1 Chapter 3 : Electronic Payment System ระบบการชาระเงินของพาณชิ ยอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์
2 ความปลอดภยั กับ E-Commerce • ระบบความปลอดภยั นบั เปน็ เร่ืองท่ีจะตอ้ งให้ความสาคญั ทสี่ ุด • เทคโนโลยีเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ท่ถี กู นามาใช้ คอื Public Key ซ่ึงมี องคก์ รรับรองความถูกต้องเรยี กวา่ CA (Certification Authority) • ใช้หลักคณิตศาสตร์คานวณรหัสคุมข้อความจากผู้ส่งและผู้รับอย่าง เฉพาะเจาะจงได้ • ที่มา Web site ธนาคารแหง่ ประเทศไทย :http://www.bot.or.th/Thai/PaymentSystems/Others/eCommerce/Pages/eCommerce.aspx
3 ความปลอดภัยกับ E-Commerce โดยระบบจะมีความสามารถดงั น้ี • สามารถพสิ จู นต์ ัวตนของผรู้ บั ผสู้ ง่ (Authentication) • รักษาความปลอดภยั ของข้อมูล (Confidentiality) • ความถูกตอ้ งไม่คลาดเคลื่อนของข้อมูล (Integrity) • ผสู้ ง่ ปฏเิ สธความเป็นเจ้าของข้อมูลไมไ่ ด้ (Non-Repudiation) เรียกว่า ลายมือช่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Signature)
4 การชาระเงินบน E-Commerce • จากผลการวิจัยพบว่า วิธีการชาระเงินที่สาคัญสาหรับกรณีธุรกิจกับธุรกิจ ร้อยละ 70 ใช้วิธีหักบัญชีธนาคาร ขณะท่ีธุรกิจกับผู้บริโภค ร้อยละ 65 ชาระดว้ ยบัตรเครดิต • สาหรับในประเทศไทย ผลการสารวจพบว่าผู้ส่ังสินค้าบนอินเทอร์เน็ตร้อย ละ 60 ใช้บัตรเครดิต อีกร้อยละ 40 ใช้วิธีโอนเงินในบัญชี ซึ่งหมายความ รวมถงึ Direct Debit, Debit Card และ Fund Transfer
5 แนวทางการพัฒนาเพ่ือบรกิ ารชาระเงิน • 1. บริการ Internet Banking ธุรกิจประเภท Payment Gateway จะ เป็น Hyperlink ระหวา่ ง Website ของรา้ นค้ากับระบบของธนาคาร และ ธนาคารสามารถดาเนินการตามข้อมูลที่ได้รับ เพ่ือโอนเงินในบัญชีของ ลูกค้า หรือส่งเป็นคาสั่งโอนเข้าระบบการชาระเงินระหว่างธนาคารที่มี มาตรการรกั ษาความปลอดภัยท่ไี ด้มาตรฐาน
6 แนวทางการพัฒนาเพ่อื บรกิ ารชาระเงิน • 2. สาหรับการชาระเงินท่ีเป็น Micro Payment การใช้เงินดิจิทัลซ่ึง บันทึกบนบตั ร Smart Card หรือเคร่ืองคอมพิวเตอร์ สามารถสร้างเสริม ระบบความปลอดภัยให้มั่นใจได้เหนือกวา่ ระบบบตั รเดบิตและบตั รเครดิต ทว่ั ไป
7 องคป์ ระกอบหลักของระบบการชาระเงิน 1. ลกู ค้า 2. ร้านค้า 3. ธนาคาร หรือ สถาบันทางการเงิน 4. ผ้กู าหนดกฎระเบยี บปฏบิ ัติ มาตรฐาน 5. เครือข่ายธนาคาร
8 การสร้างระบบการชาระเงิน 1. พัฒนาระบบเอง โดยพัฒนาโปรแกรมพร้อมกับเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) 2. จดั หาโปรแกรมสาเร็จรปู ด้วยการซือ้ หรอื การเช่าใชร้ ายเดอื น / ปี 3. จ้างบริษัทมอื อาชพี ในการพฒั นา (Outsource) 4. ใช้ระบบชาระเงนิ ของธนาคารใดธนาคารหนง่ึ
9 ส่ิงจาเป็นของระบบชาระเงิน • การรกั ษาความปลอดภัยการสง่ ขอ้ มูลการทารายการ ▫ การเข้ารหสั และการถอดรหสั (Encryption-Decryption) • ระบบตรวจสอบผูท้ ารายการซ้อื ขายเป็นบุคคลทมี่ สี ทิ ธจิ ริง ▫ ลายเซน็ ดิจติ อล (Digital Signature) ใช้ในการรับรองผ้ซู ้อื ▫ ใบรับรองดิจิตอล (Digital Certificate) ใช้ในการรับรองร้านค้า ว่ามี อยู่จรงิ และเช่ือถอื ได้
10 สง่ิ ทจ่ี าเปน็ ของระบบชาระเงนิ Requirements of Commerce Integrity (Digital Signature) การยืนยันข้อมูลท่ี ถกู ตอ้ ง Privacy, Access Control Confidentiality (Signing and (Encryption) Encryption) การปอ้ งกันความลับ การอนุญาตเฉพาะผทู้ ่ี เกี่ยวข้อง Security Other Services Identification (e.g., Cyber Privileges (Digital Notary) Certificates) การยืนยันการมตี ัวตน การใหส้ ิทธเิ ฉพาะ บุคคล Non-repudiation (Digital Signature) การป้องกันการ ปฏิเสธธุรกรรม Cryptography เปน็ กลไกหลกั ในแต่ละ Application
11 เง่ือนไขในการเลือกระบบชาระเงนิ ทีด่ ี • Bank for International Settlement หรือ BIS ไดว้ างหลักการของ ระบบชาระเงินท่ีดี เพื่อใช้ประเมินกับระบบชาระเงิน และการหักบัญชี ระหว่างสถาบันการเงิน • หลักการน้ีเรยี กว่า BIS Core Principle ซึ่งมอี งคป์ ระกอบ 10 ข้อ ดังนี้
12 BIS Core Principle 1. ระบบชาระเงิน ต้องไดร้ ับการรบั รองตามกฎหมาย 2. กฎ ระเบียบ ต้องเป็นท่ีเข้าใจแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมท้ังเข้าใจถึงความเส่ียง ทั้งหมดท่ีเกดิ จากการเข้ารว่ มใช้ระบบชาระเงนิ 3. มีกระบวนการบริหารความเสย่ี ง และระบคุ วามรับผดิ ชอบของผู้ใช้บริการ ระบบและผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการสร้างระบบแรงจูงใจที่เหมาะสมเพ่ือลด ความเส่ยี ง 4. การชาระราคา จะต้องเกดิ ข้นึ ภายในวนั เดยี วกับที่เกิดธุรกรรม
13 BIS Core Principle 5. การชาระราคาสุทธิระหว่างกัน จะต้องมีกลไกเพื่อให้ม่ันใจได้ว่าสามารถ ทาให้การชาระราคาระหว่างธนาคารในยอดเงินสุทธิภายในวันนั้นสามารถ เกดิ ขนึ้ ได้ 6. การชาระราคาใช้สินทรัพย์ทีอ่ อกโดยธนาคารกลาง 7. ระบบชาระเงินจะต้องการรักษาความปลอดภัย และมีความน่าเชื่อถือใน การดาเนินการ
14 BIS Core Principle 8. มีประสิทธิภาพตอ่ ระบบเศรษฐกจิ และสะดวกต่อการปฏบิ ตั ิ 9. มีเป้าหมายและวางเง่ือนไขของสมาชิก ในการเข้าร่วมใช้บริการท่ี เปดิ เผยและชดั เจน เพื่อใหเ้ กิดความเป็นธรรม 10. ผู้บริหารระบบชาระเงินจะต้องมีการจัดการ ท่ีมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตอ้ งรบั ผดิ ชอบต่อการดาเนนิ งาน
15 ระบบการชาระเงิน (Payment System) • สาหรับการทาธุรกิจทั่วๆ ไป เช่น เงินสด เช็ค บัตรเดบิต การโอนเงินทาง อเิ ล็กทรอนิกส์ ฯลฯ • สาหรับการทาธุรกจิ แบบ E-commerce - บตั รแม่เหล็ก (Magnetic Strip Card) E-Payment - บัตรอัจฉริยะ (Smart Card) อาศยั อุปกรณ์ - เช็คอิเล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Check) อเิ ล็กทรอนกิ ส์ - เงินสดอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Cash)
16 การทาระบบ E-Payment • จะทาให้ธรุ กรรมทางการเงินและกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ดาเนินไปได้ อย่างสะดวกและรวดเรว็ ย่งิ ข้ึน • เป็นกลไกสาคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และสร้าง ความมนั่ คงให้กบั ระบบบริหารจัดการการเงินการคลัง ▫ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของไทย (Competitiveness) ▫ อนั ดับความยาก-งา่ ยในการประกอบธุรกจิ (Ease of Doing Business) ▫ ดัชนกี ารพฒั นามนษุ ย์ (Human Development Index : HDI)
17 ช่องทางการชาระเงินทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ • กระบวนการชาระเงินระหว่าง ผู้จ่าย/ผู้โอนเงินไปยังผู้รับเงินโดยเป็นการ โอนสิทธิการถือครองเงินหรือการโอนสิทธิการถอนเงิน หรือหักเงินจาก บัญชีเงินฝากของผู้ใช้บริการท่ีเปิดไว้กับผู้ให้บริการด้วยวิธีการทาง อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ั้งหมดหรอื บางส่วนทเ่ี กิดข้นึ ผา่ นส่ือ • ชอ่ งทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น การโอนผ่านทาง ATM บัตรเครดติ บตั รเดบติ การชาระเงนิ ผา่ นอนิ เทอร์เน็ต การชาระเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนท่ี เป็นต้น
18 การทาธรุ กรรม e-Payment • เดือนเมษายน 2565 เพ่ิมข้ึนตอ่ เนอื่ งเฉล่ียท่ี 348 รายการ/คน/ปี ธุรกรรม e-Payment เพมิ่ ขน้ึ ทกุ ช่องทาง โดยเฉพาะช่องทาง internet & mobile banking ที่ยงั คงไดร้ ับความนิยมสูงสดุ • ส่วนการทาธุรกรรมทางการเงนิ ผ่านช่องทางด้ังเดิม ได้แก่ การถอนเงนิ สด ผ่านสาขา ยังคงมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง การใช้เช็คมีแนวโน้มลดลง โดยมีสาเหตจุ ากภาวะเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัว • แตก่ ารถอนเงนิ สดผ่าน ATM มีอัตราการเติบโตสูงข้ึนเมื่อเทียบกับปีก่อน เนื่องจากประชาชนเร่ิมกลับมาใช้ชีวิตตามปกติ หลังจากสถานการณ์การ แพรร่ ะบาด COVID-19 เรม่ิ คลีค่ ลาย
การทาธุรกรรม e-Payment 19 ท่มี า: ธนาคารแห่งประเทศไทย
การทาธุรกรรม e-Payment 20 ท่มี า: ธนาคารแห่งประเทศไทย
21 เครือ่ งเอทเี อม็ (ATM) • เป็นเครื่องทาธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติของธนาคารพาณิชย์ สามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการที่ต้องการความรวดเร็วและความ สะดวกสบาย เน่ืองจากมีบรกิ ารที่หลากหลาย ทง้ั บรกิ ารถอนเงนิ สอบถาม ยอด โอนเงิน ซ้ือ/ชาระค่าสินค้าและบริการ และเปลี่ยนรหัสบัตร ได้ทุก วนั ตลอด 24 ชั่วโมง เปน็ ตน้
22 เครอ่ื งรบั บตั ร ณ จุดขาย • เครื่องรับบตั ร ณ จดุ ขาย (Electronic Fund Transfer at Point of Sale) • สาหรับการชาระค่าสินค้าและบรกิ าร นอกจากผใู้ ชบ้ ริการจะสามารถชาระดว้ ย เงนิ สดแล้ว ยังสามารถชาระผา่ นเครือ่ งรับบตั ร ณ จุดขาย (EFTPOS) ซงึ่ ตดิ ต้งั ทีร่ า้ นค้า โดยใชผ้ ่านบัตรเครดิต บัตรเอทเี อ็ม บตั รเดบิตและบตั รพลาสตกิ อนื่ ๆ
23 บตั รพลาสตกิ • บตั รพลาสตกิ ตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย บัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม และบัตรเด บิต ซง่ึ เปน็ บตั รท่ใี ชร้ ว่ มกบั เครือ่ งเอทเี อ็มในการทาธรุ กรรมทางการเงนิ และเครือ่ งรบั บตั ร ณ จุดขาย (EFTPOS) ในการชาระค่าสนิ ค้าและบรกิ าร จากร้านค้าท่ีให้บรกิ าร
24 บัตรแมเ่ หลก็ Magnetic Strip Card • แบง่ เปน็ 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ • 1. Online Magnetic Strip Card • 2. Offline Magnetic Strip Card - บัตรโทรศัพท์ • 3. Hybrid Magnetic Strip Card
25 ประเภทของบัตรแถบแมเ่ หลก็ • 1. แบบออนไลน์ (Online Magnetic Strip Cards) ขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ อยบู่ นแถบแมเ่ หล็กจะถกู อา่ นได้เพยี งอยา่ งเดยี ว โดยเคร่อื ง อา่ นบตั ร จะไม่สามารถแก้ไขขอ้ มูลทอ่ี ยู่บนบตั รได้ ▫ ATM Card ▫ Debit Card ▫ Credit Card
26 ATM Card, Debit Card and Credit Card
27 ATM Card, Debit Card and Credit Card
28 ประเภทของบัตรแถบแม่เหลก็ • 2. แบบออฟไลน์ (Offline Magnetic Strip Cards) • ข้อมลู ท่ีเก็บอย่บู นแถบแม่เหล็กจะถูกอา่ นโดยเครื่องอ่านบัตร และสามารถ เปลย่ี นแปลงแก้ไขขอ้ มลู ท่อี ยบู่ นบัตรได้ เชน่ บตั รโทรศัพท์
29 ประเภทของบัตรแถบแม่เหลก็ • 3. แบบผสม (Hybrid Magnetic Strip Cards) • เป็นการผสมกันระหว่างแบบ Online และ Offline โดยตวั บัตรจะมีแถบ แมเ่ หล็ก 2 แถบ
30 บตั รอัจฉรยิ ะ (Smart Card) • บตั รพลาสตกิ ท่ีคลา้ ยกับบตั รแถบแม่เหลก็ พฒั นามาจากบัตรแมเ่ หลก็ แตจ่ ะต่างกนั ตรงท่ีมี Microchip ฝังมากับบัตร และใชเ้ ป็นท่เี ก็บข้อมลู บนบตั ร • โดยทช่ี ิพจะภายในบรรจุข้อมูลตา่ ง ๆ ไวใ้ นรปู แบบทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ดว้ ยวธิ ที ม่ี กี ารรกั ษาความปลอดภยั อย่างดีเยีย่ ม
31
32 หลักการทางานของ Smart Card 1. ผใู้ ช้สร้างกญุ แจคู่ (Key Pairs : ประกอบดว้ ยกุญแจส่วนตัวและกญุ แจ สาธารณะ) ของตน ซง่ึ กญุ แจดงั กลา่ วถกู สร้างดว้ ย Smartcard 2. กญุ แจส่วนตวั จะถกู เกบ็ ไวใ้ นบตั ร ในขณะท่กี ุญแจสาธารณะจะถกู สง่ ไปยงั CA เพื่อทาการรบั รอง 3. CA ทาการออกใบรับรอง เพ่ือรับรองกญุ แจสาธารณะของผใู้ ช้ และส่ง ใบรับรองนัน้ กลบั มาตดิ ต้ังลงใน Smartcard
33 ข้อดขี อง Smart Card 1. มคี วามน่าเช่อื ถือดีกวา่ บัตรท่ใี ช้แถบแม่เหล็ก 2. สามารถเกบ็ ข้อมลู ได้มากกว่าบตั รที่ใชแ้ ถบแม่เหลก็ เปน็ รอ้ ย ๆ เท่า 3. ลดโอกาสและป้องกนั การปลอมแปลงด้วยระบบปอ้ งกนั ที่ซับซอ้ น โดยมี การเพิม่ คณุ สมบตั ขิ องการเขา้ รหัสลบั /ถอดรหสั ลบั 4. สามารถประยกุ ตใ์ ช้กับอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์แบบพกพาตา่ ง ๆ ได้ เช่น โทรศพั ทแ์ ละคอมพิวเตอร์ 5. สามารถนาไปใชใ้ นงานตา่ ง ๆ ได้อยา่ งกว้างขวาง เช่น ระบบขนส่ง บริการ ธนาคาร และการใหบ้ รกิ ารดา้ นสุขภาพ เปน็ ต้น
34 การชาระเงินของพาณิชย์อิเล็กทรอนกิ ส์ การชาระเงินทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ประกอบด้วย 1. การโอนเงินมลู คา่ สงู (BAHTNET) 2. การโอนเงินครัง้ ละหลายรายการ (Bulk Payment) 3. การโอนเงินรายย่อยขา้ มธนาคาร (ORFT Inter Bank) 4. การโอนเงินรายย่อยภายในธนาคารเดียวกัน (ORFT Intra Bank) 5. การใช้บัตรพลาสตกิ เพ่ือการชาระเงนิ (Payment Cards) 6. เงินอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-Money)
35 การโอนเงนิ มูลคา่ สงู (BAHTNET) • เป็นโครงสร้างพ้ืนฐานทางการเงินเพอื่ รองรับการโอนเงินมูลค่าสูงระหว่าง สถาบันการเงินและสถาบันที่มีบัญชีเงินฝากกับ ธปท. ในลักษณะ Real- Time Gross Settlement (RTGS) • ธปท. ไดพ้ ัฒนาระบบบาทเนต (Bank of Thailand Automated High- value Transfer Network: BAHTNET) โดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือช่วยลด ความเสี่ยงในการชาระดุลระหว่างสถาบันการเงินท่ีมีบัญชีเงินฝากกับ ธปท.และเพื่อให้การโอนเงินสาหรับบุคคลที่สามมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และปลอดภยั โดย
36 การโอนเงนิ คร้ังละหลายรายการ (Bulk Payment) • ระบบงานของธนาคารท่ีออกแบบมาเพ่ือรองรับการทารายการโอนเงิน เขา้ /หักบญั ชอี ตั โนมตั คิ ร้งั ละหลายรายการ • เป็นการโอนเงินครั้งละหลายบัญชี (จากหน่ึงบัญชีโอนไปเข้าหลายๆบัญชี) ไม่เกินรายละ 2,000,000 บาท • มบี รกิ าร 2 ลักษณะได้แก่ ▫ SAME DAY หมายถงึ การโอนเงนิ ทีส่ ามารถเขา้ บญั ชผี ู้รบั โอนภายในวันเดยี ว ▫ NEXT DAY หมายถงึ การโอนเงนิ ทสี่ ามารถเข้าบญั ชผี ้รู บั โอนวนั ทาการถดั ไป
37 การโอนเงนิ รายย่อยขา้ มธนาคาร (ORFT Inter Bank) • การโอนเงินรายย่อยข้ามธนาคาร (Online Retail Funds Transfer: ORFT) หมายถงึ การโอนเงนิ รายย่อยทีละรายการไปยงั ธนาคารอน่ื แบบ ออนไลน์ ผา่ นเครอ่ื ง ATM, Internet, Mobile banking หรอื เคาน์เตอร์ ธนาคาร
38 การโอนเงินรายยอ่ ยภายในธนาคารเดยี วกัน (ORFT Intra Bank) • การโอนเงนิ รายยอ่ ยภายในธนาคารเดียวกนั (Online Retail Funds Transfer Intra Bank) หรอื การโอนเงินภายในธนาคาร (In-house Funds Transfer) • หมายถงึ การโอนเงินรายยอ่ ยทีละรายการภายในธนาคารเดียวกนั แบบ ออนไลน์ ผ่านเครือ่ ง ATM, Internet, Mobile banking หรือ เคานเ์ ตอร์ ธนาคาร
39 การใชบ้ ตั รพลาสติกเพ่อื การชาระเงนิ (Payment Cards) • Debit card หมายถึง บตั รที่ใชเ้ บกิ เงนิ สดจากเครือ่ ง ATM หรอื ซอื้ สนิ คา้ และบรกิ ารจากรา้ นคา้ ทีต่ ิดตั้งเครื่อง EFTPOS (Electronic Funds Transfer at point of sale) โดยการหักยอดเงนิ ดงั กลา่ วจากบญั ชีเงนิ ฝากของผู้ถือบัตรและโอนไปยงั บญั ชีเงินฝากของร้านคา้ ผู้รบั บตั รทันที • Credit card หมายถึง บัตรท่ผี ู้ถือบตั รได้รบั วงเงินสินเชอ่ื จานวนหน่ึงจาก ธนาคารผอู้ อกบตั ร เพื่อใชช้ าระคา่ สินคา้ และบรกิ าร หรอื ถอนเงินสด โดย ธนาคารจะหักเงินหรือให้ชาระเงนิ สนิ เชอ่ื ดังกล่าว ณ สิน้ คาบเวลาท่ี กาหนดไว้ ยอดเงินค้างชาระจะถกู คิดดอกเบ้ยี
40 กระบวนการชาระเงินดว้ ยบัตรเครดิตบนอนิ เทอร์เน็ต รา้ นคา้ 2.ตรวจสอบ 1.สั่งซ้อื Gateway ลูกค้า 6.เข้าบัญชี ธนาคารทรี่ ้านคา้ ใชบ้ รกิ าร 5. ยืนยัน บัญชีลกู คา้ บญั ชรี ้านคา้ 7. เรยี กเก็บเงนิ 8. หักบัญชี 4.อนมุ ัติ 3.ตรวจสอบ เครอื ขา่ ยของธนาคาร ธนาคารเจา้ ของบัตรลกู ค้า
41 เงินอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Money) • บัตรเงนิ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Money) หมายถึง เงินสดที่อยู่ในรูปของส่ือการ ชาระเงินในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บัตรพลาสติกหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ เพอ่ื ใชใ้ นการซือ้ สนิ คา้ หรือบรกิ ารแทนการจ่ายชาระด้วยเงินสด • ทงั้ นี้ บัตรเงนิ สดอิเล็กทรอนกิ ส์อาจเรยี กเป็นอย่างอน่ื เช่น Multipurpose Stored Value Card, e-Purse, e-Wallet, Smart Card เปน็ ต้น
42 3 Digits • หมายเลข 3 หลักสุดท้ายท่ีปรากฏอยู่ท่ีด้านหลังบัตรเครดิตบริเวณแถบ ลายเซน็ • หมายเลขเพิม่ เติมนอกเหนอื จากหมายเลขบัตร 16 หลัก • เพิ่มความปลอดภัยสาหรับการสั่งซื้อสินค้าผ่านทาง Mail Order / Telephone Order / Internet • บรษิ ทั MasterCard International เปน็ ผู้นามาใช้เปน็ รายแรก • ทุกครั้งที่มีการชาระเงินผู้ถือบัตรต้องกรอกหมายเลข 3 ตัวเพิ่มเติม จาก หมายเลข 16 หลัก
43 ตวั อยา่ ง 3 Digits
44 การชาระเงินแบบ Offline • การชาระเงินดว้ ยเชค็ ดราฟท์ ต๋วั แลกเงนิ ▫ พสั ดไุ ปรษณยี เ์ กบ็ เงินปลายทาง หรอื พกง. ▫ ลกู ค้ารบั สนิ คา้ ท่ีทาการไปรษณยี แ์ ละจา่ ยเงิน ▫ ร้านคา้ ได้รับไปรษณียต์ อบรบั กลบั มา ▫ รา้ นค้านาไปขนึ้ เงิน • เงนิ สด กบั พนกั งานสง่ สินค้า
45 ระบบการชาระเงินอน่ื ๆ • Counter Service Co.Ltd. ▫ มีบริการตามร้าน 7-11 สามารถรับชาระเงินบัตรเครดิตของธนาคาร ต่าง ๆ ชาระค่าสาธารณูปโภคต่างๆ ตลอดจนชาระค่าบริการมือถือ แบบจดทะเบยี น
46 Assignment 3 • 1. ระบบ Electronic Payment ตอ้ งการ Security ด้านใดบ้าง • 2. กระบวนการของ Electronic Credit Card Payment System • 3. แนวทางการแกไ้ ขปัญหาการชาระเงินออนไลนใ์ นปัจจุบันวา่ สามารถทา อยา่ งไรไดบ้ า้ ง • 4. นักศึกษาคิดวา่ วธิ กี ารชาระเงินของพาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกสว์ ธิ ใี ดปลอดภัย ทส่ี ดุ เพราะเหตุใด จงอธบิ าย • 5. นกั ศึกษาคิดว่าผู้ถือบตั รเครดติ ตอ้ งรบั ผิดชอบหรอื ไม่ ถ้ามผี ้อู ่ืนนาบัตรไปใช้ ชาระสนิ คา้ และบรกิ ารทางอินเตอรเ์ น็ต จงอธบิ าย และมขี อ้ ปฏิบตั ิเพ่อื ป้องกัน อย่างไร
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: