หน่วยที่ 6 เครอ่ื งไส
140 เคร่อื งไส 1. ชนดิ ของเคร่ืองไส งานไสเป็นการตดั เฉือนช้นิ งานเพอ่ื ลดขนาดและคณุ ภาพผิวของชนิ้ งานตามต้องการ ดว้ ยมดี ไสตัดเฉอื นเนอื้ ช้นิ งานให้ขาดออกไปตามแนวไส ร่องหางเหยีย่ ว ร่องลิ่ม มดี ไส ชน้ิ งาน เฟืองตรง รูปท่ี 6.1 การไสชน้ิ งาน ทีม่ า รปู ภาพถ่ายโดยผูเ้ รียบเรยี ง เครอ่ื งไสโดยทัว่ ไปแบง่ ออกได้ดังน้ี 1.1 เครื่องไสแนวนอน (Shaper) ปอ้ มมีดของเครอื่ งไสแนวนอนจะเคล่ือนทไ่ี ปมาในแนวราบและชิ้นงานจับยึดดว้ ย ปากกาหรือสกรยู ดื รปู ท่ี 6.2 เคร่อื งไสแนวนอน ท่ีมา http://sagarheavy.tradeindia.com/Exporters_Suppliers/ งานเครือ่ งมือกลเบือ้ งต้น (2100-1007)
141 1.2 เครอื่ งไสแนวตงั้ (Vertical Shaper) ป้อมมีดของเครอื่ งไสแนวตง้ั จะเคลอื่ นที่ขึน้ ลงในแนวดงิ่ และช้ินงานยึดจบั ดว้ ยปากกา หรือสกรูยดื ประเภทของไสท่ีไดจ้ ากการไสด้วยเครอ่ื งไสแนวตัง้ ไดแ้ ก่ การไสรอ่ งลิ่มบนเฟือง การไส เฟือง รปู ท่ี 6.3 เครอ่ื งไสแนวต้งั ทีม่ า http://sagarheavy.tradeindia.com/Exporters_Suppliers/ Exporter15983.241207 1.3 เครื่องไส Planer ป้อมมดี ของเครื่องไส Planer จะอยกู่ ับทแ่ี ต่โต๊ะงานเล่ือนกลับไปมาในแนวราบและช้นิ งาน ยึดจบั ดว้ ยปากกาหรือสกรยู ดื ลกั ษณะเครื่องมีขนาดใหญ่ งานท่ีผลติ จากเครื่องไส Planer จะเป็นงานท่ี มขี นาดใหญ่ รปู ท่ี 6.4 เครื่องไส Planer ท่มี า http://sagarheavy.tradeindia.com/Exporters_Suppliers งานเครื่องมอื กลเบอื้ งต้น (2100-1007)
142 2. ส่วนประกอบต่างๆ ทสี่ าคญั ของเคร่ืองไสแนวนอนและหน้าที่ 2.1 ฐานเครอื่ ง (Base) 2.2 แคร่เล่อื น (Ram) 2.3 โครงเครอ่ื ง (Body Casting) 2.4 เพลาปรบั ระยะชัก (Stroke length Adjustment Spindle) 2.5 โตะ๊ งาน (Table) 2.6 หวั ไส (Tool Head ) 2.7 ปอ้ มมดี (Tool Post) 2.8 ปากกาจับงาน (Vise) หัวไส แคร่เล่ือน ปรบั ตาแหนง่ ชว่ งชกั โครงเครือ่ ง ปอ้ มมดี ปากกาจับงาน โตะ๊ งาน รางเลื่อนโต๊ะงาน เพลาปรับระยะชกั ฐานเครือ่ ง มอื หมนุ ป้อนโตะ๊ งาน รูปที่ 6.5 ส่วนประกอบต่างๆของเครือ่ งไสแนวนอน ที่มา http://www.gqmachinery.com/NEWSITE งานเครอ่ื งมอื กลเบ้ืองต้น (2100-1007)
143 3. หลักการทางานของเคร่อื งไสแนวนอน 3.1 กลไกภายในของเคร่อื งไสแนวนอน รูปท่ี 6.6 กลไกภายในของเคร่ืองไสแนวนอน ทม่ี า หนงั สอื Shop theory หน้า 281 กลไกภายในของเครอ่ื งไสท่วั ๆไปมกี ารขบั เคลอื่ นด้วย Link รว่ มกับชดุ เฟือง ท่รี ับกาลังจาก มอเตอร์ สง่ ผา่ นมาทเ่ี ฟอื งขบั (Pinion Drive) แลว้ สง่ ผา่ นไปยังล้อเฟอื งตัวใหญ่ (Crack Gear) ซ่งึ จะ ประกอบรว่ มกับ Rocker Arm และ Crank pin สง่ กาลังขบั ผ่านไปยัง Compensating Link เพ่ือดันแคร่ เล่ือน ทาใหเ้ คลื่อนที่ไป – กลับทาให้มีดไสซึง่ อย่ใู นปอ้ มมีดตดั เฉอื นชน้ิ งานออก งานเครอ่ื งมอื กลเบอื้ งตน้ (2100-1007)
144 Ram Link Crank Pin B Crank Gear Rocker Arm Pinion Drive C AA A D A Hinge Pin รปู ท่ี 6.7 จงั หวะเดินหน้าและจงั หวะถอยกลับของเครอื่ งไสแนวนอน ที่มา http://chestofbooks.com/crafts/popular-mechanics/Amateur-Work-5/A-Bench- Shaper.html 3.2 การเคลอ่ื นท่ีของแคร่เล่ือน (RAM) จังหวะเดินหนา้ และจงั หวะถอยกลบั ของแครเ่ ลอื่ น ( R A M ) จะเคล่ือนทีไ่ ป-กลับ ในขณะท่ี Crank Gear มที ศิ ทางการหมนุ เปน็ วงกลม ถา่ ยทอดการหมนุ มายงั Crank Pinและ Rocker Arm จังหวะ การเคลือ่ นท่ขี องแคร่เลอื่ น (RAM) มี 2 จงั หวะคอื จงั หวะเดินหนา้ และจงั หวะถอยหลงั ในช่วงจังหวะ ถอยหลงั นจ้ี ะมีระบบ Quick Return อย่างงา่ ย ๆ ชว่ ยลดเวลาในการถอยหลงั ของแคร่เล่ือน (RAM) และตาแหน่งนีจ้ ะอยใู่ นมมุ ที่ Rocker Arm ชักกลับเมื่อ Crank pin เคลือ่ นที่จากจดุ A ผ่านจุด Bไปยงั จดุ C แครเ่ ล่อื น (RAM) จะเคล่อื นทเี่ ดินหน้าเท่ากับความยาวในชว่ งชกั ท่ตี งั้ ระยะไว้ เมอื่ เคลือ่ นทจ่ี าก จดุ C ผ่านจดุ D มายังจดุ A แครเ่ ล่อื น(RAM) จะเคล่อื นท่ีถอยกลับมา ณ ตาแหนง่ เดิม จากรปู เหน็ ว่า ชว่ งโคง้ ABC ยาวกวา่ ช่วงโคง้ CDA ดังนนั้ ในจังหวะชว่ งเดินหน้าจะใช้เวลามากกวา่ จังหวะชว่ งถอย หลงั และเปน็ การปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ ดี ทอ่ื ไดเ้ ร็วอีกดว้ ย งานเครือ่ งมือกลเบ้อื งตน้ (2100-1007)
3.3 วธิ ีตงั้ และปรับความยาวชว่ งชกั 145 Rocker Arm Ram Crank pin Dovetail Block Sliding Block สาหรับใสป่ ระแจ หมนุ Crank gear spindle รปู ท่ี 6.8 การปรบั ความยาวช่วงชัก ทมี่ า แผนการสอนวิชางานเคร่ืองมือกลเบ้อื งตน้ 1 สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ 253 การเปล่ียนความยาวของระยะชักของแครเ่ ลื่อน (RAM) ให้อยใู่ นระยะที่ต้องการ ตาแหน่ง Crank pin ใน Crank Gearจะตอ้ งเลื่อนออกจากจดุ ศูนยก์ ลางซงึ่ เปน็ จดุ ทร่ี ะยะชกั มคี า่ เป็นศูนย์ออกไป ยังรอบวงนอกสุด ซ่ึงจะเปน็ จุดทม่ี ีความยาวของระยะชกั มีคา่ ความยาวมากทีส่ ุด การปรับแตง่ ความ ยาวของชว่ งชกั นอี้ าศัยหลกั การของระยะการหนศี นู ย์ปรบั ดว้ ยเกลียว โดยการหมุนปรบั ด้วยมอื ผา่ น Bevel Gear ซึ่งปลายเพลาเปน็ รูปส่เี หลี่ยมผืนผา้ เพอ่ื เอาไว้ใส่ประแจหมุน Crank pin จะมี Sliding Block ประกอบอยู่ ตวั Sliding Block จะประกอบอยกู่ ับ Dovetail Block ตัว Dovetail Block นีจ้ ะมี แกนเกลยี วสวมอยแู่ ละหมนุ อยกู่ บั ท่ีได้ ดังน้ันเม่ือหมนุ สลกั เกลียวกจ็ ะเปน็ ตวั ทาให้ Dovetail Block เคล่ือนที่และเปล่ยี นตาแหน่งของ Crank pin บน Crank Gear ทาให้ความยาวชว่ งชักเปลี่ยนการปรบั ระยะชกั เป็นการปรับระยะความยาวการเดนิ ไสของมีดให้มคี วามยาวมากกวา่ ชนิ้ งานซึ่งประกอบดว้ ย ระยะหนา้ มดี ระยะความยาวของชนิ้ งานและระยะหลงั มดี ท้ังสามสว่ นรวมกันจะเป็นการปรับระยะชกั ทถ่ี กู ตอ้ ง มีดไส ช้นิ งาน 20 หน้ามีด หลังมดี 10 ปากกา รูปท่ี 6.9 แสดงการปรบั ระยะชักของเครอื่ งไส ทมี่ าhttp://www.bpcd.net/new_subject/industry/yungyut/km งานเครื่องมอื กลเบือ้ งตน้ (2100-1007)
146 สปริง PAWL เฟอื ง เฟือง RATCHE เพลา เพลา CHANK SLIDE KNOB CRANK PIN รูปท่ี 6.10 ระบบการปอ้ นของเคร่อื งไส ทมี่ า แผนการสอนวชิ างานเคร่อื งมอื กลเบอื้ งต้น 1 สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หนา้ 254 3.4 ระบบการปอ้ น ระบบปอ้ นของเครือ่ งไส การปอ้ นไสจะเคลอ่ื นท่ีดว้ ยระบบ Feed Screw การหมนุ ป้อน อตั โนมตั กิ ระทาได้โดยการหมนุ Feed Screw ซง่ึ กระทาในจังหวะชกั กลับ หรือถอยกลบั ของมดี ไส การปอ้ นจะเกดิ ข้นึ โดยการใช้ Ratchet Wheel ประกอบเขา้ กบั ปลายข้างหนึ่งของ Feed Screw ใน เครื่องไสสมัยใหมจ่ ะมี Feed Box ใน Feed Box ภายในกม็ อี ปุ กรณ์เชน่ เดยี วกันนี้ประกอบอยู่ดว้ ยหลัก การเดยี วกนั ในจงั หวะทิศทางการถอยกลบั Pawl จะยกข้นึ ด้วยกาลงั ของสปรงิ ทาใหไ้ มม่ ีการปอ้ น เมอ่ื ถึงจงั หวะเดนิ หนา้ ตัว Pawl จะตดิ กบั Ratchet Wheel ทาให้ Ratchet Wheel หมุนไปหน่งึ ฟนั หรือสอง ฟันหรอื มากกว่า ซงึ่ ข้นึ อยกู่ บั ระยะ Crank pin ทต่ี ง้ั ไวห้ นศี นู ยไ์ ปมากน้อยเทา่ ใดและจะเปน็ จานวน อตั ราการปอ้ น ด้วยการปอ้ นนจ้ี ะกระทาแตล่ ะครั้งของชว่ งชักเกลียว 4. การใช้และการบารุงรกั ษาเครื่องไส 4.1 ตรวจสอบระบบกลไกทกุ ครง้ั ก่อนเปดิ สวติ ชเ์ คร่อื งเพอ่ื ทางาน 4.2 ทาความสะอาดเครื่องทกุ ครัง้ หลังเลิกใชง้ านทกุ ครั้ง 4.3 หยอดนา้ มนั หล่อล่นื สว่ นตา่ งๆของเครอ่ื งทมี่ ีการเคล่ือนท่ที ุกครั้งก่อนใช้ และหลงั เลิกใช้ งาน 4.4 ใชอ้ ปุ กรณห์ รือเครื่องมือประจาเครอื่ งในการปรบั ตง้ั เคร่อื งไส ไสงานอย่างเหมาะสม 4.5 การเปล่ียนความเร็วในการไสงานควรหยดุ เคร่อื งกอ่ นเสมอ 4.6 ไม่ควรใชค้ อ้ นเหลก็ ตีเพอ่ื การจับยดึ งานไส 4.7 เลิกใชค้ วามเรว็ ในการไสงานให้เหมาะสม งานเคร่ืองมือกลเบ้อื งต้น (2100-1007)
147 5. ความปลอดภยั ในการใช้เครอ่ื งไส 5.1 ตรวจสภาพเคร่อื งไสก่อนใชง้ านทกุ ครงั้ 5.2 ควรสวมใสอ่ ุปกรณ์ป้องกนั อันตรายสว่ นบคุ คลทุกครง้ั ในการปฏิบตั งิ านเช่น แวน่ ตา นริ ภยั 5.3 ไม่ควรก้มหน้ามองชน้ิ งานใกล้เกนิ ไปขณะเคร่อื งไสไสงาน 5.4 จบั ยดึ ส่วนต่างๆให้แนน่ กอ่ นใชเ้ ครื่องทางาน 5.5 ขณะไสงานควรยืนขนานกบั เครอ่ื งเพอื่ ป้องกันอันตรายท่ีจะเกดิ ขึ้น 5.6 ไมป่ ัดเศษโลหะขณะเครอื่ งไสกาลังทางาน 5.7 ไม่หยอกลอ้ กนั ขณะปฏิบัตงิ านไส 5.8 ในการปฏบิ ตั งิ านไสควรมกี ารควบคุมเครอื่ งคนเดยี ว 5.9 ไม่จบั มีดไสให้ยาวเกินไปเพราะอาจทาใหม้ ีดไสหกั ได้ 5.10 ปฏบิ ัตติ ามกฎของความปลอดภัยอยู่เสมอ งานเครื่องมอื กลเบ้อื งต้น (2100-1007)
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: