Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา (สค31001) กศน.

หนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา (สค31001) กศน.

Published by fiaonika, 2021-01-09 23:16:18

Description: social 1. 31001

Search

Read the Text Version

43 2. ในฐานะท่ีทา นเปนสวนหน่ึงของประชากรโลกทานสามารถจะชวยปองกันและแกไขปญหาภาวะ โลกรอนไดอ ยา งไรใหบอกมา 5 วิธี .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เรือ่ งท่ี 3 วธิ ีใชเครอื่ งมอื ทางภูมศิ าสตร เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร ใชประกอบการเก็บขอมูล เพื่อการบรรยายเชิงปริมาณและคุณภาพของสภาพภูมิอากาศโลก เชน จพี เี อส หรือระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นผิวโลก เข็มทิศ เครือ่ งมอื บางชนดิ ใชป ระกอบการเรียนและการสอน ในหองเรียนหรอื ในหองปฏิบัตกิ าร และเครอ่ื งมือบางชนิดใชประกอบการศึกษา และเก็บขอมูลเฉพาะในสนาม เทานั้น บางครั้งการใชเครื่องมือตองใชเคร่ืองคอมพิวเตอรประกอบดวย เชน เคร่ืองมือระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตรหรือท่ีรูจักกันในปจจุบันวา GIS (Geographic Information System) ขอมูลดาวเทียมหรือ SRS (Satellite Remote Sensing) ระบบกําหนดตําแหนงพื้นผิวโลกหรือ GPS (Global Positioning System) ซึ่งนกั ภมู ิศาสตรยุคใหมจ ําเปนตอ งรู สําหรบั ในท่ีนี้จะกลาวถึงเครื่องมือ ภูมิศาสตรที่สําคัญคือ แผนที่ ลูกโลก รปู ถา ยทางอากาศและภาพจากดาวเทยี ม และเครือ่ งมอื เทคโนโลยสี ื่อการศึกษาภมู ิศาสตร

44 แผนที่ แผนท่ีเปนส่งิ ท่มี คี วามสาํ คญั มากในการศกึ ษาวชิ าภูมศิ าสตร เพราะครอบคลมุ ท้ังลักษณะภูมิประเทศ ลกั ษณะภมู อิ ากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ รวมทง้ั สิง่ ทเี่ กดิ ข้ึนจากฝม ือของมนุษยบนพ้ืนผิวโลกดวยการจดั ทํา แผนที่ในปจจบุ นั ไดมกี ารพฒั นาการขน้ึ เปนลําดบั มกี ารนาํ เอารปู ถา ยทางอากาศและภาพจากดาวเทียมมาชว ย ในการทาํ แผนทที่ าํ ใหส ามารถสรางแผนที่ไดรวดเรว็ มีความถูกตอ งและทนั สมัยกวา ในอดตี ความหมายของแผนท่ี แผนที่ (Map) หมายถึง การแสดงลักษณะพ้ืนผิวโลกลงบนแผนราบ โดยการยอสวนและการใช สัญลักษณไ มวาเครื่องหมายหรอื สี แทนสิง่ ตาง ๆ บนพ้นื ผวิ โลก แผนที่จงึ ตา งจากลกู โลกและแผนผงั เครื่องหมายแผนที่ คือ เครือ่ งหมายหรือสัญลักษณที่ใชแทนส่ิงตาง ๆ บนพ้ืนพิภพ ที่เกิดขึ้นเองและ ตามธรรมชาติ นอกจากเคร่อื งหมายแลว เรายังใชสีเปน การแสดงลกั ษณะภูมปิ ระเทศอีกดว ย คือ 1. สีดํา หมายถึง ภมู ปิ ระเทศสาํ คญั ทางวฒั นธรรมทมี่ นุษยส รา งขนึ้ เชน อาคาร สุสาน วดั สถานท่ี ราชการตาง ๆ เปนตน 2. สนี ้ําเงิน หมายถงึ ลักษณะภูมิประเทศทเี่ ปนน้ํา เชน ทะเล แมนา้ํ หนอง บึง เปน ตน 3. สีนา้ํ ตาล หมายถงึ ลกั ษณะภมู ิประเทศที่มีความสงู โดยทวั่ ไป เชน เสน ชนั้ ความสงู 4. สีเขยี ว หมายถงึ พชื พนั ธไุ มตางๆ เชน ปา สวน ไร 5. สแี ดง หมายถึง ถนนสายหลัก พนื้ ที่ยานชมุ ชนหนาแนน และลกั ษณะภมู ปิ ระเทศสาํ คัญ

45 ความสาํ คัญของแผนที่ 1. ทาํ ใหท ราบลกั ษณะทางธรรมชาติของพนื้ ผิวโลก รวมท้งั กจิ กรรมทางเศรษฐกิจบนพืน้ ผิวโลก 2. ทาํ ใหทราบขอ มลู สถิติตาง ๆ เพอ่ื การเปรยี บเทียบ การพัฒนาการวางแผนในดา นตา ง ๆ รวมท้ังดานยทุ ธศาสตร ประโยชนของแผนที่ 1. ในการศึกษาลักษณะภูมิประเทศ แผนที่จะทําใหผูศึกษาทราบวาพื้นที่ใดมีลักษณะภูมิประเทศ แบบใดบา ง 2. ตอการศกึ ษาธรณีวทิ ยา เพื่อใหท ราบความเปนมาของแหลงทรพั ยากร ดนิ หิน แรธาตุ 3. ดา นสมุทรศาสตรแ ละการประมง เพ่ือใหทราบสภาพแวดลอ มชายฝง ทะเล 4. ดา นทรัพยากรนํ้า รขู อ มูลเกีย่ วกับแมน ้าํ และการไหล อา งเกบ็ นาํ้ ระบบการชลประทาน 5. ดานปาไม เพ่อื ใหท ราบคุณลกั ษณะของปา ไมและการเปลีย่ นแปลงพนื้ ท่ีปา 6. ดานการใชท ด่ี นิ เพื่อใหท ราบปจจยั การใชประโยชนท ด่ี นิ ดานตา ง ๆ 7. ดา นการเกษตร การเกษตรมีผลตอ การพฒั นาประเทศ เพ่ือรวู า บรเิ วณใดควรพัฒนา 8. ดา นสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการจัดการทรพั ยากรบรเิ วณตาง ๆ 9. ในการวางผังเมอื ง เพอื่ ใชข อ มลู ทางธรรมชาติในการจัดวางผังเมืองใหเหมาะสม 10. การศึกษาโบราณคดี เพือ่ คน หาแหลงชมุ ชนโบราณและความรูอ่ืน ๆ 11. ดานอตุ นุ ิยมวิทยา เพ่อื ประโยชนใ นการเพาะปลกู อุตสาหกรรม ประมง การปอ งกนั อทุ กภัย ลกั ษณะของสิ่งท่แี สดงปรากฏบนแผนท่ีประกอบดวย 1. ลกั ษณะของสงิ่ ท่เี กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เชน ทะเล มหาสมทุ ร ทะเลสาบ แมนํา้ ภูเขา ที่ราบ ทร่ี าบสงู เกาะ เปน ตน 2. ลกั ษณะของสงิ่ ทมี่ นุษยส รางขึน้ เชน เสนก้นั อาณาเขต เมือง หมบู าน สถานที่ราชการ ศาสนสถาน เสนทางคมนาคม พ้นื ทเ่ี กษตรกรรม เปนตน ชนิดของแผนที่ 1. แบง ตามขนาดของมาตรสวน มี 3 ชนดิ คือ 1.1 แผนท่ีมาตราสว นเลก็ หมายถงึ แผนทีท่ ่ีมาตราสว นเล็กกวา 1 : 1,000,000 1.2 แผนท่มี าตราสวนกลาง หมายถึง แผนทีท่ ีม่ มี าตราสวนระหวา ง 1 : 250,000 ถึง 1 : 1,000,000 1.3 แผนทม่ี าตราสว นใหญ หมายถงึ แผนท่ที ี่มีมาตราสวนมากกวา 1 : 250,000

46 2. แบงตามประเภทการใช ไดแก 2.1 แผนท่ีกายภาพ หรือแผนทีล่ กั ษณะภมู ปิ ระเทศ (Topographic หรือ Landform หรือ Relief Map) เปนแผนท่ีแสดงรายละเอียดของสิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เชน ทะเล มหาสมุทร เทือกเขาท่ีราบสูง ทรี่ าบ ฯลฯ 2.2 แผนท่ีรัฐกิจ (Political Map) หรือแผนที่ทั่วไป (General Map) เปนแผนท่ีแสดงขอบเขต การปกครองของจังหวดั รฐั ประเทศ 2.3 แผนท่ีประวตั ศิ าสตร (Historical Map) เปนแผนที่แสดงอาณาเขตของอาณาจักรหรอื จักรวรรดิตา ง ๆ ในสมยั โบราณ 2.4 แผนท่ีโครงรา ง (Outline) เปน แผนทแ่ี สดงโครงรางของทวปี ประเทศ โดยไมมรี ายละเอียด ใด ๆ เพื่อใชใ นการศึกษา เชน 2.5 แผนที่เดนิ เรอื (Nautical Map) เปนแผนที่แสดงเสน ทางการเดนิ เรอื ในทองทะเล มหาสมุทร รวมทง้ั ใชส ญั ลักษณสเี พอ่ื แสดงความตื้นลกึ ของพื้นนาํ้ 2.6 แผนท่เี ศรษฐกิจ (Economic Map) เปน แผนท่แี สดงเขตกจิ กรรมทางเศรษฐกิจตาง ๆ รวมท้งั แสดงแหลง ทรพั ยากรสาํ คัญ องคประกอบของแผนท่ี องคป ระกอบท่ีสาํ คัญ ดังน้ี 1. ช่ือแผนที่เปน ส่ิงท่ีมคี วามจาํ เปน สาํ หรบั ใหผ ใู ชไ ดท ราบวาเปนแผนท่ีเรื่องอะไร แสดงรายละเอียด อะไรบาง เพอื่ ใหผูใชใชอยางถกู ตอง และตรงความตองการ โดยปกติชือ่ แผนท่ีจะมีคําอธบิ ายเพิม่ เตมิ แสดง ไวด วย เชน แผนทป่ี ระเทศไทยแสดงเน้ือทปี่ าไม แผนทีป่ ระเทศไทยแสดงการแบง ภาคและเขตจงั หวัด เปนตน 2. ขอบระวาง แผนท่ีทุกชนิดจะมีขอบระวาง ซึ่งเปนขอบเขตของพ้นื ทีใ่ นภูมิประเทศที่แสดงบนแผนที่ แผน นั้นมกั จะแสดงดวยเสน ขนานเพ่ือแสดงตําแหนง ละติจูดกับเสน เมรเิ ดียนเพือ่ แสดงตาํ แหนงลองจจิ ูดและ จะแสดงตัวเลขเพ่ือบอกคา พกิ ดั ภูมิศาสตรของตาํ แหนงตา ง ๆ 3. ทศิ ทาง มีความสาํ คัญตอ การคน หาตําแหนง ท่ีตั้งของส่งิ ตาง ๆ โดยในสมัยโบราณใชว ธิ ีดูทิศทางตาม การข้ึนและตกของดวงอาทิตยในเวลากลางวัน และการดูทิศทางของดาวเหนือในเวลากลางคืน ตอมามีการ ประดิษฐเ ขม็ ทศิ ซงึ่ เปน เคร่ืองมือชวยในการหาทศิ ขน้ึ เนื่องจากเข็มของเขม็ ทศิ จะช้ไี ปทางทิศเหนือตลอดเวลา การใชทิศทางในแผนท่ีประกอบกับเข็มทิศหรือการสังเกตดวงอาทิตยและดาวเหนือจึงชวยใหเราสามารถ เดนิ ทางไปยงั สถานทท่ี เ่ี ราตอ งการได ในแผนทจี่ ะตองมีภาพเข็มทิศหรือลูกศรชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ ถาหาก แผนท่ีใดไมไ ดก าํ หนดภาพเขม็ ทิศหรือลูกศรไวก ็ใหเ ขาใจวาดา นบนของแผนทคี่ อื ทศิ เหนอื 4. สญั ลกั ษณ เปน เคร่ืองหมายท่ใี ชแ ทนสง่ิ ตาง ๆ ในภมู ปิ ระเทศจรงิ เพื่อชว ยใหผ ูใชส ามารถอา น และแปลความหมายจากแผนทไ่ี ดอยา งถกู ตอง ท้งั น้ีในแผนที่จะตอ งมีคาํ อธิบายสญั ลกั ษณประกอบไวดวยเสมอ 5. มาตราสวน เปนอัตราสว นระหวางระยะทางทย่ี อสวนมาลงในแผนท่กี บั ระยะทางจรงิ ในภูมิประเทศ มาตราสวนชว ยใหผูใชทราบวาแผนทน่ี ัน้ ๆ ยอ สวนมาจากสภาพในภูมิประเทศจรงิ ในอัตราสวนเทา ใด

47 มาตราสว นแผนที่โดยมากจะมี 3 ลักษณะ ไดแก มาตราสวนแบบเศษสวน มาตราสวนคําพูดและมาตราสวน แบบกราฟก มาตราสวนของแผนท่ี คือ อัตราสวนระหวางระยะบนแผนที่กับระยะในภูมิประเทศ หรือ ความสัมพันธระหวางระยะทางราบบนแผนท่ีกับระยะทางราบในภูมิประเทศ การเขียนมาตราสวนเขียนได หลายวิธี เชน 50,000 หรอื 1/50,000 หรือ 1 : 50,000 การคาํ นวณระยะทางบนแผนท่ี คาํ นวณไดจ ากสตู ร : มาตราสวนของแผนท่ี = ระยะบนแผนที่ ระยะในภูมิประเทศ 6. เสนโคงแผนท่ีเปนระบบของเสนขนานและเสนเมริเดียนท่ีสรางขึ้นเพื่อกําหนดตําแหนงพิกัด ภูมิศาสตรใหเปนมาตรฐานไวใชอ า งอิงรวมกัน ซึ่งประกอบดวย 6.1 เสน ขนาน เปนเสน สมมตทิ ี่ลากจากทศิ ตะวันออก สรา งข้ึนจากการวดั มมุ เรมิ่ จากเสน ศูนยส ูตร ซงึ่ มคี ามมุ 0 องศา ไปยงั ข้วั โลกทั้งสองดาน ๆ ละไมเกิน 90 องศา เสน ขนานท่ีสาํ คญั ประกอบดวย 1. เสน ศูนยสตู รหรือเสน อิเควเตอร มคี า มุม 0 องศา 2. เสนทรอปกออฟแคนเซอร มีคามุม 23 องศา 30 ลิปดาเหนือ 3. เสน ทรอปก ออฟแคปรคิ อรน มีคามุม 23 องศา 30 ลิปดาใต 4. เสน อารก ติกเซอรเ คิล มีคามมุ 66 องศา 30 ลิปดาเหนอื 5. เสนอนั ตารก ตกิ เซอรเคลิ มคี า มมุ 66 องศา 30 ลิปดาใต 6.2 เสนเมริเดียน เปนเสนสมมติที่ลากจากข้ัวโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต สรางขึ้นจากการสมมติ เสน เมรเิ ดียนปฐม มคี ามุม 0 องศา ลากผานตําบลกรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักรไปทางทิศ ตะวันออกและทิศตะวันตกดานละ 180 องศา โดยเสนเมริเดียนที่ 180 องศาตะวันออกและ 180 องศา ตะวนั ตกจะทบั กันเปนเสนเดียวนี้ใหเปนเสนวันท่ีหรือเสนแบงเขตวันระหวางชาติ หรือเสนแบงเขตวันสากล เสนเมริเดียนแรกหรือเสนเมริเดียนปฐม (Prime Meridian) คือเสนเมริเดียนที่ลากผานหอดูดาวแหงหน่ึง ตําบลกรนี ชิ ใกลกรุงลอนดอนในประเทศอังกฤษ ท้ังนเี้ พอ่ื ใชเปนหลักอา งอิงในการนับเสนเมรเิ ดียนอื่น ๆ ตอ ไป เสนเมริเดียนรอบโลกมี 360 เสน แบงเปนเสนองศา ตะวันออก 180 เสน และเสนองศาตะวันตก 180 เสน ความสําคัญของเสนเมริเดียน คือ บอกพิกัดของตําแหนงท่ีตั้งตางๆ บนพ้ืนผิวโลกโดยใชรวมกับ เสนขนาน (เสนละตจิ ูด) และใชเ ปนแนวแบง เขตเวลาของโลก

48 7. พิกัดภูมิศาสตรเปนระบบที่บอกตําแหนงของส่ิงตาง ๆ บนพ้ืนผิวโลก โดยอาศัยเสนโครงแผนที่ ซ่งึ เสน ขนานและเสน เมริเดยี นตดั กนั เปน จุดสง่ิ ตาง ๆ บนพื้นผิวโลก โดยอานคา พิกดั ภมู ิศาสตรเปนละติจดู (เสน ขนาน) และลองจิจูด (เสน เมรเิ ดยี น) ดงั นัน้ ละติจดู เปน พิกัดของจุดหนึง่ บนเสน ขนาน สว นลองจจิ ูดกเ็ ปนพกิ ัดของจุดหนึ่งบนเสน เมรเิ ดยี น ซึง่ ทัง้ ละติจดู และลองจิจดู มคี า ของมุมเปนองศา โดย 1 องศา มคี าเทากับ 60 ลิปดาและ 1 ลิปดา มีคาเทากับ 60 ฟลิปดา พิกัดภูมิศาสตรเปนระบบที่บงบอกตําแหนงท่ีตั้งอยูจุดตําแหนงตาง ๆ บนพ้ืนผิวโลก โดยอาศัย โครงขายของเสน โครงแผนทีซ่ ง่ึ ประกอบดวยเสน เมรเิ ดียนกบั เสนขนานตดั กนั เปน “จุด” 1) ละติจดู (Latitude) เปนคาของระยะทางเชิงมุม โดยนับ 0 องศา จากเสนศูนยสูตรไปทางเหนือ หรอื ใตจนถงึ 90 องศาที่ข้ัวโลกทั้งสอง 2) ลองจิจูด (Longitude) เปน คา ของระยะทางเชงิ มมุ โดยนับ 0 องศา จากเสน เมรเิ ดียนไปทางทศิ ตะวนั ออกและทิศตะวนั ตกจนถงึ 180 องศา ปจจุบันการบงบอกจุดตําแหนงบนพื้นผิวโลก สามารถทราบไดงายและถูกตอง โดยใช จีพีเอส เครื่องมือกําหนดตําแหนงบนพื้นผิวโลก (GPS:Global Positioning System) เคร่ืองมือชนิดนี้ มีขนาดเล็ก พกพาไดส ะดวก และใหข อมลู ตําแหนง บนพื้นผิวโลกไดต รงกบั ความเปนจริง ดงั น้ันจึงมีผนู าํ เคร่อื งมือน้ีไปใชได สะดวกสบายในกิจกรรมตาง ๆ ไดแก การเดินเรือ การเดินทาง ทองเที่ยวปา การเดินทางดวยรถยนต เครื่องบิน เปนตน เมื่อกดปุมสวิตซ เครื่องจะรับสัญญาณจากดาวเทียมแลวบอกคาพิกัดภูมิศาสตรใหทราบ เครอ่ื งหมายแผนที่

49 ลกู โลก องคประกอบของลกู โลก องคป ระกอบหลักของลูกโลก จะประกอบไปดวย 1. เสนเมรเิ ดยี นหรือเสน แวง เปน เสนสมมติที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือไปจดขั้วโลกใต ซึ่งกําหนดคาเปน 0 องศา ท่ีเมือง กรนี ิช ประเทศอังกฤษ 2. เสนขนาน หรอื เสนรุง เปนเสนสมมติท่ีลากจากทิศ ตะวันตกไปทิศตะวันออก ทุกเสนจะขนานกับเสนศูนยสูตร ซึ่งมี คา มมุ เทากับ 0 องศา การใชลูกโลก ลูกโลกใชประกอบการอธิบายตําแหนงหรือสถานท่ีของจุดพ้ืนที่ของสวนตาง ๆ ของโลก โดยประมาณ เขม็ ทศิ เข็มทิศเปนเคร่ืองมือสําหรับใชในการหาทิศของจุดหรือวัตถุ โดยมหี นว ยวดั เปน องศา เปรยี บเทียบกับจดุ เร่มิ ตน เขม็ ทิศใชในการหา ทิศโดยอาศยั แรงดงึ ดดู ระหวา งสนามแมเ หลก็ ขั้วโลก (Magnetic Pole) กับเข็มแมเหล็ก ซึ่งเปนองคประกอบสําคัญที่สุดของเครื่องมือน้ี เข็มแมเ หล็กจะแกวง ไกวไดโ ดยอสิ ระในแนวนอน เพ่อื ใหแนวเขม็ ชี้อยูใ น แนวเหนือใต ไปยังข้ัวแมเหล็กโลกตลอดเวลา หนาปดเข็มทิศซ่ึงคลาย กบั หนาปด นาฬกิ าจะมกี ารแบงโดยรอบเปน 360 องศา ซง่ึ เข็มทิศมีประโยชนใ นการเดินทาง เชน การเดินเรือ ทะเล เครือ่ งบิน การใชเ ข็มทศิ จะตองมแี ผนที่ประกอบและตองหาทิศเหนือกอ นเพ่ือจะไดร ูทศิ อื่น รูปถา ยทางอากาศและภาพจากดาวเทยี ม รูปถายทางอากาศและภาพจากดาวเทียมเปน รูปหรือขอมลู ตวั เลขท่ีไดจ ากการเก็บขอมลู ภาคพ้ืนดนิ จากกลอ งท่ีติดอยูก ับพาหนะ เชน เครื่องบนิ หรอื ดาวเทยี ม โดยมกี ารบนั ทึกขอ มลู อยา งละเอยี ดหรอื หยาบใน เวลาแตกตา งกนั จึงทําใหเ ห็นภาพรวมของการใชพืน้ ทแ่ี ละการเปล่ียนแปลงตา ง ๆ ตามท่ปี รากฏบนพื้นผิวโลก เชน การเกิดอทุ กภัย ไฟปา การเปลยี่ นแปลง การใชที่ดิน การกอ สรางสถานที่ เปน ตน ประโยชนข องรปู ถายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ที่นยิ มใชกันมากจะเปนรูปหรือภาพถายท่ีได จากการสะทอนคลื่นแสงของดวงอาทิตยข้ึนไปสูเคร่ืองบันทึกท่ีติดอยูบนเครื่องบินหรือดาวเทียม การบันทึก ขอมูลอาจจะทําโดยใชฟลม เชน รูปถายทางอากาศสีขาวดํา หรือรูปถายทางอากาศสีธรรมชาติ การบันทึก ขอมลู จากดาวเทียมจะใชส ัญญาณเปน ตัวเลขแลว จึงแปลงคา ตัวเลขเปน ภาพจากดาวเทยี มภายหลงั การใชร ปู ถายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ผูใชจ ะตอ งไดรับการฝกหัดเพ่ือแปลความหมายของ ขอมูล การแปลความหมายอาจจะใชการแปลดวยสายตาตามความสามารถของแตละบุคคลหรือใชเครื่อง คอมพวิ เตอรแ ละโปรแกรมเขามาชว ย

50 เครอื่ งมอื เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษาภมู ศิ าสตร ในโลกยคุ ปจจุบนั ทีเ่ ต็มไปดว ยขอ มลู ขาวสาร และขอ มลู ท่ีเปนตวั เลขจาํ นวนมาก เทคโนโลยจี ึงเขา มามี ความสําคญั และจะมีความสาํ คญั มากยิ่งข้ึนในอนาคต เทคโนโลยที ี่สําคัญดา นภูมิศาสตร คือ ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตรห รือ GIS (Geographic Information System) และระบบกําหนดตําแหนงพ้ืนผิวโลก หรือ GPS (Global Positioning System) เครอ่ื งมือทัง้ สองประกอบดว ยคอมพิวเตอร หรอื ฮารด แวร (Hard ware) ซึง่ มี ขนาดตา งๆ และโปรแกรมหรือซอฟแวร (Software) เปน หลักในการจัดทาํ ดังนี้ 1) ประโยชนของเครื่องมอื เทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษาภมู ิศาสตร จะคลายกบั การใชประโยชนจากแผนท่ี สภาพภมู ิประเทศและแผนท่ีเฉพาะเรอื่ ง เชน จะใหค ําตอบวา ถา จะตอ งเดนิ ทางจากจดุ หนง่ึ ไปยังอกี จุดหน่ึงใน แผนทจี่ ะมรี ะยะทางเทา ใด และถาทราบความเร็วของรถจะทราบไดว า จะใชเ วลานานเทาใด หลังจากการทาํ งานของระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร คอื การจดั หมวดหมขู องขอมูลตามความตองการ ที่จะนําไปวิเคราะหการคัดเลือกตัวแปร หรือปจจัยที่เก่ียวของ การจัดลําดับความสําคัญของปจจัยและการ ซอ นทับขอ มลู ตัวอยางเชน ตองการหาพื้นท่ีท่ีเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว โดยแบงออกเปน 3 ระดับ คือ เหมาะสมดี เหมาะสมปานกลาง และไมเ หมาะสม โดยคัดเลือกขอมลู 2 ประเภท คอื ดินและสภาพภูมิประเทศ 2) การใชเคร่ืองมือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาภูมิศาสตร การใชเครื่องมือเทคโนโลยีจําเปนตองมี เคร่อื งคอมพวิ เตอรและโปรแกรม ผูใ ชจ ะตอ งไดร ับการฝกฝนกอนท่จี ะลงมอื ปฏบิ ตั ิ แหลง ขอมลู สารสนเทศของไทย ปจ จุบนั ไดม ีการคดิ คนและพฒั นาการขอ มลู สารเทศอยางรวดเร็วและไดเผยแพรขอมูลสูสาธารณชน มาก โดยเฉพาะการนําขอมูลเขาเว็บไซดใหประชาชนและผูสนใจทั่วไปเขาไปดูขอมูลได ซึ่งเปนประโยชน อยางมากตามความตองการของผใู ชขอ มูล แตขอ มูลบางชนิดอาจตอ งตดิ ตอ จากหนวยงานนั้น ๆ โดยตรง ทั้งจากหนวยงานของรัฐท่ีสําคัญ ๆ คือ กรมอุตุนิยมวิทยาและกรมแผนที่ทหารและเอกชนท่ีสําคัญ ๆ คือ เครื่องเดินอากาศและเดินเรือ เว็บไซตท่ีนาสนใจ เชน ขอมูลดานสถิติ (www.nso.go.th) ขอมูลประชากร (www.dola.go.th) ขอมูลดาวเทียม (www.gistda.go.th) ขอมูลดินและการใชท่ีดิน (www.dld.go.th) เปน ตน กลา วโดยสรุป เครื่องมือทางภูมิศาสตรใชประกอบการศึกษา และการเก็บขอมูลเคร่ืองมือบางชนิด เหมาะสาํ หรบั ใชใ นหองเรียน หรือหอ งปฏิบัติการ เคร่ืองมือบางชนิดใชไ ดสําหรับในหอ งเรียนและในภาคสนาม ผูใ ชจ ะไดร วู า เมือ่ ใดควรใชเ ครอื่ งมือภูมิศาสตรในหองเรียนและเมื่อใดควรใชในภาคสนาม เคร่ืองมือบางชนิด จะมคี วามซับซอนมาก หรอื ตองใชรว มกันระหวา งเครอื่ งคอมพิวเตอรแ ละโปรแกรม เครื่องมือทางภมู ิศาสตรท ี่มีความสําคญั มากในปจ จบุ นั คือ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ซ่ึงแปลง สารสนเทศทเ่ี กี่ยวกับพื้นท่ี และขอมูลตารางหรือคําอธิบายท่ีใหเปนขอมูลเชิงตัวเลขทําใหการจัดเก็บเรียกดู ขอมูล การปรับปรุงแกไขและการวิเคราะหเปนไปอยางรวดเร็ว และถูกตองและแสดงผลในรูปแบบแผนท่ี กราฟ หรอื ตารางไดอยางถูกตองอีกดวย สวนระบบ กําหนดตําแหนงบนพ้ืนผิวโลก (GIS) ใชกําหนดจุดพิกัด ตาํ แหนงของวตั ถตุ าง ๆ บนผิวโลก โดยอาศัยสญั ญาณจากดาวเทียมหลายดวงท่โี คจรอยูรอบโลก

51 กิจกรรมที่ 1.3 วิธใี ชเ ครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร 1. แผนท่หี มายถงึ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ 2. จงบอกประโยชนของการใชแผนทม่ี า 5 ขอ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ 3. ใหบ อกวธิ กี ารใชเ ข็มทิศคูกบั การใชแ ผนทพ่ี อสังเขป .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

52 เรอ่ื งที่ 4 ปญ หาการทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม ผลการจดั ลําดับความสาํ คัญของปญ หาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม ปญ หาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม น้ันไดมีการสํารวจทัศนคติของประชาชน พบวา ปญหา สําคัญ 5 ลาํ ดับแรก มดี ังนี้ ลาํ ดับที่ 1 การสูญเสียทรัพยากรปาไม ลําดับที่ 2 อุทกภัยและภัยแลง ลําดับท่ี 3 ความเสอื่ มโทรมของทรพั ยากรดินและการใชท ด่ี ิน ลําดับท่ี 4 มลพิษจากขยะ และลาํ ดับที่ 5 มลพิษทางอากาศ ดงั ตารางแสดง ผลการจัดลําดบั ความสาํ คัญ ดังตอ ไปน้ี ผลการ ทรัพยากรธรรมชาติ ลาํ ดบั ความสําคัญ จดั ลาํ ดบั และสิ่งแวดลอม (จําแนกตามวธิ ีการจดั ลาํ ดับ) (ลําดบั ท)่ี จดั ลําดบั ดวย จดั ลาํ ดบั ดวย มลู คา ความเสยี หาย ทัศนคติประชาชน 1 ทรัพยากรปาไม 12 2 ทรพั ยากรนํ้า 31 3 ทรพั ยากรดินและการใชท่ีดนิ 2 6 4 มลพษิ จากขยะ 74 5 มลพษิ ทางอากาศ 57 6 มลพษิ ทางนาํ้ 85 7 ทรพั ยากรพลังงาน 11 3 8 ทรพั ยากรทะเลและชายฝง 4 10 9 มลพิษจากสารอนั ตราย 98 10 มลพษิ จากของเสียอันตรายจากชมุ ชน 6 12 11 ทรัพยากรและแร 10 9 ท่มี า : สถาบนั วิจัยเพอ่ื การพฒั นาประเทศไทย 2549

53 ความสําคญั ของสงิ่ แวดลอม คือ เอ้ือประโยชนใหสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตวอยูรวมกันอยางมีความสุข มีการพง่ึ พากันอยา งสมดุล มนุษยด าํ รงชีพอยไู ดด ว ยอาศยั ปจ จยั พ้ืนฐานจากสิ่งแวดลอม ซึง่ ประกอบดวยอาหาร อากาศ นา้ํ ท่อี ยอู าศัย และยารกั ษาโรค ส่งิ แวดลอ มเปน องคป ระกอบที่สาํ คญั ของสิ่งมีชีวติ ทุกชนิด แต “ทําไม สิ่งแวดลอมจึงถูกทําลาย” และเกิดปญ หามากมายท่วั ทุกมุมโลก เมื่อทาํ การศกึ ษาพบวา “มนุษย”เปนผูทําลาย สิง่ แวดลอมมากที่สุด สาเหตทุ ่มี นุษยท าํ ลายส่ิงแวดลอ มเกิดจากความเหน็ แกต ัวของมนุษยเ อง โดยมงุ เพื่อดาน วัตถุและเงนิ มาตอบสนองความตอ งการของตนเอง เม่อื ส่งิ แวดลอ มถูกทาํ ลายมากขึ้น ผลกระทบก็ยอนกับมาทาํ ลายตัวมนุษยเอง เชน เกิดการเปลี่ยนแปลง บรรยากาศของโลก เกิดสภาวะเรือนกระจก ภาวะโลกรอนตลอดจนเกิดภัยธรรมชาติตาง ๆ เชน นํ้าทวม แผนดินถลม ควันพิษ น้ําเนาเสีย ขยะมูลฝอย และส่ิงปฏิกูล ซึ่งสิ่งเหลาน้ีมีผลโดยตรงและทางออม และ ไมส ามารถหลีกเลย่ี งได ผลกระทบจากการใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 4 ของไทยเกิดจากการโดยนํา นโยบายการปลูกพืชเชิงเดย่ี วเขา มาใชเพ่อื มุงพัฒนาเศรษฐกจิ เปน หลกั ทําใหป ระชาชนตื่นตัวในการทําไรปลูก พืชเชงิ เดีย่ ว เชน มันสําปะหลัง ออย ปอ จงึ เกดิ การทาํ ลายปาและทรพั ยากรธรรมชาตเิ พ่ือหาพ้ืนท่ีในการปลูก พืชเชิงเด่ียวตามนโยบายรัฐบาล มีการใชปุยเคมี ใชยาปราบศัตรูพืช เกิดโรงงานอุตสาหกรรมจํานวนมาก แตภ าครัฐยงั ขาดการควบคุมอยางเปนระบบและชัดเจน จงึ ทาํ ใหเ กดิ ผลกระทบมาจนถึงปจจุบัน เชนปาไมถูก ทําลาย ดินเส่ือมคุณภาพ น้ําเนาเสีย เกิดสารเคมีสะสมในแหลงน้ําและดิน เกิดมลพิษ ซึ่งสิ่งเหลานี้เกิด ผลกระทบโดยตรงและโดยออม ตอสขุ ภาพและการดาํ รงชีวติ ของประชาชน ทําใหเกิดความเสยี หายตอ ประเทศ โดยรวม จากการศกึ ษาของนักวิชาการ พบวา การแกไ ขปญ หาสิง่ แวดลอมตอ งแกท่ตี ัว “มนษุ ย” น่นั คอื จะตอง ใหความรู ความเขาใจธรรมชาติ เจตคติ มีคุณธรรมจริยธรรม และสรางจิตสํานึกใหเกิดความตระหนักตอ สง่ิ แวดลอม ตอประชาชน โดยเรยี นรูจากแหลงเรียนรูใหม ๆ สรางความตระหนักในปญ หาท่ีเกิดข้ึน และสราง การมสี ว นรว มในการปอ งกันและแกไ ขปญ หาทีเ่ กดิ ขนึ้ ปญหาสงิ่ แวดลอ มสาํ คญั ๆ ดังตอไปน้ี คอื 1. ปา ไม “ปา ไม” เปนศูนยรวมของสรรพ ชวี ติ เปน ที่กอกําเนิดสายน้ํา ชีวิตพืชและ สัตวที่หลากหลายอีกทั้งเปนที่พึ่งพิงและ ใหประโยชนแกมนุษยมาแตโบราณกาล เพราะปา ไมชวยรักษาสมดลุ ของธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม ควบคุมสภาพดินฟา อากาศ กําบังลมพายุ ปองกันบรรเทา อทุ กภัย ปองกันการพังทลายของหนาดิน เปนเสมือนเข่ือนธรรมชาติท่ีปองกันการ

54 ต้นื เขินของแมนํ้าลําคลอง เปน แหลงดูดซบั กา ซคารบอนไดออกไซดและเปนโรงงานผลิตออกซิเจนขนาดใหญ เปน คลงั อาหารและยาสมนุ ไพร และปาไม ยงั เปน แหลงศึกษาวิจัยและเปน สถานที่พักผอนหยอนใจของมนุษย นอกจากนี้ในผนื ปา ยังมสี ตั วปา นานาชนดิ ซง่ึ มีประโยชนตอมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในหลายลักษณะ ไดแก การรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เชน การควบคุมปริมาณสัตวปาใหอยูในภาวะสมดุล การชวยแพรพันธุพืช การควบคมุ แมลงศัตรพู ชื เปนปยุ ใหก ับดนิ ในปา เปนตน การเปน แหลงพันธกุ รรมทหี่ ลากหลาย การเปน อาหาร ของมนุษยและสัตวอ่ืน และการสรางรายไดใหแกมนุษย เชน การคาจากช้ินสวนตาง ๆ ของสัตวปา การจําหนายสัตวปา และการเปดใหบริการชมสวนสัตว เปนตน ดังนั้น จึงนับวาปาไมใหคุณประโยชน ทัง้ ทางตรงและทางออ มแกม วลมนษุ ยเ ปนอยางมากมาย หากปา ไมเ ส่ือมโทรม ชวี ิตความเปน อยขู องมนุษยแ ละ สัตวอยา งหลกี เล่ียงไมได ประเภทของปา ไมในประเทศไทย ประเภทของปาไมจะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับการกระจายของฝน ระยะเวลาท่ีฝนตกรวมท้ังปริมาณ น้าํ ฝนทําใหป าแตล ะแหง มคี วามชมุ ชน้ื ตางกนั สามารถจาํ แนกไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คอื 1. ปาประเภทท่ีไมผลดั ใบ (Evergreen) 2. ปา ประเภทที่ผลดั ใบ (Deciduous) ปาประเภทท่ไี มผลดั ใบ (Evergreen) ปา ประเภทน้มี องดเู ขยี วชอมุ ตลอดป เนื่องจากตนไมแทบทั้งหมดทข่ี ้ึนอยเู ปน ประเภทท่ไี มผ ลัดใบ ปาชนิดสําคัญซง่ึ จดั อยใู นประเภทนี้ ไดแ ก 1. ปาดงดิบ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest) ปา ดงดิบที่มีอยูท่วั ในทุกภาคของประเทศ แตท ี่มมี ากท่สี ดุ ไดแก ภาคใตแ ละภาคตะวันออกในบรเิ วณนี้ มีฝนตกมากและมีความช้ืนมากในทองที่ภาคอื่น ปาดงดิบมักกระจายอยูบริเวณที่มีความชุมช้ืนมาก ๆ เชน ตามหบุ เขา ริมแมนํา้ ลาํ ธาร หวย แหลงนาํ้ และบนภูเขา ซ่ึงสามารถแยกออกเปนปาดงดบิ ชนดิ ตา ง ๆ ดังน้ี 1.1 ปา ดบิ ชนื้ เปนปา รกทึบมองดูเขยี วชอุมตลอดปมีพันธุไมหลายรอยชนิดขึ้นเบียดเสียดกันอยู มักจะพบกระจัดกระจายตั้งแตความสูง 600 เมตร จากระดับนํ้าทะเล ไมท่ีสําคัญก็คือ ไมตระกูลยางตาง ๆ เชน ยางนา ยางเสียน สว นไมช ั้นรอง คอื พวกไมก อ เชน กอนํา้ กอเดอื ย 1.2 ปาดิบแลง เปนปาที่อยูในพื้นที่คอนขางราบมีความชุมชื้นนอย เชน ในแถบภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักอยูสูงจากระดับนํ้าทะเลประมาณ 300-600 เมตร ไมที่สําคัญ ไดแก มะคาโมง ยางนา พะยอม ตะเคียนแดง กระเบากลัก และตาเสือ 1.3 ปาดิบเขา ปาชนิดน้ีเกิดขึ้นในพ้ืนที่สูง ๆ หรือบนภูเขาตั้ง 1,000-1,200 เมตร ขึ้นไปจาก ระดับนํ้าทะเล ไมสวนมากเปนพวก Gymnosperm ไดแก พวกไมขุนและสนสามพันป นอกจากน้ียังมีไม ตระกูลกอข้ึนอยู พวกไมช้ันทส่ี องรองลงมา ไดแ ก สะเดาชา ง และขมิ้นชัน

55 2. ปา สนเขา (Pine-Forest) ปาสนเขามักปรากฏอยูต ามภูเขาสงู สวนใหญเปน พน้ื ท่ีซึง่ มคี วามสูงประมาณ 200 - 1,800 เมตร ขนึ้ ไปจากระดับนาํ้ ทะเลในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บางทีอาจปรากฏในพ้ืนท่ีสูง 200 -300 เมตร จากระดบั นาํ้ ทะเลในภาคตะวันออกเฉียงใต ปาสนเขามีลักษณะเปนปาโปรง ชนิดพันธุไมที่ สําคัญของปาชนิดนี้คือ สนสองใบ และสนสามใบ สวนไมชนิดอ่ืนท่ีขึ้นอยูดวยไดแกพันธุไมปาดิบเขา เชน กอชนิดตาง ๆ หรอื พนั ธไุ มป าแดงบางชนดิ คอื เตง็ รงั เหยี ง พลวง เปนตน 3. ปาชายเลน (Mangrove Forest) บางทเี รยี กวา “ปา เลนน้ําเค็ม” หรือปาเลน มีตนไมขึ้นหนาแนน แตล ะชนดิ มรี ากคาํ้ ยันและรากหายใจ ปาชนดิ นีป้ รากฏอยตู ามทด่ี นิ และริมทะเลหรือบริเวณปากนํ้าแมน้ําใหญ ๆ ซ่ึงมีนํ้าเค็มทวมถึงในพื้นที่ภาคใต มีอยูตามชายฝง ทะเลท้ังสองดา น ตามชายทะเลภาคตะวันออกมอี ยูท กุ จงั หวัดแตท ่ีมากทส่ี ดุ คือ บริเวณปากนํ้า เวฬุ อาํ เภอขลุง จงั หวดั จันทบุรี พนั ธุไ มท ่ขี นึ้ อยูตามปา ชายเลน สวนมากเปนพนั ธไุ มขนาดเลก็ ใชป ระโยชนสาํ หรบั การเผาถา น และทํา ฟนไมช นดิ ทสี่ ําคญั คือ โกงกาง ถ่ัวขาว ถว่ั ขาํ โปรง ตะบูน แสมทะเล ลําพูนและลําแพน ฯลฯ สวนไมพื้นลาง มกั เปน พวก ปรงทะเล เหงือกปลาหมอ และปอทะเล เปนตน

56 4. ปา พรุหรือปา บึงนา้ํ จืด (Swamp Forest) ปาชนิดน้ีมักปรากฏในบริเวณที่มีนํ้าจืดทวมมากๆ ดินระบายน้ําไมดี ปาพรุในภาคกลาง มีลักษณะ โปรงและมตี น ไมขน้ึ อยหู า ง ๆ เชน สนนุ จิก โมกบา น หวายน้าํ หวายโปรง ระกํา ออ และแขม ในภาคใตปาพรุ มขี ้นึ อยูตามบริเวณทม่ี นี ้ําขังตลอดป ดนิ ปา พรุ ทมี่ ีเน้ือทมี่ ากที่สุดอยูในบริเวณจังหวัดนราธิวาส ดินปาพรุเปน ซากพชื ผสุ ลายทับถมกนั เปนเวลานาน ปาพรุแบงออกได 2 ลักษณะ คือ ตามบริเวณซ่ึงเปนพรุนํ้ากรอยใกล ชายทะเลตนเสมด็ จะขึน้ อยูหนาแนนพื้นที่มีตนกกชนิดตาง ๆ เรียก“ปาพรุเสม็ด หรือ ปาเสม็ด” อีกลักษณะ เปนปา ท่มี ีพนั ธไุ มต าง ๆ มากชนดิ ข้ึนปะปนกัน ชนิดพันธไุ มท ี่สําคญั ของปาพรุ ไดแก อินทนิลนํ้า หวาจิก โสกนาํ้ กระทุม น้าํ กนั เกรา โงงงนั ไมพนื้ ลาง ประกอบดวย หวาย ตะคา ทอง หมากแดง และหมากชนดิ อนื่ ๆ 5. ปาชายหาด (Beach Forest) เปน ปาโปรง ไมผลดั ใบขึ้นอยูตามบริเวณหาดชายทะเล นํา้ ไมท ว มตามฝง ดนิ และชายเขารมิ ทะเล ตนไม สาํ คญั ท่ีข้ึนอยตู ามหาดชายทะเล ตอ งเปน พชื ทนเคม็ และมักมลี ักษณะไมเปน พุมลักษณะตนคองอ ใบหนาแข็ง ไดแก สนทะเล หูกวาง โพธ์ทิ ะเล กระทิง ตีนเปด ทะเล หยนี ้าํ มกั มตี น เตยและหญาตาง ๆ ขน้ึ อยู เปนไมพื้นลาง ตามฝงดินและชายเขา มักพบ มะคาแต กระบองเพชร เสมา และไมหนามชนิดตาง ๆ เชน ซงิ ซี่ หนามหนั กาํ จาย มะดนั ขอ เปนตน ปาประเภทท่ผี ลดั ใบ ตน ไมท ข่ี ้ึนอยูใ นปาประเภทนี้เปน จําพวกผลัดใบแทบท้ังสน้ิ ในฤดูฝนปาประเภทน้ีจะมองดูเขียวชอุม พอถึงฤดูแลงตนไม สวนใหญจะพากันผลัดใบทําใหปามองดูโปรงขึ้น และมักจะเกิดไฟปาเผาไหมใบไมและ ตนไมเ ลก็ ๆ ปา สาํ คญั ซึ่งอยใู นประเภทน้ี ไดแ ก 1. ปาเบญจพรรณ ปาผลัดใบผสมหรือปาเบญจพรรณมีลักษณะเปนปาโปรงและยังมีไมไผชนิดตาง ๆ ข้ึนอยูกระจัด กระจายท่วั ไปพ้นื ที่ดินมกั เปนดินรวนปนทราย ปาเบญจพรรณ ในภาคเหนือมักจะมีไมสักขึ้นปะปนอยูท่ัวไป

57 ครอบคลมุ ลงมาถึงจังหวัดกาญจนบุรี ในภาคกลางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก มีปาเบญจพรรณ นอ ยมากและกระจัดกระจาย พันธุไ มชนิดสําคัญ ไดแก สัก ประดูแดง มะคาโมง ตะแบก เสลา ออยชาง ลาน ยมหอม ยมหนิ มะเกลือ เก็ดดํา เกด็ แดง ฯลฯ นอกจากนี้มไี มไผท่สี ําคัญ เชน ไผป า ไผบง ไผซาง ไผรวก ไผไร เปน ตน 2. ปา เต็งรงั หรอื ท่ีเรียกกันวา ปา แดง ปา แพะ ปา โคก ลักษณะทว่ั ไปเปนปา โปรง ตามพ้ืนปามักจะพบตนปรง และหญาเพ็ก พื้นท่ีแหงแลง ดินรวนปนทราย หรือกรวด ลูกรัง พบอยูทวั่ ไปในทีร่ าบและท่ีภูเขา ในภาคเหนือสวนมากข้ึนอยูบนเขาที่มีดิน ตน้ื และแหงแลงมาก ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มปี าแดงหรอื ปา เตง็ รงั นม้ี ากที่สดุ ตามเนินเขาหรือที่ราบดิน ทราย ชนิดของพันธุไมท่ีสําคัญในปาแดง หรือปาเต็งรัง ไดแก เต็ง รัง เหียง พลวง กราด พะยอม ต้ิว แตว มะคา แต ประดู แดง สมอไทย ตะแบก เลือดแสลงใจ รกฟา ฯลฯ สวนไมพืน้ ลา งท่ีพบมาก ไดแก มะพราวเตา ปุมแปง หญา เพก็ ปรงและหญาชนิดอนื่ ๆ 3. ปาหญา (Savannas Forest) ปาหญา ทอ่ี ยูทุกภาคเกิดจากปา ทถ่ี กู แผวถางทาํ ลายบริเวณพน้ื ดินทีข่ าดความสมบูรณ และถูกทอดท้ิง หญา ชนดิ ตา ง ๆ จึงเกิดข้นึ ทดแทนและพอถึงหนา แลง ก็เกดิ ไฟไหมท าํ ใหต นไมบ รเิ วณขา งเคียงลมตาย พื้นท่ีปา หญาจงึ ขยายมากข้ึนทุกป พืชท่ีพบมากท่ีสุดในปาหญาคือ หญาคา หญาขนตาชาง หญาโขมง หญาเพ็กและ ปุมแปง บริเวณที่พอจะมีความช้ืนอยูบาง และการระบายน้ําไดดีก็มักจะพบพงและแขมขึ้นอยู และอาจพบ ตนไมทนไฟขึน้ อยู เชน ตับเตา รกฟา ตานเหลือ ตว้ิ และแตว ประโยชนของทรัพยากรปา ไม ปาไมน อกจากเปนที่รวมของพันธุพืชและพันธุสัตวจํานวนมาก ปาไมยังมีประโยชนมากมายตอการ ดํารงชีวิตของมนุษยทงั้ ทางตรงและทางออม ดงั น้ี ประโยชนทางตรง ไดแ ก ปจจัย 4 ประการ 1. จากการนําไมมาสรา งอาคารบานเรือนและผลติ ภัณฑตาง ๆ เชน เฟอรน เิ จอร กระดาษ ไมข ดี ไฟ ฟน เปน ตน 2. ใชเปนอาหารจากสว นตางๆ ของพืชทะเล 3. ใชเสนใย ที่ไดจ ากเปลือกไมและเถาวัลยมาถกั ทอ เปนเคร่ืองนงุ หม เชอื กและอ่นื ๆ 4. ใชท าํ ยารักษาโรคตาง ๆ ประโยชนทางออม 1. ปาไมเ ปน เปนแหลง กาํ เนดิ ตน น้ําลําธารเพราะตน ไมจ าํ นวนมากในปาจะทําใหนํ้าฝนที่ตกลงมา คอ ย ๆ ซึมซับลงในดนิ กลายเปนนํา้ ใตดินทซ่ี ึง่ จะไหลซมึ มาหลอ เล้ยี งใหแมน ํ้า ลาํ ธารมนี ํา้ ไหลอยตู ลอดป 2. ปา ไมทําใหเกิดความชมุ ชื้น และควบคมุ สภาวะอากาศ ไอนํ้าซึ่งเกิดจากการหายใจของพืช ซ่ึงเกิด ข้ึนอยูมากมายในปาทําใหอากาศเหนือปามีความชื้นสูงเม่ืออุณหภูมิลดตํ่าลงไอนํ้าเหลานั้นก็จะกลั่นตัว

58 กลายเปน เมฆแลว กลายเปน ฝนตกลงมา ทาํ ใหบ รเิ วณท่ีมพี ืน้ ปา ไมมคี วามชมุ ช้ืนอยูเสมอ ฝนตกตอ งตามฤดกู าล และไมเ กดิ ความแหง แลง 3. ปาไมเปนแหลงพักผอนและศึกษาความรู บริเวณปาไมจะมีภูมิประเทศที่สวยงามจากธรรมชาติ รวมท้งั สัตวป า จงึ เปน แหลง พกั ผอ นไดศ กึ ษาหาความรู 4. ปาไมช วยบรรเทาความรุนแรงของลมพายุ และปองกันอุทกภัย โดยชวยลดความเร็วของลมพายุ ท่ีพัดผานไดตั้งแต 11 – 44% ตามลักษณะของปาไมแตละชนิด จึงชวยใหบานเมืองรอดพนจากวาตภัยได ซึง่ เปนการปอ งกนั และควบคมุ นํา้ ตามแมน้ําไมใหส งู ขน้ึ มารวดเร็วลน ฝงกลายเปน อุทกภยั 5. ปาไมช วยปอ งกันการกัดเซาะและพัดพาหนาดิน จากน้ําฝนและลมพายุโดยลดแรงปะทะ ลงการ หลดุ เลอ่ื นของดนิ จึงเกิดข้นึ นอย และยังเปนการชว ยใหแมน าํ้ ลําธารตาง ๆ ไมต้ืนเขินอีกดวย นอกจากนี้ปาไม จะเปนเสมือนเคร่ืองกดี ขวางตามธรรมชาติ จงึ นับวามปี ระโยชนในทางยุทธศาสตรดว ยเชน กนั สาเหตุสําคัญของวกิ ฤตการณป า ไมในประเทศไทย 1. การลักลอบตัดไมทําลายปา ตัวการของปญหานี้คือ นายทุนพอคาไม เจาของโรงเล่ือย เจาของ โรงงานแปรรูปไม ผูรบั สมั ปทานทาํ ไมแ ละชาวบา นท่ัวไป ซ่ึงการตัดไมเพื่อเอาประโยชนจากเน้ือไมท้ังวิธีท่ีถูก และผดิ กฎหมาย ปริมาณปาไมท ถี่ กู ทาํ ลายนนี้ ับวันจะเพมิ่ ขึน้ เรื่อยๆ ตามอัตราเพิ่มของจํานวนประชากร ยิ่งมี ประชากรเพมิ่ ข้นึ เทา ใด ความตอ งการในการใชไ มก เ็ พ่มิ มากขึ้น เชน ใชไมในการปลกู สรา งบานเรอื น เครือ่ งมือ เครอ่ื งใชในการเกษตรกรรม เครือ่ งเรอื นและถานในการหุงตม เปน ตน 2. การบุกรุกพ้ืนท่ีปาไมเพ่ือเขาครอบครองที่ดิน เมื่อประชากรเพ่ิมสูงขึ้น ความตองการใชที่ดิน เพอื่ ปลูกสรางทอี่ ยูอาศัยและท่ีดินทาํ กนิ กอ็ ยสู งู ขึน้ เปน ผลผลกั ดันใหราษฎรเขาไปบุกรกุ พนื้ ท่ีปา ไม แผว ถางปา หรือเผาปา ทําไรเล่อื นลอย นอกจากน้ยี ังมนี ายทนุ ทีด่ ินทจี่ างวานใหราษฎรเขาไปทําลายปาเพ่ือจับจองที่ดินไว ขายตอ ไป 3. การสงเสริมการปลูกพืชหรือเล้ียงสัตวเศรษฐกิจเพื่อการสงออก เชน มันสําปะหลัง ปอ เปนตน โดยไมสงเสริมการใชที่ดินอยางเต็มประสิทธิภาพท้ัง ๆ ที่พื้นที่ปาบางแหงไมเหมาะสมที่จะนํามาใชใน การเกษตร 4. การกําหนดแนวเขตพ้ืนที่ปากระทําไมชัดเจนหรือไมกระทําเลยในหลาย ๆ พ้ืนที่ทําใหเกิดการ พพิ าทในเร่อื งทด่ี ินทํากนิ ของราษฎรและทดี่ ินปา ไมอยูตลอดเวลา และเกดิ ปญ หาในเรื่องกรรมสิทธทิ์ ่ีดิน 5. การจดั สรา งสาธารณปู โภคของรฐั เชน เขอื่ น อา งเก็บนํ้า เสน ทางคมนาคม การสรางเข่ือนขวางลํา น้าํ จะทาํ ใหพ้ืนที่เกบ็ นา้ํ หนา เข่ือนท่ีอุดมสมบูรณถูกตัดโคนมาใชประโยชน สวนตนไมขนาดเล็กหรือท่ีทําการ ยายออกมาไมท นั จะถูกนาํ้ ทวมยนื ตนตาย เชน การสรา งเขอ่ื นรัชประภาเพื่อกั้นคลองพระแสงอนั เปน สาขาของ แมน า้ํ พมุ ดวง แมน ้ําตาป ทาํ ใหน ้ําทว มบริเวณปาดงดบิ ซึ่งมีพันธุไมหนาแนน และสัตวนานาชนิดเปนบริเวณ นับแสนไร ตอมาจงึ เกดิ ปญหานํา้ เนาไหลลงลาํ น้าํ พมุ ดวง 6. ไฟไหมป า มกั จะเกิดขึน้ ในชวงฤดแู ลง ซง่ึ อากาศแหง แลงและรอนจัด ทั้งโดยธรรมชาติและจากการ กระทาํ ของมนุษยท ี่อาจลกั ลอบเผาปา หรือเผลอ จดุ ไฟท้งิ ไว

59 7. การทาํ เหมอื งแร แหลงแรท่พี บในบริเวณท่ีมีปาไมปกคลุมอยู มีความจําเปนที่จะตองเปดหนาดิน กอ นจงึ ทําใหป าไมท ่ีขึ้นปกคลมุ ถกู ทําลายลง เสน ทางขนยา ยแรใ นบางครั้งตองทําลายปาไมลงเปนจํานวนมาก เพอ่ื สรางถนนหนทาง การระเบดิ หนา ดนิ เพ่อื ใหไดมาซง่ึ แรธ าตุ สงผลถงึ การทําลายปา การอนุรักษป าไม ปาไมถกู ทําลายไปจํานวนมาก จึงทําใหเกิดผลกระทบตอสภาพภูมิอากาศไปท่ัวโลก รวมทั้งความสมดุล ในแงอ น่ื ดวย ดงั นน้ั การฟนฟสู ภาพปาไมจ งึ ตองดาํ เนินการเรง ดวน ทัง้ ภาครฐั ภาคเอกชนและ ประชาชน ซ่ึงมี แนวทางในการกําหนดแนวนโยบายดา นการจัดการปาไม ดงั นี้ 1. นโยบายดา นการกําหนดเขตการใชประโยชนทีด่ นิ ปา ไม 2. นโยบายดา นการอนุรกั ษทรพั ยากรปา ไมเ กี่ยวกับงานปอ งกนั รกั ษาปา การอนุรักษสง่ิ แวดลอม 3. นโยบายดานการจัดการทีด่ ินทํากนิ ใหแกราษฎรผูย ากไรในทอ งถ่นิ 4. นโยบายดา นการพฒั นาปาไม เชน การทําไมแ ละการเก็บหาของปา การปลูก และการบํารุงปาไม การคน ควา วจิ ัย และดา นการอุตสาหกรรม 5. นโยบายการบริหารท่ัวไปจากนโนบายดังกลาวขางตนเปนแนวทางในการพัฒนาและการจัดการ ทรพั ยากรปา ไมข องชาติใหไ ดร บั ผลประโยชน ทงั้ ทางดา นการอนุรักษแ ละดานเศรษฐกิจอยางผสมผสาน ท้ังนี้ เพอ่ื ใหเกดิ ความสมดุลของธรรมชาติและมีทรัพยากรปาไมไ วอ ยา งยงั่ ยืนตอ ไปในอนาคต สถานการณทรพั ยากรปาไม การใชประโยชนจ ากพน้ื ท่ปี า อยางตอเนือ่ งในชวงสี่ทศวรรษท่ีผานมาทําใหประเทศไทยสูญเสีย พ้ืนท่ี ปา ไมแ ลวประมาณ 67 ลา นไร หรือเฉลย่ี ประมาณ 1.6 ลา นไรต อ ป กลา วคอื ป พ.ศ. 2504 ประเทศไทยมพี ้ืนท่ี ปาอยูถ งึ รอ ยละ 53.3 ของพน้ื ที่ประเทศ หรอื ประมาณ 171 ลานไร และลดลงมาโดยตลอดจนในป พ.ศ. 2532 ประเทศไทยเหลือพื้นที่ปาเพียงรอยละ 27.95 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด หรือประมาณ 90 ลานไร รัฐบาลในอดีตได พยายามจะรักษาพ้ืนที่ปา โดยประกาศยกเลิกสัมปทานการทาํ ไมในปาบกท้ังหมด ในป พ.ศ.2532 แตหลังจาก ยกเลิกสัมปทานปาไม สถานการณดีขึ้นในระยะแรกเทาน้ัน ตอมาการทําลายก็ยังคงเกิดข้ึนไมแตกตางจาก สถานการณก อ นยกเลิกสมั ปทานปา ไมเ ทาใดนัก โดยพื้นที่ปา ท่ีถกู บกุ รกุ กอนการยกเลิกสัมปทาน (ป พ.ศ. 2525-2532) เฉล่ียตอปเทากับ 1.2 ลานไร และพ้ืนท่ีปาท่ีถูกบุกรุกหลังการยกเลิกสัมปทาน (ป พ.ศ. 2532-2541) เฉล่ยี 1.1 ลานไรต อ ป (ตารางที่ 1)

60 ตารางท่ี 1 พืน้ ที่ปากอนและหลังการยกเลิกสมั ปทานปาไม รายการ พ้นื ท่ีปา (ลา นไร) พนื้ ที่ถกู ทําลายเฉล่ียตอป (ลานไร) ป พ.ศ. 2504 171.0 - ป พ.ศ. 2525 97.8 3.5 ป พ.ศ. 2532 (ประกาศยกเลกิ สัมปทานปาไม) 89.6 1.2 ป พ.ศ. 2541 81.1 1.1 2. ภูเขาและแรธาตุ ภเู ขา เปนแหลง ตน กาํ เนิดของแรธาตุ ปา และแหลง นา้ํ ที่สาํ คัญของประเทศไทย ภาคเหนือเปนภาคที่อุดมดวยทรัพยากรแรธาตุภาคหน่ึงของประเทศไทย เพราะมีภูมิประเทศท่ีมี โครงสรางเปนภเู ขา เนนิ เขาและแอง แผน ดิน ในยุคกลางเกา กลางใหม ที่บริเวณตอนกลางที่ผานการผุกรอน และมีการเปล่ียนแปลงของแผนดิน โดยเฉพาะภูเขาทางตะวันตกที่เปนแนวของทิวเขา อุดมดวยแรโลหะ แรอโลหะและแรเ ชอื้ เพลิง แรโ ลหะ ทส่ี าํ คญั ทพี่ บตามภูเขาหนิ แกรนิตในภาคเหนือ ไดแ ก 1. แรดีบุก แหลงแรดีบุกที่พบในภาคเหนือ อยูในเขตภูเขาของจังหวัดที่อยูทางเหนือ และทางภาค ตะวันตกของภาค คือ จังหวดั แมฮ องสอน จังหวัดเชียงใหม จังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย แตมีปริมาณการ ผลติ ไมมากเทา กับแหลง ดีบุกสําคัญทางภาคใต 2. ทังสเตนหรอื วุลแฟรม ทีพ่ บมากในภาคเหนอื คอื แหลงแรซไี รท เปน แรท ่ีสําคญั ทางเศรษฐกจิ การคา และยุทธปจ จัยสาํ คัญ มีการทาํ เหมอื งที่ อําเภอดอยหมอก อําเภอเวียงปา เปา จงั หวดั เชียงราย และพบ แถบภูเขาสูงในเขต จังหวัดแมฮองสอนมีเหมืองดําเนินการผลิตถึง 10 เหมือง ท่ีสําคัญคือเหมืองท่ี อําเภอ แมลานอย เหมืองหวยหลวง และเหมอื งแมสะเรยี ง ทางดานตะวนั ตกของลมุ นํา้ ยม 3. ตะกั่วและสังกะสี แรต ะก่ัวและสงั กะสีมักจะเกิดรวมกันแตที่พบยังมีปริมาณนอยไมเพียงพอ ที่จะ นํามาใชในเชิงพาณิชยเหมือนที่พบในภาคตะวันตก ภาคเหนือมีแหลงแรตะกั่วและสังกะสีในแถบจังหวัด แมฮองสอน จงั หวัดเชียงใหม จังหวดั ลําปางและจงั หวัดแพร 4. ทองแดง แหลงแรท องแดงมีอยหู ลายในแหง ประเทศ แตเ ปน แหลงแรท่ีมีมูลคาทางเศรษฐกิจเพียง ไมก แี่ หง บริเวณท่พี บ ไดแก ในเขตจงั หวดั ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน จงั หวัดนครราชสีมา จังหวัดเลย แตท่ภี าคเหนือพบในเขต จังหวัดอุตรดิตถ จงั หวดั แพร จังหวัดนา น และจังหวดั ลําปาง

61 5. เหล็ก แหลง แรเหล็กในประเทศไทยมีหลายแหงเชน กัน ท้งั ท่กี าํ ลังมีการผลติ ท่ีผลิตหมดไปแลว แตแ หลง ท่ีนา สนใจที่อาจมคี าในอนาคต ไดแกท ่ี อาํ เภอตาคลี จังหวดั นครสวรรค ที่เขาทับควาย จังหวัดลพบุรี แหลงภูยาง อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย แหลงอึมครึม จังหวัดกาญจนบุรี ในภาคเหนือพบท่ีอําเภอแมแจม จังหวัดเชยี งใหม แหลง เดิม อําเภอเถนิ จังหวดั ลาํ ปาง 6. แมงกานีส แหลง แมงกานีสในภาคเหนือมแี หลง ผลิตที่สําคัญอยูใน จังหวัดลําพูน จังหวัดเชียงใหม จงั หวดั ลาํ ปาง จังหวัดแพร จังหวดั เชยี งราย และจังหวดั นาน 7. นกิ เกลิ และโครเมียม พบที่ บานหว ยยาง อาํ เภอทา ปลา จงั หวดั อตุ รดติ ถ นอกจากน้ียงั มีแรโครไมต ท่ใี หโ ลหะโครเมียม ซึ่งเปน แรผ สมเหลก็ แรอ โลหะ ที่สําคัญท่พี บในภาคเหนือ ไดแก 1. ฟลูออไรต แหลงแรฟลูออไรตท่ีสําคัญของประเทศพบในภาคเหนือและภาคตะวันตก ไดแก ท่อี ําเภอบา นโฮง อาํ เภอปาซาง จังหวดั ลาํ พูน อําเภอฝาง แมแ จม อําเภอฮอด อําเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม อําเภอแมส ะเรยี ง จงั หวัดแมฮ องสอน นอกจากนกี้ ม็ ีทภี่ าคตะวันตก และภาคใตของไทยอีกดวย 2. แบไรต แหลงแรแบไรตท ่ีสําคัญ นอกจากจะมีมากในภาคใตท่ีบริเวณเขาหลวง จังหวันครศรีธรรม ราชและในจังหวดั สรุ าษฏรธานีแลว ยังมีแหลงสําคัญในภาคเหนืออกี ท่ี บรเิ วณภไู มตอง อาํ เภอดอยเตา อําเภอ ฮอด จังหวดั เชยี งใหม นอกจากนีย้ งั มีใน จงั หวดั แมฮ อ งสอน จังหวดั ลําพูน ลําปาง อตุ รดติ ถ เชียงราย และแพร 3. ยิปซัม แหลงยิปซัมที่สําคัญมีที่ จังหวัดนครสวรรคและพิจิตร ในภาคเหนือไดแก แหลงแมเมาะ อําเภอแมเมาะ จงั หวดั ลาํ ปาง แหลง แมก ัว๊ ะ อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง และแหลงสองหอง อําเภอน้ําปาด จงั หวัดอุตรดิตถ 4. ฟอสเฟต มแี หลงเล็ก ๆ อยทู ่ี ต.นาแกว อาํ เภอเกาะคา จงั หวดั ลําปาง 5. ดนิ ขาวหรอื เกาลิน ไดมกี ารพบและผลติ ดนิ ขาวในหลายบรเิ วณทั้งภาคเหนือ ภาคกลางและภาคใต ในภาคเหนือมีแหลง ดนิ ขาวท่ี อาํ เภอแจหม จังหวัดลาํ ปาง นอกจากนีย้ งั มีแรอ โลหะอืน่ ๆ ทพี่ บในภาคเหนืออีก เชน แรหนิ มาท่ี จงั หวัดเชยี งใหม แมฮอ งสอน แรใยหินพบใน จังหวัดอตุ รดติ ถ แรเ ชอื้ เพลิง ทีส่ าํ คัญทางเศรษฐกจิ คอื มกี ารนาํ มาใชเ ปนเชือ้ เพลิงสําคัญในโรงงานไฟฟา เครื่องจกั รกล โรงงานอุตสาหกรรมเคมภี ัณฑแ ละในกจิ กรรมขนสงตา ง ๆ เชน ในเคร่ืองบิน รถยนต เรอื ยนต เปนตน 1. หินน้ํามัน พบที่ บานปาคา อําเภอล้ี จังหวัดลําพูน แตยังไมไดนํามาใชประโยชนในเชิงพาณิชย เนอ่ื งจากการแยกนํา้ มนั ออกจากหนิ นาํ้ มันตองลงทุนสูง 2. ปโ ตรเลยี่ ม น้าํ มนั ดิบ กา ซธรรมชาตเิ หลว พบท่ี อําเภอฝาง จงั หวัดเชยี งใหม นํามาใชเปนนํา้ มนั หลอลนื่ นา้ํ มันดีเซลหมนุ เร็วปานกลางและน้าํ มนั เตา 3. ลิกไนต พบที่ อําเภอแมเมาะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง ใชเปนเชื้อเพลิงในโรงงานบมยา โรงไฟฟา

62 3. แหลงนาํ้ ปญ หาเกยี่ วกับทรัพยากรนํ้า จากพฤติกรรมการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติของมนุษย ซ่ึงมีผลกระทบตอสภาวะแวดลอมในโลก โดยเฉพาะปญหาเกีย่ วกบั ทรัพยากรนํ้า ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิตของมนุษย เพราะน้ําไดใชในการ บรโิ ภคและผลิตเครือ่ งอุปโภคตาง ๆ ปจจุบันปญ หาทรัพยากรน้ํา มดี งั นี้ 1. ปญหาทางดา นปรมิ าณ 1) การขาดแคลนน้ําหรือภยั แลง สาเหตุทส่ี าํ คญั ไดแก 1.1 ปา ไมถกู ทาํ ลายมากโดยเฉพาะปา ตน น้ําลําธาร 1.2 ลกั ษณะพืน้ ท่ไี มเหมาะสม เชน ไมม ีแหลง นาํ้ ดินไมด ดู ซับนาํ้ 1.3 ขาดการวางแผนการใชและอนรุ ักษน ํ้าท่ีเหมาะสม 1.4 ฝนตกนอ ยและฝนทิง้ ชว งเปน เวลานาน 2) การเกิดนํา้ ทว ม อาจเกดิ จากสาเหตุหน่งึ หรือหลายสาเหตรุ วมกัน ดงั ตอไปน้ี 2.1 ฝนตกหนกั ติดตอ กนั นาน ๆ 2.2 ปา ไมถกู ทาํ ลายมาก ทาํ ใหไมมีสิ่งใดจะชว ยดดู ซบั นาํ้ ไว 2.3 ภูมปิ ระเทศเปนที่ลุมและการระบายนาํ้ ไมด ี 2.4 นา้ํ ทะเลหนุนสูงกวา ปกติ ทาํ ใหน ้ําจากแผน ดนิ ระบายลงสูท ะเลไมไ ด 2.5 แหลงเก็บกักนา้ํ ตื้นเขนิ หรือไดรบั ความเสียหาย จึงเก็บนาํ้ ไดน อยลง 2. ปญหาดา นคณุ ภาพของน้ําไมเ หมาะสม สาเหตทุ ี่พบบอยไดแ ก 1) การทิ้งส่ิงของและการระบายนํ้าท้ิงลงสูแหลงน้ํา ทําใหแหลงนํ้าสกปรกและเนาเหม็นจนไม สามารถใชป ระโยชนไ ด มักเกิดตามชมุ ชนใหญ ๆ ทอี่ ยใู กลแ หลงนาํ้ หรอื ทองถนิ่ ทมี่ โี รงงานอตุ สาหกรรม 2) สงิ่ ทป่ี กคลุมผวิ ดนิ ถกู ชะลา งและไหลลงสูแหลงนา้ํ มากกวาปกติ มีท้ังสารอินทรีย สารอนินทรีย และสารเคมีตา งๆ ท่ใี ชในกจิ กรรมตา ง ๆ ซ่งึ ทาํ ใหน้ําขุน ไดง า ย โดยเฉพาะในฤดูฝน 3) มีแรธาตเุ จอื ปนอยูมากจนไมเหมาะแกการใชประโยชน นํา้ ทีม่ แี รธ าตุปนอยเู กินกวา 50 พพี ีเอม็ นน้ั เม่ือนํามาดื่มจะทําใหเ กิดโรคนิ่วและโรคอนื่ ได 4) การใชสารเคมีท่ีมีพิษตกคาง เชน สารที่ใชปองกันหรือกําจัดศัตรูพืชหรือสัตว ซ่ึงเมื่อถูกฝน ชะลางลงสูแหลงน้าํ จะกอ ใหเ กิดอนั ตรายตอ สิ่งมชี ีวติ 3. ปญ หาการใชท รัพยากรนา้ํ อยางไมเ หมาะสม เชน ใชม ากเกินความจาํ เปน โดยเฉพาะเม่ือเกิดภาวะ ขาดแคลนนํ้า หรือการสูบน้ําใตดินขึ้นมาใชมากจนดินทรุด เปนตน ป พ.ศ. 2541 ธนาคารโลกพยากรณวา น้ําในโลกลดลง 1 ใน 3 ของปริมาณน้ําท่ีเคยมีเม่ือ 25 ปกอน และในป ค. ศ. 2525 หรืออีก 25 ปขางหนา การใชน าํ้ จะเพ่ิมอีกประมาณรอยละ 65 เนือ่ งจากจาํ นวนประชากรโลกเพิ่มข้ึน การใชน้ําอยางไมถูกตองและ ขาดการดูแลรักษาทรัพยากรนํ้า ซ่ึงจะเปนผลใหประชากรโลกกวา 3,000 ลานคน ใน 52 ประเทศประสบ ปญหาการขาดแคลนนํ้า

63 4. ปญหาความเปล่ียนแปลงของฟา อากาศ เนื่องจากปรากฏการณ เอล นิโน (EI Nino ) และ ลา นินา (La Nina) โดยปรากฏการณท่ีผิดธรรมชาติจะเกิดข้ึนประมาณ 5 ปตอคร้ัง คร้ังละ 8 -10 เดือน โดยกระแสนา้ํ อนุ ในมหาสมุทรแปซิฟกตะวันตก บริเวณตะวันออกเคล่ือนลงไปถึงชายฝงตะวันตกเฉียงเหนือ ของทวปี อเมริกาใต (ประเทศเปรู เอกวาดอร และชิลตี อนเหนอื ) ทาํ ใหผ ิวน้ําท่เี คยเย็นกลบั อุนข้นึ และท่ีเคยอุน กลบั เย็นลง เมอื่ อุณหภูมิของผวิ นาํ้ เปลีย่ นแปลงไปก็จะสงผลทาํ ใหอณุ หภูมิเหนือนํ้าเปล่ียนไปดวยเชนกัน เปนผล ใหความรอ นและความแหงแลงในบริเวณที่เคยมีฝนชุก และเกิดฝนตกหนักในบริเวณท่ีเคยแหงแลง ลมและ พายุเปลี่ยนทิศทาง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาวเกิดเปนบริเวณกวาง จึงสงผลกระทบตอโลกอยาง กวางขวาง สามารถทาํ ลายระบบนเิ วศในซีกโลกใต รวมทั้งพื้นที่บางสวนเหนือเสนศูนยสูตรได สาหรายทะเล บางแหงตายเพราะอุณหภูมิสูง ปลาท่ีเคยอาศัยน้ําอุนตองวายหนีไปหานํ้าเย็นทําใหมีปลาแปลกชนิดเพิ่มขึ้น และหลงั การเกิดปรากฎการณ เอล นโิ น แลว ก็จะเกิดปรากฎการณลา นินา ซ่ึงมีลักษณะตรงกันขามตามมา โดยจะเกิดกระแสน้ําอุนและคล่ืนความรอนในมหาสมุทรแปซิฟกตอนใตเคลื่อนยอนไปทางตะวันตกทําให บริเวณมหาสมุทรแปซิฟกตะวันออกที่อุณหภูมิเร่ิมเย็น จะมีการรวมตัวของไอน้ําปริมาณมาก ทําใหอากาศ เยน็ ลง เกดิ พายุ และฝนตกหนักโดยเฉพาะในกลมุ ประเทศอาเซียน เอล นิโน เคยกอตัวคร้ังใหญในป พ.ศ. 2525 – 2526 ซึ่งผลทําใหอุณหภูมิผิวน้ําสูงกวาปกติถึง 9 องศา ฟาเรนไฮต ทาํ ลายชวี ติ มนษุ ยท ัว่ โลกถึง 2,000 คน คาเสียหายประมาณ 481,000 ลานบาท ปะการัง ในทะเลแคริบเบียนเสยี ความสมดลุ ไปรอ ยละ 50 – 97 แตใ นป พ.ศ. 2540 กลบั กอตวั กวางกวา เดมิ ซึง่ คิดเปน พน้ื ทไ่ี ดก วางใหญกวาประเทศสหรฐั อเมรกิ า โดยเขตนาํ้ อนุ นอกชายฝง ประเทศเปรูขยายออกไปไกลกวา 6,000 ไมล หรือประมาณ 1 ใน 4 ของเสน รอบโลก อณุ หภูมิผวิ นาํ้ วดั ไดเ ทากนั และมีความหนาของนาํ้ ถึง 6 น้ิว สงผล ใหเ กิดปรากฎการณธ รรมชาติท่ีเลวรายทส่ี ดุ ในรอบ 150 ป โดยเร่มิ แสดงผลตัง้ แตเดือนเมษายน 2541 นอกจากน้ีปรากฏการณเรือนกระจกและการลดลงของพน้ื ทป่ี ายังสงเสริมความรุนแรงของปญหาอีก ดวย ดงั ตัวอยางตอไปน้ี 1) ประเทศไทย ประสบความรอนและแหงแลงรุนแรงท่ัวประเทศ ฝนตกนอยหรือตกลาชากวาปกติ (ยกเวนภาคใตที่กลางเดือนสิงหาคมเกิดฝนตกหนักจนน้ําทวม) ปริมาณนํ้าในแมน้ํา อางเก็บนํ้าและเข่ือน ลดนอยลงมาก รวมท้ังบางจังหวัดมีอุณหภูมิในฤดูรอนสูงมาก และเกิดติดตอกันหลายวัน เชน จังหวัดตาก มอี ณุ หภมู ิในเดือนเมษายน พ.ศ. 2541 สูงถึง 43.7 องศาเซลเซยี ส ซึ่งนบั วาสูงทส่ี ดุ ในรอบ 67 ป นอกจากน้ี ยังทาํ ใหผลผลติ ทางการเกษตร โดยเฉพาะไมผลลดลง 2) ประเทศอินโดนเี ซีย ประสบความแหงแลง ทั้งที่อยูใ นเขตมรสุมและมีปาฝน เมื่อฝนไมตกจึงทําให ไฟไหมปาท่ีเกิดข้ึนในเกาะสุมาตรา และบอรเนียวเผาผลาญปาไปประมาณ 14 ลานไร พรอมทั้งกอปญหา มลพษิ ทางอากาศเปนบรเิ วณกวาง มีผคู นปว ยไขนบั หมืน่ ทศั นวิลัยไมด ีจนทําใหเครอื่ งบนิ สายการบินการูดาตก และมผี เู สยี ชีวิต 234 คน อีกทัง้ ยังทาํ ใหผ ลติ ผลการเกษตรตกตาํ่ โดยเฉพาะเมล็ดกาแฟโรบัสตาท่ีสงออกมาก เปน อนั ดบั หนง่ึ ไดรบั ความเสียหายมากเปนประวัติการณ

64 3) ประเทศปาปว นวิ กนิ ี ไดร บั ผลกระทบรุนแรงท่ีสดุ ในภมู ภิ าคเอเชยี แปซิฟก มคี นตายจากภยั แลง 80 คนและประสบปญ หาแลง อกี ประมาณ 1,000,000 คน 4) ประเทศออสเตรเลยี อากาศแหงแลง รนุ แรงจนตองฆาสัตวเลย้ี งเพราะขาดแคลนนาํ้ และอาหาร ซึง่ คาดวา ผลผลติ การเกษตรจะเสียหายประมาณ 432 ลานเหรยี ญ 5) ประเทศเกาหลเี หนอื ปญหาความแหงแลง รุนแรงและอดอยากรนุ แรงมาก พืชไรเสียหายมาก 6) ประเทศสหรฐั อเมริกา เกิดพายุเฮอรริเคนทางดานฝงตะวันตกมากขึ้น โดยเฉพาะภาคใตของรัฐ แคลฟิ อรเนียไดร ับภยั พบิ ัติมากทส่ี ดุ สว นทางฝงตะวนั ออกซง่ึ มเี ฮอรร เิ คนคอนขางมาก คล่ืนลมกบั สงบกวาปกติ 7) ประเทศเปรูและซิลี เกิดฝนตกหนักและจับปลาไดนอยลง (เคยเกิดฝนตกหนักและนํ้าทวม ในทะเลทรายอะตาคามา ประเทศซิลี อยางไมเคยปรากฏมากอน ทั้งๆ ท่ีบริเวณน้ีแหงแลงมากจนประเทศ สหรฐั อเมริกาขอใชเ ปน สถานท่ีฝกนกั อวกาศ โดยสมมติวา เปนพน้ื ผิวดาวองั คาร) 8) ทวปี แอฟริกา แหง แลงรุนแรง พชื ไรอ าจเสยี หายประมาณครงึ่ หนึง่ ปญ หาเกี่ยวกบั ทรัพยากรนํ้าในประเทศไทย 1. การขาดแคลนนํ้าหรอื ภัยแลง ในหนาแลง ประชากรไทยจะขาดแคลนน้ําด่ืมน้ําใชจํานวน 13,000 – 24,000 หมูบาน ประชากร ประมาณ 6 -10 ลานคน ซง่ึ โดยสวนใหญอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง การขาดแคลนนํ้าในระดับ วิกฤตจะเกิดเปนระยะๆ และรุนแรงขึ้น น้ําในเขื่อนสําคัญตางๆ โดยเฉพาะเข่ือนภูมิพลมีปริมาณเหลือนอย จนเกือบจะมีผลกระทบตอการผลิตกระแสไฟฟา และการผลิตน้ําประปาสําหรับใชในหลายจังหวัด การลด ปริมาณของฝนและน้ําท่ีไหลลงสูอางเก็บนํ้า และการเกิดฝนมีแนวโนมลดลงทุกภาค ประมาณรอยละ 0.42 ตอป เปน สิง่ บอกเหตสุ าํ คัญที่แสดงใหเหน็ ถึงแนวโนมความรนุ แรงของภัยแลง ตารางแสดงการเปรยี บเทยี บปริมาณน้ําฝนตอปในแตละภาค พ.ศ. ปรมิ าณนา้ํ ฝน 2536 ตางจากปริมาณเฉลย่ี ภาค (มลิ ลิเมตร) (มิลลเิ มตร) 2503 – 2536 2535 2535 2536 ทุกภาค (ทวั่ ประเทศ) 1,733 1,430 1,594 -303 -139 ภาคเหนือ 1,232 1,142 931 -301 -301 ภาคกลาง 1,226 1,115 1,075 -111 -151 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1,405 1,241 1,176 -164 -229 ภาคตะวนั ออก 2,011 1,534 1,732 -477 -279

65 พ.ศ. ปริมาณนา้ํ ฝน ตา งจากปรมิ าณเฉลยี่ ภาค (มลิ ลเิ มตร) (มลิ ลเิ มตร) ภาคใตฝ ง ตะวนั ออก 2503 – 2536 2535 2536 2535 2536 ภาคใตฝง ตะวนั ตก 1,768 1,457 1,789 -307 25 2,760 2,088 2,863 -672 103 สําหรบั ปรมิ าณนํ้าทไี่ หลลงสูอางเกบ็ น้ําของเข่ือนและแมนํ้าสําคัญ เชน เข่ือนภูมิพล เข่ือนสิริกิต์ิและ แมนํา้ เจาพระยา ตง้ั แตป  พ.ศ. 2515 เปนตนมา ก็มปี รมิ าณลดลงเชนกัน เนื่องจากตนน้ําลําธารถูกทําลายทํา ใหฝนและนํ้านอ ย และขณะเดียวกันความตองการใชนํ้ากลับมีมากและเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ เชน การประปานคร หลวงใชผลิตนํ้าประปาประมาณ 1,300 ลานลูกบาศกเมตรตอป การผลักดันนํ้าเค็มบริเวณปากแมน้ํา เจาพระยา และแมนํา้ ทาจนี จะตอ งใชนา้ํ จดื ประมาณ 2,500 ลา นลกู บาศกเมตรตอป การทํานาปใชประมาณ 4,000 ลา นลูกบาศกเมตร และการทํานาปรังจะใชประมาณ 6,000 ลา นลกู บาศกเ มตร โดยมีแนวโนมของการ ใชเพิม่ มากขนึ้ ทุกป แนวโนม การลดปรมิ าณนาํ้ ในเขอ่ื นทีส่ ําคัญและแมน า้ํ เจา พระยา แหลงทวี่ ัดปรมิ าณ ชว งปที่วดั ปรมิ าณนํา้ เฉลย่ี ตอ ป (ลานลูกบาศกเมตร) ปริมาณนา้ํ ไหลลงสูอางเก็บนา้ํ เขอ่ื น พ.ศ. 2515 – 2534 ประมาณ 10,360 ภมู พิ ลและเขอื่ นสิรกิ ิต์ิ พ.ศ. 2525 – 2534 ประมาณ 8,760 พ.ศ. 2530 - 2534 ประมาณ 7,000 ปรมิ าณนาํ้ ในแมน า้ํ เจาพระยาท่ีไหล พ.ศ. 2515 – 2534 ประมาณ 22,200 ผานจังหวดั นครสวรรค พ.ศ. 2525 – 2534 ประมาณ1 8,700 พ.ศ. 2530 - 2534 ประมาณ16,000 2. ปญ หานา้ํ ทวมหรอื อุทกภัย เกดิ จากฝนตกหนกั หรอื ตกตดิ ตอ กันเปนเวลานาน ๆ เน่อื งจากการตัดไมท าํ ลายปา แหลง น้าํ ตื้นเขนิ ทาํ ใหรองรับนํา้ ไดนอยลง การกอสรางทท่ี ําใหน ํา้ ไหลไดนอยลง เชน การกอสรางสะพาน นอกจากน้ีน้ําทวมอาจ เกิดจากนํ้าทะเลหนุนสูงขึ้น พ้ืนดินทรุดตัวเน่ืองจากการสูบนํ้าใตดินไปใชมากเกินไป พ้ืนท่ีเปนที่ต่ําและ การระบายนํา้ ไมด ี และการสูญเสียพ้นื ทนี่ าํ้ ทว มขัง ตวั อยา ง ไดแก การถมคลองเพ่ือกอ สรางที่อยูอาศัย รวมท้ัง การบุกรุกพน้ื ท่ชี ุมนํา้ เชน กวา นพะเยา บึงบอระเพด็ ทะเลสาบสงขลา และหนองหาร จงั หวดั สกลนคร เพือ่ ใช ประโยชนอ ยางอืน่

66 3. เกิดมลพษิ ทางนํ้าและระบบนิเวศถกู ทาํ ลาย โดยสวนใหญแ ลว นํ้าจะเกดิ การเนาเสียเพราะการเจือปนของอินทรียสาร สารพิษ ตะกอน สิ่งปฏิกูล และน้าํ มนั เช้อื เพลงิ ลงสแู หลงน้ํา ซึง่ มผี ลใหพชื และสัตวนา้ํ เปน อันตราย เชน การทปี่ ะการงั ตัวออ นของสตั วน ้าํ และปลาท่เี ล้ียงตามชายฝง บรเิ วณเกาะภเู กต็ ตายหรือเจรญิ เติบโตผิดปกติ เพราะถูกตะกอนจากการทําเหมือง แรท ับถม ไปอดุ ตันชองเหงือกทําใหไดรบั ออกซเิ จนไมเ พียงพอ 4. แหลงนา้ํ ตน้ื เขิน ดินและตะกอนดินที่ถูกชะลางลงสูแหลงนํ้าน้ันทําใหแหลงน้ําต้ืนเขินและเกิดนํ้าทวมไดงาย ซ่ึงเปน อุปสรรคตอการเดนิ เรือ และยงั เปนผลเสยี ตอ การดาํ รงชวี ิตของสตั วน า้ํ โดยเฉพาะบรเิ วณอาวไทยตอนบน โดยในแตละปตะกอนดินถูกพัดพาไปทับถมกันมากถึงประมาณ 1.5 ลานตัน การสูบนํ้าใตดินไปใชมากจน แผนดนิ ทรดุ ตวั ชาวกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 6 จังหวัดใชนํ้าบาดาลจํานวนมาก เม่ือป 2538 พบวาใช ประมาณวันละ 1.5 ลา นลกู บาศกเ มตร ภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจใชประมาณวันละ 1.2 ลานลูกบาศก เมตร ทําใหด ินทรดุ ตวั ลงทีละนอย และทาํ ใหเ กดิ นํา้ ทว มขงั ไดง า ยข้ึน 4. ทรัพยากรดิน ปญหาการใชที่ดนิ ไมเ หมาะสม และไมค ํานงึ ถงึ ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ไดแ ก 1. การใชท ดี่ นิ เพ่อื การเกษตรกรรมอยา งไมถกู หลกั วชิ าการ 2. ขาดการบํารงุ รักษาดิน 3. การปลอยใหผ ิวดนิ ปราศจากพชื ปกคลุม ทําใหสญู เสียความชมุ ชน้ื ในดนิ 4. การเพาะปลูกทที่ าํ ใหด นิ เสยี 5. การใชป ยุ เคมีและยากาํ จดั ศัตรพู ชื เพอื่ เรง ผลติ ผล ทําใหด ินเส่ือมคณุ ภาพและสารพิษตกคา ง อยูในดิน 6. การบกุ รกุ เขา ไปใชป ระโยชนท ี่ดนิ ในเขตปา ไมบนพ้ืนทีท่ ม่ี คี วามลาดชนั สูง 7. รวมทงั้ ปญ หาการขยายตัวของเมืองที่รุกลา้ํ เขา ไปในพื้นท่เี กษตรกรรม และการนาํ มาใชเปนทอ่ี ยู อาศยั ท่ตี ั้งโรงงานอุตสาหกรรม 8. หรอื การเก็บทีด่ ินไวเพื่อการเกง็ กาํ ไร โดยมิไดม กี ารนาํ มาใชป ระโยชนแ ตอยา งใด นอกจากน้ี การเพิ่มขนึ้ ของประชากรประกอบกับความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ สูงขึ้น ทําใหความตองการใช ทด่ี ินเพ่ือการขยายเมอื ง และอตุ สาหกรรมเพิ่มจาํ นวนตามไปดว ยอยางรวดเรว็ โดยปราศจากการควบคมุ การใช ท่ีดนิ ภายในเมืองใหเหมาะสม เปนสาเหตุใหเกิดปญหาสงิ่ แวดลอ มภายในเมือง หลายประการ เชน ปญหาการ ต้งั ถิน่ ฐาน ปญหาแหลงเส่ือมโทรม ปญ หาการจราจร ปญหาสาธารณสุข ปญหาขยะมูลฝอย และการบริการ สาธารณปู โภคไมเพียงพอ

67 นอกจากนน้ั ปญ หาการพังทลายของดนิ และการสญู เสียหนาดนิ โดยธรรมชาติ เชน การชะลาง การกัดเซาะของน้ํา และลม เปน ตน และทสี่ ําคัญคอื ปญ หาจากการกระทําของมนษุ ย เชน การทําลายปา เผาปา การเพาะปลูกผิดวิธี เปนตน กอใหเ กิดการสูญเสียความอดุ มสมบูรณข องดินทาํ ใหใ ชประโยชนจากทดี่ ินไดล ดนอ ยลง ความสามารถ ในการผลิตทางดานเกษตรลดนอยลงและยังทําใหเกิดการทับถมของตะกอนดินตามแมนํ้าลําคลอง เขื่อน อา งเก็บนา้ํ เปนเหตุใหแหลงน้ําดังกลาวตื้นเขิน รวมท้ังการที่ตะกอนดินอาจจะทับถมอยูในแหลงท่ีอยูอาศัย และทีว่ างไขของสัตวน ํา้ อีกทั้งยังเปนตวั ก้นั แสงแดดที่จะสอ งลงสพู น้ื นาํ้ สิง่ เหลานลี้ วนกอใหเกิดผลกระทบตอ สงิ่ มีชีวิตในนา้ํ นอกจากน้ีปญ หาความเสือ่ มโทรมของดิน อันเน่ืองมาจากสาเหตุดัง้ เดมิ ตามธรรมชาติ คอื การที่ มสี ารเปน พษิ เกดิ ขึน้ มาพรอ มกบั การเกดิ ดิน เชน มีโลหะหนัก มีสารประกอบท่ีเปนพษิ ซ่งึ อาจทาํ ใหด นิ เค็ม ดินดางดินเปรี้ยวได โดยเฉพาะปญหาการแพรกระจายของดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือการดําเนิน กิจกรรมเพื่อใชประโยชนจากท่ีดินอยางไมเหมาะสม และขาดการจัดการท่ีดี เชน การสรางอางเก็บน้ํา ในบริเวณทมี่ ีเกลือหนิ สะสมอยูมาก นา้ํ ในอา งจะซมึ ลงไปละลายเกลือหนิ ใตดิน แลว ไหลกลับขนึ้ สผู วิ ดนิ บริเวณ รอบ ๆ การผลิตเกลือสินเธาวในเชิงพาณิชย โดยการสูบน้ําเกลือใตดินข้ึนมาตมหรือตาก ทําใหปญหาดินเค็ม แพรขยายออกไปกวา งขวางยง่ิ ขนึ้ ยังมีสาเหตุท่ีเกิดจากสารพิษและสงิ่ สกปรกจากภายนอกปะปนอยูใ นดิน เชน ขยะจากบา นเรือน ของเสยี จากโรงงานอุตสาหกรรม สารเคมีตกคางจากการใชป ุย และยากําจดั ศตั รูพชื เปน ตน ลว นแตสงผลกระทบตอ สิง่ แวดลอ ม และกอใหเ กิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ

68 5. สตั วปา สัตวป า สาเหตปุ ญ หาของทรพั ยากรสตั วปา สาเหตขุ องการสูญพนั ธุหรอื ลดจาํ นวนลงของสตั วป า มีดงั น้ี 1. การทาํ ลายทอ่ี ยูอ าศัย การขยายพืน้ ท่ีเพาะปลกู พื้นที่อยอู าศยั เพ่อื การดาํ รงชพี ของมนุษยไ ดทําลาย ทอ่ี ยอู าศัยและทดี่ าํ รงชพี ของสัตวปา ไปอยา งไมรตู วั 2. สภาพธรรมชาติ การลดลงหรอื สูญพันธุไปตามธรรมชาติ ของสัตวป า เนือ่ งจากการปรับตัวของสตั ว ปา ใหเ ขา กบั การดาํ รงชวี ิตในสภาพแวดลอมท่ีเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา สัตวปาชนิดที่ปรับตัวไดก็จะมีชีวิต รอด หากปรบั ตัวไมไ ดจ ะลม ตายไป ทาํ ใหมจี ํานวนลดลงและสญู พันธใุ นท่สี ดุ 3. การลา โดยตรง โดยสัตวป าดว ยกันเอง สตั วปา จะไมลดลงหรือสูญพันธุอยางรวดเร็ว เชน เสือโครง เสอื ดาว หมาไน หมาจงิ้ จอกลากวางและเกง ซึ่งสัตวท่ีถูกลาสองชนิดน้ี อาจจะตายลงไปบางแตจะไมหมดไป เสยี ทเี ดียว เพราะในธรรมชาติแลว จะเกิดความ สมดลุ อยูเสมอระหวา งผลู า และผูถูกลา แตถาถูกลาโดยมนุษย ไมว า จะเปน การลา เพื่อเปน อาหาร เพ่ือการกีฬา หรือเพือ่ อาชีพ สัตวป าจะลดลงจาํ นวนมาก 4. เนื่องจากสารพิษ เมื่อเกษตรกรใชสารเคมีในการเพาะปลูก เชน ยาปราบศัตรูพืชจะทําใหเกิด สารพิษตกคา งในส่ิงแวดลอม นอกจากน้กี ารสาธารณสุขบางครัง้ จําเปน ตองกําจัดหนู และแมลงเชน กัน สารเคมี ท่ีใชในกิจกรรมตาง ๆ เหลานี้ มีหลายชนิดที่มีพิษตกคาง ซึ่งสัตวปา จะไดรับพิษตามหวงโซอาหาร ทําให สารพิษไปสะสมในสตั วปา มาก หากสารพิษมีจํานวนมากพออาจจะตายลงไดห รอื มีผลตอ ลูกหลาน เชน รางกาย ไมสมบรู ณ ไมส มประกอบ ประสิทธภิ าพการใหก าํ เนดิ หลานเหลนตอ ไปมจี ํากัดข้ึน ในท่ีสุดจะมีปริมาณลดลง และสูญพันธไุ ป 5. การนาํ สัตวจ ากถน่ิ อ่ืนเขามา ตัวอยางนยี้ ังปรากฏไมเ ดน ชดั ในประเทศไทย แตในบางประเทศจะพบ ปญหาน้ี เชน การนาํ พังพอนเขาไปเพื่อกําจดั หนู ตอมาเมือ่ หนมู จี ํานวนลดลงพงั พอนกลับทําลายพืชผลท่ีปลูก ไวแ ทน เปนตน

69 6. มลพษิ ทางอากาศ “มลพิษทางอากาศ” มลพษิ ทางอากาศเปนปญ หาสําคัญปญหาหน่ึงที่เกิดขึ้นในเขตเมือง โดยเฉพาะ กรุงเทพมหานคร เนอ่ื งจากมลพษิ ทางอากาศกอใหเกิดผลกระทบดานสุขภาพอนามัย ไมวาจะเปนดานกลิ่น ความรําคาญ ตลอดจนผลกระทบตอ สขุ ภาพทเ่ี กี่ยวกับระบบการหายใจ หัวใจและปอด ดังน้ันการติดตามเฝา ระวงั ปริมาณมลพษิ ในบรรยากาศจงึ เปนภารกิจหนง่ึ มม่ี คี วามสําคญั กรมควบคุมมลพษิ เปนหนวยงานท่ีทําการ ตรวจวัดคุณภาพอากาศมาอยางตอเน่ือง โดยทําการตรวจวัดมลพิษทางอากาศท่ีสําคัญ ไดแก ฝุนละออง ขนาดเลก็ (ฝนุ ละอองขนาดไมเ กิน 10 ไมครอน : PM-10) กา ซซลั เฟอรไ ดออกไซด (SO2) สารตะก่ัว (Pb) กาซคารบอนมอนอกไซด (CO) ไนไตรเจนไดออกไซด (NO2) และกาซโอโซน (O3) สถานการณม ลพษิ ทางอากาศ ผลจากการตรวจวัดคุณภาพอากาศในชว งเกือบ 20 ปท่ผี า นมาก พบวา คุณภาพทางอากาศในประเทศ ไทยมคี ณุ ภาพดีข้นึ โดยพจิ ารณาไดจากคาสูงสุดของความเขม ขนของสารมลพิษสวนใหญอ ยใู นเกณฑมาตรฐาน

70 ยกเวน ฝุนขนาดเลก็ และกา ซโอโซน ท้ังนก้ี ารทคี่ ุณภาพอากาศของประเทศไทยมีคุณภาพดีข้นึ มีสาเหตุมาจาก การลดลงของปรมิ าณการใชเชื้อเพลิงในชว งวิกฤตเิ ศรษฐกิจและอกี สวนหนง่ึ มาจากมาตรการของรัฐที่มสี ว นทํา ใหมลพษิ ทางอากาศลดลง (ธนาคารโลก 2002) ซงึ่ ไดแก การรณรงคใ หใ ชรถจักรยานยนต 4 จงั หวะแทนรถจักรยานยนต 2 จงั หวะ เนื่องจากรถจกั รยานยนต 2 จังหวะเปน แหลงกาํ เนดิ สาํ คัญของการปลอยฝุนละออกสูบรรยากาศ การปรับเปล่ียนมาใชรถจักรยานยนต 4 จงั หวะ จงึ จะชว ยใหม ีการปลอ ยฝุนละอองสบู รรยากาศลดลง การติดตั้งอุปกรณกําจัดสารซัลเฟอร (Desulfurization) ในโรงไฟฟาแมเมาะในป พ.ศ.2535 เน่ืองจากโรงไฟฟา แมเ มาะเปน โรงไฟฟาท่ใี ชถานหินลิกไนตเปน เช้ือเพลงิ เปนแหลง กําเนิดสาํ คัญของการปลอย กา ซซลั เฟอรไดออกไซด ดังนั้นการติดตง้ั อปุ กรณด งั กลาวทําใหปริมาณกาซซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศ ลดลงอยางตอ เน่ืองจนอยูในระดบั ที่ตา่ํ กวามาตรฐาน ตง้ั แตม กี ารติดตั้งอปุ กรณก ําจดั สารซัลเฟอร การบงั คับใชอปุ กรณขจัดมลพษิ ในระบบไอเสยี รถยนตประเภท Catalytic converter ในรถยนตใหม ในป พ.ศ. 2536 เนื่องจากยานยนตเ ปนแหลงกําเนิดกา ซคารบ อนมอนอกไซดท ี่สําคัญ สงผลใหระดบั กาซ คารบอนมอนอกไซดล ดลงจนอยูใ นระดับทตี่ ํา่ กวา มาตรฐาน การลดปริมาณสารตะกั่วในนํ้ามัน โดยในป พ.ศ. 2532 รัฐบาลไดมีมาตรการเร่ิมลดปริมาณตะกั่ว ในนํ้ามันจาก 0.45 กรัมตอลิตรใหเหลือ 0.4 กรัมตอลิตร และในป พ.ศ. 2535 ไดลดลงมาเหลือ 0.15 กรัม ตอลิตร จนกระทัง่ ปลายป พ.ศ. 2538 รฐั บาลไดยกเลกิ การใชน ้ํามนั เบนซนิ ทม่ี ีสารตะกวั่ ทาํ ใหร ะดบั สารตะกั่ว ลดลงอยางรวดเรว็ จนอยูใ นระดบั ทีต่ ่าํ กวามาตรฐาน ฝุนละอองขนาดเล็ก และกา ซโอโซน ยงั เปนสารมลพิษท่เี ปนปญ หา ซง่ึ ถึงแมจ ะมีแนวโนม ลดลงเชนกัน แตมลพิษท้งั 2 ตวั ก็ยงั สงู เกินมาตรฐาน ท้ังนี้อาจเปนเพราะฝุนละอองมีแหลงกําเนิดหลากหลาย ทําใหการ ออกมาตรการเพ่ือลดฝนุ ละอองทาํ ไดยาก โดยแหลงกําเนิดฝุนละอองที่สําคัญ ไดแก ยานพาหนะ ฝุนละออง แขวนลอยคงคา งในถนน ฝนุ จากการกอ สราง และอุตสาหกรรม สําหรบั ในพนื้ ที่ชนบท แหลงกาํ เนิดฝนุ ละออง ท่ีสําคัญ คือ การเผาไหมในภาคเกษตร ขณะที่กาซโอโซนเปนสารพิษทุติยภูมิที่เกิดจากปฏิกิริยาระหวาง สารประกอบอินทรียระเหยงาย (Volatile organic compound: VOC) และออกไซดของไนโตรเจน โดยมี ความรอ นและแสงอาทิตยเปนตัวเรงปฏิกิริยา ทําใหกาซโอโซนมีปริมาณสูงสุดในชวงเท่ียงและบาย และถูก กระแสลมพัดพาไปสะสมในบรเิ วณตา งๆ ซึง่ จะเห็นไดว ามปี จจยั หลายปจจัยท่ียากตอการควบคุมการเกิดของ กาซโอโซน ทําใหม าตรการตาง ๆ ท่ีกลาวมาของภาครัฐ ยงั ไมสามารถลดปริมาณกาซโอโซนลงใหอยูในเกณฑ มาตรฐานได มลพิษทางอากาศมีแหลงกําเนิดมลพิษและผลกระทบตอสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดลอมแตกตาง และรุนแรงตา งกันไป ท้งั นส้ี ามารถสรปุ ได ดงั ตารางท่ี 1

71 ตารางท่ี 1 แหลงกาํ เนดิ ที่สาํ คญั และผลกระทบของมลพษิ ทางอากาศ มลพษิ แหลงกาํ เนดิ ที่สําคญั ผลกระทบ ฝุนละออง การเผาไหมข องเครือ่ งยนตดเี ซล PM-10 มีผลกระทบตอ สุขภาพอนามยั ไมเ กนิ 10 ไมครอน ฝนุ ละออง แขวนลอยคงคา ง ของคนอยา งสงู เพราะมีขนาดเลก็ (PM-10) ในถนน ฝุนจากการกอสรา ง จงึ สามารถแทรกตัวเขาไปในปอดได และจากอุตสาหกรรม กา ชซลั เฟอร การเผาไหมเ ชอ้ื เพลงิ ทีม่ ี การสะสมของ SO2 จาํ นวนมาก ไดออกไซด ซลั เฟอรเ ปน องคประกอบ อาจทาํ ใหเ ปน โรคหอบหดื หรือ (SO2 ) ซง่ึ สวนใหญ คือ ถานหินและ มีปญ หาเกย่ี วกบั ระบบทางเดนิ หายใจ นํา้ มนั และอาจเกดิ จาก นอกจากนก้ี ารรวมตวั กนั ระหวา ง SO2 กระบวนการทางอตุ สาหกรรม และ NO2 เปน สาเหตุสาํ คัญท่กี อใหเกิด บางชนิด ฝนกรด (acid rain) ซ่ึงทําใหเ กิดดนิ เปรีย้ ว และทําใหนาํ้ ในแหลง นา้ํ ธรรมชาตติ า ง ๆ มีสภาพเปนกรด สารตะกว่ั การเผาไหม alkyl lead ที่ผสม สารตะก่วั เปนสารอันตรายทส่ี ง ผล (Pb) อยูในนา้ํ มันเบนซนิ ทาํ ลายสมอง ไต โลหิต ระบบประสาท สวนกลาง และระบบสบื พันธุ โดยเดก็ ทีไ่ ดร บั สารตะก่ัวในระดบั สูงอาจมี พัฒนาการรับรชู ากวา ปกติ และ การเจรญิ เตบิ โตลดลง กาชคารบอนได การเผาไหมข องน้ํามนั ท่ีไม CO จะเขา ไปขัดขวางปริมาณกา ซ ออกไซด สมบรู ณ ออกซเิ จน (O2) ท่ีรา งกาย จาํ เปน ตอง (CO) ใช ดงั นั้นผทู ม่ี ีอาการโรคระบบหัวใจ และหลอดเลอื ดจึงมคี วามเสีย่ งสงู จน อาจถงึ แกชีวติ ได ถา ไดรบั CO ในระดับสูง

72 มลพิษ แหลงกาํ เนดิ ท่สี ําคัญ ผลกระทบ ไนโตรเจนออกไซด การเผาไหมเ ช้ือเพลงิ ฟอสซิล การรบั NO2 ในระดับตํ่าอาจทาํ ให NO2 และยังมบี ทบาทสาํ คญั ในการ คนที่มโี รคระบบทางเดินหายใจ กอตัวของ O3 และฝุนละออง มคี วามผิดปกติของปอด และอาจเพิ่ม การเจบ็ ปวยของโรคระบบ ทางเดนิ หายใจในเด็ก ขณะที่การรบั No2 เปนเวลานานอาจเพ่ิมความไวทีจ่ ะตดิ เชือ้ โรคระบบทางเดนิ หายใจและทาํ ให ปอดมีความผิดปกตอิ ยา งถาวร กา ชโอโซน การทาํ ปฏิกริ ิยาระหวา ง O.3 อาจทาํ ใหเกิดอันตรายเฉียบพลัน O3 สารประกอบอนิ ทรยี ร ะเหยงาย ตอสขุ ภาพ เชน ความระคายเคืองตอ (Volatileorganic สายตา จมูก คอ ทรวงอก หรอื อาการ compound: VOC) และ ไอ ปวดหัว นอกจากนี้ยังอาจทาํ ให ออกไซดข อง ไนโตรเจนโดยมี ผลผลติ ทางการเกษตรตํ่าลง ความรอ นและแสงอาทติ ยเ ปน ตัวเรง ปฏิกริ ิยา ท่มี า : ธนาคารโลก 2002. กจิ กรรมบทที่ 4 เร่ือง การทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม กิจกรรมที่ 1 ผูเรียนคิดวาในชุมชนเกิดปญหาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในดานใดบาง ใหเลือก 1 ปญหา แลววิเคราะหหาสาเหตุของการเกิดปญหาและหาสาเหตุของการเกิดปญหาและหาแนว ทางแกไข กิจกรรมท่ี 2 ใหผูเรียนศึกษาผลกระทบจากการสรางเข่ือนขนาดใหญตอการเปล่ียนแปลงทาง ธรรมชาติ และจดั ทํารายงาน กิจกรรมที่ 3 จงเลือกคาํ ตอบที่ถูกตองท่ีสดุ เพยี งคําตอบเดยี ว 1. ปญ หาการจราจรตดิ ขดั ตามเมอื งใหญ ๆ นอกจากจะทาํ ใหเ กดิ ผลเสียทางเศรษฐกจิ แลว ยงั จะทําให เกดิ ผลเสยี ทางใดอีก ก. ทาํ ใหค นฝาฝนกฎหมาย ข. ทําใหส ิง่ แวดลอมเปนพษิ ค. ทําใหร ถยนตเส่อื มสภาพเร็ว ง. ทาํ ใหสูญเสยี เวลาไปโดยเปลา ประโยชน

73 2. เราจะแกอากาศเปน พิษอยา งเชน ในกรุงเทพฯ โดยวธิ ใี ดจึงจะดีทส่ี ุด ก. ลดจาํ นวนรถยนตล ง ข. ไมสงเสียงดงั ในโรงภาพยนตร ข. ปลูกตนไมใ หมาก ง. ขยายเขตเมอื งใหกวางออกไปอกี 3. การปอ งกันไมใหเ กิดปญหามลพษิ ควรปฏิบัตอิ ยา งไร ก. ไมสบู บุหรีใ่ นที่สาธารณะ ข. ไมส งเสยี งดงั ในโรงภาพยนตร ค. ขา มถนนตรงทางมาลายหรอื สะพานลอย ง. ติดตัง้ ระบบปอ งกันไอเสียในรถยนต 4. ประเทศไทยขาดดุลการคา กบั ตา งประเทศ เพราะเหตุใด ก. สนิ คา มีจาํ นวนนอยกวาเปาหมาย ข. ปริมาณการผลิตสนิ คานอ ยลง ค. ไมส นบั สนุนใหเอกชนสงสนิ คา ออก ง. มลู คาราคาสินคาสง ออกนอ ยกวา มลู คาสินคานําเขา 5. สาเหตอุ ะไรที่ทาํ ใหฝ นมสี ภาพเปน กรด ก. กาซท่ีมอี อกไซดเ ปนตวั ประกอบ ข. ซัลเฟอรไดออกไซด ข. ออกไซดของไนโตรเจน ง. คารบ อนมอนนอกไซด 6. มลภาวะเปนพษิ ทเ่ี กิดผลกระทบตอ ระบบนเิ วศหมายถงึ ก. ออกซเิ จนในอากาศมีปรมิ าณเพิ่มขึน้ ข. คารบ อนไดออกไซดใ นอากาศมีปริมาณเพ่ิมขึ้น ค. ออกซเิ จนในอากาศมปี ริมาณเทา เดมิ ง. คารบอนไดออกไซดใ นอากาศมีปรมิ าณนอ ยลง 7. ขอใดไมใ ชปญ หาการส้นิ เปลืองพลงั งานอันเกิดจากปญ หาทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอม ก. ปญ หาการขาดแคลนนํา้ ใช ข. ปญ หานํ้าทว มกรุงเทพฯ ค. ปญ หาการจราจรติดขัด ง. ปญ หาการศกึ ษา 8. ขอ ใดเปนการใชพลังงานเพอ่ื ปอ งกนั และแกไ ขปญหาทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ ม ก. การท้งิ ขยะมูลฝอย ข. การปลอ ยน้ําเสีย ค. การคมุ กาํ เนดิ ของประชากร ง. การควบคมุ หรือปองกนั อากาศเสยี

74 เรอื่ งท่ี 5 แนวทางการปองกนั แกไ ขปญ หาการทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม โดยประชาชน ชมุ ชน องคก ร ภาครฐั ภาคเอกชน แนวคิดในการอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติ 1. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติอยางชาญฉลาด เพ่ือให เกิดประโยชนสงู สุดตอประชาชนโดยท่วั ถึงกนั ใชไดอ ยางยาวนาน 2. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติเกี่ยวของกับประชาชนทุกคน รวมท้ังชุมชน องคกรภาครัฐและ ภาคเอกชน 3. การอนรุ กั ษห รอื การจัดการทรัพยากร ตอ งคาํ นงึ ทรัพยากรอยางอน่ื ในเวลาเดียวกนั ดว ย เพราะทรพั ยากรทกุ อยา งมีสว นเกี่ยวของและสัมพนั ธกนั 4. ในการวางแผนการจัดการทรัพยากร ตองไมแยกมนุษยออกจากสภาพแวดลอม ทางสังคมหรือ วฒั นธรรมหรอื สภาพแวดลอมตามธรรมชาติ 5. ผูใชทรัพยากรธรรมชาติตองตระหนักถึงความสําคญั ของทรัพยากรนนั้ ๆ และใชอ ยา งชาญฉลาด ใหเ กดิ ผลดีกบั ทกุ ดา น 6. การอนรุ ักษท รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นอกจากเพื่อการกินดอี ยูดีแลวจําเปนตองอนุรักษ เพือ่ ความสวยงามของธรรมชาตดิ วย การอนรุ ักษปาไม 1. กาํ หนดนโยบายปา ไมแ หง ชาตเิ พอื่ เปนแนวทางในการจดั การและพฒั นาปา ไมใ นระยะยาว 2. การปลกู ปา สงวน รวมท้ังทาํ นุบํารุงดูแล โดยใหประชาชน และชุมชนมีสวนรวมในการรักษาดูแล ปา ไม 3. สรา งจติ สํานึกใหประชาชนทกุ คนไดร คู ณุ คา ของปาไม และผลกระทบที่เกิดจากการตัดไมท ําลายปา การอนุรกั ษท รัพยากรดนิ เปน วิธีการปองกนั เรมิ่ แรกท่ดี ีที่สุด ที่จะทาํ ใหมนุษยไดใชประโยชนของดิน อยา งยาวนาน ซงึ่ สามารถทาํ ได ดังนี้ 1. ปรบั สภาพดิน หรือปลูกพืชทีส่ ามารถปองกันการทะลาย การชะลา ง และการกัดเซาะ 2. ปกคลุมดินใหพน จากการกระทบของฝนและลม 3. การไถพรวนดนิ ใหถ กู ตอ ง 4. ใชป ระโยชนใหเ หมาะสมกบั ลกั ษณะดนิ การอนรุ ักษท รัพยากรน้ํา วธิ กี ารอนุรักษท รัพยากรนาํ้ สามารถแกไดท่ีตัวตนเหตุ ซง่ึ กค็ ือ มนุษย 1. ไมท งิ้ เศษขยะมลู ฝอย สง่ิ สกปรกโสโครก ลงไปในแมนํา้ ลําคลอง 2. ควรมีมาตรการหา มไมใหโ รงงานอตุ สาหกรรมทิ้งนํ้าเสียลงในแมน ้ํา 3. ประชาชนทุกชมุ ชน องคกรภาครัฐและเอกชนทุกหนว ยงาน ตอ งชวยกันรกั ษาตน นํา้ ลาํ ธาร

75 การอนุรักษสัตวปา สัตวเปนทรัพยากรธรรมชาติท่ีสามารถทําใหเพิ่มจํานวนมากขึ้นได แตถาหาก สตั วป า ชนิดใดสญู พันธุ ไปแลว จะไมสามารถสรางพันธุของสัตวปาชนิดนั้น ข้ึนมา ไดอีก การอนุรักษสัตวปา จึงควรมีหลัก ดงั นี้ 1. การใชกฎหมายควบคมุ เปน การอนรุ กั ษส ตั วป า ทางตรง มีการปอ งกันและปราบปราม ผูกระทําผิด พระราชบญั ญตั สิ งวน และคุม ครองสตั วปา อยา งเขม งวด 2. การสงวนแหลงที่อยู อาศัยของสัตวปา หมายถึงการปองกันรักษาปาไม ที่จัดเปนเขตรักษาพันธุ สัตวป า เขตปาในอุทยานแหงชาติ เขตวนอทุ ยานตอ งมีการปอ งกัน บํารุงรักษา และการปลกู พนั ธุไมขึน้ มาใหม 3. การเพาะพันธุเพ่ิม เชน ตามสวนสตั วตาง ๆ เขตรักษาพันธุสัตวหลายแหง เลี้ยงสัตวบางชนิดไวใน กรงเพือ่ เพาะพันธเุ พิม่ เม่อื มีมากแออัด จงึ นําสตั วบางชนิดไปปลอยไวในปา เปด ของอุทยานแหง ชาติ 4. การคนควา วิจยั ทางวิชาการ ถือไดวาเปน พน้ื ฐานของการจดั การสัตวป า ใหม จี าํ นวนเพิม่ ข้ึนในระดบั ทพี่ อเหมาะกับอาหารและที่หลบภัยในทองทีน่ นั้ ๆ 5. การใชป ระโยชนจ ากสัตวตามหลกั การอนุรักษทรัพยากร โดยไมเ ก็บทรัพยากรไว รูจกั นําทรัพยากร น้ัน ๆ มาใชใหเปนประโยชนมากที่สุด เชน จัดเปนแหลงเรียนรู จัดสถานท่ีชมสัตวปา จัดสวนสัตวใหเปนท่ี พกั ผอนหยอนใจแกม นุษย เปน ตน การอนุรกั ษท รัพยากรแรธ าตุ 1. กาํ หนดแผนการใชท รพั ยากรแรเ พื่อใหการบรหิ ารทรัพยากรแรเปนไปอยา งตอเนือ่ ง 2. วางแผนการนําแรม าใชป ระโยชนอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ ไมท าํ ลายส่ิงแวดลอ มตามธรรมชาติ 3. สงเสริมใหมกี ารใชทรัพยากรแรใ หมากที่สุดและครบวงจร ตัวอยางคือมีการนาํ แรธ าตุทใี่ ชแ ลวมาใช ใหม เชน เหล็ก รวมทั้งใหร ฐั เขามามบี ทบาทในการควบคุมกลไกการผลิต แนวทางแกไ ขปญหาวิกฤตการณส่ิงแวดลอม ปญ หาสิง่ แวดลอ ม เปน ปญหาของทกุ คนในสงั คม เพราะจะมผี ลกระทบตอทกุ คนท่ีอยรู วมกัน ทง้ั เร่อื ง มลพษิ ทางอากาศ ทางนาํ้ หรอื ขยะมลู ฝอย โดยมีแนวทางการแกไข ดงั นี้ แนวทางการแกไขมลพิษทางอากาศ มลพษิ ทางอากาศสว นใหญจะเกิดในชมุ ชนขนาดใหญ เนื่องจากมีประชากรอาศัยอยูมาก สาเหตุเกิด จาก ควนั พิษจากรถยนต และจากโรงงานอุตสาหกรรม ซ่งึ มแี นวทางแกไขปญหา ดงั ตอ ไปนี้ 1. จัดหาและพฒั นาระบบการตรวจคณุ ภาพในอากาศ ใหสามารถวิเคราะหปริมาณมลพิษทางอากาศ ชนิดตาง ๆ เพอื่ ประเมินคณุ ภาพในอากาศ 2. หาทางลดปริมาณสารมลพิษทางอากาศจากแหลงกาํ เนิด เพอื่ ใหส ามารถควบคุมและรักษาคุณภาพ อากาศใหไดต ามมาตรฐาน 3. กระตุนใหผูใชรถยนตใหค วามสําคญั ในการดแู ลรกั ษาเครอื่ งยนตใหอ ยูในสภาพดเี พ่อื ลดควนั ดาํ 4. ออกมาตรการตรวจสอบและตรวจจบั รถยนตทม่ี ีควันดาํ 5. รณรงคใ หผ ขู ับขร่ี ถยนตม ีวนิ ัยและเคารพในกฎจราจร

76 แนวทางการแกไ ขมลพษิ ทางนาํ้ 1. รณรงคใ หประชาชนใชน ํ้าอยา งประหยัด 2. มกี ารจดั การนาํ้ แบบบูรณาการใหมีประสิทธภิ าพเพื่อเกดิ ประโยชนส งู สุด 3. มีมาตรการทีเ่ ขม งวดในการควบคมุ นา้ํ ท่อี อกจากโรงงานอุตสาหกรรม 4. ปรบั ปรงุ ทอ น้ําท้ิง ไมใ หบานเรอื นท้ิงนํา้ ใชแ ลวสูแมน าํ้ ลาํ คลอง แนวทางการแกไขขยะมูลฝอย 1. หลีกเลย่ี งการใชโ ฟมหรือพลาสติก 2. ซอ มแซมแกไ ขเคร่อื งใชทช่ี ํารดุ ใหนํากลบั มาใชใ หมแทนการทิง้ เปน ขยะ 3. ควรนําวัสดุทีใ่ ชแลว เชน กระดาษ แกว พลาสติก มาแปรรูปกลบั มาใชไ ดใหม 4. นาํ ของที่ใชแ ลวบางชนิดมาดดั แปลงใชใ หมใ หเกดิ ประโยชน 5. ควรแยกขยะตามประเภท เชน ขยะเปย ก ขยะแหง ขวดพลาสตกิ ฯลฯ ในการปอ งกันแกไ ขปญ หาการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มน้นั ไมเพยี งแตป ระชาชน ทุกคนเทา นั้น แตช ุมชน องคกรภาครฐั และภาคเอกชนจะตองรว มมอื รว มใจกันเพื่อการพฒั นาและการอนุรักษ ทยี่ ่งั ยนื กิจกรรมที่ 4 แนวทางการปอ งกันแกไขปญ หาการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม โดยประชาชน ชมุ ชน องคก รภาครัฐ ภาคเอกชน 1. เหตุใดจงึ กลา ววา “มนุษย” คอื ตัวการสําคัญท่เี ปน ผูทําลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ในชุมชนท่ีผูเรียนอาศัยอยู มีทรัพยากรชนิดใดมากท่ีสุด ผูเรียนจะมีวิธีชวยอนุรักษทรัพยากร ชนดิ นน้ั ไดอยา งอยางไรบา ง 1. .....………………………………………………………………………………...................................................... .....………………………………………………………………………………........................................................................ 2. .....………………………………………………………………………………...................................................... .....………………………………………………………………………………........................................................................ 3. .....………………………………………………………………………………...................................................... .....………………………………………………………………………………........................................................................ 4. .....………………………………………………………………………………...................................................... .....………………………………………………………………………………........................................................................

77 บทท่ี 2 ประวัตศิ าสตร สาระการเรียนรู การศึกษาทางประวัติศาสตร เปน กระบวนการหรือข้ันตอนการศึกษา เรื่องราวของมนุษยใ นยุค ตา ง ๆ เชน ความเปนอยู การปกครอง ศาสนา ศลิ ปะ และวัฒนธรรม ท่เี ปน สภาพเหตกุ ารณในอดีตทถ่ี กู บนั ทกึ ไวใหศกึ ษา ซ่งึ เหตกุ ารณเ หลา น้ีจะมผี ลกระทบตอความคิดของมนุษยปจจบุ ัน ทั้งดานความเขา ใจพลเมืองชาติ ตาง ๆ ความสําเรจ็ ความประทบั ใจที่มีคุณคา ของบรรพบรุ ษุ มาศึกษาใหเขาใจ สามารถนําไปสรา งองคค วามรู ใหมในทางประวัตศิ าสตรได ตวั ชวี้ ดั 1. อธบิ ายเหตกุ ารณส าํ คญั ทางประวัติศาสตรข องประเทศตาง ๆ ในโลก 2. วิเคราะหและเปรียบเทยี บเหตุการณสําคัญทางประวัตศิ าสตรของแตละประเทศในโลกท่มี ผี ล กระทบตอความเปลีย่ นแปลงของประเทศตาง ๆ ในโลก 3. วิเคราะหเหตุการณโลกปจจุบันและคาดคะเนเหตุการณท ี่อาจจะเกิดข้ึนกับประเทศตาง ๆ ในอนาคต ขอบขา ยเน้ือหา เรอ่ื งที่ 1 การแบง ชว งเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร เร่อื งท่ี 2 แหลง อารยธรรมโลก เรอ่ื งที่ 3 ประวัติศาสตรชาตไิ ทย เรอื่ งท่ี 4 บคุ คลสําคญั ของไทยและของโลกในดา นประวัติศาสตร เรอ่ื งท่ี 5 เหตุการณส าํ คญั ของโลกทม่ี ีผลตอปจ จุบัน

78 เรือ่ งท่ี 1 การแบงชว งเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร ยุคสมัยประวตั ศิ าสตรมคี วามสําคญั ตอการศึกษาประวตั ิศาสตรเน่ืองจากเปน การแบงชวงเวลาในอดีต อยา งเปน ระบบ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เหลืออยูในปจจุบัน ซ่ึงจะนําไปสูการวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ อยางมีเหตุผล โดยตระหนักถึงความสําคัญของความตอเนื่องของชวงเวลา จะทําใหการลําดับเปรียบเทียบ เรอื่ งราวทางประวตั ศิ าสตรม ีความชัดเจนขนึ้ ตามเกณฑด ังตอ ไปน้ี 1. การแบงชว งเวลา มีพ้ืนฐานมาจากยคุ สมัยทางศาสนาแบงออกเปน (1) การแบงชวงเวลาตามประวตั ิศาสตรไ ทย ไดแ ก รัตนโกสนิ ทรศ ก (ร.ศ.) จุลศักราช (จ.ศ.) และ พทุ ธศักราช (พ.ศ.) ปจจุบนั ทีใ่ ชก ันอยคู อื พุทธศักราช (พ.ศ.) ซึ่งเปนศักราชในกลุมผูท่ีนับถือพระพุทธศาสนา การนับปของพุทธศาสนา เร่ิมป พ.ศ.1 หลังจากที่พระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานแลว 1 ป คือปแรก นับเปน พ.ศ. 0 เม่ือครบ 1 ป ของพุทธศาสนาจึงเร่ิมนับ พ.ศ.1 โดยเร่ิมใชตั้งแตสมัยสมเด็จพระนารายณ มหาราช จนมาเปน ที่แพรหลายและระบุใชอ ยางเปนทางการในสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รชั กาลท่ี 6) ในปพุทธศักราช 2455 และบางครัง้ มีการแบง เปน ทศวรรษ และศตวรรษ เชน พุทธศตวรรษท่ี 25 คอื ป พ.ศ. 2500 เทากับ คริสตศ ตวรรษท่ี 20 คอื ป ค.ศ. 2000 (2) การแบงชวงเวลาตามประวัติศาสตรสากล ไดแก คริสตศักราช (ค.ศ.) เปนการนับเวลาทาง ศกั ราชของผูทน่ี บั ถอื ครสิ ตท ีน่ ยิ มใชก ันมาท่ัวโลก โดยครสิ ตศกั ราชที่ 1 เร่ิมนับตั้งแตปที่พระเยซูคริสตประสูติ (ตรงกับ พ.ศ. 543 ) และถือระยะเวลาทอี่ ยกู อ นครสิ ตศักราชลงไปจะเรียกวา สมัยกอนคริสตศักราชหรือกอน ครสิ ตกาล และฮจิ เราะหศกั ราช (ฮ.ศ.) เปนการนับเวลาทางศักราชของผูนับถือศาสนาอิสลามโดยท่ีอาศัยปท่ี ทานนบีมูฮัมหมัดไดอพยพจากเมืองเมกกะไปยังเมืองมาดินา เปนปเริ่มตนศักราชอิสลามซึ่งตรงกับวันท่ี 6 กรกฎาคม ค.ศ. 622 2. การแบง ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร การแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรโดยการใชหลักเกณฑการพิจารณารูปแบบและลักษณะของ หลักฐานท่ีเปนลายลักษณอักษรและไมเปนลายลักษณอักษร สามารถแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรเปน ยคุ ตาง ๆ ไดดงั น้ี ยุคกอ นประวตั ิศาสตร เปนชวงเวลาท่ีมนุษยยังไมรูจักการประดิษฐตัวอักษร แตมีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับ สง่ิ แวดลอม ส่งิ ท่มี นุษยส รางขนึ้ เพื่อใชประโยชนในชีวิตประจําวันและหลงเหลืออยู จึงเปนหลักฐานแสดงให เหน็ ถึงววิ ฒั นาการในยคุ กอนประศาสตร ซ่งึ แบงยอ ยออกไปตามลักษณะวัสดทุ ่ใี ชทาํ เครื่องมอื เครอ่ื งใช ดังนี้ 1. ยคุ หิน เปนยคุ ท่ีมนษุ ยร ูจกั นําหินมาดัดแปลงเปน เคร่อื งมอื เคร่ืองใช โดยมวี วิ ัฒนาการดงั น้ี (1) ยุคหินเกา มนุษยนํากระดูกสัตว นําหินมากะเทาะทําเครื่องมืออยางหยาบ ๆ ยังคงใชชีวิต เรรอนยายท่ีอยตู ามฝูงสตั วทล่ี าเปนอาหารโดยอาศยั อยตู ามถ้าํ (2) ยุคหินกลาง มนุษยเ ร่มิ รูจักสรางบานเรือนแทนการอยูถ้ํา เร่ิมทําเกษตรและรูจักปนหมอไห อยา งหยาบ ๆ ดวยดนิ เหนียวตากแหง

79 (3) ยคุ หนิ ใหม มนษุ ยอยูเ ปน หลกั แหลง สามารถทําการเกษตรและผลิตอาหารไดเอง เคร่ืองมือ เครอ่ื งใชท่ที ําจากหนิ มกี ารขัดเกลาใหแหลมคม ทําเครื่องปน ดนิ เผามาใชใ นบา นเรอื นได และเรม่ิ รูจักการนาํ เสน ใยมาทอผา 2. ยุคโลหะ ในยุคนี้มนุษยเริ่มทําเครื่องมือเครื่องใชจากโลหะแทนหินและกระดูกสัตว ยุคโลหะ สามารถแบงยอ ยไปไดอกี 2 ยุค ตามลักษณะโลหะทใี่ ชค ือ (1) ยคุ สํารดิ เคร่อื งมือเครื่องใชของมนษุ ยในยุคนท้ี ําจากโลหะผสมระหวางทองแดงและดบี กุ เชน ขวาน หอก กาํ ไล เปน ตน (2) ยคุ เหล็ก เม่อื มนษุ ยรจู ักวธิ กี ารถลุงเหล็กจึงนาํ มาทําเครื่องมอื เครอ่ื งใชและอาวุธ เชน ใบหอก ขวาน มดี ซ่งึ จะมีความแขง็ แกรง ทนทานกวาสาํ รดิ มาก ยคุ ประวัตศิ าสตร เปนชวงเวลาท่ีมนุษยร ูจ ักประดษิ ฐต ัวอักษรและบันทึกไวบนวัสดุตาง ๆ เชน แผนหิน แผนดินเหนียว แผน ผา ยคุ ประวตั ศิ าสตรแ บง ออกเปน ยคุ สมยั ตาง ๆ ดงั น้ี 1. สมัยโบราณ มนุษยเลิกใชชีวิตแบบเรรอนมาตั้งถ่ินฐานบานเรือนอยูรวมกัน สรางระเบียบวินัย ในการอยูรวมกันข้ึนจนเปนสังคมที่มีความซับซอน อารายธรรมในสมัยนี้ ไดแก อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมอยี ปิ ต อารายธรรมอนิ เดยี อารยธรรมจีนไปจนถึงจกั รวรรดโิ รมันลมสลาย 2. สมัยกลาง เมื่อจักรวรรดิโรมันลมสลาย โดยการรุกรานของพวกเตอรก ศิลปะวิทยาการตาง ๆ จึงหยดุ ชะงกั ไปดวย ยุคสมยั นจ้ี ึงเรยี กอกี ชอื่ หนึ่งวา ยุคมดื 3. สมัยใหมหรือยุคฟนฟูศิลปะวิทยาการ นับวายุคนี้เปนรากฐานของความเจริญทุก ๆ ดานในยุค ตอมา ชวงเวลาของยุคนเ้ี ร่ิมตั้งแตก ารออกสํารวจดินแดนไปจนถงึ สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 4. สมัยปจจุบันคือ ชว งเวลาตง้ั แตย ุติสงครามโลกคร้ังที่ 1 เร่อื ยมาจนถึงปจจุบัน หลักเกณฑก ารแบง ยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร มดี งั น้ี 1. การแบง ยคุ สมยั ทางประวัติศาสตรสากล แบงตามความเจริญทางอารยธรรมมนุษย แบง ตามการเร่มิ ตน ของเหตุการณส าํ คัญ แบง ตามช่ือจักรวรรดหิ รืออาณาจักรทีส่ ําคัญทเ่ี คยรุงเรือง แบง ตามราชวงศท ่ีปกครองประเทศ แบง ตามการตั้งเมอื งหลวง 2. การแบงยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตรไทย สวนใหญยึดถือหลักเกณฑของประวัติศาสตรสากล แบงเปนสมัยกอนประวัติศาสตรไทยและสมัย ประวตั ศิ าสตรไ ทย

80 สมัยประวัติศาสตรไ ทยแบงตาม สมยั โบราณหรอื สมัยกอนสุโขทัย ต้งั แต พ.ศ.1180 ถึง พ.ศ. 1792 สมัยสุโขทยั ตั้งแต พ.ศ. 1792 ถงึ พ.ศ. 2006 สมยั อยธุ ยา ตัง้ แต พ.ศ. 1893 ถงึ พ.ศ. 2310 สมัยธนบุรี ตง้ั แต พ.ศ. 2310 ถึง พ.ศ. 2325 สมัยรตั นโกสนิ ทร ตัง้ แต พ.ศ. 2325 ถงึ ปจ จุบนั การเทยี บยคุ สมยั สาํ คัญระหวางประวตั ิศาสตรส ากลกบั ไทย ประวตั ิศาสตรส ากล ประวตั ศิ าสตรไ ทย สมยั โบราณ สมัยโบราณหรอื สมยั กอนสโุ ขทยั อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อาณาจกั รลังกาสุกะ อารยธรรมอยี ปิ ต อาณาจกั รทวารวดี อารยธรรมกรีก อาณาจกั รโยนกเชียงแสน อารยธรรมโรมัน อาณาจกั รตามพรลงิ ค สน้ิ สุดสมยั โบราณ เม่ือ ค.ศ.476 ( พ.ศ.1019 ) สมัยกลาง สมัยสุโขทยั จกั รวรรดิโรมันตะวนั ออก สน้ิ สดุ ค.ศ. 1453 สมัยอยธุ ยา การสรา งอาณาจักรคริสเตียน การปกครองในระบบฟวดลั สมยั ธนบรุ ี การฟน ฟเู มอื งและการคา สมัยรัตนโกสนิ ทร การฟนฟูศิลปะวิทยาการ การคน พบทวปี อเมรกิ า สมัยใหม การสํารวจทางทะเล การปฏวิ ัตวิ ิทยาศาสตร การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม การปฏิวัติฝรงั่ เศส สงครามโลกครัง้ ท1ี่ -2 สิ้นสุดสมัยใหม ค.ศ. 1945

81 ประวัติศาสตรส ากล ประวัตศิ าสตรไทย สมยั ปจ จุบัน-รวมสมยั -ปจ จบุ นั พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา- ยุคสงครามเย็น ภูมิพลอดลุ ยเดช (2489 – ปจ จบุ นั ) ยคุ เทคโนโลยีการสอื่ สาร ตวั อยางเหตกุ ารณส ําคญั ทแ่ี สดงความสัมพันธและความตอเนื่องของกาลเวลา 1. ประวตั ศิ าสตรสากล เหตุการณส าํ คญั ในประวัติศาสตรสากลนํามาเปนตัวอยางคือ ยุคจักรวรรดินิยมเกิดขึ้นมาจากปจจัย หลายประการ ท้ังการเมือง เศรษฐกิจและพลังทางสังคม ซึ่งทําใหประเทศในทวีปยุโรปมีอํานาจเขมแข็ง มีความกาวหนาทางเศรษฐกิจ มีความเจริญรุงเรือง แตการมีอํานาจและความม่ันคงดังกลาวเกิดข้ึนมา เพราะการปฏิวัติอุตสาหกรรมและยุคจักรวรรดินิยม ส้ินสุดเมื่อสงครามโลกครั้งท่ี 1 ซ่ึงทําใหมหาอํานาจ ท้งั หลายหยดุ การลา อาณานิคม แตอ าณานิคมทัง้ หลายที่เปน อยกู ็ยังคงเปนอาณานคิ มตอ มาอกี หลายป หลายชาตเิ ริม่ เรยี กรองเอกราชและสว นใหญไดเ อกราชคนื ภายหลังสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 2. ประวัตศิ าสตรไ ทย เหตุการณสําคัญในประวัติศาสตรไทยที่นํามาเปนตัวอยางคือ ยุคการปรับปรุงประเทศอยูในชวง พ.ศ. 2394-2475 หรือในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยูหวั ระหวา งนมี้ กี ารปรับปรงุ และปฏริ ปู ประเทศทุกดานทงั้ การปกครอง สังคม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม ฯลฯ

82 กจิ กรรมที่ 5 เรือ่ งที่ 1 การแบง ชว งเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร จงทาํ เครื่องหมาย X หนาคาํ ตอบทถ่ี กู ตอ งท่สี ดุ เพียงขอเดียว 1. ความหมายของคําวา “ประวัตศิ าสตร” ในขอใดถูกตอ งที่สุด ก. การกลาวถงึ สภาพแวดลอ มทเี่ ปลยี่ นแปลงไปตามกาลเวลา ข. เปน เรื่องของความคดิ และการกระทําของมนษุ ย ค. การบันทกึ เรอื่ งราวในอดตี อยางมีหลกั ฐาน ง. การเลา เรื่องราวในอดีตที่สืบคน มา 2. การศกึ ษาประวัตศิ าสตร หมายถึงขอ ใด ก. การหาหลกั ฐานซึง่ นําไปสูก ารวเิ คราะหเหตกุ ารณตา ง ๆ อยา งมเี หตุผล ข. การศกึ ษาพฤติกรรมของ ค. การใชวิธีการทางวิทยาศาสตร ง. การใหขอ มูลจากแหลง ตาง ๆ 3. ประเทศไทยเรม่ิ ใชปพทุ ธศักราชสมัยใด ก. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั ข. พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยูห ัว ค. พระพุทธยอดฟา จุฬาโลก ง. พระนารายณม หาราช 4. มนุษยรจู กั ประดิษฐต ัวอกั ษรและบนั ทกึ ไวบนวสั ดตุ า ง ๆ ในยคุ ไหน ก. ยุคประวตั ศิ าสตรส ากล ข. ยุคกอ นประวัติศาสตร ค. ยุคประวัติศาสตร ง. ยุคสงครามเย็น 5. การแบงยุคสมยั ทางประวัติศาสตรไทย ก. สมยั ประวตั ิศาสตรส ากล ข. สมยั โบราณและสมยั กรงุ ธนบุรี ค. สมยั อยธุ ยาและสมัยประวัติศาสตรไทย ง. สมัยกอ นประวตั ิศาสตรไ ทยและสมัยประวัติศาสตรไทย

83 เรือ่ งที่ 2 แหลง อารยธรรมโลก ในยคุ กอ นประวตั ิศาสตร มนษุ ยจ ะไมมีทอี่ ยเู ปน หลักแหลง มที ่ีพกั ชั่วคราวตามถํ้า ตนไมใหญ เพื่อกัน แดดกันฝนและปองกนั สตั วร า ย การอพยพยา ยที่อยูข้ึนอยูกับแหลงอาหาร คือ ฝูงสัตว เมื่อสัตวอพยพไปตาม ฤดกู าลตาง ๆ มนษุ ยกอ็ พยพตามไปดว ย ตอมาในยคุ หนิ มีการคดิ คนการเพาะปลูก มนุษยตองรอการเก็บเก่ียว พืชผล ทําใหม นุษยตอ งอยเู ปน หลกั แหลง และพฒั นาเปนชุมชน ในยุคตอมามนุษยประดิษฐตัวอักษรใชในการ บันทึกเรื่องราว เมื่อมนษุ ยเร่ิมรวมตัวกันหนาแนน ตามแหลง อุดมสมบูรณ ลุมแมนํ้าตาง ๆ ของโลกจึงเกิดการ จดั ระเบียบในสังคม มกี ารแบง หนา ที่ความรับผดิ ชอบรว มกัน จงึ ทําใหเ กดิ ความชาํ นาญเฉพาะอยางขน้ึ อันเปน จุดกําเนิดของอารยธรรม ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษวา “Civilization” มีความหมายวา สภาพท่ีพนจาก ความปาเถื่อน อารยธรรมของมนษุ ยยคุ ประวตั ิศาสตร พฒั นาการของมนุษยน้นั มิใชเ ฉพาะลกั ษณะท่เี ห็นจากภายนอกเทานั้น พัฒนาการทางดานความคิด ไดม ีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดลอมทางภมู ศิ าสตรแ ละสังคมที่เปล่ียนไปดวย พัฒนาการทางดานภาษา การสรางสรรคงานศลิ ปะ และการพัฒนาวถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ิตในดา นตาง ๆ นาํ ไปสกู ารเกิดอารยธรรม ซึ่งตองใช เวลาอนั ยาวนานและความเจรญิ ท้งั หลายในปจ จบุ นั ลว นสืบสายมาจากอารยธรรมโบราณ อารยธรรมของมนษุ ย ในภมู ภิ าคตาง ๆ ของโลก แบงออกเปน 2 สว น คอื สวนท่ี 1 อารยธรรมของโลกตะวนั ออก สว นใหญม รี ากฐานมาจากแหลงอารยธรรมท่ีเกาแกของโลก คือ จีนและอินเดีย อารยธรรมจีน ประเทศจีนเปนประเทศที่มีอารยธรรมยาวนานท่ีสุดประเทศหนึ่ง โดยหลักฐานทางประวัติศาสตร ทสี่ ามารถคนควาไดบง ชวี้ า อารยธรรมจนี มอี ายุถึง 5,000 ป รากฐานทีส่ าํ คัญของอารยธรรมจีน คือ การสราง ระบบภาษาเขียนและการพัฒนาแนวคิดลัทธิขงจื้อ เมื่อประมาณศตวรรษท่ี 2 กอน ค.ศ. ประวัติศาสตรจีน มีทั้งชวงที่เปนปกแผนและแตกเปนหลายอาณาจักรสลับกันไป ในบางครั้งก็ถูกปกครองโดยชนชาติอื่น วฒั นธรรมของอารยธรรมจีนสมัยกอนประวตั ิศาสตร มีแหลง อารยธรรมทีส่ ําคัญ 2 แหลง คือ ลมุ แมนา้ํ ฮวงโห พบความเจรญิ ทเ่ี รียกวา วัฒนธรรมหยางเซา (Yang Shao Culture) พบหลักฐาน ท่เี ปน เครือ่ งปน ดนิ เผามลี กั ษณะสาํ คัญคือ เคร่ืองปน ดนิ เผาเปนลายเขยี นสี มกั เปน ลายเรขาคณิต พืช นก สัตว ตาง ๆ และพบใบหนามนุษย สที ีใ่ ชเ ปนสีดําหรือสมี วงเขม นอกจากนยี้ งั มกี ารพิมพล ายหรอื ขดู สลกั ลายเปน รปู ลายจักสาน ลายเชือกทาบ ลมุ นํ้าแยงซี (Yangtze) บรเิ วณมณฑลซานตงุ พบ วัฒนธรรมหลงซาน (Long Shan Culture) พบหลกั ฐานทเ่ี ปน เครื่องปนดินเผามีลกั ษณะสาํ คัญคอื เครือ่ งปน ดนิ เผามีเนื้อละเอยี ดสดี ําขัดมันเงา คุณภาพดี เนอื้ บางและแกรง เปน ภาชนะ 3 ขา

84 สมัยประวัติศาสตรของจีนแบงได 4 ยคุ ประวตั ิศาสตรส มัยโบราณ เรมิ่ ต้ังแตส มยั ราชวงศซ าง สิ้นสดุ สมยั ราชวงศโ จว ประวตั ศิ าสตรส มยั จักรวรรดิ เริม่ ตัง้ แตส มัยราชวงศจน๋ิ จนถึงปลายราชวงศซ ิง หรือเชง็ ประวัติศาสตรสมยั ใหม เร่มิ ปลายราชวงศเ ชง็ จนถงึ การปฏวิ ตั ิเขา สูระบอบสังคมนิยม ประวัติศาสตรรวมสมัย เริ่มตั้งแตจีนปฏิวัติเปล่ียนแปลงการปกครองเขาสูระบอบสังคมนิยมหรือ คอมมวิ นสิ ตจ นถงึ ปจจบุ นั อารยธรรมจนี ไดรบั อิทธิพลของศาสนาเตาหรอื ขงจื้อ สถาปต ยกรรมท่ยี ิง่ ใหญเ ปนหนึง่ ในส่งิ มหัศจรรย ของโลก คอื “กาํ แพงเมืองจีน” กวีท่ีสาํ คญั คอื ซือหมาเชยี น ผลงานทส่ี ําคญั คอื การบันทกึ ประวัติศาสตรและ วรรณกรรมท่ีสําคัญ คอื สามกก และความรกั ในหอแดง การถายทอดอารยธรรมจนี สดู ินแดนตาง ๆ อารยธรรมจนี แผข ยายขอบขายออกไปอยางกวางขวาง ทั้งในเอเชียและยุโรปอันเปนผลมาจากการ ตดิ ตอทางการฑูต การคา การศกึ ษา ตลอดจนการเผยแพรศาสนา อยางไรก็ตามลกั ษณะการถายทอดแตกตาง กันออกไป ดินแดนท่ีเคยตกอยูภายใตการปกครองของจีนเปนเวลานาน เชน เกาหลีและเวียดนาม จะไดรับ อารยธรรมจนี อยา งสมบูรณ ทั้งในดานวัฒนธรรม การเมอื ง ขนมธรรมเนียมประเพณี การสรางสรรคและการ แสดงออกทางศิลปะทั้งน้ีเพราะราชสํานักจีนจะเปนผูกําหนดนโยบายและบังคับใหประเทศท้ังสองรับ วัฒนธรรมจีนโดยตรง ในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต อารยธรรมจีนไดร บั การยอมรบั ในขอบเขตจํากัดมากท่ีเห็นอยางชดั เจน คือ การยอมรับระบบบรรณาการของจีน ในเอเชยี ใต ประเทศทีแ่ ลกเปล่ยี นวฒั นธรรมกับจนี อยางใกลชดิ คือ อินเดีย พระพทุ ธศาสนา มหายาน ของอินเดียแพรหลายเขามาในจีนจนกระท่ังเปนศาสนาสําคัญท่ีชาวจีนนับถือ นอกจากน้ีศิลปะอินเดียยังมี อทิ ธิพลตอการสรา งสรรคศลิ ปะบางอยางของจนี เชน ประติมากรรมที่เปน พระพทุ ธรปู สวนภูมิภาคเอเชียกลางและตะวันออกกลางนัน้ เนือ่ งจากบริเวณท่ีเสนทางการคา สานแพรไหมผาน จึงทําหนา ท่ีเปน สอ่ื กลางนําอารยธรรมตะวันตกและจีนมาพบกัน อารยธรรมจีนท่ีเผยแพรไป เชน การแพทย การเลยี้ งไหม กระดาษ การพมิ พและดนิ ปน เปนตน ซ่งึ ชาวอาหรับจะนาํ ไปเผยแพรแกช าวยโุ รปอกี ตอหนึง่ อารยธรรมอินเดยี อินเดยี เปน แหลงอารยธรรมทเ่ี กาแกแหงหน่ึงของโลก บางทีเรียกวา แหลงอารยธรรมลุมแมน้ําสินธุ อาจแบง ยุคสมยั ทางประวัติศาสตรข องอนิ เดยี ไดดังน้ี สมัยกอนประวัติศาสตร พบหลักฐานเปนซากเมืองโบราณ 2 แหง ในบริเวณลุมแมนํ้าสินธุ คือ เมอื งโมเฮนโจดาโร ทางตอนใตของประเทศปากีสถานเมืองอารับปา ในแควนปนจาป ประเทศปากีสถานใน ปจจุบัน

85 สมัยประวัติศาสตร เร่ิมเม่ือมีการประดิษฐตัวอักษรข้ึนใช โดยชนเผาอินโด – อารยัน ซึ่งต้ังถิ่นฐาน บรเิ วณแมน้ําคงคา แบงได 3 ยุค 1. ประวัติศาสตรส มยั โบราณ เรม่ิ ต้งั แตก าํ เนดิ ตัวอกั ษร บรามิ ลปิ  ส้นิ สดุ สมยั ราชวงศคปุ ตะ เปนยุคที่ ศาสนาพราหมณ ฮินดแู ละพุทธศาสนา ไดถ อื กําเนดิ แลว 2. ประวัติศาสตรส มยั กลาง เริ่มตัง้ แตร าชวงศค ุปตะสิ้นสุดลง จนถงึ ราชวงศโมกุลเขาปกครองอินเดีย 3. ประวตั ิศาสตรส มัยใหม เริม่ ตัง้ แตราชวงศโมกุลจนถึงการไดร บั เอกราชจากอังกฤษ อารยธรรมลมุ น้าํ สนิ ธุ ชาวอารยันไดสรางปรัชญาโบราณ เร่ิมจากคัมภีรพระเวทอันเปนแมแบบของ ปรัชญาเอเชีย โดยเฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต วรรณกรรมท่ีสําคัญ ไดแก พระเวทอุปนิษัท มหากาพย มหาภารตะ มหากาพย รามายยะ ปุราณะ เปนตน กวีท่ีมีช่ือเสียงท่ีสุดมี กาลิทาสจากงานศกุณตลา ชัยเทพ (กวีราช) จากผลงานเร่ือง คีตโควินทและรพนิ ทรนาถ ฐากูร กวสี มัยใหมจากวรรณกรรมเร่ือง “คีตาญชลี” ซงึ่ ไดรับรางวลั โนเบล สาขาวรรณคดี การแพรขยายและการถา ยทอดอารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย แพรขยายออกไปสูภูมิภาคตาง ๆ ทั่วทวีปเอเชียโดยผานทางการคา ศาสนา การเมอื ง การทหารและไดผสมผสานเขา กบั อารยธรรมของแตละประเทศจนกลายเปนสวนหน่งึ ของอารยธรรม สงั คมนน้ั ๆ ในเอเชียตะวนั ออก พระพุทธศาสนามหายานของอินเดียมีอิทธิพลอยางลึกซึ้งตอชาวจีนทั้งในฐานะ ศาสนาสาํ คัญและในฐานะท่มี ีอทิ ธพิ ลตอ การสรางสรรคศ ิลปะของจนี ภูมภิ าคเอเชยี กลาง อารยธรรมอนิ เดียท่ถี ายทอดใหเ ริม่ ตั้งแตค ริสตศตวรรษที่ 7 เมอ่ื พวกมสุ ลิมอาหรบั ซึ่งมีอํานาจในตะวันออกกลาง นําวิทยาการหลายอยางของอินเดียไปใช ไดแก การแพทย คณิตศาสตร ดาราศาสตร เปนตน ขณะเดียวกนั อินเดียก็รับอารยธรรมบางอยางท้ังของเปอรเซียและกรีก โดยเฉพาะดาน ศิลปกรรม ประติมากรรม เชน พระพทุ ธ รปู ศิลปะคันธาระซ่งึ เปนอิทธิพลจากกรีก สวนอิทธิพลของเปอรเซีย ปรากฏในรูปการปกครอง สถาปตยกรรม เชน พระราชวัง การเจาะภูเขาเปน ถ้าํ เพือ่ สรางศาสนสถาน ภูมิภาคทีป่ รากฏอิทธิพลของอนิ เดยี มากทส่ี ุด คือ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต พอคา พราหมณและภิกษุ สงฆช าวอินเดยี เดนิ ทางมาและนําอารยธรรมมาเผยแพร อารยธรรมที่ปรากฏอยูมีแทบทุกดาน โดยเฉพาะใน ดา นศาสนา ความเชอื่ การปกครอง ศาสนาพราหมณ ฮินดแู ละพุทธ ไดห ลอ หลอมจนกลายเปน รากฐานสําคัญ ทีส่ ุดของประเทศตาง ๆ ในภูมภิ าคนี้ สว นท่ี 2 อารยธรรมของโลกตะวันตก หมายถึง ดินแดนแถบตะวันตกของทวีปเอเชีย รวมเอเชีย ไมเนอรและทวปี แอฟริกา อียปิ ต เมโสโปเตเมีย กรีกและโรมัน อารยธรรมอียปิ ต อียิปตโบราณหรือไอยคุปต เปนหนึ่งในอารยธรรมที่เกาแกท่ีสุดในโลกแหงหน่ึง ตั้งอยูทาง ตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพ้ืนที่ตั้งแตตอนกลางจนถึงปากแมนํ้าไนล ปจจุบันเปนที่ต้ังของ ประเทศอียิปต อารยธรรมอียิปตโบราณเร่ิมข้ึนประมาณ 3,150 ป กอนคริสตศักราช โดยการรวมอํานาจ

86 ทางการเมอื งของอยี ิปตต อนเหนือและตอนใต ภายใตฟาโรหองคแรกแหงอียิปต และมีการพัฒนาอารยธรรม เร่อื ยมากวา 3,000 ป ประวตั ิของอียิปตโบราณปรากฏข้นึ ในชว งระยะเวลาหนึง่ หรือท่รี จู ักกนั วา “ราชอาณาจักร” มีการแบง ยุคสมัยของอียิปตโบราณเปนราชอาณาจักร สวนมากแบงตามราชวงศท่ีข้ึนมาปกครองจนกระท่ัง ราชอาณาจักรสดุ ทา ยหรอื ทร่ี จู กั กนั ในช่ือวา “ราชอาณาจักรใหม” อารยธรรมอียิปตอยูในชวงที่มีการพัฒนา ทีน่ อยมากและสวนมากลดลง ซง่ึ เปนเวลาเดียวกันท่ีอียิปตพายแพตอการทําสงครามจากอํานาจของชาติอ่ืน จนกระทง่ั เม่อื กอ นครสิ ตศกั ราชก็เปน การสิ้นสดุ อารยธรรมอียปิ ตโ บราณลง เมอ่ื จักรวรรดโิ รมนั สามารถเอาชนะ อยี ปิ ตและจดั อียปิ ตเปนเพยี งจงั หวดั หนึ่งในจกั รวรรดิโรมัน อารยธรรมอยี ปิ ตพฒั นาการมาจากสภาพของลมุ แมน้ําไนล การควบคุมระบบชลประทาน การควบคมุ การผลิตพืชผลทางการเกษตร พรอมกับพัฒนาอารยธรรมทางสังคมและวัฒนธรรม พื้นที่ของอียิปตน้ัน ลอมรอบดวยทะเลทรายเสมือนปราการปอ งกันการรกุ รานจากศัตรูภายนอก นอกจากนี้ยังมีการทําเหมืองแร และอยี ปิ ตย งั เปน ชนชาติแรก ๆ ทมี่ ีการพัฒนาการดวยการเขียน ประดิษฐตัวอักษรขึ้นใช การบริหารอียิปต เนน ไปทางสง่ิ ปลกู สรา งและการเกษตรกรรม พรอ มกันนัน้ ก็มีการพัฒนาการทางทหาร อียปิ ตทเ่ี สริมสรา งความแขง็ แกรง แกราชอาณาจักร โดยประชาชนจะใหความเคารพกษัตริยหรือฟาโรห เสมอื นหนึ่งเทพเจา ทาํ ใหก ารบรหิ ารราชการบา นเมอื งและการควบคุมอาํ นาจน้นั ทาํ ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ชาวอียิปตโบราณไมไดเปนเพียงแตนักเกษตรกรรมและนักสรางสรรคอารยธรรมเทาน้ัน แตยังเปน นักคิด นักปรัชญา ไดมาซ่ึงความรูในศาสตรตาง ๆ มากมาย พัฒนาอารยธรรมกวา 3,000ป ท้ังในดาน คณิตศาสตร เทคนิคการสรางพีระมิด วัด โอเบลิสก ตัวอักษรและเทคโนโลยีดานกระจก นอกจากนี้ยังมีการ พัฒนาประสิทธิภาพทางดานการแพทย ระบบชลประทานและการเกษตรกรรม อียิปตทิ้งมรดกสุดทายแก อนุชนรนุ หลงั ไวค อื ศลิ ปะและสถาปตยกรรม ซึ่งถูกคัดลอกนําไปใชท่ัวโลก อนุสรณ สถานท่ีตาง ๆ ในอียิปต ตางดงึ ดูดนกั ทองเที่ยว กวาหลายศตวรรษทผี่ า นมา ปจ จบุ ันมกี ารคนพบวัตถุใหมๆ ในอียิปตมากมายซึ่งกําลัง ตรวจสอบถงึ ประวัติความเปน มาเพอ่ื เปนหลักฐานใหแกอารยธรรมอยี ปิ ต การสรางสรรคอ ารยธรรมของชาวอียิปต โบราณ เชน อักษรภาพ “เฮียโรกริฟฟค” ถือวาเปนหลักฐานขอมูลของแหลงอารยธรรมอ่ืน ๆ “พีรามิด” ใชเปนสุสานเก็บพระศพของฟาโรห ซึ่งใชน้ํายาอาบศพในรูปของมัมมี่ ประติมากรรมรูปคนตัว เปน สงิ หหมอบเฝาหนา พีรามดิ ถือวาเปน ประติมากรรมท่ยี ิ่งใหญ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย กําเนิดขึ้นในบรเิ วณลมุ แมน ้ํา 2 สาย คอื แมน ้ําไทกรีสและแมน้ํายูเฟรตีส ปจจุบันอยูในประเทศอิรัก เปนแหลงอารยธรรมแหงแรกของโลก มนุษยในอารยธรรมน้ีมักมองโลกในแงราย เพราะสภาพภูมิประเทศ ไมเอื้อตอการดํารงชีวิต ทําใหเ กรงกลัวเทพเจา คดิ วาตนเองเปน ทาสรับใชเทพเจา จงึ สรา งเทวสถานใหใหญโต นา เกรงขาม เปนสัญลักษณท ่ปี ระทับของเทพเจาตาง ๆ มีชุมชนหลายเผาตั้งถน่ิ ฐานในบริเวณนี้ที่สําคัญ ไดแก สเุ มเรยี น อะมอไรต อัสซีเรียน คาลเดยี และชนชาติอนื่ ๆ คนกลุมแรกที่สรางอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้น คือ สุเมเรีย ผูคิดประดิษฐตัวอักษรขึ้นเปนครั้งแรก ของโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนสรางข้ึนเปนพื้นฐานสําคัญของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปตยกรรม ซกั กูเรต็ ประดิษฐค ันไถใชไถนา ตัวอักษร ศลิ ปกรรมอ่นื ๆ ตลอดจนทัศนคตติ อ ชีวิตและเทพเจา ของชาว

87 สเุ มเรยี น ไดดํารงอยแู ละมีอทิ ธพิ ลอยูในลมุ แมน ้ําทัง้ สองตลอดชว งสมัยโบราณ ชนชาติอะบอไรตแ หง อาณาจักร บาบโิ ลเนยี ไดประมวลกฎหมายขน้ึ เปน ครัง้ แรกคือ ประมวลกฎหมาย “ฮัมบรู าบี” ชนชาติอัสซเี รยี นสรางภาพ สลักนนู และชนชาติเปอรเซยี เปนตน แบบสรา งถนนมาตรฐาน อารยธรรมกรกี อารยธรรมกรีกโบราณ ไดแก อารยธรรมนครรัฐกรีก คําวา กรีก เปนคําท่ีพวกโรมันใชเปนครั้งแรก โดยใชเ รยี กอารยธรรมเกา ตอนใตของแหลมอตี าลี ซ่งึ เจรญิ ขึ้นบนแผนดนิ กรีกในทวีปยุโรป และบริเวณชายฝง ตะวันออกของทะเลเมดิเตอรเรเนียน ดานเอเชียไมเนอร ซ่ึงในสมัยโบราณเรียกวา ไอโอเนีย (lonia) อารยธรรมท่ีเจริญขึ้นในนครรัฐกรีกมีศูนยกลางสําคัญท่ีนครรัฐเอเธนสและนครรัฐสปารตา นครรัฐเอเธนส เปน แหลงความเจริญในดา นตา ง ๆ ทงั้ ดานการปกรอง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปะ วิทยาการดานตาง ๆ รวมทั้ง ปรชั ญา สว นนครรัฐสปารตาเจริญในลักษณะที่เปนรัฐทหารในรูปเผด็จการ มีความแข็งแกรงและเกรียงไกร เปน ผูนําของรฐั อนื่ ๆ ในแงข องความมรี ะเบยี บวินยั กลา หาญและเดด็ เดยี่ ว การศกึ ษาเกี่ยวกับอารยธรรมกรีก โบราณ จึงเปน การศึกษาเรอ่ื งราวเกี่ยวกับนครรฐั เอเธนสและนครรัฐสปารตา ชาวกรกี เรียกตัวเองวา เฮลีนส (Hellenes) เรียกบานเมืองของตนวา เฮลัส(Hellas) และเรียกอารย ธรรมของตนวา อารยธรรมเฮเลนิค (Hellenic Civilization) (1) ชาวกรีกโบราณเปนชาวอินโตยูโรเปยน ชาวกรีกตั้งบานเรือนของตนเองอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใต ตรงปลายสุดของทวีปยุโรปตรงตําแหนงท่ีมา บรรจบกนั ของทวปี ยุโรป เอเชยี และแอฟรกิ า เปน ตน เหตุใหก รีกโบราณไดรับอิทธิพลความเจริญโดยตรงจาก ท้ังอยี ิปตแ ละเอเชยี กรกี ไดอ าศัยอิทธิพลดังกลาวพฒั นาอารยธรรมของตนขึ้น โดยคงไว ซ่ึงลักษณะท่ีเปนของ ตนเอง ชาวกรีกสมัยโบราณถือวาตนเองมคี ุณลกั ษณะพเิ ศษบางอยางทีผ่ ิดกับชนชาตอิ ่นื และมกั จะเรยี กชนชาติ อ่นื วา บาเบเรยี น ซึ่งหมายความวาผทู ่ีใชภาษาผิดไปจากภาษาของพวกกรีก อารยธรรมกรีกรูจักกันในนามของอารยธรรมคลาสสิก สถาปตยกรรมท่ีเดน คือ วิหารพาเธนอน ประติมากรรมทีเ่ ดน ทสี่ ุด คือ รปู ปน เทพซีอุส วรรณกรรมดีเดน คือ อเี ลียดและโอดสิ ต (I liad and Oelyssay) ของโอเมอร อารยธรรมโรมนั อารยธรรมโรมันเปน อารยธรรมท่ีไดร ับการถา ยทอดมาจากกรกี เพราะชาวโรมนั ไดร วมอาณาจกั รกรีก และนําอารยธรรมกรีกมาเปนแบบแผนในการสรางสรรคใหเหมาะสมกับสภาพความเปนอยูของสังคมโรมัน สถาปตยกรรมที่เดน ไดแก วิหารพาเธนอน หลังคารูปโมในกรุงโรม โคลอสเซียม อัฒจันทรสําหรับดูกีฬา ซงึ่ จุผดู ไู ดถ งึ 4,500 คน วรรณกรรมที่เดนท่ีสุดคือเร่อื ง อีเนียด (Aeneid) ของเวอรว ิล

88 กจิ กรรมเรอื่ งที่ 2 แหลงอารยธรรมโลก กจิ กรรมที่ 6 ใหศ กึ ษาคน ควา และทํารายงานสง ใหเ ปรียบเทียบอารยธรรมของโลกตะวนั ออกและตะวันตก กิจกรรมที่ 7 จงทําเครื่องหมาย X หนาคําตอบที่ถกู ตองทสี่ ดุ เพยี งขอ เดยี ว 1. ขอ ใดตรงกบั ความหมายของคาํ วาอารยธรรม ก. สภาพโบราณ ข. สภาพประวัตศิ าสตร ค. การถายทอดอดีตสปู จจบุ ัน ง. สภาพที่พนจากความปา เถื่อน 2. อารยธรรมเมโสโปเตเมียกําเนดิ ในบรเิ วณลมุ แมน ้ําใด ก. แมน ํา้ ไททรสั และแมน้ํายเู ฟรตสี ข. แมนํา้ ไทกรสี และแมน ํ้าสุเมเรยี น ค. แมนํ้ายเู ฟรตีสและแมนํ้าสุเมเรยี น ง. แมน้ํายเู ฟรตีสและแมน ้ําอะมอไรต 3. ประวัติศาสตรข องจนี แบงเปน กย่ี ุค ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 6 4. โคลอสเซยี ม เปน สถาปต ยกรรมของอารยธรรมประเทศใด ก. ฝรัง่ เศส ข. อียปิ ต ค. โรมัน ง. กรีก 5. อารยธรรมของโลกตะวันออก มีรากฐานมาจากแหลง อารยธรรมประเทศอะไร ก. จีนและกัมพชู า ข. จีนและอนิ เดีย ค. อนิ เดยี และกมั พชู า ง. จีนและประเทศไทย

89 เรือ่ งท่ี 3 ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย ความเปนมาของดินแดนประเทศไทยในสมัยโบราณสวนใหญมาจากหลักฐานดานโบราณคดีและ เอกสารประวตั ิศาสตรจีนโบราณและภาพถายทางอากาศและเห็นถึงที่ต้ังและสภาพของแหลงชุมชนโบราณ ในประเทศไทย สภาพคนู ้าํ และคันดินในแหลงโบราณคดีแตละแหงแสดงใหเห็นวาชุมชนนั้นไดเริ่มตั้งถิ่นฐาน อยางถาวรแลว เชน ชุมชนบงึ คอกชา ง จังหวัดอุทยั ธานี มีคูน้ําและคันดินลอมรอบถึง 3 ช้ันดวยกัน ซึ่งแสดงวา ชุมชนดังกลาวมีประชากรต้ังถิ่นฐานอยูอยางตอเนื่อง และมีประชาชนเพิ่มมากข้ึนจนตองขยายเขตชุมชน ออกไป ดินแดนในประเทศไทยมีทั้งพัฒนามาจากอาณาจักรเดิมและมีการอพยพยายเขามาของกลุมคนพูด ภาษาไทย – ลาวจากถนิ่ บรรพบรุ ษุ ซง่ึ อยูต อนใตข องประเทศจนี เดิม เขามายังดินแดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต ราวคริสตศ ตวรรษที่ 10 รัฐของชาวไทยมคี วามสําคญั ตามยคุ สมยั ไดแก อาณาจักรโยนกเชียงแสน อาณาจักร ลา นนา อาณาจักรสโุ ขทยั อาณาจกั รอยุธยา และไดพฒั นามาเปนสมัยกรุงรัตนโกสินทร นับตั้งแต พ.ศ. 2325 เปนตน มา อาณาจกั รสยามเผชญิ กบั การคุกคามในสมยั ยุคลา อาณานคิ มของประเทศตะวันตก แตสยามสามารถ รอดพน จากการถูกยึดครองโดยประเทศเจา อาณานิคมได และหลังจากการปฏิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงระบบการ ปกครอง ในป พ.ศ. 2475 ประเทศไทยยังคงอยูในชวงท่ีปกครองโดยรัฐบาลทหารเปนสวนใหญ จนกระทั่ง อกี 60 ปถ ัดมา จงึ ไดมรี ะบบการเลอื กต้ังท่ีเปนประชาธิปไตยอยา งแทจ รงิ ประวัติศาสตรท่ีมกี ารคน พบในประเทศไทยที่เกาแกทส่ี ดุ คือท่บี า นเชียง โดยส่ิงของที่ขุดพบมาจากใน สมัยยุค 3,600 ปกอนคริสตศักราช โดยมีการพัฒนาเครื่องบรอนซ และมีการปลูกขาว รวมถึงการติดตอ ระหวา งชุมชนและมรี ะบอบการปกครองข้นึ มีหลายทฤษฎีที่พยายามหาที่มาของชนชาติไทย ทฤษฎีดั้งเดิมเชื่อวาชาวไทยในสมัยกอนเคยมี ถ่นิ อาศัยอยูข้นึ ไปทางตอนเหนอื ถึงแถบเทือกเขาอัลไต จากนั้น ไดมีการทยอยอพยพเคลื่อนยายลงมาทางใต สูคาบสมุทรอินโดจีน หลายละลอกเปนเวลาตอ เนือ่ งกนั หลายพันป โดยเช่ือวาเกิดจากการแสวงหาทรัพยากร ใหม แตทฤษฎีน้ีขาดหลักฐานทางโบราณคดีที่นาเช่ือถือได ในขณะเดียวกันก็มีหลายทฤษฎีท่ีอธิบายวาเดิม ชนชาติ ไทย ไดอ าศยั อยเู ปนบรเิ วณกวางขวางในทางตอนใตของจีนจนถึงภาคเหนือของไทยและไดม กี ารอพยพ ลงใตเ ร่ือย ๆ เขา มาอาศัยอยูในดินแดนคาบสมุทรอินโดจีน จากนั้นไดอาศัยกระจัดกระจายปะปนกับกลุมชน ดง้ั เดิมในพืน้ ที่ โดยไมมีปญ หามากนัก ซงึ่ อาจเนอื่ งดวยดินแดนคาบสมุทรอนิ โดจนี ในชวงเวลาน้นั ยังมีพื้นท่ีและ ทรัพยากรธรรมชาติเปนจํานวนมาก ในขณะที่มีกลุมชนอาศัยอยูเบาบาง ปญหาการแยงชิงทรัพยากรจึงไม รุนแรง รวมทั้งลกั ษณะนสิ ัยของชาวไทยน้นั เปน ผูอ อนนอมและประนีประนอม ความสัมพันธระหวางชาวไทย กลมุ ตาง ๆ อาจมกี ารติดตอ อยา งใกลช ดิ อยบู า ง ในฐานะของผูมีภาษาวัฒนธรรมและท่ีมาอันเดียวกัน แตการ รวมตัวเปนนิคมขนาดใหญหรือแวนแควนยังไมปรากฏ ในเวลาตอมาเมื่อมีชาวไทยอพยพลงมาอาศัยอยูใน

90 ดินแดนคาบสมทุ รอินโดจนี เปนจาํ นวนมากขน้ึ ชาวไทยจงึ เรมิ่ มบี ทบาทในภมู ภิ าค แตกย็ งั คงจาํ กดั อยูเพียงการ เปน กลมุ อํานาจยอ ย ๆ ภายใตอํานาจการปกครองของชาวมอญและขอม กระท่ังอํานาจของขอมในดนิ แดน ทีร่ าบลุมแมนาํ้ เจาพระยาเริ่มออ นกาํ ลังลง กลุมชนที่เคยตกอยภู ายใตอาํ นาจปกครองของขอม รวมทั้งกลุมของ ชาวไทย ในชวงตอมา มีการปกครองของหลายอาณาจักรในบริเวณที่เปนประเทศไทยในปจจุบัน ไดแก ชาวมาเลย ชาวมอญ ชาวขอม โดยอาณาจักรทส่ี ําคญั ไดแก อาณาจกั รทวารวดใี นตอนกลาง อาณาจกั รศรีวิชัย ในตอนใต และอาณาจักรขอมซ่งึ มศี ูนยกลางการปกครองท่ีนครวดั โดยคนไทยมกี ารอพยพมาจากดินแดนทาง ตะวันตกเฉียงใตและทางใตของจนี ผา นทางประเทศลาว ภาคกลาง 1. อาณาจกั รทวารวดี 2. อาณาจกั รละโว ภาคใต 1. อาณาจักรศรีวิชยั 2. อาณาจกั รตามพรลิงก ภาคอสี าน 1. อาณาจักรฟนู าน 2. อาณาจักรขอม 3. อาณาจกั รศรีโคตรบรู ณ ภาคเหนือ 1. อาณาจักรหรภิ ุญชัย 2. อาณาจกั รโยนกเชียงแสน ดินแดนในประเทศไทยมีทงั้ พัฒนามาจากอาณาจักรเดิมกอ นหนา นนั้ เชน ละโว ศรวี ชิ ยั ตามพรลงิ ก ทวารวดี ฯลฯ อาณาจกั รทสี่ ําคญั ของไทยในชวงปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 19 ถึงปจ จุบนั ไดแ ก อาณาจักรสุโขทัย อาณาจกั รอยธุ ยา กรงุ ธนบรุ ี และรตั นโกสินทร กรงุ ธนบุรี พ.ศ. 2310 – 2325 หลงั จากพระเจา ตากสนิ ไดก อบกูกรงุ ศรีอยธุ ยากลับคนื จากพมา ไดแ ลว พระเจา ตากสนิ ทรงเหน็ วา กรุง- ศรอี ยุธยาถกู พมา เผาผลาญเสียหายมาก ยากที่จะฟนฟูใหเหมือนเดิม พระองคจึงยายเมืองหลวงมาอยูที่กรุง- ธนบรุ แี ลว ปราบดาภิเษกข้นึ เปนกษตั รยิ  ทรงพระนามวา “พระบรมราชาธริ าชที่ 4” (แตประชาชนนยิ มเรียกวา สมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราชหรือสมเดจ็ พระเจากรุงธนบรุ ี) ครองกรุงธนบุรอี ยู15 ป นับวาเปนพระมหากษัตริย พระองคเดียวทปี่ กครองกรงุ ธนบุรี

91 สมเด็จพระเจา ตากสนิ ทรงยา ยเมืองหลวงมาอยทู ี่กรงุ ธนบรุ ี เน่ืองจากสาเหตุดงั ตอไปน้ี 1. กรงุ ศรอี ยธุ ยาชํารุดเสียหายมากจนไมสามารถบูรณปฏิสังขรณใหดีเหมือนเดิมได กําลังร้ีพลของ พระองคม ีนอยจงึ ไมส ามารถรกั ษากรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน เมืองใหญได 2. ทําเลท่ีตัง้ ของกรุงศรีอยธุ ยาทาํ ใหขาศกึ โจมตไี ดง าย 3. ขาศึกรเู สนทางการเขา ตีกรงุ ศรอี ยธุ ยาดี สวนสาเหตทุ ่พี ระเจาตากสนิ ทรงเลอื กกรุงธนบุรีเปนเมืองหลวงเนื่องจากทําเลที่ตั้งกรุงธนบุรีอยูใกล ทะเล ถา เกดิ มศี กึ มาแลวตงั้ รับไมไหวกส็ ามารถหลบหนไี ปตั้งม่ันทางเรอื ไดกรุงธนบรุ เี ปนเมอื งเลก็ จึงเหมาะกับ กําลังคนท่ีมีอยูพอจะรักษาเมืองไดกรุงธนบุรีมีปอมปราการที่สรางไว ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาหลงเหลืออยู ซึ่งพอจะใชเ ปน เครือ่ งปองกนั เมืองไดในระยะแรก ดา นการปกครอง หลังจากกรุงศรีอยุธยาเสียใหแกพมา เม่ือ พ.ศ. 2310 บานเมืองอยูในสภาพไมเรียบรอย มีการ ปลนสะดมกันบอย ผูคนจึงหาผูคุมครองโดยรวมตัวกันเปนกลุมเรียกวาชุมนุม ชุมนุมใหญ ๆ ไดแก ชุมนุม เจาพระยาพิษณโุ ลก ชุมนมุ เจาพระฝาง ชุมนุมเจาพิมาย ชุมนุมเจานครศรีธรรมราช เปนตน สมเด็จพระเจา ตากสินทรงใชเ วลาภายใน 3 ป ยกกองทัพไปปราบชุมชนตางๆ ที่ตั้งตนเปนอิสระจนหมดสิ้นสําหรับระเบียบ การปกครองน้ัน พระองคทรงยึดถือและปฏิบัติตามระเบียบการปกครองแบบสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ตามที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวางระเบียบไว แตรัดกุมและมีความเด็ดขาดกวา คนไทยในสมัยน้ัน จงึ นิยมรับราชการทหาร เพราะถา ผใู ดมีความดีความชอบ กจ็ ะไดร ับการปนู บาํ เหนจ็ อยา งรวดเรว็ ลักษณะการปกครอง ในสวนกลางมีตําแหนงอคั รมหาเสนาบดี 2 ตาํ แหนง ไดแก สมหุ นายก ควบคมุ ดแู ลหวั เมืองฝา ยเหนือ สมหุ กลาโหม ควบคมุ ดแู ลหวั เมอื งฝายใต นอกจากนี้ยังมีเสนาบดีอีก 4 ตําแหนง คือ เสนาบดีจตุสดมภ ไดแก เสนาบดีกรมเมือง (นครบาล) เสนาบดีกรมวัง (ธรรมาธิกรณ) เสนาบดีกรมคลัง (โกษาธิบดี) และเสนาบดีกรมนา (เกษตราธกิ าร) สวนภมู ิภาคแบงเปน หวั เมอื งช้ันใน คือ เมืองท่ีรายรอบพระนคร และหัวเมืองชั้นนอก คือ เมืองที่อยู ไกลพระนคร ดานเศรษฐกิจและสังคม ตลอดระยะเวลาท่ีบานเมืองไมสงบ สภาพเศรษฐกิจตกต่ําลงอยางมาก เพราะพลเมืองไมเปน อันทาํ มาหากนิ เม่ือกเู อกราชไดแ ลว ความอดอยากหิวโหยก็ยังคงมีอยู เปนเหตุใหมีโจร ผูรา ยชุกชมุ และเกดิ โรคระบาด ผูคนลมตายเปน จาํ นวนมาก สภาพหัวเมอื งตาง ๆ จึงเหมือนเมืองราง สมเด็จ- พระเจากรุงธนบุรีไดสละพระราชทรัพยซื้อขาวสารราคาแพงจากพอคาตางเมืองเพื่อนํามาแจกจายราษฎร นอกจากนัน้ ไดพ ระราชทานเสือ้ ผา เครอ่ื งนุง หมดวย สมยั กรงุ ธนบรุ ี ประชาชนทําการขดุ ทรพั ยส มบัตจิ ากแหลงซอ นทรัพยใ นกรงุ ศรีอยธุ ยา ซง่ึ ผูคนนาํ มาฝง ซอ นไว การขดุ แตล ะคร้งั ผูขดุ จะไดท รัพยส นิ เงินทองมากมาย แตกท็ ําใหโ บราณวัตถุถูกทําลายลง ดานศาสนา หลงั จากที่พระเจา ตากสินข้ึนครองกรุงธนบุรีแลว พระองคจึงไดจัดระเบียบสังฆมณฑล รวบรวมพระไตรปฎกและบรู ณปฏิสังขรณวัด

92 ดานวัฒนธรรมและศิลปกรรม สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีทรงพระราชนิพนธรามเกียรต์ิไว 4 ตอน นอกจากน้นั กม็ ีกวที ่ีสําคัญในสมัยน้ัน คือ หลวงสรวชิ ติ (หน) นายสวนมหาดเลก็ และพระยามหานุภาพ ดา นศลิ ปกรรม เกดิ ศิลปกรรมหลายแขนง เชน นาฏกรรม จติ รกรรม และสถาปตยกรรม หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรก รุงธนบุรี เน่ืองจากสมัยกรุงธนบุรีเปนราชธานีเปนชวงระยะเวลาสั้น ๆ และมีพระมหากษัตริยเพียงพระองค เดียว (สมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราชเสดจ็ สวรรคตใน พ.ศ. 2325 พระชนมายไุ ด 45 พรรษา) ดังนนั้ หลักฐาน ท่ปี รากฏจึงไมม ากนัก ไดแก 1. บนั ทึกสว นเอกชน เชน จดหมายเหตคุ วามทรงจํากรมหลวงนรินทรเทวี 2. เอกสารไทยรวมสมยั ไดแ ก เอกสารราชการ เชน หมายรับสั่ง จดหมายเหตุรายงาน การเดินทัพ จดหมายเหตุโหร พระราชกําหนด และอีกประเภทหนึ่ง คือ งานวรรณกรรมรวมสมัยอิงประวัติศาสตร เชน คําโคลงยอพระเกยี รตพิ ระเจา กรงุ ธนบุรีของนายสวนมหาดเลก็ นริ าศเมืองกวางตุงของพระยามหานุภาพและ สงั คตี ยิ วงศ ของสมเด็จพระวนั รัตนว ดั พระเชตพุ น 3. พระราชพงศาวดารกรุงธนบรุ ี 4. เอกสารตางประเทศ ไดแ ก เอกสารจีน เอกสารประเทศเพื่อนบานและเอกสารตะวนั ตก กรุงรัตนโกสนิ ทร พ.ศ. 2325 – ปจจบุ นั หลงั จากปราบดาภิเษกข้ึนเปน พระมหากษัตริย ในป พ.ศ. 2325 แลว สมเด็จเจาพระยามหากษัตริย ศึกทรงใชพระนามวา “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก” และไดยายราชธานีจากกรุงธนบุรีขาม แมนา้ํ เจาพระยามายังฝง ตรงขา ม และต้งั ชอื่ ราชธานใี หมน ว้ี า “กรุงเทพมหานคร” พรอม ๆ กับการสถาปนา- ราชวงศจักรขี นึ้ มา โดยกําหนดในวันที่ 6 เมษายน ของทกุ ปเปนวนั จกั รี เหตุผลในการยา ยราชธานี 1. พระราชวงั เดมิ ไมเ หมาะสมในแงย ทุ ธศาสตร เพราะมแี มน ้าํ ไหลผา นกลางเมอื ง ยากแกการปองกัน รักษา 2. ฝงตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยามีชัยภูมิดีกวา เพราะเปนดานหัวแหลม มีลําน้ําเปนพรมแดน กวา ครึ่ง 3. เขตพระราชวังเดมิ ขยายไมได เพราะมวี ดั กระหนาบอยูท้ังสองขา ง ไดแ ก วดั แจง และวัดทา ยตลาด ลักษณะของราชธานีใหม ราชธานีใหมที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชโปรดฯ ใหสรางข้ึนไดทําพิธียก เสาหลักเมือง เมื่อวันท่ี 21 เมษายน พ.ศ. 2325 การสรางราชธานีใหมน้ีโปรดฯ ใหสรางเลียนแบบกรุงศรี- อยธุ ยา กลา วคือ กาํ หนดผังเมืองเปน 3 สวน 1. สว นท่ีเปนบริเวณพระบรมมหาราชวงั วังหนา วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม (วัดพระแกว ) ทุงพระเมรุ และสถานทส่ี ําคญั อนื่ ๆ มีอาณาบรเิ วณตงั้ แตร ิมฝง แมน้ําเจา พระยามาจนถงึ คเู มืองเดิม สมัยกรงุ ธนบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook