Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาสาระการงานอาชีพ 2563 ประถมธรรมศาสตร์

หลักสูตรสถานศึกษาสาระการงานอาชีพ 2563 ประถมธรรมศาสตร์

Published by เกินศักดิ์ ศรีสวย, 2022-03-30 07:43:18

Description: หลักสูตรสถานศึกษาสาระการงานอาชีพ 2563 ประถมธรรมศาสตร์

Search

Read the Text Version

โครงสรางรายวิชากลุมสาระการเรียนรกู ารงานอาชพี รหสั วชิ า ง ๑๖๑๐๑ วิชาการงานอาชพี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ เวลา 4๐ ชั่วโมง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน อัตราสว นคะแนนระหวา งเรียน : ปลายภาค ๘๐ : ๒๐ ลำดบั ช่ือหนวยการ มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชวี้ ัด สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ที่ เรียนรู (ช่วั โมง) คะแนน ๑ การจดั การใน ง ๑.๑ ป. ๖/๑ • การทำงานกบั สมาชิกใน การทำงาน อภปิ รายแนวทางในการทำงาน ครอบครัวและ ผอู นื่ ๘ ๑8 ๒ รอบรูเรอ่ื ง และปรับปรงุ การทำงานแตละ • การดูแลรกั ษาสมบตั ิภายใน 9 20 เกษตร ขน้ั ตอน บา น ง ๑.๑ ป. ๖/๒ • การเตรียม ประกอบ และจัด ใชท ักษะการจดั การในการทำงาน อาหารใหสมาชกิ ในครอบครัว และมที ักษะการทำงานรว มกนั ง ๑.๑ ป. ๖/๓ ปฏบิ ัตติ นอยา งมีมารยาทในการ ทำงานกบั ครอบครัวและผอู น่ื ง ๑.๑ ป. ๖/๑ • ความรูทวั่ ไปเก่ยี วกบั การปลูก อภิปรายแนวทางในการทำงาน พืช และปรับปรุงการทำงานแตล ะ • การปลูกไมด อกและผักสวน ขนั้ ตอน ครวั ง ๑.๑ ป. ๖/๒ • การเล้ียงสัตว ใชทักษะการจดั การในการทำงาน • การเลี้ยงปลาสวยงาม และมีทกั ษะการทำงานรว มกนั ง ๑.๑ ป. ๖/๓ ปฏิบตั ิตนอยางมีมารยาทในการ ทำงานกับครอบครัวและผอู ื่น ๓ ชา งประดิษฐใ น ง ๑.๑ ป. ๖/๑ • ความรูเ บอ้ื งตน เกยี่ วกับงาน 9 20 บาน อภิปรายแนวทางในการทำงาน ชา ง และปรับปรุงการทำงานแตละ • การติดตงั้ และประกอบของใช ขัน้ ตอน ในบาน ง ๑.๑ ป. ๖/๒ • การทำงานประดิษฐ ใชทักษะการจัดการในการทำงาน • การประดิษฐข องใช และมที ักษะการทำงานรวมกัน • การประดิษฐของตกแตง ง ๑.๑ ป. ๖/๓ ปฏิบัตติ นอยางมีมารยาทในการ ทำงานกบั ครอบครัวและผอู ืน่ ลำดบั ชอื่ หนวยการ มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชีว้ ัด สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั กลมุ สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพ ๕๐ โรงเรยี นประถมศึกษาธรรมศาสตร

ท่ี เรยี นรู ง ๑.๑ ป. ๖/๑ (ชวั่ โมง) คะแนน ๔ กิจธรุ ะใน • รายรบั และรายจายสวนตัว 6 11 ชีวติ ประจำวนั อภิปรายแนวทางในการทำงาน • รายรบั และรายจา ยของ และปรับปรงุ การทำงานแตล ะ หอ งเรียน ข้นั ตอน • การจดั เก็บเอกสารการเงนิ ง ๑.๑ ป. ๖/๒ ใชท กั ษะการจัดการในการ ทำงานและมีทักษะการทำงาน รว มกนั ง ๑.๑ ป. ๖/๓ ปฏบิ ตั ติ นอยางมีมารยาทในการ ทำงานกับครอบครวั และผูอื่น ๕ อาชีพในฝน ง 2.๑ ป. ๖/๑ • ความรูเบอ้ื งตนเก่ียวกบั อาชีพ 6 11 สำรวจตนเองเพื่อวางแผนใน • การสำรวจตนเอง การเลอื กอาชพี • คณุ ธรรมในการประกอบ ง 2.๑ ป. ๖/๒ อาชีพ ระบุความรู ความสามารถ และ คุณธรรมทสี่ มั พันธก ับอาชพี ท่ี สนใจ สอบปลายภาค ๒ ๒๐ รวมตลอดปการศึกษา ๔๐ ๑๐๐ กลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี ๕๑ โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

เกณฑก ารจบ คณุ ภาพผเู รยี น จบช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๓ • เขาใจวิธีการทำงานเพ่ือชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสวนรวม ใชวัสดุ อุปกรณ และเคร่ืองมือถูกตองตรงกับลักษณะงาน มีทักษะกระบวนการทำงาน มีลักษณะนิสัยการทำงาน ท่กี ระตือรอื รน ตรงเวลา ประหยดั ปลอดภัย สะอาด รอบคอบ และมีจิตสำนกึ ในการอนรุ ักษส ่งิ แวดลอ ม • เขาใจประโยชนของส่ิงของเครื่องใชในชีวิตประจำวัน มีความคิดในการแกปญหาหรือสนอง ความตองการอยางมีความคิดสรางสรรค มีทักษะในการสรางของเลน ของใชอยางงาย โดยใช กระบวนการเทคโนโลยี ไดแก กำหนดปญหาหรือความตองการ รวบรวมขอมูล ออกแบบโดยถายทอด ความคิดเปนภาพรา ง ๒ มิติ ลงมอื สรา ง และประเมินผล เลือกใชวัสดุ อปุ กรณอยางถูกวิธี เลือกใชส่ิงของ เครอ่ื งใชใ นชวี ิตประจำวนั อยางสรางสรรคและมีการจัดการสิง่ ของเครื่องใชดวยการนำกลบั มาใชซ้ำ • เขาใจและมีทักษะการคนหาขอมูลอยางมีข้ันตอน การนำเสนอขอมูลในลักษณะตาง ๆ และ วธิ ดี แู ลรกั ษาอปุ กรณเทคโนโลยีสารสนเทศ จบช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖ • เขาใจการทำงานและปรับปรุงการทำงานแตละขั้นตอน มีทักษะการจัดการทักษะการ ทำงานรวมกัน ทำงานอยางเปนระบบและมีความคิดสรางสรรค มีลักษณะนิสัยการทำงานท่ีขยัน อดทน รบั ผดิ ชอบ ซือ่ สตั ย มีมารยาท และมจี ิตสำนกึ ในการใชน้ำ ไฟฟา อยางประหยดั และคุมคา • เขาใจความหมาย วิวัฒนาการของเทคโนโลยี และสวนประกอบของระบบเทคโนโลยี มีความคิดในการแกปญหาหรือสนองความตองการอยางหลากหลาย นำความรูและทักษะการสราง ชิ้นงานไปประยุกตในการสรางสิ่งของเครื่องใชตามความสนใจอยางปลอดภัย โดยใชกระบวนการ เทคโนโลยี ไดแก กำหนดปญหาหรือความตองการ รวบรวมขอมูล ออกแบบโดยถายทอดความคิดเปน ภาพราง ๓ มิติ หรือแผนที่ความคิด ลงมือสราง และประเมินผล เลือกใชเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน อยา งสรางสรรค ตอชีวิต สังคม และมีการจัดการเทคโนโลยดี ว ยการแปรรูปแลวนำกลบั มาใชใหม • เขาใจหลักการแกปญหาเบ้ืองตน มีทักษะการใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูล เก็บรักษา ขอ มูล สรางภาพกราฟก สรา งงานเอกสาร นำเสนอขอมลู และสรางชิ้นงานอยา งมจี ติ สำนกึ และรบั ผดิ ชอบ • รแู ละเขาใจเกี่ยวกบั อาชีพ รวมท้งั มคี วามรู ความสามารถและคุณธรรมท่ีสมั พันธก ับอาชีพ

❖ หลักการดำเนนิ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรตู ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปน กระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตคี วามผลการเรยี นรู และพัฒนาการดานตาง ๆ ของ ผเู รยี นตาม มาตรฐานการเรียนรู/ตวั ชี้วดั ของหลักสูตร นำผลไปปรบั ปรงุ พฒั นาการจดั การเรยี นรูและใช เปน ขอ มูลสำหรบั การตัดสนิ ผลการเรยี น สถานศึกษาตองมกี ระบวนการจัดการที่เปนระบบ เพือ่ ใหการ ดำเนนิ การวัดและประเมนิ ผล การเรยี นรูเปน ไปอยา งมีคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ และใหผลการประเมินท่ี ตรงตามความรูความสามารถทีแ่ ทจ รงิ ของผเู รียน ถูกตองตามหลักการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู รวมทัง้ สามารถรองรับการประเมนิ ภายในและ การประเมนิ ภายนอกตามระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา ได สถานศึกษาจึงควรกำหนดหลกั การดำเนนิ การวัด และประเมนิ ผลการเรียนรูเพ่ือเปนแนวทางในการ ตดั สินใจเก่ียวกบั การวัดและประเมินผลการเรียนรตู ามหลกั สตู ร สถานศกึ ษา ดังน้ี ๑. สถานศกึ ษาเปนผูรบั ผิดชอบการวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรขู องผเู รยี น โดยเปดโอกาส ใหผทู ่ีเก่ยี วของมีสว นรวม ๒. การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู มีจดุ มงุ หมายเพ่ือพัฒนาผูเรียนและตัดสนิ ผลการเรยี น ๓. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรตู อ งสอดคลองและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วดั ตามกลุมสาระการเรยี นรูที่กำหนดในหลักสตู รสถานศึกษา และจดั ใหมีการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค ตลอดจนกจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น ๔. การวัดและประเมินผลการเรยี นรูเปนสวนหนง่ึ ของกระบวนการจัดการเรยี นการสอนตอง ดำเนนิ การดวยเทคนิควธิ ีการทหี่ ลากหลาย เพื่อใหส ามารถวดั และประเมนิ ผลผเู รียนไดอยา งรอบดาน ทงั้ ดา นความรู ความคดิ กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับสง่ิ ท่ตี องการวัด ธรรมชาติวชิ า และ ระดับชนั้ ของผูเรียน โดยตง้ั อยูบนพน้ื ฐานของความเท่ียงตรง ยตุ ิธรรม และเช่ือถือได ๕. การประเมนิ ผูเรยี นพิจารณาจากพฒั นาการของผูเรยี น ความประพฤติ การสงั เกตพฤติกรรม การเรียนรู การรว มกจิ กรรม และการทดสอบ ควบคูไปในกระบวนการเรยี นการสอนตามความเหมาะสม ของ แตละระดับและรปู แบบการศกึ ษา ๖. เปดโอกาสใหผูเรยี นและผูมสี วนเกี่ยวขอ งตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรียนรู ๗. ใหม กี ารเทียบโอนผลการเรียนระหวางสถานศึกษาและระหวา งรูปแบบการศกึ ษาตา ง ๆ ๘. ใหส ถานศึกษาจัดทำและออกเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเปนหลกั ฐานการประเมนิ ผล การเรยี นรู รายงานผลการเรียน แสดงวุฒิการศกึ ษา และรับรองผลการเรียนของผูเรียน ❖ องคประกอบของการวัดและประเมินผลการเรยี นรตู ามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดจุดหมาย สมรรถนะสำคญั ของ ผูเ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และมาตรฐานการเรยี นรู เปน เปา หมายและกรอบทิศทางในการ พฒั นาผเู รยี น ใหเปน คนดี มีปญ ญา มีคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ีและมีขดี ความสามารถในการแขง ขนั ในเวทีระดบั โลก กำหนดใหผ ูเรยี น ไดเ รียนรูตามมาตรฐานการเรยี นรู/ ตัวช้ีวัดทกี่ ำหนดในสาระการเรียนรู ๘ กลุมสาระ มีความสามารถในการอา น คิดวเิ คราะห และเขยี น มีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคและเขา รวมกจิ กรรม พัฒนาผเู รยี น ๕๓ กลุม สาระการเรียนรูการงานอาชพี โรงเรยี นประถมศกึ ษาธรรมศาสตร

องคประกอบของการวดั และประเมินผลการเรียนรมู ีความสมั พันธ ดังแผนภาพที่ ๒.๑ กลุมสาระการเรยี นรู การอาน คิดวิเคราะห ๘ กลุมสาระ และเขียน คณุ ภาพผเู รยี น คุณลกั ษณะ กจิ กรรม อนั พงึ ประสงค พัฒนาผูเรียน แผนภาพที่ ๒.๑ แสดงความสัมพันธขององคป ระกอบการวัดและประเมินผลการเรยี นรู ๑. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูต ามกลุมสาระการเรยี นรู ผสู อนวัดและประเมินผลการ ตเราียมนทร่กี ผู ำเู รหยี นนดเใปนน หรนาวยยวกชิ าารบเนรยีพนืน้ รฐู าผนสูขออนงตใชวั วชิธี้วกีดั าในรทรา่หี ยลวาิชกาหพลืน้ าฐยาจนาก แแหลละงผขลอกมาลูรหเรลียานยรูในๆราแยหวลิชงาเพเพิม่ ่ือเตใหมิ  ไดผลการประเมินท่สี ะทอนความรคู วามสามารถท่แี ทจรงิ ของผเู รยี น โดย วดั และประเมนิ การเรียนรอู ยาง ตอเนอื่ งไปพรอ มกบั การจดั การเรยี นการสอน สังเกตพฒั นาการและความประพฤติ ของผเู รยี น สังเกต พฤติกรรมการเรียน การรว มกิจกรรม ผสู อนควรเนนการประเมินตามสภาพจรงิ เชน การประเมนิ การ ปฏบิ ัติงาน การประเมนิ จากโครงงาน หรือการประเมนิ จากแฟมสะสมงาน ฯลฯ ควบคูไปกับ การใชการ ทดสอบแบบตาง ๆ อยางสมดลุ ตองใหความสำคญั กับการประเมนิ ระหวา งเรียนมากกวา การประเมิน ปลายป/ปลายภาค และใชเ ปนขอ มูลเพ่อื ประเมนิ การเล่อื นชั้นเรียนและการจบการศกึ ษาระดบั ตาง ๆ การวัดและประเมินผลการเรียนรูตามรายกลมุ สาระการเรียนรู ดงั แผนภาพท่ี ๒.๒ กลุมสาระการเรียนรู กลมุ สาระการเรียนรู ภาษาไทย คณิตศาสตร กลมุ สาระการเรียนรู การวดั และประเมินผลการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรู ภาษาตา งประเทศ ดวยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย บรู ณา วทิ ยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรกู าร การในการเรยี นการสอน กลุมสาระการเรียนรูสงั คม งานอาชีพ ศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลมุ สาระการเรยี นรู กลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศลิ ปะ ศึกษาและพลศกึ ษา แผนภาพที่ ๒.๒ แสดงการวดั และประเมินผลการเรยี นรูตามรายกลมุ สาระการเรยี นรู ๕๔ กลมุ สาระการเรยี นรูการงานอาชีพ โรงเรยี นประถมศกึ ษาธรรมศาสตร

๒. การประเมนิ การอา น คิดวิเคราะห และเขียน การประเมนิ การอาน คดิ วเิ คราะห และเขยี น เปน การประเมินศักยภาพของผเู รียนในการอา น หนังสอื เอกสาร และสื่อตา ง ๆ เพื่อหาความรู เพิ่มพูนประสบการณ ความสุนทรยี แ ละประยุกตใ ช แลวนำ เน้อื หา สาระที่อานมาคิดวเิ คราะห นำไปสูการแสดงความคิดเห็น การสงั เคราะห สรา งสรรค การแกปญหา ในเร่อื งตาง ๆ และถายทอดความคิดนั้นดวยการเขยี นท่ีมีสำนวนภาษาถูกตอง มเี หตผุ ลและลำดับข้ันตอน ในการนำเสนอ สามารถสรางความเขา ใจแกผูอานไดอยา งชัดเจนตามระดับความสามารถในแตล ะระดบั ชั้น กรณผี เู รียนมีความบกพรองในกระบวนการดานการเหน็ หรือท่เี กยี่ วของทำใหเ ปนอุปสรรคตอ การ อา น สถานศึกษาสามารถปรับวิธีการประเมนิ ใหเ หมาะสมกับผูเรยี นกลมุ เปา หมายน้นั การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขยี น สถานศกึ ษาตอ งดำเนนิ การอยา งตอเนอื่ งและ สรุปผลเปนรายป/ รายภาค เพอื่ วินิจฉัยและใชเปนขอมลู ในการพัฒนาผูเรยี นและประเมนิ การเลอื่ นช้ัน ตลอดจน การจบการศกึ ษาระดับตาง ๆ การอา น คิดวิเคราะห และเขียน เปนกระบวนการที่ตอเน่ือง ดงั แผนภาพท่ี ๒.๓ อาน (รับขอความ) หนงั สอื เอกสาร โทรทัศน อินเทอรเนต็ ส่ือตาง ๆ ฯลฯ แลวสรุป เปนความรคู วามเขาใจของตนเอง คิดวิเคราะห วิเคราะห สังเคราะห หาเหตผุ ล แกป ญ หา และสรา งสรรค เขียน (ส่ือสาร) ถา ยทอดความรู ความคิด สื่อสารใหผ ูอ่นื เขาใจ แผนภาพท่ี ๒.๓ แสดงการประเมินการอาน คิดวเิ คราะห และเขยี น ๓. การประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค การประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค เปน การประเมินคณุ ลักษณะทีต่ องการใหเกดิ ข้นึ กับ ผเู รยี น อนั เปนคณุ ลักษณะท่ีสังคมตอ งการในดานคุณธรรม จรยิ ธรรม คานิยม จติ สำนกึ สามารถอยู รว มกับผูอ ่นื ในสงั คมไดอยางมคี วามสขุ ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ คณุ ลกั ษณะ ในการประเมนิ ให ประเมนิ แตล ะ คุณลักษณะ แลว รวบรวมผลการประเมนิ จากผปู ระเมินทุกฝา ยและแหลงขอ มูลหลายแหลง เพอื่ ใหไ ดขอ มลู นำมาสู การสรปุ ผลเปนรายป/รายภาค และใชเ ปนขอมูลเพื่อประเมนิ การเลอื่ นชน้ั และการ จบการศึกษาระดบั ตา ง ๆ กลมุ สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพ ๕๕ โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงคตามหลกั สตู รแกนกลางฯ ดังแผนภาพที่ ๒.๔ มจี ิตสาธารณะ รักชาติ ศาสน กษตั ริย รักความเปน ไทย คณุ ลักษณะอนั พึง ซอื่ สัตยส จุ ริต มุงม่ันในการทำงาน ประสงค มีวนิ ยั อยอู ยา งพอเพียง ใฝเรยี นรู แผนภาพที่ ๒.๔ แสดงการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค ๔. การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น เปน การประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรมและผลงานของผเู รยี น และเวลาในการเขารวมกจิ กรรมตามเกณฑทก่ี ำหนดไวในแตละกิจกรรม และใชเปนขอ มูลประเมินการ เล่ือน ช้ันเรียนและการจบการศึกษาระดบั ตา ง ๆ ดังแผนภาพที่ ๒.๕ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมนักเรียน กจิ กรรมเพือ่ สังคมและ - ลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู ำเพญ็ ประโยชน และนักศึกษาวชิ าทหาร สาธารณประโยชน - ชมุ นมุ /ชมรม แผนภาพท่ี ๒.๕ แสดงการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น กลุมสาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ ๕๖ โรงเรยี นประถมศกึ ษาธรรมศาสตร

❖ เกณฑการวดั และประเมินผลการเรยี นรู ๑. ระดับประถมศึกษา ๑.๑ การตดั สนิ ผลการเรยี น หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดหลักเกณฑการวดั และประเมินผลการเรียนรู เพื่อตัดสนิ ผลการเรยี นของผเู รียน ดังนี้ ๑) ผเู รียนตอ งมเี วลาเรียนไมนอยกวารอ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทั้งหมด ๒) ผเู รยี นตองไดร บั การประเมินทุกตัวชว้ี ดั และผานตามเกณฑทสี่ ถานศึกษากำหนด ๓) ผูเ รยี นตอ งไดร ับการตัดสินผลการเรยี นทกุ รายวิชา ๔) ผเู รียนตอ งไดร บั การประเมินและมีผลการประเมินผานตามเกณฑทสี่ ถานศึกษา กำหนดในการอา น คิดวเิ คราะห และเขยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรยี น เพอื่ ใหก ารจัดการเรียนรบู งั เกิดผล ผูเรียนตองไดรบั การพัฒนาอยา งเพยี งพอในความรู ทักษะ คุณลักษณะทก่ี ำหนดในตวั ชีว้ ดั โดยมีเวลาเรียนทีเ่ พยี งพอตอการพฒั นาดวย โดยปกตใิ นระดบั ประถมศกึ ษาผูส อนจะมเี วลาอยกู ับผูเรยี นตลอดปการศกึ ษา ประมาณ ๒๐๐ วนั สถานศึกษาจงึ ควร บรหิ ารจัดการ เวลาท่ไี ดรับนี้ใหเกดิ ประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาผเู รียนอยางรอบดาน และตระหนักวา เวลาเรียนเปน ทรพั ยากร ที่ใชห มดไปในแตละวนั มากกวา เปนเพียงองคประกอบหน่ึงของการบรหิ าร หลกั สตู ร การกำหนดใหผเู รยี นมเี วลา เรยี นไมนอยกวา รอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนตลอดปการศึกษา จึง เปนการมุงหวังใหผ สู อนมีเวลาในการพฒั นา ผูเรียน และเตมิ เต็มศักยภาพของผเู รยี น และเพ่ือใหการ จัดการเรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพ ผูส อนตอง ตรวจสอบความรูความสามารถทแ่ี สดงพัฒนาการของ ผูเรียนอยา งสม่ำเสมอและตอเนอ่ื ง อีกทงั้ ตองสรางให ผเู รยี นรบั ผิดชอบการเรียนรขู องตนดวยการ ตรวจสอบความกาวหนา ในการเรียนของตนเองอยา งสมำ่ เสมอ เชน กัน ตัวชีว้ ดั ซง่ึ มีความสำคญั ในการ นำมาใชอ อกแบบหนว ยการเรียนรนู ัน้ ยังเปนแนวทางสำหรับผูสอนและ ผูเ รียนใชในการตรวจสอบ ยอ นกลับวา ผูเรียนเกิดการเรยี นรูห รือยงั การประเมนิ ในชั้นเรยี นซึง่ ตอ งอาศยั ท้ัง การประเมินเพื่อการ พัฒนาและการประเมินเพอ่ื สรปุ การเรยี นรูจ ะเปน เครอ่ื งมือสำคญั ในการตรวจสอบ ความกาวหนา ในการ เรยี นรูของผูเรยี น สถานศึกษาโดยผูส อนกำหนดเกณฑท่ยี อมรบั ไดในการผา นตวั ช้ีวัดทุกตัว ใหเหมาะสม กับบริบทของสถานศึกษา กลาวคอื ใหท า ทายการเรียนรูไมยากหรืองายเกินไป เพ่ือใชเ ปนเกณฑ ในการ ประเมินวา สง่ิ ท่ีผูเ รียนรู เขาใจ ทำไดน้นั เปน ทีน่ า พอใจ บรรลตุ ามเกณฑทีย่ อมรับได หากยังไมบ รรลุ จะตอ งหาวิธกี ารชว ยเหลือ เพอ่ื ใหผ ูเ รียนไดร บั การพฒั นาสูงสุด การกำหนดเกณฑนผ้ี ูสอนสามารถให ผูเรยี น รว มกำหนดดวยได เพ่ือใหเกดิ ความรับผิดชอบรว มกันและสรา งแรงจงู ใจในการเรียน การประเมิน เพอื่ การพฒั นา สวนมากเปนการประเมินอยา งไมเปน ทางการ เชน สังเกต หรือซักถาม หรอื การทดสอบ ยอ ยในการประเมิน เพ่ือการพัฒนานี้ ควรใหผูเ รยี นไดร ับการพัฒนาจนผานเกณฑท่ยี อมรับได ผเู รยี นแต ละคนอาจใชเ วลาเรยี น และวธิ กี ารเรยี นท่แี ตกตางกนั ฉะนน้ั ผสู อนควรนำขอมูลที่ไดมาใชป รับวธิ กี าร สอนเพ่ือใหผูเรียนไดร ับการพัฒนา เต็มศกั ยภาพ อันจะนำไปสูการบรรลุมาตรฐานการเรียนรใู นทา ยที่สุด อยางมีคณุ ภาพ การประเมนิ เพ่ือการพฒั นาจึงไมจำเปนตอ งตดั สนิ ใหคะแนนเสมอไป การตดั สนิ ให คะแนนหรือใหเ ปนระดับคุณภาพควรดำเนินการ โดยใชการประเมินสรุปผลรวมเมอื่ จบหนว ยการเรียนรู และจบรายวิชา กลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพ ๕๗ โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

การตัดสินผลการเรยี น ตดั สินเปนรายวิชา โดยใชผ ลการประเมินระหวางปและปลายป ตามสดั สว นทีส่ ถานศึกษากำหนด ทุกรายวชิ าตองไดรับการตดั สนิ ผลการเรยี นตามแนวทางการใหร ะดบั ผลการเรยี นตามที่สถานศกึ ษากำหนด และผเู รยี นตองผานทุกรายวชิ าพนื้ ฐาน ๑.๒ การใหร ะดบั ผลการเรยี น การตัดสินเพื่อใหระดบั ผลการเรยี นรายวิชา สถานศกึ ษาสามารถใหร ะดับผลการเรยี น หรอื ระดับคณุ ภาพการปฏิบตั ิของผเู รียนเปน ระบบตัวเลข ระบบตวั อักษร ระบบรอยละ และระบบที่ใชคำ สำคญั สะทอนมาตรฐาน การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานใชร ะบบผานและไมผ า น โดยกำหนด เกณฑการตดั สนิ ผานแตล ะรายวิชาทร่ี อ ยละ ๕๐ จากนนั้ จึงใหระดบั ผลการเรยี นทีผ่ านเปนระบบตา ง ๆ ตามท่ี สถานศึกษากำหนด ไดแก ระบบตัวเลข ระบบตวั อักษร ระบบรอยละ ระบบทใ่ี ชคำสำคญั สะทอน มาตรฐาน ตารางขางใตแสดงการใหร ะดบั ผลการเรยี นดว ยระบบตาง ๆ และการเทยี บกันไดระหวา งระบบ กรณีท่ีสถานศึกษาใหร ะดับผลการเรยี นดว ยระบบตา ง ๆ สามารถเทยี บกันได ดังนี้ ระบบตัวเลข ระบบ ระบบรอยละ ระบบที่ใชค ำสำคญั สะทอนมาตรฐาน ตวั อักษร ๕ ระดับ ๔ ระดบั ๒ ระดับ ๔ ๘๐-๑๐๐ ๓.๕ A ๗๕-๗๙ ดเี ยี่ยม ดีเยี่ยม ๓ B+ ๗๐-๗๔ ๒.๕ B ๖๕-๖๙ ดี ดี ๒ C+ ๖๐-๖๔ ๑.๕ C ๕๕-๕๙ พอใช ผาน ๑ D+ ๕๐-๕๔ ผา น ผาน ๐ D ๐-๔๙ F ไมผาน ไมผา น ไมผา น การประเมินการอา น คิดวเิ คราะหแ ละเขียน และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคน ้นั ใหผล การประเมนิ เปน ผานและไมผาน กรณีที่ผานใหระดับผลการประเมินเปนดีเย่ยี ม ดี และผาน ๑) ในการสรุปผลการประเมนิ การอา น คิดวเิ คราะห และเขียน เพ่อื การเล่ือนชนั้ และจบ การศึกษา กำหนดเกณฑก ารตดั สินเปน ๔ ระดบั และความหมายของแตละระดับ ดงั น้ี ดีเย่ียม หมายถึง มีผลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอาน คดิ วิเคราะห และเขยี นทม่ี ี คณุ ภาพดีเลิศอยเู สมอ ดี หมายถงึ มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียนท่มี ี คณุ ภาพเปน ที่ยอมรับ ผา น หมายถึง มผี ลงานทแ่ี สดงถงึ ความสามารถในการอาน คดิ วิเคราะห และเขียนท่ีมี คณุ ภาพเปน ท่ยี อมรบั แตย ังมีขอ บกพรอง บางประการ กลุม สาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี ๕๘ โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

ไมผ าน หมายถึง ไมมผี ลงานที่แสดงถงึ ความสามารถในการอาน คดิ วเิ คราะห และเขยี น หรอื ถามีผลงาน ผลงานน้นั ยงั มขี อบกพรองทต่ี อ ง ไดรบั การปรับปรงุ แกไขหลายประการ ๒) ในการสรปุ ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงคร วมทกุ คณุ ลกั ษณะ เพ่ือการเล่ือนช้ัน และจบการศกึ ษา กำหนดเกณฑการตดั สินเปน ๔ ระดบั และความหมายของแตล ะระดับ ดงั นี้ ดเี ยย่ี ม หมายถงึ ผเู รียนปฏบิ ัติตนตามคุณลักษณะจนเปน นิสัย และนำไปใช ในชวี ิตประจำวันเพื่อ ประโยชนสุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมนิ ระดับดีเยี่ยม จำนวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไมมีคุณลักษณะใดไดผลการประเมนิ ต่ำกวาระดับดี ดี หมายถงึ ผูเรยี นมีคุณลักษณะในการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ เพื่อให เปน การยอมรบั ของสงั คม โดยพิจารณาจาก ๑. ไดผลการประเมนิ ระดับดีเยย่ี ม จำนวน ๑-๔ คณุ ลกั ษณะ และไมมีคุณลกั ษณะใด ไดผ ลการประเมนิ ต่ำกวา ระดับดี หรือ ๒. ไดผลการประเมินระดับดีท้ัง ๘ คณุ ลกั ษณะ หรอื ๓. ไดผ ลการประเมินตัง้ แตร ะดบั ดีข้นึ ไป จำนวน ๕-๗ คณุ ลักษณะ และมบี าง คุณลักษณะได ผลการประเมินระดับผาน ผาน หมายถึง ผเู รียนรับรแู ละปฏบิ ัติตามกฎเกณฑแ ละเง่ือนไขที่ สถานศึกษากำหนด โดย พิจารณาจาก ๑. ไดผลการประเมินระดบั ผานท้ัง ๘ คุณลกั ษณะ หรือ ๒. ไดผ ลการประเมินต้งั แตระดับดีข้ึนไป จำนวน ๑-๔ คณุ ลักษณะ และคุณลักษณะท่ี เหลอื ได ผลการประเมนิ ระดับผาน ไมผาน หมายถึง ผูเ รยี นรับรูและปฏบิ ตั ไิ ดไมครบตามกฎเกณฑและเงื่อนไข ท่ีสถานศึกษากำหนด โดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ไมผา น ตง้ั แต ๑ คุณลกั ษณะ การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น จะตอ งพิจารณาท้งั เวลาการเขา รว มกิจกรรม การปฏิบัติ กิจกรรม และผลงานของผูเรียนตามเกณฑที่สถานศึกษากำหนด และใหผลการประเมินเปนผา นและไม ผาน กิจกรรมพฒั นาผูเรียน มี ๓ ลักษณะ คือ ๑) กจิ กรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบดว ย (๑) กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบำเพญ็ ประโยชน โดยผูเรยี นเลือก อยา ง ใดอยางหน่งึ ๑ กิจกรรม (๒) กิจกรรมชุมนุมหรือชมรมอกี ๑ กิจกรรม ๓) กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ใหใ ชตัวอกั ษรแสดงผลการประเมนิ ดังน้ี “ผ” หมายถึง ผูเรียนมเี วลาเขารว มกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ปฏิบัตกิ จิ กรรมและ มผี ลงานตาม เกณฑทส่ี ถานศึกษากำหนด “มผ” หมายถึง ผเู รียนมเี วลาเขา รว มกิจกรรมพฒั นาผเู รียน ปฏิบตั ิกจิ กรรมและ มผี ลงานไม เปนไปตามเกณฑที่สถานศกึ ษากำหนด กลุมสาระการเรียนรูก ารงานอาชีพ ๕๙ โรงเรยี นประถมศกึ ษาธรรมศาสตร

ในกรณีทผี่ ูเรยี นไดผ ลของกิจกรรมเปน “มผ” สถานศึกษาตองจดั ซอมเสรมิ ใหผ เู รยี น ทำกจิ กรรม ในสว นทผ่ี ูเ รียนไมไ ดเขา รวมหรอื ไมไดทำจนครบถวน แลวจงึ เปลยี่ นผลจาก “มผ” เปน “ผ” ได ท้งั น้ี ตอ ง ดำเนินการใหเ สร็จส้ินภายในปก ารศึกษาน้นั ยกเวน มีเหตุสดุ วิสยั ใหอ ยูในดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษา ๑.๓ การเลือ่ นช้นั เมอื่ ส้นิ ปก ารศึกษา ผเู รยี นจะไดรบั การเล่อื นชัน้ เม่ือมีคุณสมบัติตามเกณฑด งั ตอไปน้ี ๑) ผูเรียนมีเวลาเรียนตลอดปการศึกษาไมน อ ยกวา รอยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทง้ั หมด ๒) ผูเรยี นมีผลการประเมินผานทกุ รายวิชาพืน้ ฐาน ๓) ผเู รียนมผี ลการประเมนิ การอา น คิดวเิ คราะห และเขียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค และ กิจกรรมพัฒนาผเู รียนผานตามเกณฑทสี่ ถานศกึ ษากำหนด ทงั้ นถี้ า ผูเ รยี นมีขอ บกพรองเพียงเล็กนอย และสถานศึกษาพจิ ารณาเห็นวา สามารถพัฒนาและ สอนซอ มเสริมได ใหอยใู นดุลยพนิ จิ ของสถานศกึ ษาที่จะผอนผนั ใหเ ลื่อนชน้ั ได อนงึ่ ในกรณีท่ีผูเรียนมหี ลกั ฐานการเรียนรูท ี่แสดงวา มีความสามารถดีเลศิ สถานศกึ ษา อาจให โอกาสผเู รยี นเลอ่ื นช้ันกลางปการศึกษา โดยสถานศึกษาแตงตัง้ คณะกรรมการ ประกอบดวย ฝา ยวชิ าการ ของสถานศึกษาและผูแ ทนของเขตพื้นท่กี ารศึกษาหรือตน สังกัด ประเมนิ ผูเรียนและตรวจสอบคณุ สมบัติ ใหค รบถวนตามเงื่อนไขท้ัง ๓ ประการ ตอไปนี้ ๑) มผี ลการเรียนในปก ารศึกษาท่ีผา นมาและมผี ลการเรียนระหวา งปทีก่ ำลงั ศกึ ษาอยใู น เกณฑดีเย่ียม ๒) มีวฒุ ิภาวะเหมาะสมทจี่ ะเรียนในชัน้ ทสี่ งู ขึน้ ๓) ผานการประเมนิ ผลความรคู วามสามารถทุกรายวิชาของชนั้ ปท เ่ี รยี นปจ จุบนั และ ความรู ความสามารถทกุ รายวชิ าในภาคเรยี นแรกของช้นั ปท่ีจะเล่ือนขึ้น การอนมุ ัตใิ หเล่ือนชั้นกลางปก ารศึกษาไปเรียนช้นั สูงขน้ึ ได ๑ ระดบั ชัน้ นี้ ตอ งไดรบั การยินยอม จากผเู รียนและผูปกครอง และตอ งดำเนนิ การใหเสรจ็ สิน้ กอนเปดภาคเรยี นที่ ๒ ของปการศึกษาน้ัน สำหรับในกรณที ่ีพบวามีผูเรยี นกลมุ พิเศษประเภทตาง ๆ มีปญ หาในการเรยี นรู ใหสถานศกึ ษา ดำเนนิ งานรวมกบั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา/ศูนยก ารศึกษาพเิ ศษจังหวดั /ศูนยการศึกษาพิเศษ เขต การศกึ ษา/หนวยงานตนสังกัด โรงเรยี นเฉพาะความพกิ าร หาแนวทางการแกไขและพฒั นา ๑.๔ การเรยี นซ้ำช้ัน ผเู รยี นท่ไี มผานรายวิชาจำนวนมากและมแี นวโนมวา จะเปน ปญหาตอ การเรียนในระดับชน้ั ท่ี สงู ขน้ึ สถานศกึ ษาอาจต้ังคณะกรรมการพจิ ารณาใหเรยี นซ้ำช้ัน ทัง้ นี้ ใหคำนึงถึงวุฒิภาวะและ ความสามารถของผเู รียนเปน สำคัญ ผูเรยี นทีไ่ มมีคณุ สมบัติตามเกณฑการเลื่อนช้นั สถานศึกษาควรใหเ รียนซำ้ ชนั้ ทั้งน้ี สถานศกึ ษาอาจใชด ลุ ยพินจิ ใหเ ลื่อนช้ันได หากพจิ ารณาวา ผูเรียนมีคณุ สมบัติขอ ใดขอหนึ่ง ดงั ตอไปน้ี ๑) มีเวลาเรียนไมถึงรอ ยละ ๘๐ อันเน่อื งจากสาเหตุจำเปน หรอื เหตสุ ดุ วสิ ยั แตม ี คณุ สมบตั ิ ตามเกณฑก ารเลอื่ นช้ันในขออืน่ ๆ ครบถวน กลมุ สาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ ๖๐ โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

๒) ผูเรยี นมีผลการประเมินผานมาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชวี้ ัดไมถ ึงเกณฑตามที่ สถานศึกษากำหนดในแตละรายวชิ า แตเ หน็ วา สามารถสอนซอมเสริมไดใ นปการศึกษาน้ัน และมีคุณสมบตั ิ ตามเกณฑการเลอ่ื นชนั้ ในขออืน่ ๆ ครบถว น ๓) ผเู รียนมผี ลการประเมนิ รายวชิ าในกลุม สาระภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สงั คม ศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมอยใู นระดบั ผา น กอ นท่จี ะใหผเู รียนเรยี นซ้ำชน้ั สถานศึกษาควรแจง ใหผูปกครองและผเู รียนทราบเหตุผล ของการ เรยี นซ้ำช้ัน ๑.๕ การสอนซอ มเสรมิ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดใหสถานศึกษา จดั สอนซอม เสรมิ เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรขู องผเู รียนเต็มตามศักยภาพ การสอนซอมเสริม เปนการสอนเพ่ือแกไขขอบกพรอ ง กรณีทีผ่ ูเรยี นมีความรู ทักษะ กระบวนการ หรือเจตคติ/คุณลกั ษณะไมเปนไปตามเกณฑทสี่ ถานศึกษากำหนด สถานศกึ ษาตองจัดสอนซอมเสรมิ เปน กรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกติ เพ่ือพฒั นาใหผ ูเรยี นสามารถบรรลตุ ามมาตรฐาน การ เรยี นรู/ตวั ช้วี ัดทก่ี ำหนดไว เปน การใหโ อกาสแกผเู รยี นไดเรียนรูและพฒั นา โดยจัดกจิ กรรมการเรยี นรู ที่ หลากหลายและตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชีพ ๖๑ โรงเรียนประถมศกึ ษาธรรมศาสตร

อภธิ านศพั ท สาระท่ี ๑ การดำรงชีวติ และครอบครัว กระบวนการกลุม กระบวนการในการทำงานกลมุ มีขัน้ ตอนดงั นี้ การเลอื กหวั หนา กลมุ การกำหนดเปา หมาย หรือ วตั ถุประสงคของงาน วางแผนการทำงาน แบงงานตามความสามารถของแตละบุคคลปฏิบัติตามบทบาท หนา ท่ี ประเมนิ ผล และปรับปรงุ การทำงาน การดำรงชวี ติ เปนการทำงานในชีวิตประจำวันเพ่ือชวยเหลือตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม ท่ีวาดวย งานบาน งานเกษตร งานชาง งานประดิษฐ งานธุรกิจ และงานอน่ื ๆ การทำงานเพ่ือการดำรงชวี ติ เปนการทำงานที่จำเปนเก่ียวกับความเปนอยูในชีวิตประจำวัน ชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมไดในสภาพเศรษฐกิจพอเพียง ไมทำลายสิ่งแวดลอม เนนการปฏิบัติจริงจนเกิดความมั่นใจ และภมู ใิ จในผลสำเรจ็ ของงาน เพ่ือใหคนพบความสามารถ ความถนัดและความสนใจของตนเอง คุณธรรม จริยธรรม เจตคติ และลักษณะนิสยั ในการทำงาน ประกอบดวย ความซ่ือสัตย เสียสละ ยุติธรรม ประหยัด ขยัน อดทน รับผิดชอบ ตรงเวลา รอบคอบ ปลอดภัย คุมคา ย่ังยืน สะอาด ประณีต มีเหตุผล มีมารยาท ชวยเหลือตนเอง ทำงานบรรลุ เปาหมาย ทำงานถูกวิธี ทำงานเปนขั้นตอน ทำงานเปนระบบ มีความคิดสรางสรรค มีประสิทธิภาพ รกั ษาสิง่ แวดลอ ม ฯลฯ ทกั ษะกระบวนการแกป ญ หา เป น ก ร ะ บ ว น ก าร ที่ ต อ ง ก า ร ให ผู เรี ย น ได เกิ ด ค ว า ม คิ ด ห า วิ ธี ก า ร แ ก ป ญ ห า อ ย า ง มี ข้ั น ต อ น การสงั เกต การวิเคราะห การสรางทางเลือก และการประเมนิ ทางเลือก ทกั ษะการจัดการ ความพยายามของบุคคลท่ีจะจัดระบบงาน (ทำงานเปนรายบุคคล) และจัดระบบคน (ทำงาน เปน กลุม) เพอ่ื ใหทำงานสำเรจ็ ตามเปาหมายอยา งมีประสทิ ธิภาพ ทักษะกระบวนการทำงาน การลงมือทำงานดวยตนเองโดยมุงเนนการฝกวิธีการทำงานอยางสม่ำเสมอทั้งการทำงาน เปน รายบุคคลและการทำงานเปน กลมุ เพอ่ื ใหส ามารถทำงานไดบรรลุเปาหมาย ไดแก การวิเคราะหง าน การวางแผนในการทำงาน การปฏิบัตงิ าน และการประเมนิ ผลการทำงาน กลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพ ๖๒ โรงเรยี นประถมศึกษาธรรมศาสตร

ทกั ษะการทำงานรวมกัน การทำงานเปนกลุม สามารถทำงานรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข โดยมุงเนนใหผูเรียน ไดท ำงานอยา งมีกระบวนการตามขั้นตอนการทำงาน และฝกหลกั การทำงานกลมุ โดยรูจกั บทบาทหนาท่ี ภายในกลุม มที กั ษะในการฟง - พูด มีคณุ ธรรมในการทำงานรว มกนั สรปุ ผล และนำเสนอรายงาน ทักษะการแสวงหาความรู วิธีการและกิจกรรมท่ีมุงเนนใหผูเรียนไดแสวงหาขอมูลความรูตาง ๆ เกี่ยวกับเรื่องหรือเน้ือหา น้ันๆ ไดแก การศึกษาคนควา การรวบรวม การสังเกต การสำรวจ และการบันทกึ สาระท่ี 2 การอาชีพ การจำลองอาชพี เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือการเรยี นรูเกีย่ วกับอาชีพที่สถานศกึ ษาจัดทำใหเสมอื นจริงเพื่อใหผ ูเรียน มีทักษะการทำงานอาชีพ เห็นคุณคาของงานอาชีพสุจริตและเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ เชน การจัดนิทรรศการ บทบาทสมมติ ฯลฯ การประเมินทางเลอื กอาชพี เปนการรูจักตนเองดานความรูความสามารถ ทัศนคติ ศักยภาพ วิสัยทัศน แนวโนม ดานอาชีพที่ตองการของตลาดแรงงาน ท่ีเหมาะสมกับความสนใจ ความถนัด และทักษะทางดานอาชีพ กอนตัดสินใจเลอื กอาชีพ การอาชีพ เปนสาระที่เกี่ยวของกับทักษะที่จำเปนตออาชีพ เห็นความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีตออาชีพ ใชเทคโนโลยีไดเหมาะสม เห็นคุณคาของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทาง ในการประกอบอาชีพ ทกั ษะทจ่ี ำเปนตอ อาชีพ ประกอบดวย ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทกั ษะการทำงานรวมกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู ประสบการณใ นอาชีพ เปนการจัดใหผูเรยี นไดเรียนรู ไดเห็น และไดฝ กปฏบิ ัตกิ ิจกรรมท่ีเก่ยี วกับอาชีพ ทต่ี นเองถนัด และสนใจ สถานการณแ รงงาน ประกอบดวย การมีงานทำ การจางงาน การคุมครองแรงงาน และการประกันสังคมท้ังใน ปจจบุ ันและอนาค กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ ๖๓ โรงเรียนประถมศกึ ษาธรรมศาสตร

คณะผจู ัดทำ 1. คณะกรรมการอำนวยการ ประกอบดวย ประธาน 1.1 นางกาญจนา คลา ยพฒุ 1.2 นางกาญจนรตั น วงษส มาจารย รองประธาน 1.3 นางดวงพร วองสนุ ทร กรรมการฝา ยวิชาการ 1.4 นางสายหยุด กิจสวุ รรณ กรรมการฝา ยบริหารทั่วไป 1.5 นางสุพรรณนิภา ทองมอญ กรรมการฝายบุคคล 1.6 นางมนัสพร วงษทองทวิ กรรมการ/เลขานุการ 1.7 นาวสาวจันทรเ พ็ญ ภูมิง่ เดือน กรรมการ/ผูชวยเลขานุการ 2. คณะกรรมการจดั ทำหลักสตู รสถานศกึ ษา กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชพี ประกอบดวย 2.1 นางกาญจนา คลายพฒุ ที่ปรึกษา 2.2 นางกาญจนรตั น วงษส มาจารย ทป่ี รกึ ษา 2.3 นางสาวจันทรเ พ็ญ ภูมง่ิ เดือน สาระการเกรยี นรูการงานอาชพี 2.4 นายบญุ วัฒน มหาทรพั ย สาระการเกรียนรูการงานอาชีพ 2.5 นางสาวนายสงั วรณ เดชมัด สาระการเกรียนรูการงานอาชพี 2.6 นางสาวอัญญารตั น ฟแู สง สาระการเกรียนรูก ารงานอาชพี 2.7 นางสาวรชั ญา ทองปอง สาระการเกรยี นรกู ารงานอาชีพ 2.8 นางสาวชมพนู ชุ ไลท อง สาระการเกรยี นรูการงานอาชพี 3. เจาหนา ที่พิมพห ลักสตู ร คณะครูกลุม สาระการเรียนรูการงานอาชพี 4. ฝา ยออกแบบปก 4.1 นางสาวปุญญิศา ผุสิตธโนดม 5. ฝายจัดเก็บ จัดสรร ดแู ลรกั ษา ประกอบดว ย 5.1 นางดวงพร วองสนุ ทร หวั หนางานบริหารวิชาการ 5.2 นางสาวจันทรเ พญ็ ภมู ง่ิ เดือน หวั หนาสาระการเกรยี นรกู ารงานอาชพี กลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชพี ๖๔ โรงเรยี นประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ ๖๕ โรงเรียนประถมศกึ ษาธรรมศาสตร