Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ

วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ

Published by fiaonika, 2019-08-15 02:57:42

Description: วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ

Keywords: หม,ี่

Search

Read the Text Version

B Pest ractice “หม่ีกรอบ” ครอบครองใจคนในชมุ ชน นางสาวกรรณกิ าร์ ประสทิ ธพิ์ ร ครู กศน.ตาบลทา่ ชา้ ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบา้ นลาด สังกดั สานกั งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดเพชรบรุ ี

ก คำนำ เอกสารเล่มน้ีจัดทาข้ึน เพ่ือเสนอผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice เรื่อง หม่ีกรอบครองใจ คนในชุมชน เป็น Best Practice ของ กศน.ตาบลท่าช้าง อาเภอบ้านลาด จงั หวัดเพชรบรุ ี โดยใชเ้ ทคนิควิธีการ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้ครอบคลุมคนทุกช่วงวัย และนาเสนอสินค้าทางสื่อออนไลน์ เพื่อเพิ่มยอดขายให้กับตัว ผู้ผลิตเอง ผจู้ ัดทาหวังวา่ เอกสารเลม่ น้ีคงเปน็ ประโยชน์แก่ผู้อ่าน และผู้ทสี่ นใจมากพอสมควรหากมสี ่ิงใดขาดตก บกพรอ่ งตอ้ งขออภยั ไว้ ณ โอกาสน้ี นางสาวกรรณิการ์ ประสิทธิพ์ ร

ข สำรบญั คานา ........................................................................................................................................................ก สารบญั ..................................................................................................................................................... ข วิธีปฏิบัตทิ เี่ ป็นเลิศ (Best Practice)...........................................................................................................๑ ๑. ช่ือผลงาน ผลิตภณั ฑ์ “หมก่ี รอบ” ครองใจทุกช่วงวยั ...........................................................................๑ ๒. หนว่ ยงาน/สถานศึกษา/กศน.ตาบล ....................................................................................................๑ ๓. ชอื่ เจา้ ของผลงาน...............................................................................................................................๑ ๔. ความสอดคล้อง .................................................................................................................................๑ ๕. ทมี่ าและความสาคัญของ Best Practice ............................................................................................๑ ๖. วตั ถุประสงค์..................................................................................................................................... ๓ ๗. วิธีดาเนินการ.................................................................................................................................... ๓ ๘. ตัวชี้วัดความสาเร็จ ........................................................................................................................... ๔ ๙. การประเมนิ ผลและเครื่องมือการประเมนิ ผล ...................................................................................... ๔ ๑๐. ผลการดาเนนิ งาน ............................................................................................................................. ๔ ๑๑. บทสรุป ............................................................................................................................................ ๔ ๑๒. กลยทุ ธ์หรอื ปัจจัยทที่ าให้ประสบความสาเร็จ...................................................................................... ๕ ๑๓. ข้อเสนอแนะ..................................................................................................................................... ๕ ๑๔. การอา้ งอิง ........................................................................................................................................ ๕ ๑๕. ภาคผนวก .........................................................................................................................................๖

๑ วิธีปฏบิ ัตทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) ๑. ช่ือผลงาน ผลติ ภณั ฑ์ “หมกี่ รอบ” ครองใจทุกชว่ งวัย ๒. หน่วยงาน/สถานศึกษา/กศน.ตาบล กศน.ตำบลทำ่ ชำ้ ง อำเภอบ้ำนลำด จังหวัดเพชรบรุ ี ๓. ชอ่ื เจ้าของผลงาน นางสาวกรรณิการ์ ประสทิ ธ์พิ ร โทรศพั ท์ ๐๘๕-๒๙๑๓๑๕๘ โทรสำร – อีเมล์ [email protected] ผบู้ ริหำร นำงวรภร ประสมศรี ๔. ความสอดคล้อง จำกนโยบำยและจุดเน้นกำรดำเนินงำนสำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ผลิตภัณฑ์ “หม่ีกรอบ” ครองใจทุกช่วงวัย สอดคล้องนโยบำยเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคล่ือนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ ยทุ ธศำสตร์ด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน ข้อ ๒.๒ พัฒนำทักษะให้ประชำชนเพื่อ กำรสร้ำงมูลค่ำเพ่มิ ให้กบั สนิ คำ้ และบริกำร ๑) พัฒนำทักษะและส่งเสริมให้ประชำชนประกอบธุรกิจกำรค้ำออนไลน์ (พำณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) มี กำรใช้ควำมคิดสร้ำงสรรค์เชิงนวัตกรรมในกำรประกอบอำชีพ สร้ำงทักษะอำชีพที่สูงข้ึนให้กับประชำชนเพ่ือ ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ๒) ส่งเสริมให้ประชำชนใช้เทคโนโลยีในกำรทำช่องทำงเผยแพร่และจำหน่ำยผลิตภัณฑ์ของวิสำหกิจ ชุมชนให้เป็นระบบครบวงจรและสนับสนุนกำรจำหน่ำยสินค้ำและผลิตภัณฑ์ผ่ำนศูนย์จำหน่ำยสินค้ำและ ผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพื่อจำหน่ำยสินค้ำออนไลน์ ระดับ ตำบล รวมทั้งดำเนินกำรเปดิ ศนู ย์ใหค้ ำปรึกษำ OOCC กศน. เพ่ือเปิดช่องทำงในกำรให้คำปรึกษำกบั ประชำชน เกีย่ วกบั กำรคำ้ ออนไลน์เบอ้ื งตน้ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ ยทุ ธศำสตรด์ ้ำนกำรพฒั นำและเสรมิ สรำ้ งศักยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์ ข้อ ๓.๓ พฒั นำศกั ยภำพคนดำ้ นทักษะและควำมเข้ำใจในกำรใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Literacy) ๒) ส่งเสริมกำรจัดกำรเรียนรู้ด้ำนเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือให้ประชำชนมีทักษะควำมเข้ำใจและใช้ เทคโนโลยีดจิ ิทัลที่สำมำรถนำไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน รวมทัง้ สร้ำงรำยไดใ้ ห้กบั ตนเองได้ ๕. ท่มี าและความสาคัญของ Best Practice ในยุคสังคมปัจจุบันมีกำรเปลี่ยนแปลงไปจำกเดิมค่อนข้ำงมำก ซึ่งกำรดำเนินชีวิตในแต่ละวันมักมี ควำมเกี่ยวพันกับเร่ืองของเงินทอง รวมถึงเศรษฐกิจท่ีค่อนข้ำงอ่อนแอ มีปัญหำรอบด้ำนและกำรฟื้นตัวท่ีมี ควำมล่ำช้ำ ฉะนน้ั เรำต้องเตรียมตัวเพือ่ รับมือกบั ควำมผันผวนของเศรษฐกิจท่ีกำลังจะเกิดข้ึน และจะส่งผลต่อ กำรดำรงชีวิตในปัจจุบัน ดังน้ันต้องมีกำรลดรำยจ่ำย หำรำยได้เพิ่ม กศน.ตำบลท่ำช้ำง จึงได้จัดกำรศึกษำ

๒ ต่อเนื่อง รูปแบบโครงกำรศูนย์ฝึกอำชีพชุมชน (พัฒนำอำชีพ หลักสูตรระยะส้ัน) โดยมีนำงเพ็ญศรี เพชรขำว เข้ำมำเรียนรู้กำรทำธุรกิจอำหำรว่ำง เพื่อหำรำยได้เสริม จึงได้นำควำมรู้มำทำที่บ้ำน ลองผิดลองถูก มำหลำย รอบ โดยเร่ิมจำกกำรทำให้คนในครอบครัว เพ่ือนบ้ำนชิมก่อนจนได้รสชำติท่ีถูกปำก กระทั่งมีเพื่อนบ้ำนใน ชมุ ชนสัง่ ซ้อื บ้ำงเป็นระยะ ๆ ใชว้ ธิ ีกำรบอกปำกตอ่ ปำก ต่อมำทำง กศน.ตำบลท่ำช้ำงได้เปิดโครงกำร ฝึกอบรมประชำชน หลกั สตู ร E-Commerce ซ่ึงเป็นหลักสูตร ทเ่ี กยี่ วกับกำรคำ้ ออนไลน์ให้กับประชำชนในพ้นื ทต่ี ำบลท่ำชำ้ ง ในวันที่ ๓-๕ กรกฎำคม ๒๕๖๑ ณ กศน.ตำบลท่ำช้ำง อำเภอ บ้ำนลำด จังหวัดเพชรบุรี โดยได้ชักชวนให้นำงเพ็ญศรี เพชร ขำว เขำ้ รว่ มกำรอบรม เพรำะเลง็ เห็นว่ำเป็นประโยชน์โดยตรง เมื่อนำงเพ็ญศรี เพชรขำว ได้เข้ำรับกำรอบรมก็ในเร่ืองกำร ออกแบบผลิตภัณฑ์ กำรสร้ำงร้ำนค้ำออนไลน์ กำรขำย ออนไลน์ กำรขนส่งสินค้ำ ในกำรน้ีนำงเพ็ญศรี เพชรขำว จึงได้สร้ำงเพจที่ชื่อว่ำ “หมู ออนไลน์” ข้ึน แล้วลง ภำพสินค้ำพร้อมบรรยำยเอกลักษณ์ของสินค้ำ รำคำ และออกแบบ สติ๊กเกอร์เพ่ือดึงดูดควำมสนใจของลูกค้ำ หมี่กรอบได้รับกำรตอบรับ อย่ำงมำก และยังได้เข้ำสู่กลุ่ม OOCC กศน.อำเภอบ้ำนลำด โดย ดำเนินกำรโพสต์ขำยสินค้ำเช่นเดียวกับในเพจ “หมู ออนไลน์” กระแสกำรตอบรับย่ิงมำกขึ้น นอกจำกจะขำยในเพจของเฟซบุ๊ค (facebook) แล้ว ในไลน์ (Line) ในโทรศัพท์ก็มีลูกค้ำติดต่อมำด้วย เช่นกนั ซึ่งมีหน่วยงำนส่ังทำอำหำรว่ำง (เบรค) รำยได้จึงเพ่ิมมำหลำย ช่องทำงมำกขึ้น ถอื ว่ำกำรขำยหม่ีกรอบออนไลน์ ได้รับกำรตอบรับเป็นอย่ำงดีในระดับหน่ึง ด้วยระยะเวลำกำร ทำหมี่กรอบก็ผ่ำนไปช่วงหนึ่งกลุ่มผู้ผลิตได้มำปรึกษำว่ำควรทำอย่ ำงไรให้สินค้ำเรำดึงดูดผู้บริโภคมำกกว่ำนี้ ประจวบกับ กศน.ตำบลท่ำช้ำง ได้ดำเนินโครงกำรฝึกอบรมพัฒนำเศรษฐกิจดิจิทัล กิจกรรมพัฒนำเครือข่ำย เศรษฐกิจดจิ ิทัลสู่ชุมชนในตำบล รนุ่ ท่ี 2 หลักสตู ร กำรคำ้ ออนไลน์ วนั ท่ี 18-19 มีนำคม 2562 จึงชักชวนมำ เรียนรู้ในหลักสูตรน้ีอีกคร้ัง ซ่ึงส่งเสริมในเร่ืองกำรขำย ทั้งกำรถ่ำยภำพสินค้ำ กำรตกแต่งภำพ กำรออกแบบ แพคเกจจ้ิง (Packaging Design) เพื่อต่อยอดกำรขำยออนไลน์ ที่ ใช้กำรถ่ำยภำพมำดึงดูดลูกค้ำ และเสริมด้วย แพคเกจจ้ิง (Packaging Design) ท่ีดูน่ำรักและทันสมัยมำกข้ึน อีกท้ังพัฒนำ หม่ีกรอบที่มีกระแสจำกผู้บริโภคท่ีว่ำ หม่ีกรอบนั้น เวลำ รับประทำนแล้วหกเลอะเทอะ จึงคิดแก้ไขปัญหำโดยทำเป็นก้อน กลม ๆ ให้พอดีคำ ในครั้งน้ีจึงพัฒนำทั้งกำรถ่ำยภำพ แพคเกจจิ้ง (Packaging Design) และตัวผลิตภัณฑ์เองให้มีคุณภำพ น่ำสนใจ ยิ่งขึ้น ก็ได้รับกำรตอบรับเป็นอย่ำงดี บ้ำงซื้อไปรับประทำนกับครอบครัว บ้ำงนำไปวำงขำยท่ีร้ำน บ้ำงนำไป เป็นของฝำก ตำมแตจ่ ุดประสงคข์ องลกู ค้ำ

๓ จำกที่กล่ำวมำข้ำงต้นกำรทำหมี่กรอบเป็นท่ีสนใจของ ประชำชน อยำกเรียนรู้กำรทำหม่ีกรอบ นำงเพ็ญศรี เพชรขำว ผู้ผลิตหมี่กรอบจึงได้รับให้เป็นวิทยำกรสอนกำรทำหม่ีกรอบ (หม่ี กรอบสำมรส หม่ีกรอบสมุนไพร) ให้กับ กศน.อำเภอบ้ำนลำด จำนวน ๕ กลมุ่ อย่ำงไรก็ดีเมื่อมีกำรพัฒนำปรับเปล่ียนรูปแบบตัว ผลิตภัณฑใ์ หม่เป็นส่ิงทีด่ ี และกำรทผี่ ู้ผลิตได้รับกำรยอมรับจนเป็น วิทยำกรผู้มคี วำมเชี่ยวชำญในด้ำนกำรทำหม่ีกรอบก็เป็นเร่ืองดีเช่นเดียวกัน แต่ในเร่ืองของรำคำของผลติ ภัณฑ์ ก็ถือเป็นปัจจัยสำคัญของกำรเลือกซื้อของผู้บริโภค บำงคร้ังยังไม่ตอบสนองควำมต้องกำรสำหรับผู้บริโภคทุก กลุม่ เพรำะบำงคร้ังกลุ่มผ้มู ีรำยได้น้อย เช่น นักเรียน นกั ศึกษำ มีควำมต้องกำรซ้ือผลิตภณั ฑบ์ ้ำง แต่ไมม่ ีปัจจัย มำซื้อ จึงคิดหำวิธีกำรแก้ไขปัญหำ โดยกำรทำผลิตภัณฑ์ในรำคำที่ถูก ย่อมเยำ และมีคุณภำพ เพื่อตอบสนอง ของคนกลมุ่ น้ี อกี ท้งั เป็นกำรอนุรกั ษ์ควำมเป็นไทย ใหเ้ ด็กไทยรับประทำนอำหำรไทยแตด่ ้ังเดิมต่อไป ๖. วตั ถุประสงค์ เพื่อพฒั นำผลิตภณั ฑ์ “หมกี่ รอบ” ใหต้ อบสนองกลมุ่ ผู้มีรำยไดน้ ้อย ๗. วธิ ดี าเนนิ การ ขนั้ เตรยี มการ (plan) ๑. สำรวจควำมต้องกำรของผู้บริโภค ว่ำมีควำมชอบผลิตภัณฑ์รสชำติไหน ชอบแพคเกจจิ้ง (Packaging Design) แบบใด และมคี วำมตอ้ งกำรใหพ้ ฒั นำในด้ำนใด ๒. นำข้อมูลที่ได้จำกกำรสำรวจมำวิเครำะห์ควำมต้องกำร ซึ่งประเด่นควำมต้องกำรคือ ต้องกำรให้ พัฒนำผลติ ภณั ฑ์ในรำคำที่เหมำะสมกบั กลมุ่ ผูม้ รี ำยได้น้อย เชน่ นักเรยี น นักศึกษำ เปน็ ต้น

๔ ๓. วำงแผนกำรดำเนินงำน โดยประชุมปรึกษำกันในกลุ่มผู้ผลิต และครู กศน.ตำบลท่ำช้ำง เรื่อง รูปลกั ษณ์ผลติ ภณั ฑ์ “หม่กี รอบ” ทต่ี อบสนองควำมต้องกำรของกลุ่มผู้มีรำยได้น้อย ๔. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือท่ีใช้ในกำรทำผลิตภัณฑ์หม่ีกรอบที่ตอบสนองควำมต้องกำรของกลุ่ม ผ้มู ีรำยได้นอ้ ย ขั้นดาเนนิ การ (Do) ๑. ดำเนนิ กำรตำมท่วี ำงแผน ๑.๑ ออกแบบรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยทำเป็นรูปทรงเล็ก ๆ ใส่ซอง เพื่อตอบสนองควำม ต้องกำรของกลุ่มผู้มีรำยได้น้อย ซ่ึงเน้นคุณภำพ ควำมสะอำดของส่วนผสมท่ีใช้ วัสดุ อุปกรณ์ต่ำง ๆ เพ่ือใหเ้ กดิ ควำมปลอดภยั และควำมตอ้ งกำรของผบู้ ริโภค ๑.๒ นำสินคำ้ จำหน่ำยทำงชอ่ งทำงตำ่ ง ๆ ตำมเดมิ ได้แก่ เฟซบคุ๊ (facebook) ไลน์ ( Line) โทรศัพท์ และพื้นท่ีผลิตตัวผลิตภัณฑ์เอง โดยกำรขำยออนไลน์จะเน้นกำรถ่ำยภำพท่ีสวยงำมตรงตำม องคป์ ระกอบที่ได้เรยี นร้ใู นหลักสูตร กำรค้ำออนไลน์ลงเพจในเฟซบุ๊ค (facebook) กลุ่ม OOCC กศน. อำเภอบำ้ นลำด เพ่ือขำยสนิ คำ้ ออนไลน์ และเปน็ กำรกระตนุ้ ยอดขำยให้มยี อดขำยเพม่ิ มำกขน้ึ ข้ันตรวจสอบและประเมินผลการพฒั นา (Check) ๑. ประเมินผลจำกกำรตอบสนองกลมุ่ ผ้มู ีรำยได้นอ้ ย โดยดจู ำกยอดขำยเพม่ิ มำกข้ึน ๒. ติดตำมผลโดยครู กศน.ตำบล ๓. เผยแพรข่ ้อมลู ในรปู แบบของ E-Book ขั้นแกไ้ ขและปรับปรุง (Action) นำกำรสำรวจมำปรับปรุงรปู แบบให้สอดคล้องกบั ควำมต้องกำรของผบู้ รโิ ภค เพ่ือเผยแพร่และนำไปใช้ ในกจิ กรรมสง่ เสริมอำชีพต่อไป ๘. ตวั ชวี้ ัดความสาเร็จ ผลิตภัณฑ์ “หมี่กรอบ” ตอบสนองกลุ่มผู้มีรำยได้น้อย โดยกำรสร้ำงสรรค์รูปแบบของผลิตภัณฑ์ใหม่ ใหเ้ หมำะกบั คนกล่มุ นี้ ๙. การประเมินผลและเคร่ืองมือการประเมนิ ผล เม่อื ผลิตภณั ฑ์ตอบสนองกลมุ่ คน ทำใหม้ ียอดกำรขำยเพิ่มมำกขน้ึ ๑๐. ผลการดาเนินงาน กลมุ่ คนท่มี รี ำยไดน้ อ้ ยสำมำรถซ้ือผลิตภัณฑ์ “หมก่ี รอบ” ได้ ดว้ ยเงินทีน่ ้อย ๑๑. บทสรปุ เมื่อตอบสนองควำมต้องกำรของกลุ่มคนแล้ว ตอ้ งสร้ำงสรรค์ เพิ่มเทคนิคกำรขำย เพอื่ ตอบสนองและ ดึงดูดควำมต้องกำรของผู้บริโภคจำกทุกกลุ่มทุกช่วงวัย เช่น สร้ำงสรรค์กำรนำเสนอสินค้ำผ่ำนคลิปวีดีโอลงใน เพจของเฟซบ๊คุ (facebook)

๕ ๑๒. กลยทุ ธ์หรือปจั จัยทีท่ าให้ประสบความสาเรจ็ ๑. กำรมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้ผลิต และครู กศน.ตำบลในกำรวิเครำะห์ควำมต้องกำรของผู้บริโภค แล้ว สร้ำงผลิตภัณฑ์ท่ีตอบสนองควำมต้องกำรของกลุ่มคนท่ีเป็นผู้บริโภค โดยใช้หลักกำรกำรเข้ำใจ เข้ำถึง และ ตอบสนองควำมต้องกำรของผบู้ ริโภค ๒. กำรนำวัตถุดิบที่มีในท้องถ่ินมำใช้ในกำรผลิตในส่วนของสมุนไพรต่ำง ๆ เช่น ส้มซ่ำ ดอกอัญชัญ เปน็ ตน้ มำเป็นส่วนผสมในกำรทำหม่ีกรอบ ๑๓. ข้อเสนอแนะ ควรส่งเสริมกำรขำยให้แพร่หลำยกว่ำน้ี เช่น กำรสร้ำงคลิปวิดีโอเพื่อนำเสนอกำรขำยในเพจของ เฟซบคุ๊ (facebook) หรือเพ่ิมชอ่ งทำงอกี ๑ ชอ่ งทำง นัน่ คอื ยทู ปู (Youtube) ๑๔. การอา้ งองิ กระทรวงศึกษำธิกำร. (๒๕๖๑). นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ฉบับเผยแพร่ออนไลน์). [ออนไลน์]. จำก https://1th.me/jo1E สืบค้นเม่ือวันท่ี ๑๓ สิงหำคม ๒๕๖๒.

๖ ๑๕. ภาคผนวก การอบรมประชาชน หลักสตู ร E-Commerce ให้กับประชาชนตาบลท่าชา้ ง ในวันท่ี ๓-๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ณ กศน.ตาบลทา่ ชา้ ง อาเภอบา้ นลาด จงั หวัดเพชรบรุ ี ๒. การพัฒนารูปแบบสติก๊ เกอรร์ า้ น

๗ ๓. ส่งเสรมิ การขายในช่องทางต่างๆ -สรา้ งเพจชอื่ วา่ “หมู ออนไลน์” -เขา้ ร่วมกลุ่ม OOCC กศน.อาเภอบ้านลาด

๘ ๔. การปรบั ปรุงบรรจภุ ัณฑ์ และตัวผลิตภณั ฑ์

9 M;kmk


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook