Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit 3

Unit 3

Published by cheat11_utt, 2019-11-16 03:25:24

Description: เครื่องเลื่อยและงานเลื่อย

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 3 เครื่องเล่อื ยกล

53 เครื่องเลอื่ ยกล 1 ชนดิ ของเคร่อื งเล่อื ยกล การเลือ่ ย คอื การตัดชิน้ งานออกด้วยใบเลือ่ ยท่มี คี มเล็กๆหลายๆคม คลา้ ยคมสวิ่ หรอื คมสกัด จานวนมาก เรยี งกนั เป็นแถว ฟนั ใบเล่ือยจะกัดชนิ้ งานพรอ้ มๆกนั ทลี่ ะหลายฟนั ให้เปน็ ร่องจนขาดออก จากกัน การเล่อื ย จาแนกเปน็ การเลอื่ ยดว้ ยมอื (Hand Saw) คือ เปน็ งานเลอื่ ยชนิ้ งานจานวนไมม่ าก และเลอื่ ยดว้ ยเครอื่ งเลอ่ื ยชัก (Power Hack Saw) หรือเรยี กวา่ เคร่ืองเลอ่ื ยกล (Saw Machine) จาเปน็ สาหรับงานเลื่อยช้ินงานอุตสาหกรรมคอื เลื่อยชน้ิ งานจานวนมาก ทั้งชิน้ งานขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ เคร่ืองเล่อื ยกลแบง่ ออกเป็นประเภทใหญๆ่ ได้ดังน้ี - เคร่อื งเล่อื ยชกั (Power Hack Saw) - เคร่อื งเลื่อยสายพานนอน(Horizontal Band Saw) - เครอ่ื งเลอื่ ยสายพานต้ัง(Vertical Band Saw) - เคร่ืองเล่ือยวงเดือน(Radius Saw Or Circualar Saw) เครอื่ งเลือ่ ยชัก (Power Hack Saw) เคร่ืองเลอ่ื ยแบบชักเป็นท่นี ยิ มใชก้ นั อยา่ งแพร่หลาย ในการเล่อื ยตัดวสั ดงุ านใหไ้ ด้ขนาดและ ความยาวตามความตอ้ งการ ระบบการขบั เคล่อื นใบเลื่อย ใช้สง่ กาลงั ด้วยมอเตอร์ แลว้ ใชเ้ ฟืองเปน็ ตัว กลบั ทิศทางและใชห้ ลกั การของข้อเหว่ียงเป็นตัวขับเคลอ่ื นใหใ้ บเลอ่ื ยเคลื่อนทก่ี ลบั ไปกลับมาในแนว เสน้ ตรงอยา่ งตอ่ เน่อื งทาใหใ้ บเล่อื ยสามารถตดั งานได้ รูปที่ 3.1 เครือ่ งเล่อื ยชกั ทม่ี า http://www.agro.ksc.rmuti.ac.th/agro/idt/e_learning/sawing/type.html งานเครอื่ งมอื กลเบอื้ งตน้ (2100-1007)

54 2 สว่ นประกอบของเครือ่ งเลอื่ ยชกั สว่ นประกอบทุกสว่ นมคี วามสาคัญเทา่ กัน เพราะจะตอ้ งทาหนา้ ท่ีร่วมกันตลอดเวลาซงึ่ ประ กอบดว้ ยส่วนตา่ งๆดงั น้ี 2.1 โครงเลอื่ ย (Saw Frame) มีลกั ษณะเหมอื นตัวยคู วา่ โครงเลื่อยสว่ นใหญ่ทาจากเหลก็ หล่อ อย่างดีใชส้ าหรับใสใ่ บเล่อื ย โครงเลื่อยจะเคลอ่ื นท่ีไป-มา อยู่ในรอ่ งหางเหยีย่ วโดยส่งกาลังจากล้อ เฟอื ง ดังรปู ท่ี 3.2 โครงเลอื่ ย ใบเลือ่ ย ระบบสง่ กาลงั ป๊ัมหลอ่ เย็น ท่อน้าหลอ่ เยน็ ปากกา สวติ ช์ ปิด- เปดิ ฐานเครื่อง รปู ที่ 3.2 สว่ นประกอบของเคร่อื งเลอื่ ยชกั ท่มี า http://www.agro.ksc.rmuti.ac.th/agro/idt/e_learning/sawing/detail.html 2.2 ปากกาจบั งาน(Vise) ใชจ้ ับชนิ้ งานเพอื่ ทาการเล่ือยสามารถปรับปรุงเอียงขวา-ซ้าย ได้ขา้ ง ละ 45 องศา และสามารถเล่ือนปากเข้า-ออกไดด้ ้วยเกลยี วแขนหมนุ ล็อคแนน่ ดังรปู ที่ 3.3 ปากกา รปู ที่ 3.3 แสดงสว่ นประกอบของปากกาจบั งาน ทีม่ า รปู ภาพ ถ่ายโดยผ้เู รียบเรยี ง งานเครือ่ งมือกลเบ้ืองต้น (2100-1007)

55 2.3 แขนตง้ั ระยะงาน (Cut Off Gage) มีหน้าทใี่ นการตงั้ ระยะของชน้ิ งานทตี่ อ้ งการตดั จานวน มากๆ เพอ่ื ให้ชน้ิ งานที่ตดั ออกมามีความยาวเท่ากันทุกชนิ้ ดังรูปท่ี 3.4 ชิ้นงาน แขนตง้ั ระยะงาน รูปท่ี 3.4 แสดงการทางานของแขนต้ังระยะงาน ท่มี า รปู ภาพ ถา่ ยโดยผเู้ รยี บเรยี ง 2.4 ระบบป้อนตดั เครื่องเลอ่ื ยชกั มรี ะบบป้อนตดั 2 ชนดิ คือชนดิ ใช้ลกู ถ่วงน้าหนกั และชนิด ใชน้ ้ามันไฮดรอลคิ ทง้ั 2 ชนดิ ทาหนา้ ท่ีเหมอื นกนั คอื การปอ้ นตดั แตห่ ลกั การทางานตา่ งกนั ตรงทช่ี นดิ ลูกถว่ งนา้ หนกั อาศยั แรงดึงดดู ของโลก ส่วนชนิดไฮดรอลิคอาศยั แรงดนั จากนา้ มันไฮดรอลคิ 2.5 ระบบหลอ่ เย็น เคร่อื งเลอ่ื ยชกั มคี วามจาเปน็ ต้องใช้นา้ หลอ่ เย็น เพอ่ื ช่วยระบายความร้อน เนอ่ื งจากการเสยี ดสรี ะหวา่ งใบเลือ่ ยกบั ชิ้นงาน และยงั ชว่ ยยดื อายกุ ารใช้งานของใบเล่ือยให้ยาว นาน 2.6 ฐานเครอื่ งเลื่อยชกั (Base) ทาหน้าทร่ี องรับสว่ นต่างๆของเครอื่ งเลือ่ ยชักทงั้ หมด ฐาน เคร่ืองเล่อื ยชกั บางชนิดจะทาเป็นโพรงภายในเพื่อเปน็ ท่เี ก็บถงั น้าหล่อเยน็ และมอเตอร์ 2.7 มอเตอร์ (Motor) เครือ่ งเลอ่ื ยชกั มมี อเตอรท์ าหนา้ ท่เี ป็นต้นกาลงั ขับมอเตอร์จะใชก้ ับ กระแสไฟฟ้า 220 โวลต์หรอื 380 โวลตข์ นึ้ อยกู่ ับผูผ้ ลิต 2.8 สวิตช์เปดิ -ปดิ เครื่องเลื่อยชักมสี วิตช์เปิด-ปิด แบบกึ่งอัตโนมัติ คอื สวิตช์เครื่องจะปดิ โดยอตั โนมัตเิ มื่อใบเลอื่ ยตัดชน้ิ งานขาด 2.9 ชุดเฟืองทด (Gear) ทาหนา้ ที่ในการทดส่งกาลงั จากมอเตอรไ์ ปยังโครงเล่อื ยเฟืองทดท่ี ใช้กบั เครือ่ งเลื่อยชักมี 2 ชนิด คือ เฟอื งเฉียง และเฟืองตรง 2.10 ล้อสายพาน (Pulley) ทาหน้าทีส่ ง่ กาลงั ผ่านสายพานไปยงั ชดุ เฟืองทด ใชก้ บั สายพาน ตัววี งานเครอ่ื งมือกลเบ้อื งต้น (2100-1007)

56 3 หลักการทางานของเคร่อื งเล่ือยชัก 3.1 กลไกทางานของเครือ่ งเลอื่ ยชัก เปน็ กลไกสง่ กาลงั มอเตอร์ ส่งกาลังผ่านเฟอื งขบั ซึ่งเป็น เฟืองทด เพื่อทดความเรว็ รอบมอเตอร์ และเพอ่ื ทดแรงขับมอเตอร์ทข่ี า้ งเฟืองขบั มจี ุดหมุนก้านตอ่ อยู่ คนละศูนยก์ ับศูนยก์ ลางเฟือง เพ่ือตอ่ กา้ นตอ่ ไปขบั โครงเลื่อยใหช้ กั โครงเลอื่ ยเดนิ หน้าและถอยหลังได้ เฟืองขบั จุดหมุนกา้ นตอ่ รปู ที่ 3.5 กลไกทางาน ทีม่ า รูปภาพ ถา่ ยโดยผู้เรยี บเรยี ง 3.2 น้าหนกั กดโครงเลื่อยสาหรับน้าหนกั กดโครงเลื่อย ยงิ่ เลอ่ื นหา่ งออกจากหวั เครอื่ งมาก เท่าใด จะกดให้ใบเลือ่ ยตัดเฉือนมากเท่านน้ั ดังน้นั การเลอ่ื นไประยะนา้ หนกั กด ให้สังเกตการตดั เฉอื นของฟันเล่ือยด้วย นา้ หนกั กดใกลห้ ัวเคร่ือง = น้าหนักกดโครงเลื่อยนอ้ ย นา้ หนกั กดหา่ งหัวเคร่ือง = น้าหนกั กดโครงเล่ือยมาก งานเคร่ืองมอื กลเบอื้ งต้น (2100-1007)

โครงเลือ่ ยด้านหัวเคร่ือง 57 น้าหนักกดมาก เลอ่ื นนา้ หนักกด นา้ หนกั กดน้อย รูปท่ี 3.6 นา้ หนักกดเคร่อื งเลื่อย ที่มา รปู ภาพ ถ่ายโดยผู้เรียบเรียง 3.3 ใบเลื่อยเครอื่ ง ( Saw Blade) ใบเล่อื ยเครือ่ งเปน็ อุปกรณ์ของเครื่องเลื่อยทีม่ คี วามสาคัญมาก ทาหน้าท่ีตัดเฉอื นช้ินงานใบ เลือ่ ยเครื่องทาจากเหลก็ รอบสูง มีความแข็งแต่เปราะ ดงั นน้ั การประกอบใบเลอ่ื ยเขา้ กบั โครงเลือ่ ย จะ ตอ้ งประกอบใหถ้ ูกวธิ แี ละขันสกรใู หใ้ บเลอื่ ยตงึ พอประมาณ เพ่อื ป้องกนั ไม่ให้ใบเลอื่ ยหกั สว่ นตา่ งๆ ของใบเลอื่ ยประกอบด้วย ความกวา้ ง ความยาว ความหนา ความโตของรใู บเลือ่ ย และจานวนฟัน หยาบและฟนั ละเอียด จานวนฟันใบเลอื่ ยบอกจานวนฟนั ต่อนว้ิ เชน่ 10 ฟันตอ่ น้วิ 14 ฟนั ตอ่ น้ิวแตท่ ่ี นยิ มใช้งานทัว่ ๆ ไปคือ 10 ฟันตอ่ นวิ้ ดังรปู ท่ี 3.7 ความโตของรูใบเล่อื ย ความกว้าง ความยาวของใบเล่ือย ความหนา รปู ที่ 3.7 สว่ นประกอบตา่ งๆของใบเล่อื ยเครอ่ื ง ทีม่ า จากหนังสืองานเครื่องมือกลเบอ้ื งต้น พชิ ยั จันทะสอน หนา้ 132 งานเครอ่ื งมือกลเบือ้ งต้น (2100-1007)

58 ลกั ษณะของใบเลอื่ ย 1. ความยาวของใบเลือ่ ย การวดั ความยาวของใบเล่ือยจะวัดจากศนู ย์กลางของรูยดึ ใบเลือ่ ยทัง้ สองเรยี กว่าขนาดความยาวของใบเลื่อยจะมีขนาด 200 มิลลิเมตร และขนาด 300 มลิ ลิเมตร 2. ความกว้างของใบเลื่อย กวา้ ง 12.7 มิลลเิ มตร หรือ 1/2 นิ้ว 3. ความหนาของใบเลื่อย หนา 0.64 มลิ ลิเมตร หรือ 0.025 นิ้ว 4. การวัดจานวนฟันของใบเลื่อย คอื วัดระยะหา่ งของยอดฟันหน่ึงถึงยอดฟนั หนง่ึ ในระยะ เมตริก เรยี กว่าระยะพิต Pitch (P)ในระบบองั กฤษ จะวดั ขนาดของความถีห่ า่ งของฟนั เลื่อยนิยมบอก เปน็ จานวนฟันตอ่ ความยาว 1 นิว้ ระยะพิต รูปที่ 3.8 ระยะพติ ที่มา จากหนงั สอื ทฤษฎีช่างกลทั่วไป ทศพล สังข์อยุทธ์ หนา้ 123 งานเครอ่ื งมอื กลเบื้องตน้ (2100-1007)

59 ตารางที่ 3.1 ขนาดมาตรฐานใบเลื่อยของเครอ่ื งเลอ่ื ยชัก ขนาดใบเลื่อยระบบเมตริก (มลิ ลเิ มตร) ขนาดใบเล่ือยระบบองั กฤษ (น้ิว) จานวนฟนั ขนาดรยู ดึ ใบเลื่อย ต่อน้วิ ( มลิ ลิเมตร ) ความยาว กว้าง หนา ความยาว กวา้ ง หนา 0.032 14 5 300 16 0.80 12 5 0.032 18 5 8 0.032 24 5 300 16 0.80 0.050 10 8.2 12 25 0.050 14 8.2 300 16 0.80 8 0.050 10 8.2 0.050 14 8.2 300 25 1.25 12 5 0.062 6 8.2 8 300 25 1.25 0.062 10 8.2 12 1 350 25 1.25 0.062 14 8.2 12 1 350 25 1.25 0.075 6 8.2 14 1 350 32 1.60 0.050 10 8.2 14 1 0.050 14 8.2 350 32 1.60 0.062 6 8.2 14 1 1 350 32 1.60 4 0.062 10 8.2 350 38 2.00 14 1 1 0.062 14 8.2 4 400 25 1.25 0.075 4 8.2 14 1 1 0.075 6 8.2 400 25 1.25 4 0.050 10 8.2 0.050 14 8.2 400 32 1.60 14 1 1 0.062 6 8.2 4 400 32 1.60 0.062 10 8.2 16 1 400 32 1.60 0.062 6 10.2 16 1 400 38 2.00 0.062 10 10.2 16 1 1 400 38 2.00 4 0.075 4 10.2 0.075 6 10.2 425 25 1.25 16 1 1 0.088 6 10.2 4 0.088 6 10.2 425 25 1.25 0.075 6 10.2 16 1 1 0.075 6 10.2 425 32 1.60 4 0.075 10 10.2 0.088 4 10.2 425 32 1.60 16 1 1 0.088 6 10.2 2 0.100 6 12.5 450 32 1.60 0.100 4 12.5 16 1 1 0.100 6 12.5 450 32 1.60 2 0.088 4 12.5 0.088 6 12.5 450 38 2.00 17 1 0.100 4 12.5 0.100 6 12.5 450 38 2.00 17 1 0.100 4 12.5 0.100 6 12.5 450 45 2.25 17 1 1 0.100 6 12.5 4 0.100 4 1.25 475 45 2.25 17 1 1 500 38 2.00 4 525 38 2.00 18 1 1 4 525 38 2.00 18 1 1 525 45 2.25 4 525 45 2.25 18 1 1 2 550 50 2.50 18 1 1 575 50 2.50 2 575 50 2.50 18 1 3 4 600 45 2.25 19 1 3 600 45 2.25 4 600 50 2.50 20 1 1 2 600 50 2.50 21 1 1 650 50 2.50 2 650 50 2.50 21 1 1 2 700 50 2.50 21 1 3 750 63 2.50 4 21 1 3 4 22 2 23 2 23 2 24 1 3 4 24 1 3 4 24 2 24 2 26 2 26 2 28 2 30 2 1 2 ทมี่ า จากหนงั สือทฤษฎเี ครือ่ งมือกล 1 ทศพล สงั ขอ์ ยุทธ์ หน้า 24 งานเครอ่ื งมือกลเบื้องต้น (2100-1007)

60 ตารางท่ี 3.2 การเลือกใช้ใบเล่ือยมือทเ่ี หมาะสมกับงาน รปู ร่างของฟันเลอ่ื ย จานวนฟัน/นว้ิ ตัวอย่างวัสดทุ ใ่ี ช้ ช่วงยาวของแนว ตดั 14 ฟัน 14 ,16 ,18 วัสดอุ อ่ น เช่น ดีบุก 1 นิ้ว ทองแดง ตะกว่ั อะลูมเิ นยี ม มากกว่า 40 พลาสติก เหลก็ เหนยี ว มลิ ลเิ มตร ขึน้ ไป 22 ,24 วัสดแุ ข็งปานกลาง เช่น นอ้ ยกวา่ 40 22 ฟัน เหลก็ หลอ่ เหลก็ โครงสรา้ ง มิลลเิ มตร ลงมา ทองเหลอื ง 1 น้วิ 32 วัสดุแขง็ มาก เชน่ เหล็กทา แผ่นโลหะ , ทอ่ 32 ฟัน เคร่ืองมือ เหลก็ กลา้ เจอื บางๆ 1 นวิ้ ที่มา จากหนังสอื ทฤษฎีชา่ งกลท่วั ไป ทศพล สังข์อยุทธ์ หนา้ 125 3.4 มุมฟันเลือ่ ย ฟนั เลื่อยแตล่ ะฟันมีลักษณะคลา้ ยกับลิม่ ทาหนา้ ทจี่ ิกเขา้ ไปในเนอ้ื วสั ดุ ฟันแตล่ ะฟนั ประ กอบด้วย มมุ ทส่ี าคัญ 3 มมุ ไดแ้ ก่ - มมุ คมตดั (  ) เปน็ มมุ คมตดั ของฟนั เลื่อย - มุมคายเศษ ( ) เปน็ มมุ ทใ่ี ช้ดนั เศษโลหะออกจากฟนั เลอ่ื ย - มมุ ฟรี ( ) เป็นมมุ ทท่ี าให้ลดการเสียดสีระหวา่ งฟนั เลอื่ ยกับชน้ิ งาน และช่วยใหเ้ กิดมมุ คมตดั 3 มมุ รวมกัน(    ) = 90 º งานเครอ่ื งมือกลเบ้อื งตน้ (2100-1007)

61 มมุ คมฟนั เลอื่ ย วสั ดแุ ขง็ วัสดอุ อ่ น มมุ ฟรี 40º 40 º มมุ ล่มิ  50 º 45 º มมุ คาย 0º 5º รูปที่ 3.9 มมุ ฟนั เลอ่ื ย ทม่ี า จากหนงั สอื ทฤษฎชี ่างกลทั่วไป ทศพล สังขอ์ ยุทธ์ หน้า 123 3.5 คลองเลื่อย คลองเลอ่ื ย คอื ความกว้างของรอ่ งบนวัสดงุ าน หลังจากทม่ี ีการตดั เฉือน ปกติคลองเลื่อยจะมี ขนาดความหนามากกวา่ ใบเลอ่ื ย ทง้ั น้ีถ้าไมม่ คี ลองเล่อื ยขณะทาการเลือ่ ยใบเล่อื ยกจ็ ะติด ซึ่งเปน็ สาเหตุ หนึ่งทท่ี าให้ใบเล่ือยหกั ลักษณะของคลองเล่ือย ฟนั เลอื่ ย 3.5.1 คลองเล่อื ยฟันสลบั ลกั ษณะฟนั เลอ่ื ยจะสลบั ซา้ ยกบั ขวาตลอดใบเลอ่ื ย ลักษณะนี้เหมาะสาหรบั ใช้กบั เครอื่ งเลือ่ ยกล ระยะฟรี คลองเลอ่ื ย รปู ท่ี 3.10 คลองเลอ่ื ยฟันสลบั ทม่ี า จากหนงั สอื ทฤษฎีชา่ งกลท่ัวไป ทศพล สังขอ์ ยุทธ์ หนา้ 126 งานเครือ่ งมอื กลเบื้องต้น (2100-1007)

62 3.5.2 คลองเล่ือยแบบฟนั คลื่น ลกั ษณะฟนั เลอ่ื ยจะเล้อื ยเป็นคลนื่ ฟนั เลื่อยลักษณะนี้เหมาะ สาหรับใชง้ านกบั เลอื่ ยมือ ระยะฟรี คลองเลอ่ื ย รูปที่ 3.11 คลองเลอื่ ยฟนั คลนื่ ท่ีมา จากหนังสือทฤษฎีชา่ งกลทั่วไป ทศพล สังข์อยทุ ธ์ หนา้ 126 3.5.3 คลองเล่ือยแบบตอก ลกั ษณะฟันเลอ่ื ยจะมมี ุมฟรที ั้งสองข้าง ฟันเลอ่ื ยลักษณะนี้เหมาะ สาหรับใช้งานกบั เลอ่ื ยวงเดอื น ระยะฟรี คลองเล่อื ย รูปท่ี 3.12 คลองเลอื่ ยแบบตอก ทมี่ า จากหนงั สือทฤษฎีชา่ งกลทั่วไป ทศพล สังข์อยทุ ธ์ หนา้ 127 งานเครอื่ งมอื กลเบื้องต้น (2100-1007)

63 3.6 ทิศทางการตัดเฉอื น การทางานของคมเลอ่ื ยประกอบด้วยทิศทางทส่ี าคัญ 2 ทิศ ได้แก่ ทิศทางการกดลงและทศิ ทางการดนั ไป ดตู ามลูกศร ทศิ ทางทั้ง 2 เปน็ ตวั ทาให้เกิดการตดั เฉือนขน้ึ แรงท่กี ระทาการกดและ การดันจะตอ้ งสมั พนั ธ์กัน ถา้ แรงใดมากเกินไปหรอื ฝนื อาจจะทาใหใ้ บเลอ่ื ยหกั ได้ 3.7 การประกอบใบเลอื่ ยเขา้ โครงเลือ่ ย การประกอบใบเลอื่ ยเขา้ กบั โครงเล่ือย ตอ้ งระวังทิศทางของฟันเลอ่ื ยจะตอ้ งใสใ่ ห้ถกู ทิศทาง เนอื่ งจากจงั หวะถอยกลับของโครงเล่ือย จะเปน็ จังหวะทที่ าการตดั เฉอื น เพ่อื ตดั เฉอื นช้นิ งานการประ กอบใบเลอื่ ย ตอ้ งผ่อนตวั ดึงใบเล่อื ยให้ยื่นออกแล้วใสใ่ บเล่ือยเขา้ ไปใหร้ ขู องใบเลอ่ื ยตรงกบั สลกั รอ้ ย ทง้ั 2 ข้าง ของโครงเลื่อยจากน้ันปรบั ตวั ดงึ ใบเล่ือยให้พอตงึ ๆ แลว้ ปรับขยับใหใ้ บเลอื่ ยตัง้ ฉากโดยการ ใชค้ อ้ นเคาะเบาๆ ใหใ้ บเล่ือยแนบสนิทกับตัวดึงใบเลื่อย จงึ ขนั ใหต้ งึ อกี ครั้งดว้ ยแรงมอื รูปที่ 3.13 ลักษณะการทางานของฟนั เลื่อย ที่มา จากหนงั สอื ทฤษฎีเครือ่ งมอื กล 1 ทศพล สงั ข์อยุทธ์ หนา้ 21 ทิศทางการตัด เฉือน ใบเล่อื ย เคาะ สลกั เบาๆ ร้อย รปู ที่ 3.14 การประกอบใบเลอ่ื ย ทมี่ า จากหนังสือทฤษฎเี คร่อื งมอื กล 1 ทศพล สงั ข์อยุทธ์ หน้า 28 งานเครื่องมอื กลเบอ้ื งต้น (2100-1007)

64 3.8 การจับยดึ ช้ินงานสาหรบั งานเลอื่ ย การจับงานที่ผดิ วธิ ใี นกรณชี น้ิ งานสน้ั ปากของปากกาไมส่ ามารถจับชิน้ งานใหแ้ นน่ ได้ แรงกด ของเกลยี วจะดนั ชิ้นงานหลดุ ถา้ ฝืนเลอ่ื ย ใบเลอ่ื ยจะหกั การจบั งานทถ่ี กู วิธี ปากของปากกาจะต้อง กดขนานกนั ทง้ั 2 ปาก การจับช้ินงานสน้ั ใชเ้ หลก็ หนนุ ช่วยในการจบั ดันปากของปากกาใหข้ นานกด ชิ้นงานแนน่ เมอ่ื ขนั เกลียวจะทาใหช้ นิ้ งานไม่หลดุ แท่งเหลก็ ชื้นงาน รปู ที่ 3.15 การจบั ชน้ิ งานสนั้ ผดิ วิธี รปู ที่ 3.16 การจบั ชนิ้ งานสัน้ ถูกวธิ ี FLAT ANGLE SQUARE CHANNEL HEXAGOM TEE ROUND I-BEAM รปู ที่ 3.17 การจับยดึ ชน้ิ งานในลกั ษณะตา่ งๆ ทม่ี า รูปภาพจากหนงั สืองานเครอ่ื งมือกลเบื้องต้น ชลอ การทวี หน้า 14 งานเครอื่ งมอื กลเบือ้ งต้น (2100-1007)

65 3.9 การวดั ตัดชนิ้ งาน การเลื่อยชน้ิ งานขนาดเดียวกันจานวนมากๆ ถา้ ตง้ั วัดงานทุกครงั้ ท่ที าการตัด จะใชเ้ วลามาก และขนาดของชิ้นงานจะไมเ่ ทา่ กนั มีโอกาสคลาดเคล่อื นได้ วิธกี ารแก้ไขในการตดั ชนิ้ งานขนาดเดียว กนั จานวนมากๆโดยการตอ้ งวัดระยะงานช้นิ แรกแล้วใชแ้ ขนต้งั ระยะชว่ ยในการเลือ่ ยชิน้ งานชิ้นต่อไป ใบเล่อื ย ช้ินงาน บรรทัดเหล็ก รปู ท่ี 3.18 การวดั ขนาดหาระยะความยาวชนิ้ งาน ท่ีมา รปู ภาพถา่ ยโดยผูเ้ รียบเรียง 3.10 การใช้แขนตง้ั ระยะงาน แขนตง้ั ระยะ ช่วยในการวัดชนิ้ งานทีต่ ้องการตัดจานวนมากๆ ใหไ้ ดข้ นาดเดยี วกันทกุ ชน้ิ แขน ต้ังระยะสามารถปรบั ระยะไดโ้ ดยการขนั สกรูยึดใหแ้ น่น และมอื หมนุ ขนั แน่น เม่อื ปรบั ได้ท่แี ล้วตอ้ ง ขนั แน่นท้งั 2 จดุ เพราะเมอื่ ดันชิน้ งานเข้ามาตดั ใหมจ่ ะเกดิ การกระแทกอาจทาให้ขนาด เปลยี่ นแปลงไปได้ ชน้ิ งาน แขนตง้ั ระยะงาน รปู ท่ี 3.19 สว่ นประกอบแขนตง้ั ระยะงาน ท่ีมา รปู ภาพถา่ ยโดยผเู้ รยี บเรยี ง งานเคร่ืองมอื กลเบื้องต้น (2100-1007)

66 ขอ้ ควรจา ไม่ดนั ชิน้ งานกระแทกแขนตง้ั ระยะแรงจนเกนิ ไป จะทาใหข้ นาดความยาวชน้ิ งานทต่ี ดั มี ขนาดความยาวเคลอ่ื นไปจากท่ีต้งั ระยะไว้ 4 การใชแ้ ละการบารงุ รกั ษาเครือ่ งเลือ่ ยชัก 4.1 ขน้ั ตอนการใชเ้ ครอ่ื งเลอ่ื ยชกั เครอ่ื งเลอ่ื ยชกั มขี น้ั ตอนการใช้ดงั น้ี 4.1.1 ตรวจสอบความพรอ้ มของเครอ่ื งเลอ่ื ยชกั และอปุ กรณ์ 4.1.2 ตรวจความพร้อมสภาพร่างกายของผู้ปฏบิ ตั ิงาน 4.1.3 เปดิ สวติ ช์เมนใหญ่ใหก้ ระแสไฟฟา้ เขา้ เครื่องเลือ่ ยชกั 4.1.4 ยกโครงเลอ่ื ยขา้ งไวก้ อ่ นตัด 4.1.5 บีบจับช้ินงานดว้ ยปากกาจบั งานไมต่ อ้ งแน่น ใหส้ ามารถเลือ่ นปรับชิน้ งานได้ 4.1.6 ปรบั โครงเลอ่ื ยลงใหฟ้ นั ของใบเลอื่ ยห่างจากช้ินงานประมาณ 10 มลิ ลเิ มตร 4.1.7 ตง้ั ระยะความยาวชน้ิ งานโดยใชบ้ รรทดั เหลก็ วดั ขนาด 4.1.8 บบี จบั ช้ินงานดว้ ยปากกาจบั งานใหแ้ นน่ 4.1.9 ปรบั แขนต้ังระยะใหย้ าวเทา่ กบั ความยาวของชน้ิ งาน 4.1.10 เปดิ สวติ ช์เดนิ เครื่องเลอ่ื ยชักทางาน 4.1.11 คอ่ ยๆปรบั ระบบปอ้ นตดั ไฮดรอลคิ ใหโ้ ครงเลอื่ ยเลือ่ นลงช้าๆ 4.1.12 ปรบั ทอ่ นา้ หลอ่ เยน็ ใหน้ า้ ฉดี ตรงคลองเลอ่ื ยเพอ่ื ชว่ ยระบายความรอ้ น 4.1.13 คอยจนกวา่ เลอ่ื ยตดั ช้ินงานขาด 4.2 การบารงุ รกั ษาเคร่ืองเล่ือยชกั เครือ่ งเลือ่ ยชกั เป็นเครื่องจักรกลพ้นื ฐานท่ีมคี วามจาเปน็ มาก ดังนน้ั เพอ่ื ยดื อายุการใช้ งานใหย้ าวนานจาเป็นจะต้องมีการบารงุ รกั ษาเคร่ืองดงั ตอ่ ไปนี้ 4.2.1 ก่อนใชเ้ คร่อื งเลอื่ ยชักทกุ คร้งั ควรหยอดน้ามนั หล่อล่นื บรเิ วณจดุ ท่เี คลื่อนที่ 4.2.2 หลงั เลกิ ใชง้ านทุกครง้ั ควรทาความสะอาด และใชผ้ ้าคลุมเครอ่ื งป้องกันฝุน่ ละ ออง 4.2.3 ควรเปลย่ี นนา้ หลอ่ เยน็ ทกุ ๆ สปั ดาห์ 4.2.4 ตรวจสอบกระบอกสบู น้าไฮดรอลคิ วา่ รัว่ ซึมหรอื ไม่ 4.2.5 ตรวจสอบ สายพาน ลอ้ สายพาน เฟืองทดปม๊ั น้าหล่อเยน็ เพอื่ ในงานได้ตลอด 5 ความปลอดภัยในการใชเ้ ครื่องเลือ่ ยชกั เครื่องจกั รทกุ ชนิดมปี ระโยชนแ์ ตก่ ็มีโทษมากเช่นกัน ดังนัน้ ก่อนใชง้ านทุกคร้ังตอ้ งคานงึ ถึง ความปลอดภยั เสมอ การใชเ้ ครอ่ื งเลือ่ ยชักก็เชน่ กนั สามารถเกดิ อันตรายได้ เพอ่ื ความปลอดภยั จะตอ้ งรู้ วธิ ีใชด้ งั นี้ งานเครอ่ื งมอื กลเบ้ืองต้น (2100-1007)

67 5.1 ก่อนใชเ้ ครื่องเล่อื ยชกั ทุกคร้งั ตอ้ งตรวจสอบความพรอ้ มของเครือ่ งเสมอ 5.2 บบี ปากกาจับช้นิ งานให้แนน่ กอ่ นเปดิ สวติ ช์เคร่ืองทางาน 5.3 ห้ามตัดชิน้ งานทมี่ คี วามยาวนอ้ ยกวา่ ปากของปากกาจบั งาน เพราะจะทาใหใ้ บเลื่อยหกั 5.4 เมื่อต้องการตดั ชนิ้ งานยาวๆ ควรมีฐานรองรับงานมารองรบั ปลายชนิ้ งานทุกครัง้ 5.5 กอ่ นเปิดสวติ ช์เดนิ เคร่อื งเลือ่ ยชกั ตอ้ งยกใบเลือ่ ยให้หา่ งจากชิ้นงานประมาณ 10 มลิ ลิเมตร 5.6 การป้อนตดั ดว้ ยระบบไฮดรอลคิ มากเกนิ ไปจะทาให้ใบเล่อื ยหัก 5.7 เหล็กหลอ่ ทองเหลอื ง ทองแดง และอะลมู เิ นยี มควรหล่อเย็นให้ถกู ประเภท 5.8 ไมก่ ้มหน้าเข้าใกลโ้ ครงเลือ่ ยชักขณะจะเปดิ สวติ ชเ์ ดินเครือ่ งเลอ่ื ยงาน 5.9 ขณะเครอื่ งเลอ่ื ยชักกาลังตดั ชน้ิ งานห้ามหมนุ ถอยปากกาจบั งานออกเปน็ อนั ขาด 5.9 เพื่อความปลอดภยั ให้คิดกอ่ นทาเสมอ เครอื่ งเล่ือยสายพานแนวนอน (Horizontal Band Saw) เป็นเคร่ืองเล่อื ยทีม่ ีใบเลื่อยยาวตดิ ต่อกนั เปน็ วงกลม การเคล่อื นทีข่ องใบเล่ือย มลี ักษณะการ สง่ กาลงั ดว้ ยสายพาน คอื มีลอ้ ขบั และลอ้ ตาม ทาให้คมตดั ของใบเลอื่ ยสามารถเลื่อยตดั งานไดต้ ลอด ตอ่ เน่ืองตลอดทงั้ ใบ การป้อนตัดงานใช้ระบบไฮดรอลิคควบคุมความตงึ ของใบเล่อื ยปรบั ดว้ ยมอื หมนุ หรอื ใชไ้ ฮดรอลิคปรบั ระยะห่างของล้อ มีโครงสร้างแขง็ แรง ตัวเคร่ืองสามารถตดิ ตง้ั ไดก้ ับพื้นโรงงาน รูปท่ี 3.20 เครอ่ื งเลอื่ ยสายพานแนวนอน ท่ีมา http://www.agro.ksc.rmuti.ac.th/agro/idt/e_learning/sawing/detail.html เคร่ืองเลอ่ื ยสายพานแนวตงั้ (Vertical Band Saw ) เคร่ืองเล่อื ยสายพานแนวตั้ง เปน็ เครื่องเล่อื ยทีม่ ใี บเลอ่ื ยเป็นแบบสายพานในแนวต้ัง ซ่งึ จะ หมุนตดั ชน้ิ งานอย่างตอ่ เนื่องใชต้ ดั งานเบาได้ทุกลักษณะเช่น ตัดเหล็กแบนหรอื เหล็กบางให้ขาดหรอื ตัดเปน็ รปู ทรงต่างๆซง่ึ เครื่องเล่ือยชนดิ อ่ืนๆไม่สามารถทาได้ งานเครอ่ื งมือกลเบ้ืองต้น (2100-1007)

68 รปู ท่ี 3 .21 เคร่ืองเล่อื ยสายพานแนวตง้ั ทมี่ า http://www.agro.ksc.rmuti.ac.th/agro/idt/e_learning/sawing/ เครื่องเลื่อยสายพานแตกต่างจากเครื่องเล่ือยชัก ท่สี ามารถตัดช้ินงานเป็นแบบต่อเนื่อง ใน ขณะท่เี ครือ่ งเลือ่ ยชกั ทาหนา้ ทีต่ ดั งานเฉพาะชว่ งชกั ตัดเท่านน้ั และยงั ใช้ประโยชนข์ องใบเล่อื ยในช่วง จากัดอีกดว้ ย คือ จะใช้ประโยชนเ์ ฉพาะสว่ นกลางของใบเลอื่ ยเทา่ นนั้ ใบเลื่อยสายพานจะมีความหนา น้อยกวา่ ใบเลอ่ื ยชนิดอ่ืนๆ จงึ ทาใหม้ กี ารสูญเสียวัสดุน้อยกว่าเล่อื ยสายพานแนวตง้ั ให้ลกั ษณะเด่น ในการทางานหลายประการ คล้ายกบั งานฉลุด้วยมอื ซงึ่ จะไม่พบในเครือ่ งเลื่อยโลหะชนดิ อ่ืนๆ เช่น งานตดั ชน้ิ งานเปน็ รูปทรงเรขาคณิต เคร่อื งเล่อื ยวงเดอื น (Circular Saw Or Radius Saw ) เคร่อื งเลอ่ื ยวงเดอื น เป็นเครอ่ื งเลือ่ ยทใี่ บเลอ่ื ยเปน็ วงกลม มฟี ันรอบๆวง สามารถตดั ช้นิ งาน ได้อย่างต่อเนอ่ื งมกั เป็นชิ้นงานบางๆ เช่น อะลูมิเนียม สามารถตัดงานไดท้ ง้ั ลกั ษณะตรงและเอียง เปน็ มมุ รปู ที่ 3.22 เคร่ืองเลื่อยวงเดือน ทม่ี า http://www.rutlands.co.uk/cgi-bin/psProdDet.cgi/TKU4000 งานเครอื่ งมือกลเบือ้ งต้น (2100-1007)

69 6. การเลอ่ื ยงานดว้ ยเครือ่ งเลอ่ื ยชกั การเล่อื ยงานดว้ ยเครอ่ื งเล่ือยชักมีลาดบั ขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ านดังนี้ ขั้นตอน ภาพแสดง เครือ่ งมือและ คาอธิบาย ท่ี อปุ กรณ์ 1. เวอรเ์ นยี ร์ จบั ยึดชน้ิ งานทต่ี ้องการ คาลปิ เปอร์ ตัดด้วยปากกาจบั ยึด 1 2. บรรทัดเหล็ก ชน้ิ งาน ในข้นั ตอนน้ี 3. เคร่ืองเลอื่ ยชกั การจับยึดไม่ตอ้ งจบั งานแนน่ 1. เวอร์เนยี ร์ ปรบั ใบเล่ือยกลลงมา คาลิปเปอร์ ใหห้ า่ งจากชิ้นงานเล็ก 2. บรรทดั เหลก็ น้อยแลว้ ใช้บรรทดั 3. เครื่องเลอื่ ยชกั เหล็กหรอื เวอรเ์ นียรค์ า 2 ลิปเปอร์วัดและปรบั ขนาดความยาวของช้ิน งานท่ีต้องการแล้วจงึ จับยดึ ช้นิ งานใหแ้ นน่ 1. เวอร์เนยี ร์ เมอื่ จับชิ้นงานแนน่ คาลปิ เปอร์ แล้วยกใบเลื่อยข้ึนเล็ก 2. บรรทัดเหล็ก น้อยเปิดสวิตชเ์ คร่ือง 3. เคร่อื งเลือ่ ยชกั แล้วคอ่ ยๆเลื่อนใบ 3 เลอื่ ยมาตัดทชี่ น้ิ งาน ขณะเล่อื ยเปดิ นา้ หล่อ เย็นเพื่อระบายความ รอ้ นทีช่ ิ้นงานและใบ เลือ่ ย งานเครอ่ื งมือกลเบอ้ื งตน้ (2100-1007)

70 ขน้ั ตอน ภาพแสดง เครอื่ งมอื และอุปกรณ์ คาอธบิ าย ท่ี 1. เวอรเ์ นียร์ เม่ือใบเลอ่ื ยตดั ชิ้น คาลปิ เปอร์ งานขาดเครอ่ื งเลอื่ ย 2. บรรทัดเหลก็ จะหยุดทางานโดย 4 3. เครอื่ งเลือ่ ยชัก อัตโนมัติ ยกโครง เลอ่ื ยขน้ึ ไวต้ าแหนง่ เดมิ ปิดน้าหล่อเย็น ตรวจสอบชิน้ งาน ด้วยบรรทดั เหลก็ หรือเวอร์เนยี รค์ า ลิปเปอร์ สรุป เนอื้ หาสาคญั ประจาหน่วยท่ี 3 ในการทางานทางด้านช่างกลโรงงานสว่ นใหญ่คอื งานตดั เฉือนโลหะ ในบางกรณีโลหะมี ความยาวหรือใหญไ่ มส่ ะดวกในการจับงานด้วยเครือ่ งจกั รจึงจาเปน็ ตอ้ งมกี ารเล่อื ยเพ่ือตดั ทอนใหม้ ี ขนาดเหมาะตอ่ การจับยึด เครือ่ งจักรที่มคี วามจาเป็นในการตดั โลหะ คือ เคร่ืองเลื่อยกล เครอ่ื งเลื่อย กลแบง่ ออกเปน็ 4 ชนดิ คอื 1. เครอ่ื งเล่ือยชัก (Power Hack Saw) 2. เครื่องเลอ่ื ยสายพานแนวนอน (Horizontal Band Saw) 3. เครอื่ งเลอ่ื ยสายพานแนวตัง้ (Vertical Band Saw) 4. เครื่องเลื่อยวงเดือน (Circular Saw) สว่ นประกอบของเลื่อยชกั จะประกอบดว้ ยโครงเครื่อง มอเตอร์ ใบเลอื่ ยและระบบหลอ่ เยน็ ซึ่งมคี วาม จาเป็น ชนิดของใบเลือ่ ยมอื จะแบง่ ออกเป็น 3 ขนาด คือ หยาบ (มจี านวนฟนั 18 ฟัน/น้วิ ) กลาง (มี จานวนฟนั 24 ฟนั /นว้ิ ) และละเอยี ด (มีจานวนฟัน 32 ฟนั /นวิ้ ) ส่วนใบเลื่อยกลจะมีขนาด 10 ฟนั ตอ่ นว้ิ และ 14 ฟนั ตอ่ นว้ิ ทนี่ ิยมใชก้ นั มากคอื ขนาด 10 ฟนั ต่อน้วิ งานเครื่องมอื กลเบื้องตน้ (2100-1007)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook