ตารางท่ี 2.4 กฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ.2543) ออกตามพรบ.ควบคุมอาคารอาคาร (ต่อ)ลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดกฎหมาย9 ความสะดวกในอาคารสาหรับผ้พู ิการหรือ ข้อ8 ทางลาดให้มีลักษณะ ดังตอ่ ไปนี้ ทพุ พลภาพและคนชรา (1) พืน้ ผวิ ทางลาดตอ้ งเป็นวสั ดทุ ไี่ มลนื่ (2) พ้นื ผวิ ของจดุ ตอ่ เน่ืองระหวา่ งพนื้ กับทางลาดตอ้ งเรยี บไมสะดุด (3) ความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร ในกรณีท่ีทางลาดมีความยาวของทุกช วงรวมกันต้ังแต่ 6,000 มลิ ลิเมตรขึ้นไป ต้องมีความกวา้ งสุทธิไม่นอ้ ยกวา่ 1,500 มิลลิเมตร (4) มีพนื้ ที่หน้าทางลาดเป็นท่ีวา่ งยาวไม่นอ้ ยกว่า 1,500 มลิ ลเิ มตร (5) ทางลาดต้องมีความลาดชันไมเกิน 1:12 และมีความยาวช่วงละไมเกิน 6,000 มิลลิเมตร ในกรณีท่ีทางลาดยาวเกิน 6,000 มิลลิเมตร ต้องจัดให้มีชานพักยาวไมน้อยกว่า 1,500 มลิ ลเิ มตร คั่นระหวา่ งแต่ละช่วงของทางลาด (6) ทางลาดด้านที่ไมมีผนังก้ันให้ยกขอบสูงจากพ้ืนผิวของทางลาดไมน้อยกว่า 50 มลิ ลเิ มตร และมรี าวกันตก (7) ทางลาดทม่ี ีความยาวตงั้ แต่ 2,500 มิลลิเมตร ขึ้นไป ต้องมีราวจับทง้ั สองดา้ น 2-31
ตารางท่ี 2.4 กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามพรบ.ควบคุมอาคารอาคาร (ต่อ)ลาดับ หมวด / หัวข้อ ข้อกาหนดเฉพาะรายละเอียด9 ความสะดวกในอาคารสาหรับผพู้ ิการหรอื ข้อ10 ลิฟต์ที่ผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราใช้ไดท่ีมีลักษณะเป็นห้องลิฟต์ต้องมีลักษณะ ทพุ พลภาพและคนชรา ดังต่อไปน้ี (1) ขนาดของห้องลฟิ ตต์ อ้ งมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1,100 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 1,400 มลิ ลิเมตร (2) ชองประตูลิฟต์ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร และต้องมีระบบแสง เพือ่ ป้องกันไมใ่ หป้ ระตลู ฟิ ต์หนีบผูโ้ ดยสาร ที่จอดรถสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา อย่างน้อยตามอัตราส่วน ดังน้ีถ้า จานวนท่ีจอดรถต้ังแต่ 10 คัน แต่ไม่เกิน 50 คัน ให้มีที่จอดรถสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและ คนชรา อยา่ งน้อย 1 คัน ข้อ14 ที่จอดรถสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชราต้องเป็นพ้ืนท่ีสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง ไม่น้อยกวา่ 2,400 มิลลเิ มตร และยาวไม่นอ้ ยกวา่ 6,000 มลิ ลิเมตรและจัดใหม้ ีท่ีว่างข้างท่ีจอดรถ กว้างไม่น้อยกว่า 1,000 มิลลิเมตร ตลอดความยาวของท่ีจอดรถ โดยที่ว่างดังกล่าวต้องมี ลกั ษณะพ้นื ผิวเรียบและมีระดับเสมอกบั ท่ีจอดรถ 2-32
2.6 กรณศี ึกษาอาคารตัวอยา่ ง 2.6.1 CENTRE OF WATER AND ICE SPORTS Architects : Restudio Location : Lake Ukiel, Olsztyn, Poland Area : 3,100.0 sqm Project Year : 2015 โครงการแนะนาโอกาสทางธรรมชาติในการเข้าถึงกิจกรรมทางน้า ซ่ึงตอนนี้ กลายเป็นเปิดกว้างมากขึ้นเป็นท่าจอดเรือมีแนวโน้มท่ีจะเป็นพื้นที่สาธารณะ มีกิจกรรมที่ ควบคู่ไปด้วยกันคือการป่ันจักรยานและทางเดินเท้า พ้ืนท่ีสาธารณะรอบๆ ทะเลสาบ Ukiel เป็นแผนการพัฒนา เมืองรอบๆ ทะเลสาบในอนาคตของประเทศ โปแลนด์ โครงการมีกิจกรรมเช่น มารีน่า กีฬาทางน้า อาหาร สุขภาพ จัดการประชุม และฝึกอบรม ท่าเรือยาวประมาณ 100 เมตร โครงสรา้ งของพ้นื ใหค้ วามโปร่งใสระหวา่ งดา้ นในและด้านนอกผ่านกระจก วัสดุที่ ใชส้ ่วน ใหญค่ ือ คอนกรตี แดง แกว้ ไมแ้ ละหนิ ภาพที่ 2.9 : โครงการ CENTRE OF WATER AND ICE SPORTS (บน , ลา่ ง) ทีม่ า : www.archdaily.com , สบื ค้นเมอ่ื กันยายน 2560 2-33
ภาพท่ี 2.10 : โครงการ CENTRE OF WATER AND ICE SPORTSทม่ี า : www.archdaily.com , สบื คน้ เม่ือ กันยายน 2560 2-34
2.6.2 Casa de la FloraArchitects : VaSLab ArchitectureLocation : Phang Nga, ThailandArea : 4,850.0 sqmProject Year : 2009รีสอร์ทติดชายหาดแห่งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นรายละเอียดสูงใหม่แต่โรงแรมยังปลายทางที่อ่อนน้อมถ่อมตนอยู่ในเมืองท่ีสวยงามของภาคใต้ของประเทศไทยการออกแบบเชิงเปรียบเทียบของ VaSLab จะใช้เวลาในการกระทาของ'พฤกษา' ท่ีเป็นรูปธรรมเมื่อเทียบกับวิลล่าไม้แต่ละสะท้อนให้เห็นเป็นรูปแบบพืชที่โผล่ออกมาจากพื้นดินและบุปผาไปถึงเวลากลางวัน เบี่ยงเบนผนังและหลังคาเอียงมีความโดดเด่นตลอดท้ังชุด 36 รูปแบบวิลล่า ส่ิงอานวยความสะดวก เช่น ห้องรับรองสระว่ายน้า บาร์ ร้านอาหาร สปา ฟิตเนส สระว่ายน้าริมชายหาด และห้องสมุดเป็นโปรแกรมที่ต้องมีในโรงแรม วิลล่ากระจกมีการตกแต่งภายในที่สะอาดมีพ้ืนผิวคอนกรีต ผนังหินธรรมชาติและพื้นไม้ ห้องพักจะเห็นวิวชายหาดและทะเลทุกห้องพร้อมกับสระว่ายน้าส่วนตัวซ่ึงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมาในรูปแบบของโอโซน (เคมีต่า) ระบบการทาให้บริสุทธ์ิสาหรับสระว่ายน้าและน้าเสยี และการรไี ซเคิลน้าฝน ภาพท่ี 2.11 : โครงการ Casa de la Flora (บน , ล่าง) ทีม่ า : www.archdaily.com , สบื คน้ เมอื่ กนั ยายน 2560 2-35
ภาพที่ 2.12 : โครงการ Casa de la Floraท่มี า : www.archdaily.com , สบื คน้ เมอื่ กันยายน 2560 2-36
2.6.3 DANISH NATIONAL MARITIME MUSEUMArchitects : BIGLocation : 3000 Helsingor, DenmarkArea : 17,500.0 sqmProject Year : 2013 พิพิธภัณฑ์การเดินเรือของเดนมาร์ก ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ทางประวัติศาสตร์และศูนย์กลางวัฒนธรรมใหม่ เป็นพิพิธภัณฑ์ใต้ดินซ่ึงมีขนาดเท่ากับเรือจริง การจัดนิทรรศการอยู่ใต้พ้ืนดินและจัดให้อยู่ในวงอย่างต่อเนื่องรอบผนังอู่เรือแห้ง มีสะพานเช่ือมระหว่าง 2 ฝ่ังของอาคารนิทรรศการสามารถเดินเช่ือมต่อกับหอประชุมห้องเรียน สานักงาน คาเฟ่ และพื้นที่ภายในพิพิธภัณฑ์ ทางเดินลาดค่อยๆ สร้างช่องว่างท่นี ่าตื่นเต้นและมีประติมากรรมที่น่าสนใจตลอดทางเดนิ ภาพท่ี 2.13 : โครงการ DANISH NATIONAL MARITIME MUSEUM (บน , ลา่ ง) ทมี่ า : www.archdaily.com , สบื ค้นเมอ่ื กนั ยายน 2560 2-37
ภาพที่ 2.14 : โครงการ DANISH NATIONAL MARITIME MUSEUMที่มา : www.archdaily.com , สบื คน้ เมื่อ กันยายน 2560 2-38
ตารางท่ี 2.5 แสดงการเปรียบเทียบกรณีศึกษาCASE STUDY CENTRE OF WATER AND ICE CASA DA LA FLORA DANISH NATIONAL SPORTS MARITIME MUSEUM LOCATION POLAND THAILAND DENMARKAREA ( sqm.) 3,100 4,850 17,500 SPACEที่มา : จากการวิเคราะห์ , กนั ยายน 2560 2-39
ตารางท่ี 2.5 แสดงการเปรียบเทียบกรณีศึกษา (ต่อ)CASE STUDY CENTRE OF WATER AND ICE CASA DA LA FLORA DANISH NATIONAL SPORTS MARITIME MUSEUM CONCEPT เป็นการออกแบบพน้ื ท่สี าธารณะและกจิ กรรม ออกแบบใหไ้ ม่เหมือนโรงแรมอืน่ ทุกห้องพกั จะ การนาประวัติศาสตรใ์ นอดีตมาทาใหเ้ กิด ทางนา้ ที่เขา้ ถึงธรรมชาติใหไ้ ด้มากีส่ ุด และจะ เหน็ วิวของทะเล และมคี วามเป็นธรรมชาตเิ ดิม เอกลกั ษณท์ ่ีโดดเดน่ ของพื้นท่ี และเพ่มิ การใช้ ทาใหเ้ ปน็ ศนู ย์รวมเรือทส่ี าคัญที่สุดในโปแลนด์ อยู่ งานให้เกดิ ประโยชน์PLAN คอนกรตี แกว้ ไม้ และหนิ พนื้ ผวิ คอนกรีต พื้นไม้ ผนังหินธรรมชาติ โครงสร้างเหล็ก พื้นผิวคอนกรตี กระจก กระจกMETERIAL 2-40ที่มา : จากการวิเคราะห์ , กันยายน 2560
ตารางท่ี 2.6 สรุปข้อดีข้อเสียของกรณีศึกษาCASE STUDY CENTRE OF WATER AND ICE CASA DA LA FLORA DANISH NATIONAL SPORTS MARITIME MUSEUM 1) เป็นการพัฒนาเมอื งรอบๆทะเลสาบให้เกิด 1) ห้องพักทุกหอ้ งจะเห็นวิวทะเล 1) ใชพ้ ื้นท่เี กา่ มาทาใหเ้ กิดประโยชน์และคง ความดั้งเดมิ ของพ้นื ทต่ี รงน้ันไวเ้ ปน็ อย่างดี ประโยชน์ 2) สว่ นใหญใ่ ช้วสั ดจุ ากธรรมชาติ 2) เป็นพพิ ิธภัณฑ์ที่อยใู่ ตด้ นิ และมีความ น่าสนใจมาก 2) มกี ารใช้Spaceดา้ นบนของอาคารให้เชอื่ ม 3) มีระบบรีไซเคลิ น้าฝนข้อดี กบั Spaceดา้ นนอกของอาคาร 1) ท่าเทียบเรอื มีเยอะ อาจดแู ลไดไ้ มท่ ว่ั ถงึ 1) ตอนกลางวนั อาจจะร้อนเนื่องจากแดด 1) พน้ื ท่ีโครงการใหญ่เกนิ ไป อาจดแู ลไมท่ ัว่ ถึง สะท้อนกบั สระนา้ บริเวณหอ้ งพกัข้อเสียนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับโครงการ 1) โปรแกรมของอาคารมกี ารตอบสนองตอ่ 1) การใหค้ วามสาคญั กับการออกแบบ 1) โครงสรา้ งอาคารน่าสนใจ กลุ่มผูใ้ ช้งาน ห้องพัก 2) มีการใช้ Space เช่อื มต่อระหว่างภายใน 2) มีSpaceและรูปแบบอาคารทนี่ ่าสนใจ 2) ใชว้ ัสดจุ ากธรรมชาติท่หี าไดง้ า่ ยในภูมิ และภายนอกท่ีน่าสนใจ ประเทศที่มา : จากการวิเคราะห์ , กนั ยายน 2560 2-41
03 การศกึ ษาและวเิ คราะหท์ ่ตี ัง้ โครงการ ที่มา : www.unsplash.com , สืบคน้ เมื่อ กันยายน 2560 3-1
3.1 ศกึ ษาและวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเมืองจังหวัดภูเก็ต 3.1.1.2 ที่ตัง้ และอาณาเขต จังหวดั ภเู ก็ต ต้ังอยู่ทางฝั่งทะเลด้านตะวันตกของภาคใต้ ท่ีต้ังอยู่ระหว่าง 3.1.1 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เส้นรุ้งท่ี 7’45’ ถึง 8’15’ เหนือ และเส้นแวงที่ 98’15’ ถึง 98’40’ ตะวันออก 3.1.1.1 ประวัติศาสตร์และทม่ี า ห่างจากกรงุ เทพฯ 862 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 4 สายเพชรเกษม ภูเก็ต หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง เป็นจังหวัด และทางหลวงหมายเลข 402 สายโคกลอย – ภูเก็ต (ในเขตภูเก็ต คือ ถนนเทพ กระษัตรี) พ้ืนที่ท้ังหมดประกอบด้วยเกาะใหญ่ และเกาะบริวารอีก 32 เกาะ มี หน่ึงทางภาคใต้ของประเทศไทย ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างจาก พื้นทร่ี วมกันท้ังหมดประมาณ 543 ตารางกิโลเมตร โดยตัวเกาะใหญ่มีความยาว จังหวัดอ่ืนโดยส้ินเชิง คือ เป็นเกาะที่ใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย เดิมคําว่า จากเหนือจดใต้ประมาณ 48.7 กิโลเมตร มีความกว้างจากตะวันออกไปตะวันตก ภูเก็ต นั้นใช้คําว่า ภูเก็จ อันแปลว่าเมืองแก้ว ตรงกับความหมายเดิมซึ่ง ประมาณ 21.3 กโิ ลเมตร มอี าณาเขตตดิ ต่อกบั จงั หวัดอื่น ดงั น้ี ชาวทมิฬเรียก มณีคราม ตามหลักฐาน พ.ศ. 1568 ภูเก็ตเป็นท่ีรู้จัก - ทิศเหนือ เขตอําเภอถลาง ติดต่อกับจังหวัดพังงา เขตอําเภอตะกั่วทุ่ง ของนักเดินเรือที่ใช้เส้นทางระหว่างจีนกับอินเดีย โดยผ่านแหลมมลายู มีช่องแคบปากพระเช่อื มต่อแผน่ ดินใหญ่ดว้ ยสะพานสารสนิ หลักฐานที่เก่าแก่ท่ีสุดก็คือ หนังสือภูมิศาสตร์และแผนท่ีเดินเรือของปโตเล - ทิศใต้ เขตอําเภอเมืองภูเก็ต จดกับทะเลอันดามันและมหาสมุทรอินเดีย มีเม่ือประมาณ พ.ศ. 700 กล่าวถึงการเดินทางจากแหลมสวรรณภูมิลง - ทิศตะวันออก เขตอาํ เภอเมืองภูเก็ต และอําเภอถลางจดอ่าวพังงา ทะเล มาจนถึงแหลมมลายู ซ่ึงต้องผ่านแหลม จังซีลอน หรือเกาะภูเก็ตนั่นเอง อันดามนั มหาสมทุ รอินเดยี จากประวัติศาสตร์ไทย ภูเก็ตเป็นส่วนหน่ึง ของอาณาจักรตามพรลิงค์ - ทิศตะวันตก เขตอําเภอเมืองภูเก็ต อําเภอถลางและอําเภอกะทู้ จดทะเล ต่อมาจนถึงสมัยอาณาจักรศิริธรรมนคร เรียกเกาะภูเก็ตว่า เมืองตะก่ัว อนั ดามนั มหาสมุทรอินเดยี ถลาง เป็นเมืองที่ 11 ใน 12 เมืองนักษัตร โดยใช้ตราเป็นรูปสุนัข จนถึง สมัยสุโขทัยเมืองถลางไปขึ้นกับเมืองตะก่ัวป่า (andamanguide.com/ info/phuket.html , 2560) 3-2
จ.ภเู ก็ต ทะเลอนั ดามัน ทะเลอนั ดามัน อ.เมอื งภเู กต็ ทะเลอันดามัน ทะเลอันดามนัภาพท่ี 3.1 : แสดงขอบเขตที่ตง้ั จังหวดั ภูเก็ตทีม่ า : ประกามาศ ทาวรมย์ , กนั ยายน 2560 3-3
3.1.1.3 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ 3.1.1.4 สภาพภูมอิ ากาศ ภูเก็ต มีรูปร่างเป็นเกาะเรียวยาวจากเหนือไปใต้ มีเกาะบริวารน้อยใหญ่ ลักษณะอากาศเป็นแบบเขตศูนย์สูตร อยู่ในเขตอิทธิพลลมมรสุมล้อมรอบพ้ืนที่ส่วนใหญ่ประมาณ ร้อยละ 70 เป็นที่ราบสูงหรือภูเขา มีเทือกเขา อากาศอบอุ่นชุ่มชื้นตลอดปี และมีเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูฝน และฤดูร้อน โดยฤดูทอด ยาวในแนวเหนือใต้ ยอดเขาที่สูงที่สุดคือ ยอดเขาไม้เท้าสิบสอง สูงจาก ฝน จะเริ่ม ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม – ตุลาคม ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกระดบั นํ้าทะเลปานกลาง 529 เมตร เป็นแนวกําบงั ลมและฝน ทาํ ให้ภเู ก็ตปลอดภัย เฉยี งใต้อยู่ในเขตอทิ ธพิ ลลมมรสุม มีฝนตกชุกมาก และอากาศชุมชื่นตลอดปี ฤดูจากลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ ส่วนพ้ืนท่ีอีกร้อยละ 30 บริเวณตอนกลางและ ร้อน จะเร่ิมต้ังแต่เดือน ธันวาคม – พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงท่ีฝนตกน้อยตะวันออกของเกาะเป็นที่ราบแถบเชิงเขาและชายฝ่ังทะเล โดยพื้นที่ชายฝ่ัง (andamanguide.com/info/phuket.html,2560)ตะวันออกมสี ภาพเป็นหาดโคลนและป่าชายเลน ส่วนชายฝ่ังทะเลด้านตะวันตกเป็นภูเขาและหาดทรายท่ีสวยงาม และบริเวณท่ีเป็นที่ราบตัดจากภูเขาลงมามีสภาพพื้นท่ีเป็นที่ดอนลักษณะลูกคลื่นลอนลาด และต่อจากบริเวณน้ีจะ เป็นพ้ืนที่ที่มีการตัง้ ถน่ิ ฐานของชมุ ชนทสี่ าํ คัญ (andamanguide.com,2560) ภาพที่ 3.2 : ลกั ษณะภูมปิ ระเทศจงั หวดั ภูเก็ต ทม่ี า : www.th.wikipedia.org , สืบคน้ เมอ่ื กันยายน 2560 3-4
3.1.1.5 การคมนาคม 4) ทางอากาศ มีสนามบินนานาชาติภูเก็ต ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการ จังหวัดภูเก็ตมีเส้นทางคมนาคม 3 ทาง ได้แก่ ทางบก ทางนํ้าและทาง ขนส่งสินค้าและผู้โดยสาร เช่ือมโยงท้ังภายในประเทศและต่างประเทศโดยตรง และอากาศ สามารถรองรับเที่ยวบินได้ 10 เที่ยว/ช่ัวโมง รองรับผู้โดยสารได้มากกว่า 6.5 1) ทางบก มีทางหลวงหมายเลข 402 เป็นเส้นทางหลัก และมีทาง ล้านคน โดยปัจจุบันมีปริมาณเที่ยวบินมาใช้ท่าอากาศ 6,769,502 คนหลวงจังหวดั รอบเกาะ รวมทั้งเส้นทางอ่ืน ๆ ที่แยกออกจากทางหลวง หมายเลข (18,546 คนต่อ วัน) ซึ่งพบว่าเร่ิมเกินความจุของสนามบินท่ีจะรองรับได้402 ไปยงั ชุมชนและสถานทท่ี ่องเทยี่ วตา่ ง ๆ กระทรวงคมนาคมจึงได้กําหนดแผนพัฒนา ท่าอากาศยานภูเก็ตสู่ความเป็น 2) ทางน้ํา จังหวัดภูเก็ต มีท่าเรือนํ้าลึก 1 แห่ง ได้แก่ ท่าเรือน้ําลึกภูเก็ต ศูนย์กลางการบินในภูมิภาคเพื่อให้ท่าอากาศ ยานภูเก็ต เป็นศูนย์กลางการบินในอยู่บริเวณอ่าวมะขาม ใช้เป็นท่าเรือเพ่ือการขนส่งสินค้า และเพื่อการ ท่องเท่ียว ภาคใต้ท่ีสามารถรองรับผู้โดยสารและนักท่องเท่ียวได้ 12.5 ล้านคนต่อปี และนอกจากน้ันยงั มที า่ เทยี บเรือทอ่ งเท่ียวและเรอื ขนาดเลก็ อีก 14 แห่ง ส า ม า ร ถ ข น ถ่ า ย สิ น ค้ า ไ ด้ ม า ก ก ว่ า 3 0 , 0 0 0 เ ม ต ริ ก ตั น / ปี 3) ระบบราง ไม่มีบริการรถไฟจากกรุงเทพฯ ไปภูเก็ตโดยตรง หาก (andamanguide.com/info/phuket.html,2560)ต้องการเดินทางโดยรถไฟต้องไปลงท่ีสถานีรถไฟพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานีแลว้ ต่อรถประจาํ ทางเขา้ จังหวัดภเู ก็ต 3-5
3.1.2 สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ ด้วยความหลากหลายทางภูมิศาสตร์อันสวยงาม ภูมิทัศน์ของป่าเขา 3.1.2.1 โครงสรา้ งทางเศรษฐกจิ และ ชายหาดท่ีสวยงามระดับโลก การเดินทางท่ีสะดวกสบาย มีสนามบิน จังหวัดภูเก็ตเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางทะเลท่ีมีช่ือเสียงในระดับ นานาชาติ เป็น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจท่ีสําคัญของประเทศ ภูเก็ตยังมีสถานที่ จัดงาน กิจกรรมสําหรับการจัดนิทรรศการ การประชุม ท้ังระดับประเทศ และโลก มีแหล่งท่องเท่ียวและกิจกรรมการท่องเที่ยวมากมายหลายประเภท ทั้ง ระดับนานาชาติ จงึ อาจกล่าวได้ว่า ภูเกต็ เป็น “เมืองไมซ์แห่งอันดามันของโลก”ชายหาดและ กิจกรรมการท่องเที่ยวต่างๆ โดยเฉพาะกิจกรรมบันเทิงนันทนาการและกีฬาทางนํ้า จากข้อมูลสถิติจํานวนนักท่องเที่ยวและจํานวนรายได้ แผนภูมิที่ 3.1 แสดงรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี วจงั หวดั ภเู ก็ต ปีพ.ศ. 2553-2555จากการท่องเท่ียวเปรียบเทียบกับ จังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอันดามันและ ล้านบาทจังหวัดในภาคใต้ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2553-2555 พบว่า จังหวัดภูเก็ตมีจํานวนนักท่องเที่ยวและรายได้มากเป็นอันดับหนึ่งของกลุ่ม โดยจํานวนนักท่องเท่ียวที่เดินทางมาท่องเท่ียวในจังหวัดภูเก็ต ในปี พ.ศ. 2555 มีจานวน 10,211,885คน เพ่ิมข้ึน จากปี 2554 ร้อยละ 14.86 และรายได้จากการ ท่องเที่ยวในจังหวดั ภูเกต็ ในปี พ.ศ. 2556 มจี าํ นวน 228,984.88 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากปี2554 คดิ เป็นร้อยละ 21.27(กรมการทอ่ งเท่ียว,2560) ที่มา : กรมการท่องเทยี่ ว , สบื ค้นเมื่อ กันยายน 2560 3-6
3.1.3 โครงสร้างทางสังคม (กรมการท่องเท่ยี ว,2560) 2) ศาสนา ประชากรส่วนใหญ่คือร้อยละ 73 นับถือศาสนาพุทธ ร้อย 3.1.3.1 การเมอื ง การปกครอง ละ 25 นบั ถอื ศาสนาอสิ ลามและนับถือศาสนาครสิ ต์และอื่นๆ ตามลําดบั จังหวัดภูเก็ตแบ่งการปกครองออกเป็น 3 อําเภอ คือ อําเภอเมืองภูเก็ต 3) รายได้เฉล่ียต่อประชากร จากการศึกษาข้อมูลพบว่ารายได้เฉล่ียอําเภอกะทู้ อําเภอถลาง การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยองค์การ ต่อประชากรของจังหวัดภูเก็ตในปี พ.ศ. 2556 พบว่า ประชาชนมีรายได้เฉลี่ยบริหารส่วน จังหวัด 1 แห่ง เทศบาล 9 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตําบลอีก ต่อหัวสูงท่ีสุดในภาคใต้เม่ือเทียบกับ จังหวัดอื่นๆ ในภูมิภาคเดียวกัน โดยคิดเป็น9 แห่ง 250,952 บาท ต่อหัวต่อปี(ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2556) เน่ืองจากจังหวัด ภูเก็ตมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูง และเป็น เมืองท่องเที่ยวหลักท่ีมี 3.1.3.2 ประชากร นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเข้ามาเป็นจํานวนมาก ซึ่งนักท่องเท่ียวกลุ่มส่วนใหญ่นี้ 1) จาํ นวนประชากร เมอื่ พจิ ารณาการเปลย่ี นแปลงประชากร ในช่วงปี มีกาํ ลังจ่ายสงู ส่งผลให้รายได้หมนุ เวยี นภายในจงั หวดั สงู ข้นึ ตามไปดว้ ยพ.ศ. 2553 – 2556 พบว่า จังหวัดภเู กต็ มีประชากรเพมิ่ ขน้ึ 2 4 , 4 5 5 ค นโดยมีอตั ราเพ่ิมประชากร จาก ปี พ.ศ. 2553 – 2556 ร้อยละ 7.09 ลักษณะประชากรในจังหวัดภูเก็ตเป็นประชากรแฝง ร้อยละ 25 และมีแรงงานด่างด้าวในจั ง ห วั ด ที่ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ก ฎ ห ม า ย ร้ อ ย ล ะ 2 8 . 6 ( ก ร ม ก า ร ป ก ค ร อ งกระทรวงมหาดไทย, 2553-2556) ซ่ึงส่งผลให้พื้นที่จังหวัดภูเก็ตมีความหนาแน่นของประชากรต่อการใช้พื้นท่ีสูง และมีแนวโน้มขยายตัวของประชากรออกไปในพน้ื ทเี่ ชอื่ มต่อที่อยนู่ อกเขตเทศบาลนครภเู กต็ มากขึน้ 3-7
แผนภูมิท่ี 3.2 แสดงข้อมลู กล่มุ นักนักท่องในจังหวัดภูเกต็สัดสว่ นนักท่องเทีย่ วทม่ี า : www.samartmultimedia.com , สบื ค้นเมอ่ื กันยายน 2560 3-8
3.1.4 โครงสร้างทางวัฒนธรรม จังหวัดภูเก็ตมีศักยภาพทางวัฒนธรรม เนื่องจากมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ ท่ีสืบทอดมาเป็นเวลานาน และสามารถ ต่อยอดให้เกิดอาชีพใหม่ที่ใช้ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมเช่น ประเพณกี ินเจ การประมง การแปรรูปอาหาร หัตถกรรม จังหวัดภูเก็ตมีเป็นจังหวัดท่ีมีชาวไทยเชื้อสายจีนอยู่เป็นจํานวนมาก ดังนั้นประเพณีการถือศีลกิจเจในจังหวัดภูเก็ตจึงเป็นประเพณีที่มีช่ือเสียงเป็นท่ียอมรับ และเป็นหน่ึงในจังหวัดท่ีจัดงานได้ย่ิงใหญ่ที่สุดแห่งหน่ึงของประเทศ มีผู้คน เข้าร่วมงานนับหม่ืนท้ังคนในพื้นที่เอง และยังดึงดูดให้คนจากต่างถิ่นเข้ามาในภูเก็ตด้วยท้ังผู้ท่ีเข้ามาเพื่อกินเจและที่เข้ามาท่องเที่ยวงานเทศกาล ทําให้เกิดรายได้กับธุรกิจท่องเที่ยว และธุรกิจต่อเนื่องมากมาย โดยเฉพาะด้านธุรกิจอาหารท่ีได้รับความนิยม และสร้างเศรษฐกิจใหก้ บั ผู้ประกอบการ ภาพที่ 3.3 : ประเพณีจังหวดั ภูเก็ต ทีม่ า : www.khunkay.thaimultiply.com , สบื คน้ เม่ือ กนั ยายน 2560 3-9
ภาพที่ 3.4 : อาคารเมืองเกา่ ภเู ก็ต 3.1.4.1 เอกลกั ษณ์ทางสถาปัตยกรรมทม่ี า : www.pinterest.com , สบื ค้นเมอ่ื กันยายน 2560 ภูเก็ตมีรูปแบบสถาปัตยกรรมท่ีเป็นเอกลักษณ์ท่ีเรียกว่า สถาปัตยกรรม จีน-โปรตุเกส (Sino-Portuguese Architecture) ซ่งึ เกิดในแหลมมลายูในยุคสมัย แห่งจักรวรรดินิยมของตะวันตกราวปี พ.ศ. 2054 โดยลักษณะของสถาปัตยกรรม แบบจีน-โปรตุเกสคือการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมยุโรปและศิลปะจีน กล่าวคือ “สถาปัตยกรรมแบบอาณานิคม” หรือ “อาคารแบบโคโลเนียล” (Colonial Style) ถ้าเป็นอาคารสองชั้นก่ึงร้านค้าก่ึงที่อยู่อาศัย จะมีด้านหน้าอาคารท่ีช้ันล่างมี ช่องโคง้ (arch) ตอ่ เนื่องกันเป็นระยะๆ เพื่อให้เกิดการเดินเท้า ที่ภาษาไทยเรียกทับศัพท์ ว่า “อาเขต” (Arcade) หรือที่ภาษาจีนฮกเกี้ยนเรียกว่า “หง่อคาขี่” ซึ่งมีความหมาย ว่า ทางเดนิ กวา้ งห้า ฟตุ นอกจากอาเขตแล้ว อาคารแบบโคโลเนียลมีการนําลวดลาย ศิลปะตะวนั ตกแบบกรกี โรมนั หรือเรยี กวา่ “สมัยคลาสสิก” เช่น หน้าต่างวงโค้งเกือก ม้า หรือหัวเสาแบบโยนิก หรือไอโอนิก (แบบม้วนก้นหอย) และคอรินเทียน (มีใบไม้ ขนาดใหญ่ประดับ) เป็นต้น ซ่ึงอาจเรียกสถาปัตยกรรมแบบนี้ว่า “นีโอคลาสสิก” ส่ิงท่ี ผสมผสานศิลปะจีนคือ ลวดลาย การตกแต่ง ไม่ว่าจะเป็นภาพประติมากรรมนูนตํ่า หรือนูนสูงทําด้วยปูนปั้นระบายสีของช่างฝีมือจีนประดับอยู่บนโครงสร้างอาคารแบบ โปรตุเกส บานประตูหน้าต่าง ตลอดจน การตกแต่งภายในท่ีมีลักษณะเป็นศิลปะแบบ จีน (www.live.phuketindex.com , กันยายน 2560) 3-10
3.1.4.2 เอกลกั ษณ์ทางเชอ้ื ชาติ ปัจจบุ นั ชาวภูเกต็ ส่วนใหญ่จะเปน็ ชาวจนี กลุ่มตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะเป็น ชาวจีน ชาวเลเป็นชาวกลุ่มแรก ๆ ที่มาอาศัยอยู่บนเกาะภูเก็ต จากนั้นมาจึงกลุ่ม ฮกเก้ียน ชาวจีนช่องแคบ ชาวจีนกวางตุ้ง ฯลฯ รวมไปถึงชาวไทยพุทธและชาวชนอื่น ๆ อพยพตามมาอีกจํานวนมาก ทั้งชาวจีน ชาวไทย ชาวมาเลเซีย ฯลฯ ไทย มุสลิม แถบอําเภอถลาง โดยเฉพาะชาวไทยมุสลิมมีจํานวนถึงร้อยละ 20-จนมี วัฒนธรรมเฉพาะเป็นของตนเองสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน นับเป็นสีสันอย่าง 36 ของประชากรในภูเก็ต มีมัสยิดแถบอําเภอถลางราว 30 แห่งจาก 42 แห่งหนึ่งของภูเก็ต ตามบันทึกของฟรานซิส ไลต์ กล่าวถึงชาวภูเก็ตว่าเป็นพวก ท่ัวจังหวัด มีกลุ่มชาติ พันธ์ุชาวเล กลุ่มอูรักลาโว้ยและพวกมอแกน (มาซิง) ซ่ึงผสมผสานกัน ทางด้านเชื้อชาติและวัฒนธรรมกับชาวมลายู โดยเฉพาะคนไทย มอแกนแบ่งออกเปน็ 2 กลุ่มยอ่ ย คอื มอเกนปเู ลา (Moken Pulau) และ มอเกนจํานวนมากในสมัยน้ันทําตัวเป็นพุทธศาสนิกชน สักการะพระพุทธรูป ขณะที่ ตาหมับ (Moken Tamub) และยังมีชน กลุ่มต่างชาติอย่างชาวยุโรปท่ีเข้าลงทุนกัปตันทอมัส ฟอร์เรสต์ ชาวอังกฤษ ท่ีเดินเรือมายังภูเก็ต ใน พ.ศ. 2327 ได้ ในภูเก็ต รวมไปถึงชาวอินเดีย มีชาวคริสต์ในภูเก็ตราว 300 คน ชาวสิกข์ท่ีมีรายงานว่า \"ชาวเกาะแจนซีลอนพูดภาษาไทย ถึงแม้ว่าเขาจะเข้าใจภาษามลายู อยู่ราว 200 คน และชาวฮินดูราว 100 คน และแรงงาน ต่างด้าวชาวพม่าพวกเขามลี กั ษณะหนา้ ตาคล้ายกบั ชาวมลายู ท่าทางคล้าย ชาวจนี มาก\" ลาว และเขมรราวหม่ืนคน ประชากรส่วนใหญ่ในภูเก็ตนับถือศาสนาพุทธร้อยละ 7 3 ศ า ส น า อิ ส ล า ม ร้ อ ย ล ะ 2 5 ศ า ส น า ค ริ ส ต์ แ ล ะ อ่ื น ๆ ร้ อ ย ล ะ 2 (www.live.phuketindex.com , กันยายน 2560) 3-11
3.2 การศกึ ษาและวเิ คราะหท์ าเลทต่ี ั้งโครงการ 3.2.1 การวิเคราะห์เพื่อการเลือกย่านท่ีต้ังในจังหวัดภูเก็ต การเล่นเซิร์ฟบอร์ดและเรือใบในจังหวัดภูเก็ตนิยมเล่นท่ีหาดกะตะ และ หาดป่าตอง ซ่ึงต้องอาศัยทั้งคล่ืนลมจากทะเลและกระแสน้ํา และท้ัง 2 หาด มกี ารแขง่ ขนั กฬี าเซิร์ฟบอรด์ และเรือใบนานาชาติขึ้นทกุ ปีหาดป่าตอง อ.กระทู้ หาดกะตะ อ.เมืองภูเก็ตภาพที่ 3.5 : หาดปา่ ตอง และ หาดกะตะที่มา : www.google earth.com , สบื ค้นเม่อื กนั ยายน 2560 3-12
3.2.1.1 หาดปา่ ตอง (www.m.airportthai.com ,17 กันยายน 2560) 3) สภาพแวดลอ้ ม 1) การแขง่ ขัน อาคารส่วนใหญ่เป็นท่ีพักประเภทรีสอร์ท ส่วนบริการนักท่องเท่ียว และท่ีพัก สําหรับการแข่งขัน Quiksilver Surf จะมีนักโต้คลื่นกว่า 300 คนจากท่ัว ของพนักงานบนเกาะ โดยในอนาคตจะมีการสร้างร้านค้าและส่ิงอํานวยความอื่น ๆโลก อาทิ ออสเตรเลีย ฮาวาย ไต้หวัน เกาหลี ญ่ีปุ่น และนักโต้คล่ืนชาวไทย ซึ่ง เพิ่มขนึ้นอกจากมกี จิ กรรมการแข่งขันแลว้ ยงั มกี จิ กรรมการสอนเลน่ กระดานโต้คล่ืนกับนักโต้ 4) การเดนิ ทางคล่ืนมืออาชพี การโชว์การโต้คล่นื ท่ตี ื่นเตน้ จากทมี งาน เปน็ ตน้ การเดินทางมายงั หาดป่าตองสามารถมาถึงได้จากสามทางหลัก หากเดินทาง 2) ขนาดของคล่ืน ตั้งแต่ 1-2 ฟุตขึ้นไป มาจากตัวเมืองโดยนับจาก\"สนามกีฬาสุระกุลภูเก็ต\" จะใช้เวลา ประมาณ 25 นาที หรืออกี เส้นทางที่สองสามารถเดนิ ทางจากหาดกะรนจะใช้เวลาประมาณ 20 นาที และ อีกเส้นทางที่สามสามารถเดินทาง มาจากหาดกมลาโดยจะใช้เวลาประมาณ 20 นาที เช่นกัน โดยท้ังสามทางสามารถเดินทางไปถึงหาดได้ทั้งรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ 3-13
ถนนราษฎร์อทุ ิศ ถนนบารมี ถนนทวีวงศ์ 4055ภาพที่ 3.6 : หาดปา่ ตอง 1 Hard Rock Cafe PhuketCafทม่ี า : www.google earth.com , สบื คน้ เมอ่ื กนั ยายน 2560 2 Baan Laimai Patong Beach Resorte Phuket 3 Holiday Inn Resort Phuke 4 La Flora Resort Patong 5 Phuket Graceland Resort & Spa 3-14
3.2.1.2 หาดกะตะ (www.m.airportthai.com , 17 กันยายน 2560) 2) ขนาดของคลน่ื ตง้ั แต่ 2 ฟุตขึน้ ไป 1) การแข่งขนั 3) สภาพแวดลอ้ ม สําหรบั การแข่งขัน Quiksilver & Roxy จะมีนักโต้คลื่นกว่า 300 คนจาก อาคารส่วนใหญ่เป็นท่ีพักประเภทรีสอร์ท ส่วนบริการนักท่องเที่ยว และท่ีพักท่ัวโลก อาทิ ออสเตรเลีย ฮาวาย ไต้หวัน เกาหลี ญี่ปุ่น และนักโต้คล่ืนชาวไทย ซึ่ง ของพนักงานบนเกาะ โดยในอนาคตจะมีการสร้างร้านค้าและส่ิงอํานวยความอ่ืน ๆนอกจากมีกิจกรรมการแขง่ ขันแลว้ ยังมกี จิ กรรมการสอนเลน่ กระดานโต้คลื่นกับนักโต้ เพม่ิ ขึ้นค ล่ื น มื อ อ า ชี พ ก า ร โ ช ว์ ก า ร โ ต้ ค ล่ื น ที่ ต่ื น เ ต้ น จ า ก ที ม ง า น เ ป็ น ต้ น 4) การเดินทาง(www.komchadluek.net , 17 กันยายน 2560) อยู่ห่างจากตัวเมือง 17 กิโลเมตร ไปตามเส้นทางถนนเจ้าฟ้าถึงห้าแยกอ่าว ภูเก็ตคิงส์คัพรีกัตต้า คือการแข่งขันเรือใบชิงถ้วยพระราชทาน เป็นการ ฉลองเลี้ยวขวาเขา้ ถนนปฏัก ซอยปากบางเป็นถนนที่ติดริมหาด เป็นถนนแคบไม่แข่งขันระดับนานาชาติ โดยในแต่ละปี จะมีเรือใบที่เข้าร่วมการแข่งขันกว่า 100 ลํา สามารถจอดรถลงเดนิ ชายหาดได้ สามารถจอดรถตรงบรเิ วณ ถนนกะตะแล้วเดินมาพร้อมด้วนนักกีฬา 2,000 คนจากทั่วโลก และมักจะจัดช่วงเดือนพฤศจิกายน- หาดกะตะจะสะดวกกว่าธั น ว า ค ม ณ บ ริ เ ว ณ ห า ด ก ะ ต ะ ( www.suvarnabhumiairport.com , 17กนั ยายน 2560) 3-15
ถนนกะตะ ถนนปฎัก ซอยปากบาง ถนนโคกโตนดภาพท่ี 3.7 : หาดกะตะทม่ี า : www.google earth.com , สืบคน้ เมื่อ กันยายน 2560 1 CLUB MED PHUKET 2 สวัสดีวลิ เลจ 3-16 3 สวนชมุ ชน กะตะ 4 SURF HOUSE PHUKET 5 KATA BEACH RESORT AND SPA
แผนภมู ทิ ี่ 3.3 เกณฑก์ ารเลอื กย่านทีต่ ั้งในจงั หวัดภเู ก็ตท่ีมา : ประกามาศ ทาวรมย์ , สบื คน้ เม่อื กนั ยายน 2560 สรุป จากการวิเคระห์การเลือกย่านที่ตั้งโครงการทั้ง 2 หาด ได้ท่ีหาดกะตะ ปัจจัยท่ีเป็นตัวบ่งชี้ถึงความเหมาะสมคือ การแข่งขันกีฬาเซิร์ฟและเรือใบ ซ่ึง หาดกะตะมีการแข่งขันกีฬาทั้ง 2 ชนิดน้ีข้ึนทุกปี และความสูงของคลื่นซึ่ง การเล่นเซิร์ฟน่ันต้องอาศัยคลื่นที่สูงและลมจากทะเลเป็นส่วนใหญ่ จึงสรุปได้ ว่ายา่ นทต่ี ัง้ คือ หาดกะตะ 3-17
3.2.2 การวิเคราะห์ทําเลที่ตั้งโครงการ อําเภอเมืองภูเก็ต 3.2.2.2 ลักษณะภูมิประเทศ(andamanguide.com/info/phuket.html,2560) พ้ืนท่ีอําเภอเมืองภูเก็ตมีพื้นท่ีเป็นภูเขา มีลักษณะซับซ้อนตลอกแนวจาก ทิศเหนือถึงทิศใต้เทือกเขานี้เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาตะนาวศรี มียอดเขาไม้เท้า 3.2.2.1 ท่ตี ้ังและอาณาเขต สิบ สอง ยอดเขานาคเกิด มีที่ราบอยู่ทางตอนกลางและตะวันออกของเกาะ อําเภอเมืองภูเก็ตมีพ้ืนท่ีท้ังหมด 224 ตารางกิโลเมตร มีการแบ่งเขต ลักษณะพื้นที่ทางตอนเหนือเป็นท่ีราบสูง พื้นท่ีชายฝ่ังตะวันออกเป็นป่าชายเลนปกครองออกเป็น 8 ตําบล 43 หมู่บ้าน คือ ตําบลตลาดใหญ่ ตําบลตลาด พื้นท่ีฝ่ังตะวันตกเป็น ภูเขา และหาดทรายที่สวยงาม และเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่ตําบล เหนือเกาะแก้ว ตําบลรัษฎา ตําบลวิชิต ตําบลฉลอง ตําบลราไวย์ และ สาํ คัญของจังหวดัตําบลกะรน อําเภอเมืองภูเก็ต เป็นหน่ึงในสามอําเภอและอยู่ทางตอนใต้ของ 3.2.2.3 สภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยภาพรวมการประกอบอาชีพจังหวัด ติดต่อทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย ห่างจากกรุงเทพมหานคร ของประชากรเขตอาํ เภอเมือง ไดแ้ ก่ประมาณ 867 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 4 สายเพชรเกษม และทาง 1) ธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ได้เแก่ โรงแรมหลวงหมายเลข 402 สายโคกกลอย - ภูเก็ต ใช้เวลาเดินทางประมาณ ร้านอาหาร บริษัทนาํ เที่ยว ร้านค้าขายของทีร่ ะลึก เปน็ ต้น12–14 ช่ัวโมง ทางอากาศ ประมาณ 688 กิโลเมตร ใช้เวลาบิน 1 ช่ัวโมง 10 2) เกษตรกรรม เกษตรกรรมท่ีสําคัญได้แก่ การปลูกยางพารา มะพร้าวนาที พ้ืนที่ทั้งภูเก็ตประกอบด้วยท่ีราบสูงครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหน่ึงเป็นท่ีราบแถบเชิง สับปะรด การประมง และเพาะเลีย้ งสัตว์น้ําเขาและชายฝงั่ ทะเล มีอาณาเขตตดิ ต่อ ดังนี้ 3) อตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรมท่ีสําคัญได้แก่ อุตสาหกรรมแปร รูปสินค้า ทิศเหนือ ติดต่อกบั อาํ เภอถลาง เกษตร อุตสาหกรรมด้านการประมง ทิศใต้ ติดต่อกบั ทะเลอันดามนั ทศิ ตะวันออก ติดต่อกบั อา่ วพงั งา ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กบั ทะเลอันดามนั และอําเภอกะทู้ 3-18
3.2.2.4 โครงสร้างพ้ืนฐานท่วั ไป ท่าเรอื ถลาง 1) การคมนาคมขนส่งและการส่ือสาร มีเส้นทางคมนาคมติดต่อกับจังหวัดต่างๆ ได้สะดวกท้ัง 3 ทาง ท้ังทางบก ทางนํ้าและทางอากาศ โดยมีท่า ทา่ เรอื บางโรงอากาศยานนานาชาติ 1 แห่ง มีเส้นทางคมนาคมเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้าน ตําบล ทา่ เรือรัษฎาทุกตําบลยกเว้น ในหมู่ที่ 6 บ้านเกาะมะพร้าว และหมู่ที่ 3 บ้านเกาะโหลนต้องเดินทางทางนํ้าใช้เวลา เดินทางประมาณ 15 นาที การสื่อสารทุกแห่งสามารถ ท่าเรอื นํา้ ลกึ ภูเกต็สอ่ื สารทางโทรศัพทไ์ ด้ โดยมสี ัญญาณชดั เจนทุกพน้ื ท่ี ทา่ เรอื ฉลอง 2) การไฟฟ้า การบริการไฟฟ้าในอําเภอเมืองภูเก็ต ดําเนินการโดยการไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาค จากแหล่งผลติ ไฟฟา้ พลงั น้ําเขอ่ื นรัชชประภา จังหวัดสุราษฎร์ ทา่ เรือราไวย์ธานี ส่วนชุมชนท่ีใช้บริการไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์และเครื่องปั่นไฟฟ้า อยู่ เกาะราชาใหญ่บนเกาะบริวาร 2 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ท่ี 6 บ้านเกาะมะพร้าว ตําบลเกาะแก้ว และหมู่ท่ี 3 บา้ นเกาะโหลน ตาํ บลราไวย์ ภาพที่ 3.8 : แสดงระบบการคมนาคมในเขตอาํ เภอเมอื ง ภเู กต็ 3) การประปา อําเภอเมืองภูเก็ตมีการใช้น้ําจากการประปาภูมิภาค และ ทม่ี า : ณฐั พงศ์ แซจ่ ันทร์ , สืบคน้ เมอ่ื กนั ยายน 2560นาํ้ จากบอ่ น้ําตนื้ บอ่ บาดาลในหมู่บ้าน 3-19
3.2.3 หาดกะตะ 3.2.3.1 ทีต่ ้งั และอาณาเขต หาดกะตะ ต.กะรน อ.เมืองภเู กต็ จ.ภูเกต็ หาดกะตะมีลักษณะโค้งเป็นเส้ียวพระจันทร์ หาดกะตะแบ่งออกเป็น 2 หาด คือ หาดกะตะใหญ่ และหาดกะตะน้อยเป็นหาดท่ีเหมาะสําหรับการเล่นนํ้า และใช้เป็นที่ฝึกดําน้ําเน่ืองจากมีแนวปะการังติดต่อกันไปจนถึงเกาะปู ซึ่งอยู่ด้านหน้าหาดกะตะ ปัจจุบันหาดกะตะเป็นหาดหนึ่งท่ีมีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครัน อาทิ สถานที่พัก บริษัทนําเท่ียว ร้านค้าแหล่งบันเทิงต่างๆ ไว้สําหรับบริการนักท่องเท่ียว และท่ีสําคัญเป็นแหล่งเล่นกีฬาทางทะเลเชน่ เซริ ฟ์ บอร์ดและเรือใบ มกี ารแข่งขนั ระดับนานาชาติที่หาดกะตะข้ึนทุกปี คนส่วนมากจะเล่นกระดานโต้คล่ืนทางฝ่ังใต้ของหาด ซึ่งคล่ืนจะมีความสูงกวา่ ดา้ นทิศเหนือ ท่ีมา : www.unsplash.com , สบื คน้ เมื่อ กนั ยายน 2560 3-20
3.2.3.2 การขน้ึ -ลงของนํา้ 3.2.3.3 ความสงู ของคล่นื การข้ึนลงของนํ้าทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลของพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่ง ลักษณะคล่ืน คลื่นแตกชายหาด และมี คลื่นขนาดใหญ่บริเวณ โขดหินทางอันดามัน มีลักษณะเป็นแบบนํ้าคู่หรือนํ้าขึ้นลงวันละ 2 คร้ัง (SemidiurnalTide) โดยมีระดับการขึ้นลงของน้ํา ณ สถานีตรวจวัดของกรมอุทกศาสตร์ ทศิ ใต้ สว่ นบรเิ วณอ่นื คล่นื อาจมีขนาดเล็กลงมากองทัพเรือท่ีปากน้ําระยองและจังหวัดภูเก็ต มีนํ้าข้ึนเฉลี่ย (Mean High Water) ขนาดคลื่น ตงั้ แต่ 2 ฟตุ ขึ้นไป แต่ถา้ คล่นื ใหญ่มากบางครั้งครอบเร็วเทา่ กับ +0.60 และ +0.56 เมตร และนํ้าลงเฉล่ีย (Mean Low Water) เท่ากับ ทศิ ทางของคลื่น เล่นได้ทัง้ ขวาและซ้าย-1.12 และ -1.17 เมตร จากระดับนําทะเลปานกลาง ตามลาดับ ช่วงความแตกต่างของนํ้าทะเล (Tidal Range) เท่ากับ 1.73 เมตร ส่งผลต่อการใช้ แผนภมู ทิ ี่ 3.4 แสดงความสงู ของคลื่นทห่ี าดกะตะประโยชน์ของพ้ืนท่ีชายฝ่ังโดยเฉพาะอย่างย่ิงการคมนาคมขนส่งทางน้า การเพาะเล้ียงชายฝัง่ และกิจกรรมด้านการทอ่ งเทยี่ วอื่นๆ ของ ชายฝั่งทะเล ท่ีมา : Max Surf Height , สืบคน้ เม่ือ กันยายน 2560(สํานักบรหิ ารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวดั ภาคใต้ฝ่งั อนั ดามัน , 2558) ดังนน้ั ช่วงเดือน ก.ค.—ก.ย. เปน็ ชว่ งที่มีคลืน่ ทะเลสงู เหมาะแก่การเลน่ เซริ ฟ์ บอร์ด 3-21
3.2.4 การวิเคระห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคของจังหวัดภูเก็ต Strengths Weaknesses• มที รัพยากรท่องเที่ยวท่งี ดงาม โดดเดน่ หลากหลายและมีชอ่ื เสียงระดับโลก • ปัญหาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมเสือ่ มโทรม• ทรพั ยากรมนุษย์มคี วามพรอ้ มท่จี ะไดร้ ับการพฒั นา • ความปลอดภัยและการเอาเปรยี บนักท่องเท่ียว• มคี วามไดเ้ ปรยี บด้านทาํ เลที่ตัง้ ที่เหมาะสม • การมีสว่ นรว่ มของประชาชนและจติ สาธารณะ• มฐี านเศรษฐกิจทม่ี ั่นคงและหลากหลาย • การควบคุมและรกั ษาระดับมาตรฐานการให้บรกิ าร• มคี วามพร้อมดา้ นโครงสร้างพื้นฐานและบริการสิง่ อํานวยความสะดวก • การพึ่งพิงและแรงงานตา่ งดา้ ว• มีวฒั นธรรมประเพณีท่ีเป็นเอกลักษณข์ องจังหวดั • ภาพลกั ษณข์ องการเปน็ พน้ื ท่ีเสี่ยงภยั ธรรมชาตแิ ผ่นดินไหวสึนามิ • ปัญหามลภาวะจากการทอ่ งเท่ียว ขยะ น้าํ เสีย 3-22
Opportunities Threats• ช่ือเสียงระดบั โลกดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว • ความผนั ผวนทางเศรษฐกจิ โลก• การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุนด้านการท่องเทีย่ วเชิงสขุ ภาพและผู้สงู อายุ • การกอ่ การรา้ ยสากลความขัดแย้งระหว่างประเทศ และโรคระบาด• การเชอ่ื มโยงกบั ภูมิภาคและพัฒนาสนู่ านาชาติ • กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ที่ลา้ สมยั • ความลกั ลนั่ ในการปรับตวั ใหเ้ ข้ากับการเปลี่ยนแปลง ( การทอ่ งเท่ยี วยกระดับมาตรฐาน สินคา้ และบริการ สารสนเทศ การศึกษา ) • อบุ ตั ภิ ยั จากแผ่นดนิ ไหวสึนามิ• การพฒั นาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อุตสาหกรรมการประมงรฐั ให้การสนับสนุน• กระแสโลกในเร่ืองสงิ่ แวดลอ้ ม คณุ ภาพชวี ิตและการพัฒนาทยี่ งั่ ยืน• กระแสการท่องเทย่ี วเชิงอนรุ ักษแ์ ละการทอ่ งเท่ยี ววัฒนธรรมจะชว่ ยเสริมสร้าง ตลาดการทอ่ งเท่ยี วรปู แบบใหม่3-23
3.3 กฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ ง 3.3.1 ผังสีการใช้ที่ดิน จังหวัดภูเก็ต ท่ดี ินในบริเวณหมายเลข 2.1 ถงึ หมายเลข 2.41 ท่ี กํ า ห น ด ไว้เปน็ สีส้ม ใหเ้ ปน็ ท่ีดิน ประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ข้อ 8 ท่ีดินประเภทท่ีอยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ให้ใช้ ประโยชน์ที่ดินเพ่ือการอยู่อาศัย การท่องเท่ียว สถาบันราชการ การ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สําหรับการใช้ ประโยชน์ที่ดินเพ่ือกิจการอ่ืน ให้ใช้เพิ่มได้อีกไม่เกินร้อยละสิบห้าของที่ดิน ประเภทนี้ในแต่ละบรเิ วณ ภาพที่ 3.9 : ผังสี จังหวดั ภูเก็ต ท่ีมา : กฎกระทรวง ให้ใชบ้ งั คบั ผงั เมืองรวมจังหวดั ภูเกต็ (ฉบับท่ี 4) , สืบคน้ เมื่อ กนั ยายน 2560 3-24
หาดกะตะ อยู่ในเขตพน้ื ท่ีสีสม้ 115.00 ม.เป็นทีด่ ินประเภททอี่ ยอู่ าศัยหนาแนน่ ปานกลางพื้นที่โครงการ 7,678 ตร.ม. 4.7 ไร่ 63.00 ม. 80.00 ม. 103.00 ม.ภาพที่ 3.10 : หาดกะตะทมี่ า : www.google earth.com , สบื ค้นเม่ือ กนั ยายน 2560 3-25
3.4 ศกึ ษาและวเิ คราะหี์ที่ตั้งโครงการ 3.4.1 สภาพท่ีต้ังโครงการ ท่ีตงั้ โครงการอยทู่ างด้านเหนอื ของหาดกะตะ ทิศเหนอื ตดิ กับ Novotel Phuket Kata Avista Resort and Spa ทิศใต้ ติดกับ หาดกะตะ ทิศตะวันออก ตดิ กับ ซอยปากบาง ทศิ ตะวนั ตก ติดกับ หาดกะตะ Nภาพที่ 3.11 : หาดกะตะทม่ี า : www.google earth.com , สบื ค้นเม่อื กนั ยายน 2560 3-26
3.4.2 แสดงการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อท่ีตั้งโครงการมีลมตะวนั ตกเฉียงใต้และมคี ลน่ื จากทะเลพดั เข้าโครงการ มมุ มองจากโครงการจะมองเหน็ หาดกะตะและทะเลอันดามนั ทอี่ ยู่ดา้ นหน้าโครงการอย่ทู างทศิ เหนอื ของหาด จงึ ทาํ ให้มีแดดเข้าทางด้านทต่ี ิดทะเล มีเสยี งบริเวณรอบๆโครงการ เนื่องจากมรี ีสอรท์ และถนน 3-27ภาพท่ี 3.12 : แสดงการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มทม่ี ีผลตอ่ ที่ตั้งโครงการท่ีมา : ประกามาศ ทาวรมย์ , สืบค้นเมือ่ กนั ยายน 2560
3.4.2 แสดงการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อท่ีตั้งโครงการ (ต่อ)อย่หู ่างจากตัวเมอื ง 17 กโิ ลเมตร ไปตามเส้นทางถนนเจา้ ฟา้ ถงึ ห้าแยกอา่ วฉลองเลยี้ วขวาเขา้ ถนนปฏกัขอบเขตอยู่ ต.กะรน อ.เมือง จงั หวดั ภเู ก็ตภาพที่ 3.13 : แสดงการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมท่มี ผี ลตอ่ ท่ีต้ังโครงการท่มี า : ประกามาศ ทาวรมย์ , สบื ค้นเมอ่ื กนั ยายน 2560 3-28
3.4.2 แสดงการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อที่ต้ังโครงการ (ต่อ)1 CLUB MED PHUKET 2 สวัสดวี ิลเลจ 3 สวนชุมชน กะตะ4 SURF HOUSE PHUKET 5 KATA BEACH RESORT AND SPA 6 NOVOTEL PHUKET KATA AVISTA RESORT AND SPAภาพท่ี 3.14 : สภาพแวดลอ้ มใกล้เคียงท่ตี ง้ั โครงการทมี่ า : www.phuketairportthai.com , สืบค้นเมื่อ กันยายน 2560 3-29
3.4.3 สรุปการเลือกตําแหน่งท่ีตั้งโครงการ การเลือกตําแหน่งท่ีตั้งโครงการจากผลการวิเคราะห์ โครงการพัฒนาสโมสรทางเลือกและเครือข่ายนักกีฬาทางทะเล ต้องใช้พื้นที่ติดกับทะเลเนื่องจากต้องค้นย้ายอุปกรณ์เซิร์ฟบอร์ดและเรือใบ ต้องอาศัยคล่ืนจากทะเลท่ีสูงพอสมควรเพือ่ เหมาะแกก่ ารฝกึ ซ้อมและแขง่ ขนั เซริ ์ฟบอร์ดและเรอื ใบที่จะเกิดข้ึน จังหวัดท่ีมีศักยภาพสูงสุดและเหมาะกับการเป็นท่ีตั้งโครงการคือ จังหวัดภูเก็ตบริเวณหาดกะตะซ่ึงมีการแข่งขันกีฬาท้ัง 2 ชนิดน้ีข้ึนทุกปี มีกระแสน้ําและความสูงของคลืน่ ท่เี หมาะแก่การเล่นกีฬาท้ัง 2 ชนิดนี้ มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครันเอ้อื ประโยชนต์ ่อนกั กฬี าและนกั ท่องเทีย่ วท่จี ะมาบริเวณหาดนี้ ภาพท่ี 3.15 : หาดกะตะ ที่มา : www.pinterest.com , สืบคน้ เม่อื กันยายน 2560 3-30
04การกาหนดรายละเอยี ดโครงการ ทีม่ า : www.unsplash.com , สบื คน้ เม่อื กันยายน 2560 4-1
ทม่ี า : www.unsplash.com , สบื ค้นเมื่อ กันยายน 2560 4-2
4.1 จังหวัดภูเก็ตเป็นจังหวัดท่ีนักท่องเท่ียวสนใจเยอะเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศมีแหล่ง ท่องเที่ยวมากมายและเป็นจังหวัดที่สร้างรายได้มากเป็นอันดับ 1 ของภาคใต้ซึ่งในปีความเปน็ มาของโครงการ พ.ศ.2558 มีรายได้จากการท่องเที่ยว 313,006 ล้านบาท และมีกิจกรรมท่ีน่าสนใจสาหรับ นักท่องเทยี่ วมากมายเช่น การดานา เจ๊ทสกี เรือใบ เรอื แคนู กระดานโต้คล่ืน ฯลฯ ซึ่งหน่ึงใน กีฬาทางทะเลท่ีเด่นชัดคือ กีฬาโต้คลื่นหรือเซิร์ฟบอร์ด เป็นกีฬาชายหาดของแท้ ไม่ใช่เป็นการ นาเอากีฬาอย่างอื่นมาเล่นท่ีชายหาด ซึ่งมีการจัดการแข่งขันขึนทุกปี โดยเฉพาะท่ีหาดป่าตอง และหาดกะตะ ในอนาคตภูเก็ตอาจเป็นแหล่งโต้คล่ืนระดับนานาชาติหรือระดับโลกและช่วยต่อ ยอดการท่องเท่ยี วของจังหวัดภูเก็ตใหค้ ึกคกั เพมิ่ ขนึ (แหลง่ อ้างองิ : สมาคมโต้คล่นื ) ปัญหาคือในเรื่องของความปลอดภัยสาหรับนักกีฬาและผู้ท่ีฝึกเล่นใหม่สาหรับกีฬา เซริ ์ฟบอรด์ ยงั ค่อนข้างน้อยและท่พี ักเกบ็ ตวั สาหรบั นกั กฬี ายังไมม่ ากพอต่อจานวนนักกีฬาที่มา แข่งในแต่ละครงั ซึ่งกฬี าเซิร์ฟบอร์ดเป็นท่ีแพร่หลายในปัจจุบันสาหรับชาวต่างชาติ แต่ชาวไทย ยงั ไมค่ ้นุ กบั กฬี าชนิดนี โครงการพัฒนาสโมสรทางเลือกและเครือข่ายนักกีฬาทางทะเล จะเป็นทังท่ีพักเก็บตัว สาหรบั นกั กีฬาและเป็นท่ีฝึกหัดสาหรับผูท้ ี่ฝึกเล่นใหม่ที่น่ีจะดูแลในเรื่องความปลอดภัยทังในการ ฝึกซ้อมและในการแข่งขัน อานวยความสะดวกในเร่ืองอุปกรณ์ และส่งเสริมการท่องเที่ยวของ จังหวัดภูเก็ตเพ่ิมขึนอีก โดยมีกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาโต้คลนื่ เป็นผสู้ นับสนนุ ของโครงการ 4-3
4.2 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพื่อสร้างทางเลือกสาหรบั นกั กฬี าและนกั ทอ่ งเท่ียว 2. เพอื่ สรา้ งศูนยฝ์ ึกกีฬาเฉพาะเพอื่ รองรับการเก็บตัวฝกึ ซอ้ มสาหรับนักกีฬา 3. เพอื่ สร้างเครือขา่ ยสาหรับนกั กีฬา 4. เพอ่ื รองรบั การแขง่ ขันกฬี าในระดับนานาชาติ ทม่ี า : www.unsplash.com , สืบคน้ เม่อื กันยายน 2560 4-4
4.3 การกาหนดโครงสร้างการบรหิ าร หน่วยงานเจ้าของโครงการคือ กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา เป็นหน่วยงานท่ี รับผิดชอบโครงการโดยมีโครงสร้างการบริหารภายในโครงการโดยแบ่งประเภทของ พนักงานออกเปน็ 4 ระดบั 1) ระดับผู้กาหนดนโยบาย และผู้ควบคุมนโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่ ผู้อานวยการ โครงการ และระดบั หวั หนา้ ฝา่ ยหรอื แผนกต่างๆ 2) ระดบั รอง คือ ผู้ชว่ ยหวั หนา้ ฝ่ายหรอื แผนก 3) ระดบั หัวหนา้ งาน 4) พนกั งานปฏิบัตทิ ่วั ไปภายในโครงการประกอบด้วยสว่ นตา่ งๆ ดังนี - ส่วนบริหาร - ส่วนกีฬา - สว่ นท่พี กั - สว่ นบริการ - สว่ นSERVICE4-5
4.4 โครงสร้างการบรหิ ารงาน ฝ่ายบริหารโครงการ ผ้อู านวยการแผนภูมิที่ 4.1 แสดงแผนผังองค์กรการบริหารงานของโครงการ รองผ้อู านวยการ+เลขานกุ าร รองผู้อานวยการ+เลขานุการ ฝ่ายกฬี าและบริการ ฝ่ายบริหารและธุรการ ฝ่ายธรุ การ ฝา่ ยอาคารและสถานที่ ฝา่ ยทีพ่ ัก/สนับสนนุ ฝา่ ยกฬี า - หวั หน้าฝ่ายธุรการ - แผนกประชาสัมพันธ์ - หวั หน้าแผนก - หัวหนา้ แผนก - หวั หน้าแผนก - แผนกบญั ชีและการเงิน - แผนกเทคนคิ วศิ วกรรม - แผนกประชาสัมพนั ธ์ - เจา้ หน้าที่ - แผนกรกั ษาความ - เจา้ หน้าท่ี - เจ้าหน้าทส่ี อนท่มี า : ประกามาศ ทาวรมย์ , กนั ยายน 2560 ปลอดภัย - แผนกร้านอาหาร - แผนก FITNESS - แผนกทาความสะอาด - แผนกร้านกาแฟ - แผนก SURF HOUSE - แผนกซ่อมบารงุ - แผนกรา้ นขายของ 4-6
ตารางท่ี 4.1 กาหนดอัตรากาลังของเจ้าหน้าที่ลาดับ อัตรากาลังของเจ้าหน้าท่ี หน้าที่ จานวน (คน)1 ฝ่ายบริหาร ดาเนินงานตามนโยบายและแผนงานทไี่ ด้กาหนดไว้ ประสานงานระหว่างผู้บริหารระดบั สูง เพอื่ กาหนดนโยบายให้ผจู้ ัดการ 5 1.1 ผ้อู านวยการ ระดบั ล่าง ได้นาแผนงานไปปฏบิ ัติ 1 วางแผนการทางานและควบคุมการทางานต่างๆ 1.2 รองผ้อู านวยการ ปฏิบตั ติ ามหน้าท่ีที่ไดร้ ับมอบหมายจากผู้บริหาร รวบรวมเอกสารข้อมูล 2 1.3 เลขานุการ 22 ฝา่ ยธรุ การ 5 2.1 หัวหนา้ ฝา่ ยธุรการ 2.3 แผนกประชาสมั พันธ์ ควบคุมดูแลและรับผิดชอบงานฝ่ายธุรการทงั หมด 1 2.4 แผนกบญั ชีและการเงิน ประชาสัมพันธแ์ ละดาเนินการกิจกรรมตา่ งๆ , ตดิ ต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ 2 ดาเนินการเบิกจ่ายเงินและงบประมาณทกุ ประเภท จัดทาเอกสารการเงนิ ให้เป็นปัจจบุ ัน และจัดทาเอกสารรายได้ นารายได้ 2 เขา้ ฝากหรือเกบ็ รกั ษาภายในเวลาทีก่ าหนด3 ฝา่ ยอาคารและสถานท่ี ควบคมุ ดูแลและรับผิดชอบฝ่ายทพ่ี ักทังหมด 20 3.1 หัวหนา้ ฝา่ ย 1 6.2 แผนกเทคนิค วศิ วกรรม 6.2.1 เจา้ หนา้ ที่เครอื่ งกล ปฏบิ ตั ิงานทางเทคนคิ เพ่อื การ สร้าง ซอ่ มแซม ประกอบ ดดั แปลง ออกแบบติดตัง และบารุงรกั ษา เครอ่ื ง เคร่ืองจกั ร 2 เครอ่ื งมือ และเรือยนต์เพ่อื ใชป้ ฏิบตั งิ านที่มา : ประกามาศ ทาวรมย์ , กันยายน 2560 4-7
ตารางที่ 4.1 กาหนดอัตรากาลังของเจ้าหน้าท่ี (ต่อ) ลาดับ อัตรากาลังของเจ้าหน้าท่ี หน้าท่ี จานวน3 6.2.2 เจา้ หน้าที่ไฟฟ้า (คน) ตรวจเชค็ ซ่อมแซม และติดตังเคร่ืองจกั รทางไฟฟา้ เชน่ หม้อแปลงไฟฟ้า มอเตอรไ์ ฟฟา้ อุปกรณ์ตรวจเช็ค และ อปุ กรณ์ 2 ควบคุมการทางาน 6.2.3 เจา้ หนา้ ทอี่ ิเล็กทรอนกิ ส์ ดาเนนิ การตรวจสอบ บารุงรักษา ซอ่ มแก้ไข ปรบั ปรุง ระบบงานไฟฟ้าอิเลก็ ทรอนิกสส์ าหรับเครือ่ งจักรกล ยานพาหนะ 2 เครือ่ งมือ อปุ กรณ์ และงานอุปกรณ์ทางด้านคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้พรอ้ มใชอ้ ยเู่ สมอ 6.3 แผนกรกั ษาความปลอดภัย ควบคมุ ดูแล ส่งิ ผิดปกตภิ ายในอาคารทังกลางวันและคืน เพ่ือปกป้องทรพั ย์สนิ และความปลอดภัยตอ่ ชีวิตของ คนใน 4 อาคาร 6.4 แผนกทาความสะอาด ควบคุมดแู ลอาคารและสถานท่ี ใหส้ ะอาดและเรียบรอ้ ยตลอดเวลา 6 6.5 แผนกซ่อมบารุง ควบคุมดแู ล และเตรียมอปุ กรณ์ให้พรอ้ มใชง้ าน 34 ฝา่ ยทพี่ กั /สนับสนุน 30 4.1 ทีพ่ กั 1 2 4.1.1 หัวหนา้ แผนก ควบคุมดแู ลและรับผดิ ชอบฝา่ ยที่พักทังหมด 2 6 4.1.2 แผนกประชาสัมพนั ธ์ ประชาสัมพันธ์และให้คาแนะนาแก่นักท่องเท่ียวและนักกีฬาท่เี ขา้ มาพัก 4.1.3 แผนกบัญชแี ละการเงิน ทาบัญชีรายรับ-จ่ายจากค่าเขา้ พัก 4.1.4 เจา้ หน้าท่ี ดแู ลและอานวยความสะดวกให้แก่นกั ทอ่ งเทยี่ วและนักกฬี าเม่อื เข้ามาพักที่มา : ประกามาศ ทาวรมย์ , กนั ยายน 2560 4-8
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132