั ดอกสวา่ น ยันศนู ย์ กา้ น คมตัด รอ่ ง ร่อง ปลายคม รูปท่ี 4.17 ลักษณะและสว่ นประกอบของดอกเจาะนาศูนย์ ท่มี า หนังสือ Shop Theory หนา้ 159 และ 160 3.5 เหล็กตอกนาศนู ย์ - ก่อนจะทาการเจาะจะตอ้ งกาหนดตาแหนง่ รโู ดยใชเ้ หล็กขีดหมายตาแหนง่ ไว้ก่อน - ใชเ้ หลก็ นาศนู ย์ตอกนารูตรงตาแหนง่ เจาะ แล้วจงึ จับยดึ ชนิ้ งานบนแทน่ วางชิน้ งาน งานเครอ่ื งมอื กลเบือ้ งตน้ (2100-1007)
88 รูปที่ 4.18 เหล็กตอกนาศนู ย์ ทม่ี า http://www.beaducation.com/shop/images/center_punch.jpg 3.6 อปุ กรณ์จบั ยดึ อปุ กรณจ์ บั ยึดใชจ้ ับยดึ ชนิ้ งานให้แนน่ กอ่ นเจาะซง่ึ มีหลายชนดิ ดงั ต่อไปนี้ 3.6.1 ปากกาจบั งานเจาะ (VISE) ใชส้ าหรบั จับงานเจาะรปู ทรงต่างๆ ดงั รูปท่ี 4.19 รปู ท่ี 4.19 ปากกาจบั งานเจาะ ทมี่ า http://joemonahansnewmexico.blogspot.com/uploaded_images/Vise-761318.jpg 3.6.2 อปุ กรณช์ ว่ ยจบั ยดึ ใชจ้ บั ชน้ิ งานในกรณีทป่ี ากกาจบั งานไมส่ ามารถจบั ได้ ซง่ึ มหี ลาย อย่างดังรปู รปู ท่ี 4.20 แท่งขนาน (PARALLELS) รูปท่ี 4.21 สกรูยดึ แบบตวั ที (T-SLOT) ทมี่ า http://joemonahansnewmexico.blogspot.com งานเครื่องมอื กลเบือ้ งตน้ (2100-1007)
89 รปู ท่ี 4.22 แคล็มปแ์ บบแบน (PLAIN OR FLAT) รูปที่ 4.23 ย-ู แคล็มป์ (U-CLAMP) ทมี่ า หนงั สอื ทฤษฎีเครอื่ งมอื กล1 ทศพล สงั ข์อยทุ ธ์ หน้า 100 4. หลักการทางานและขนั้ ตอนการใชง้ านเครื่องเจาะ เคร่อื งเจาะทใ่ี ชง้ านกนั อยูท่ ั่วไปมหี ลักการทางานทีเ่ หมอื นกนั คอื ใชก้ าลังขับมาจากมอเตอร์ แลว้ ส่งกาลงั ขบั ไปยังล้อสายพาน สายพานหรือเฟอื งขนึ้ อยกู่ ับเครอื่ งเจาะแตล่ ะชนิดเพอ่ื ไปหมุนขับ เพลาจับดอกสว่าน ใหส้ ว่านหมนุ เจาะงานต่อไปและมีลาดับข้ันตอนการเจาะดังน้ี 4.1 ศกึ ษาวิธกี ารใชเ้ ครอ่ื งเจาะใหเ้ ข้าใจ ถ้าไมเ่ ข้าใจจะตอ้ งปรึกษาอาจารยผ์ ู้ควบคมุ พร้อมทัง้ ศึกษาเก่ียวกบั ความปลอดภัยในการใช้เครอ่ื งเจาะด้วย 4.2 นาชิ้นงานมาร่างแบบใหไ้ ดแ้ บบที่ถกู ตอ้ ง พรอ้ มทั้งใชเ้ หล็กตอกรา่ งแบบและใชเ้ หล็กนา ศูนยต์ อกนาศนู ย์ 4.3 นาชิน้ งานมาจับยดึ บนเคร่ืองเจาะให้แนน่ อาจจะจับยดึ บนโต๊ะงานหรือจบั ยดึ ด้วยอปุ กรณ์ จบั ยดึ งาน เช่น ปากกาจบั งาน C-Clamp เปน็ ตน้ ข้นึ อยกู่ บั ลักษณะงาน 4.4 นาดอกสวา่ นทต่ี ้องการเจาะจับยดึ บนเครอื่ งเจาะ กรณีตอ้ งการเจาะรทู ่มี ขี นาดใหญค่ วรมี การเจาะไล่ขนาดจากเล็กไปหาขนาดใหญ่ 4.5 ปรบั ระยะหา่ งระหว่างชนิ้ งานกบั ปลายดอกสวา่ นใหเ้ หมาะสม พรอ้ มปรับตาแหนง่ ที่จะ เจาะให้ตรงตาแหน่ง 4.6 ปรบั ความเร็วรอบใหถ้ ูกต้อง ซึง่ หาไดจ้ ากการคานวณ หรอื จากตารางสาเรจ็ 4.7 ทาการปอ้ นเจาะงานตามความลกึ ที่ตอ้ งการเจาะ ถา้ เคร่อื งเจาะมีแขนตัง้ ระยะความลึกที่ ตอ้ งการเจาะ หรือสามารถป้อนอัตโนมตั ไิ ดก้ ท็ าการตง้ั เพือ่ ความสะดวกในการเจาะ ในการเจาะทต่ี ้อง การตาแหนง่ ทแ่ี น่นอนควรเจาะดว้ ยดอกเจาะนาศนู ย์ก่อน จะไดต้ าแหนง่ ของรทู ี่แมน่ ยากว่า 5. การใชแ้ ละการบารุงรกั ษาเครอ่ื งเจาะ 5.1 ตรวจสอบสภาพของเครอื่ งเจาะกอ่ นใชง้ านทุกครั้ง 5.2 ไมค่ วรใชอ้ ปุ กรณอ์ ื่นเชน่ ค้อน ไขควงตอก ตอกหวั จับดอกสว่านเพือ่ จบั ดอก สว่านเพราะ อาจทาใหเ้ พลานาเจาะหมนุ ไม่เทยี่ งตรงได้ 5.3 ปรับความเร็วรอบเครือ่ งให้เหมาะสมกบั ดอกสว่าน 5.4 ถา้ เครอ่ื งเจาะชารุดใชง้ านไม่ไดค้ วรแจง้ ผคู้ วบคุมเพ่ือทาการซอ่ มบารงุ กอ่ น งานเครอื่ งมือกลเบอื้ งตน้ (2100-1007)
90 5.5 ผูป้ ฏิบัตงิ านควรศึกษาหรอื ไดค้ าแนะนาเกย่ี วกับการใช้งานของเคร่อื งเจาะ ให้เข้าใจกอ่ น ใช้งาน 5.6 ทาความสะอาดเครอ่ื งเจาะหลงั เลกิ ใชง้ านทกุ ครง้ั 6. ความปลอดภัยในการใชเ้ คร่อื งเจาะ 6.1 ก่อนใช้เครอ่ื งเจาะทุกครงั้ จะต้องตรวจดคู วามพร้อมของเคร่อื งกอ่ นใชเ้ สมอ ถา้ เครือ่ งชา รุดอาจะเปน็ อนั ตรายต่อผู้ปฏบิ ัติงานได้ 6.2 การจบั ยึดชิน้ งานจะต้องจบั ยดึ ให้แนน่ และจะตอ้ งจบั ถกู วิธี 6.3 ศกึ ษาขั้นตอนและวิธกี ารใชเ้ คร่อื งเจาะ และวิธีการทางานใหถ้ ูกตอ้ ง 6.4 จะตอ้ งแตง่ กายให้รดั กมุ ถกู ต้องตามกฎความปลอดภัย 6.5 จะตอ้ งสวมแว่นตานิรภยั ปอ้ งกนั เศษโลหะกระเด็นเข้าตา 7. การคานวณหาความเรว็ รอบในการเจาะ ในการเจาะงานจะมคี วามเรว็ ท่ีสาคัญ 2 ชนดิ คือ ความเร็วรอบและความเรว็ ตดั 7.1 การคานวณความเรว็ ตัด มสี ูตรการคานวณดงั น้ี V = dn เมตร/นาที 1000 เมือ่ กาหนด V = ความเรว็ ตัดงานเจาะ (เมตร/นาท)ี N = ความเร็วรอบดอกสว่าน (รอบ/นาท)ี d = ความโตเส้นผ่าศูนยก์ ลางดอกสว่าน (มิลลิเมตร) ตวั อย่างที่ 1 จงคานวณหาค่าความเร็วตดั ทเ่ี จาะงานด้วยดอกสว่านมีความยาวเสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 10 มิลลเิ มตร ดว้ ยความเรว็ รอบ 800 รอบ/นาที วิธที า V = dn เมตร/นาที 1000 = 3.141610 800 1,000 ความเรว็ ตัดทใี่ ช้เจาะงาน = 25.13 เมตร/นาที 7.2 การคานวณความเร็วรอบ ในกรณตี อ้ งการหาความเรว็ รอบก็ยา้ ยสมการจากสูตรขา้ งตน้ ก็ จะไดส้ ตู รการคานวณดังนี้ งานเครอื่ งมือกลเบ้ืองตน้ (2100-1007)
91 สตู รการคานวณหาความเรว็ รอบ n = 1,000V รอบ / นาที d ตวั อยา่ งท่ี 2 จงคานวณหาคา่ ความเร็วรอบในการเจาะเหลก็ ใชท้ าเครื่องมอื (Tool Steel) ดว้ ยดอกสวา่ น ขนาดความยาวเส้นผ่านศูนยก์ ลาง 15 มลิ ลเิ มตร ดว้ ยความเร็วตัด 18 เมตร / นาที วธิ ีทา n = 1,000V รอบ / นาที d = 1,00018 3.141615 ความเร็วรอบท่ีใช้เจาะงาน = 382 รอบ / นาที การเลือกความเร็วรอบจากตาราง จงเลอื กใช้คา่ ความเร็วรอบจากตารางท่ี 4.1 วธิ เี ลอื กมขี นั้ ตอนดงั น้ี 1. เลอื กขนาดความยาวเสน้ ผ่านศนู ย์กลางดอกสว่านทใ่ี ช้เจาะ ในท่นี ค้ี อื 15 มิลลเิ มตร 2. ดูให้ตรงกับวัสดุงานท่ีเจาะ ในตัวอยา่ งคือ Tool Steel คา่ ความเรว็ ตัด = 18 เมตร / นาที 3. ผลลพั ธ์ทไ่ี ด้ คอื 380 รอบ / นาที งานเคร่ืองมอื กลเบ้ืองตน้ (2100-1007)
ตารางท่ี 4.1 ความเรว็ รอบงานสาหรับดอกสวา่ นเหลก็ รอบสูง 92 Steel Tool Steel Cast Iron Machine Brass and Casting Steel Aluminum ขนาดดอกสวา่ น 12 ความเร็วตัด (เมตร / นาท)ี 60 1,910 9,550 น้วิ มลิ ลเิ มตร 1,275 18 24 30 6,365 1/16 2 955 4,775 1/8 3 765 2,865 3,820 4,775 3,820 3/16 4 635 3,180 1/4 5 545 1,910 2,545 3,185 2,730 5/16 6 475 2,390 3/8 7 425 1,430 1,910 2,385 2,120 7/16 8 350 1,735 1/2 9 255 1,145 1,530 1,910 1,275 5/8 10 190 955 3/4 15 150 955 1,275 1,590 765 7/8 20 1 25 820 1,090 1,365 715 955 1,195 635 850 1,060 520 695 870 380 510 635 285 380 475 230 305 380 ท่มี า หนงั สืองานเคร่อื งมอื กลเบื้องตน้ ชลอ การทวี หน้า 98 8. งานเจาะผายปากรู ดอกเจาะผายปากรู (Counter Sinks) เปน็ ดอกเจาะภายหลังจากทใ่ี ชส้ วา่ นเจาะรูแลว้ โดยเจาะ รูทรงกระบอกตรง จากการใช้ดอกสวา่ น ตอ่ จากนนั้ ใชด้ อกเจาะผายปากรเู จาะตอ่ จะทาใหป้ ากรเู ปน็ รูปทรงกรวย ดอกเจาะผายปากรูมมี ากมายหลายแบบตามทีผ่ ผู้ ลติ ผลิตออกมาเพื่อความสะดวกตอ่ การ ทางาน โดยพอจะจาแนกดอกผายปากรูได้ดังนี้ 1. ดอกผายปากรทู ่ัวไป - มมุ 60 องศา สาหรบั ผายปากรลู บคม - มมุ 75 องศา สาหรบั งานยา้ หมดุ - มมุ 90 องศา สาหรบั ผายปากรูลบคม และฝังหัวสกรู - มมุ 120 องศา สาหรับงานยา้ หมดุ งานเคร่ืองมอื กลเบอื้ งตน้ (2100-1007)
93 ชิ้นงาน ดอกผายปากรู รปู ท่ี 4.24 ดอกผายปากรู ทม่ี า http://www.answers.com/topic/countersink 2. ดอกผายปากรลู บคม - สาหรบั ผายปากรูลบคมรูเจาะ - มีจานวนคมตดั มากกว่าดอกผายปากรูทวั่ ไป - ใช้ความเร็วรอบต่ากวา่ ดอกสว่านประมาณ 25 – 30 % รปู ที่ 4.25 ดอกผายปากรูลบคม ท่มี า http://www.drillspot.com/products/278591/ งานเครือ่ งมือกลเบอื้ งต้น (2100-1007)
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: