Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice DLTV - พงศกร สมบูรณ์

Best Practice DLTV - พงศกร สมบูรณ์

Published by jan_comsun, 2021-12-03 06:41:44

Description: Best Practice DLTV - พงศกร สมบูรณ์

Search

Read the Text Version

รายงานผลการปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practices) ชื่อผลงาน การใช้ DLTV ในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเทคโนโลยวี ิทยาการคำนวณ โดยใชก้ ลยุทธ์ JANE Model ชือ่ เจ้าของผลงาน นายพงศกร สมบรู ณ์ ตำแหน่ง ครโู รงเรียนหนิ กอง(พบิ ูลอนุสรณ์) โรงเรยี น โรงเรยี นหินกอง(พิบลู อนุสรณ์) อำเภอหนองแค จงั หวดั สระบรุ ี สังกัด สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสระบรุ ี เขต 2 โทรศพั ท์ 098-8292925 E-mail [email protected] 1. ความสำคัญและความเปน็ มา เนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) มีการระบาดในวงกว้าง องค์การอนามยั โลกได้ประเมินสถานการณ์และประกาศให้โรค COVID-19 เป็นภาวะ ฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ โดยแนะนําให้ทุกประเทศเร่งรัดการเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยง จากเชื้อ COVID-19 ซึ่งสถานศึกษาเป็นสถานที่ที่มีนักเรียนอยู่รวมกันจำนวนมาก มักจะมีความเสี่ยงสูง หากมรี ะบบการจดั การท่ไี ม่ดี อาจจะมีการแพรร่ ะบาดของเชื้อ COVID-19 ไดใ้ นกล่มุ เดก็ เนื่องจากพบว่าการ ติดเชื้อ COVID-19 ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมีอาการหรือมีอาการแสดงค่อนข้างน้อย ความรุนแรงจะน้อยมาก อาจทำให้การแพรร่ ะบาดเกิดขึน้ ได้อย่างรวดเร็ว (Super spread) ไปยังบคุ คลในบ้าน หากมีการระบาดในกลุ่ม นักเรยี นขึน้ จะมผี ลกระทบในสังคมหรือผ้ใู กล้ชิด เช่น ครู พ่อแม่ ผูส้ ูงอายุ ท่ีติดเชอ้ื จากเด็ก ดังน้ัน หากมีการ เปิดเรียน มีโอกาสสูงที่จะเกิดการติดเชื้อ ในกลุ่มเด็กเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเด็กเป็นกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลและ ระมัดระวงั ในการกระจายเชอ้ื เป็นอยา่ งมาก มาตรการในการเปิดเทอม จงึ มีความสำคัญมากในการควบคุมการ ระบาด การวางแผนเปิด เทอมจึงต้องมั่นใจว่าสามารถควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคได้ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความสำคัญ ในการดูแลนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงได้จัดทำแนวทางการจัดการเรียน การสอนของโรงเรียนสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ในสถานการณก์ ารระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อให้โรงเรียนใช้เป็นแนวทาง ในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัดอย่างมี ประสิทธภิ าพซ่ึงการระบาดของ เชือ้ ไวรัสโคโรนา สง่ ผลต่อระบบการศึกษาเป็นอยา่ งมาก การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมเป็นอีกรูปแบบหนึ่งในการจัดการศึกษา ในโรงเรียน ขนาดเล็กสำหรับการแกไขปญหาการขาดแคลนครู และยกระดับความเสมอภาคของผู้เรียนใหได้รับ โอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพใกลเคียงกัน ซึ่งสอดคลองกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยี ทางไกล (Distance Learning Internet Solution) ของสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television : DLTV) ที่กอตั้งขึ้นเมือ่ วันท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2538 โดยพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โดยมี พระราชประสงคใหการศึกษาแกปวงชนชาวไทยอย่างทั่วถงึ ทุกหมูเหลา ทรงเนนใหนักเรียนได้รูจักช่วยเหลือ ตนเอง และยึดเป็นแนวปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แกปญหาการขาดแคลนครูและยกระดับ ความเสมอภาคของผู้เรียนใหได้รับโอกาสทางการศึกษา ที่มีคุณภาพใกลเคียงกัน บริหารงานโดยมูลนิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Foundation : DLF ) ถ่ายทอดออกอากาศการเรียน การสอนจากโรงเรียนวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยจัดการเรียนการสอนทางไกล

ผ่านดาวเทียม ถ่ายทอดสดตามหลักสูตรประถมศึกษา มัธยมศึกษาและสายวิชาชีพใหแกโรงเรียนในประเทศ ไทย และประเทศเพื่อนบ้าน จำนวน 15 ชอง ในชื่อ DLTV 1 – 15 รวมทั้งการออกอากาศรายการภาค ภาษาอังกฤษ จำนวน 15 ชอง ในชื่อ DSTV Network 186 – 200 (True Vision) สถานีวิทยุโทรทัศน การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ดำเนนิ การออกอากาศรายการโทรทัศนเพ่อื การศกึ ษาใน 2 ลักษณะ คือการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) เป็นการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาในระบบ ท้ังระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมธั ยมศึกษาตอนปลาย เพอื่ ช่วยเหลอื โรงเรียนในรายวิชา ที่ขาดแคลนครูผู้สอนหรือ เป็นรายวิชาที่มีเนื้อหาคอนขางยาก โรงเรียนที่ตองการเขาร่วมโครงการสามารถ ทำได้ โดยจัดหาเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม เพื่อรับชมรายการโทรทัศน ผ่านดาวเทียมตามตารางเวลา ทีอ่ อกอากาศ และการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย Informal Education) เปน็ การจัดการศึกษาเพื่อใหข่าวสาร ขอมลู ความรูและทกั ษะทีเ่ ป็นประโยชนตอการพฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชนทัว่ ไป ดังน้นั จงึ ได้การใช้ DLTV ในการจดั การเรียนการสอนเพอื่ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าเทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ โดยใช้กลยุทธ์ JANE Model ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพอ่ื ให้นักเรียนไดร้ บั การพฒั นาทักษะด้านความรู้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2. วตั ถุประสงค์ และเปา้ หมาย 2.1 วัตถปุ ระสงค์ 1 เพือ่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นใหส้ ูงขึน้ โดยการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม 2 เพื่อลดความเหล่อื มล้ำทางการศึกษาและเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนไดร้ ับโอกาสทาง การศกึ ษาอย่างทัว่ ถงึ 3. เพื่อใหน้ ักเรยี นเกิดเจตคติท่ีดใี นการเรียนวชิ าเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ ผา่ น DLTV 2.2 เปา้ หมาย เชิงปริมาณ นักเรยี นระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-6 โรงเรียนหนิ กอง(พบิ ูลอนุสรณ์) เชิงคุณภาพ นักเรยี นโรงเรียนหินกอง(พิบูลอนสุ รณ์) ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 มีผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยวี ทิ ยาการคำนวณ เพิ่มขึน้ และมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนวิชาเทคโนโลยวี ทิ ยาการคำนวณ

3. หลักการและแนวคดิ 3.1 การจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม การศึกษาทางไกล เน้นการศึกษาท่ีเอือ้ อำนวยให้ผู้เรียนไดเ้ รียน ตามความต้องการโดยไม่จำเป็นตอ้ ง เข้าชั้นเรียน แต่อาศัยการสื่อสารผ่านสื่อการสอน เช่นสิ่งพิมพ์ โทรทัศน์ อุปกรณ์ทางสื่อสาร ต่างๆ ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ไดต้ ลอดเวลา การศึกษาทางไกลมหี ลักการดังต่อไปนี้ 1. การศึกษาตลอดชีวิตเป็นการศึกษาที่ไม่จำเป็นจะต้องแยกชีวิตของการเรียนออกจากชีวิต ของการทำงาน การศึกษาสามารถที่จะสอดแทรกอยู่ได้ในการดำเนินชีวิตประจำวันตามปกติผู้ที่สนใจ เรียนจะทำการเรียนเมื่อไรก็ได้โดยคำนึงถึงความพร้อม ความต้องการ เวลาความถนัด ความสนใจ โดยไม่ จำเปน็ ตอ้ งเรียนเพือ่ การไปประกอบอาชพี กไ็ ด้ 2. การให้โอกาสเท่าเทียมกันในการศึกษา เป็นการกระจายและขยายโอกาสให้ผู้ที่ไม่มีโอกาส ในการศึกษาเล่าเรียน ตลอดจนผู้ที่ต้องการศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติมได้มีโอกาสในการศึกษาต่อ เพื่อให้ สอดคลอ้ งกับการศึกษาตลอดชวี ิต และเป็นทางออกไปสคู่ วามเสมอภาคทางการศกึ ษา นอกจากนน้ั ยังเป็นการ แก้ปญั หาครผู สู้ อนในวิชาทไี่ มส่ ามารถหาผู้เช่ยี วชาญในวชิ านัน้ ๆ หรือการขาด แคลนครูผ้สู อน เพ่ือให้ผู้เรียนท่ี อยใู่ นที่ห่างไกลสามารถไดร้ ับความรไู้ ดอ้ ย่างเท่าเทียมและเสมอภาคกบั ผเู้ รียนในเมือง 3. ส่งเสริมการศึกษามวลชน เป็นการให้การศึกษาแก่มวลชนในระดับต่าง ๆ โดยการใช้ สื่อมวลชน และสื่ออื่น ๆ รวมทั้งอุปกรณ์โทรคมนาคม ประเภทต่าง ๆ ร่วมกันในรูปของสื่อประสม วิจิตร ศรีสอ้าน (2548, หน้า 59) ได้ให้ความหมายว่า การศึกษาทางไกลเป็นการเรียนการ สอนที่ไม่มีชัน้ เรียน แต่อาศัยสื่อ ประสม ได้แก่ สื่อทางไปรษณีย์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และ การสอนเสริม รวมทั้งศูนย์บริการ การศึกษาเปน็ หลัก มุ่งให้ผูเ้ รยี นเรยี นดว้ ยตนเองที่บ้านโดยไม่ตอ้ งมา เขา้ ชน้ั เรยี นปกต ลักษณะสำคัญของการศึกษาทางไกล การสอนทางไกลผา่ นดาวเทียมของโรงเรียนวังไกลกงั วล เปน็ สถานทใี่ ช้ใน การเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 รายการด้านสายอาชีพ รายการ นานาชาติ ผ่านทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและถ่ายทอดสดไปยังโรงเรียน เครือข่ายทั่วประเทศ รายการท่ี ออกอากาศ 14 ช่อง สามารถรับชมได้ทางเครื่องรับ Ku –Band ที่ UBC ช่อง 186-199 หรอื DLTV 1-14 ดังน้ี DLTV 1 (CH 186) รายการประถมศึกษาชน้ั ปที ่ี 1 DLTV 2 (CH 187) รายการประถมศึกษาชนั้ ปที ่ี 2 DLTV 3 (CH 188) รายการประถมศึกษาชั้นปที ี่ 3 DLTV 4 (CH 189) รายการประถมศึกษาชัน้ ปที ่ี 4 DLTV 5 (CH 190) รายการประถมศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 5 DLTV 6 (CH 191) รายการประถมศกึ ษาชั้นปีท่ี 6 DLTV 7 (CH 192) รายการมธั ยมศึกษาช้นั ปที ่ี 1 DLTV 8 (CH 193) รายการมัธยมศึกษาช้ันปีที่ 2 DLTV 9 (CH 194) รายการมัธยมศกึ ษาชัน้ ปีที่ 3 DLTV 10 (CH 195) รายการมัธยมศกึ ษาชัน้ ปที ่ี 4 DLTV 11 (CH 196) รายการมัธยมศึกษาชัน้ ปที ่ี 5 DLTV 12 (CH 197) รายการมัธยมศกึ ษาชนั้ ปที ่ี 6 DLTV 13 (CH 198) รายการสายอาชพี (อาชวี ศึกษา) DLTV 14 (CH 199) รายการสายอาชีพ (อาชวี ศึกษา)

3.2 วงจรคณุ ภาพ PDCA PDCA คือวงจรบริหารสี่ขั้นตอนที่ประกอบไปด้วย Plan (การวางแผน) Do (ปฏิบัติ) Check (ตรวจสอบ) และ Action (การดำเนินการ) วงจรการบริหารงานคุณภาพใช้ในการควบคุมและพัฒนา กระบวนการหรือผลติ ภัณฑ์อยา่ งตอ่ เนอื่ งPDCA ทง้ั สข่ี ั้นตอนเปน็ กระบวนการท่สี ามารถทำซำ้ ได้ เพ่ือใหอ้ งค์กร สามารถบริหารความเปล่ยี นแปลงได้อยา่ งประสบความสำเรจ็ โดยท่ีขน้ั ตอนของ PDCA มดี งั น้ี (P) Plan – การวางแผน: หมายถึง การตั้งเป้าหมายจากปัญหาหรือโอกาสต่างๆ และสร้างแผนการทำงาน หรือกระบวนการเพ่ือทำใหเ้ ป้าหมายน้ีประสบความสำเรจ็ (D) Do – ปฏิบัติ/การทดสอบ: หมายถึง ขั้นตอนการทดสอบ เป็นการลงมือทำและเกบ็ ข้อมลู เพื่อหาจุดออ่ น หรือจุดท่สี ามารถพัฒนามากขน้ึ ได้ รวมถงึ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าต่างๆดว้ ย (C) Check – การตรวจสอบ: หมายถึง ขั้นตอนการตรวจสอบ เป็นขั้นตอนหาช่องทางและวิธีพัฒนา กระบวนการตา่ งๆใหเ้ รว็ ข้ึนหรือมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ รวมถงึ การจัดลำดับความสำคัญของโอกาสและ อปุ กรณต์ า่ งๆในกระบวนการ (A) Action – การดำเนินการ/ปรับปรุงแก้ไข: หมายถึง การดำเนินการเพื่อปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ กระบวนการขน้ั ตอนต่างๆเรว็ ข้ึน ดีขึ้น หรือมีค่าใชจ้ า่ ยน้อยกวา่ เดมิ

4. กระบวนการผลิตงานหรอื ขั้นตอนการดำเนนิ งาน (วธิ ปี ฏิบตั ิท่เี ป็นเลิศ) 4.1 การวางแผน (Plan) 4.1.1 ศกึ ษาสภาพปจั จุบัน ปญั หา และอปุ สรรคในการจัดการเรยี นการสอน เพื่อพฒั นาคณุ ภาพ ผเู้ รียน ในการเขา้ ถงึ การเรยี นการสอนในสถานณการการณ์แพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 4.1.2 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา และวิเคราะห์หลักสูตรสาระเทคโนโลยี (วยิ าการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตาหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) เพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน เพื่อกำหนดรูปแบบ ขอบขา่ ย และแนวทางในการพัฒนา และแก้ปญั หาการจัดการศึกษา 4.1.3 สรา้ งรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทเ่ี หมาะสมกับบริบทของโรงเรยี น และเอ้ือต่อการ จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งในการสร้างเครื่องมือนัน้ ใช้ช่อื วา่ JANE MODEL เพอื่ พฒั นาการจดั การเรยี นการสอนใหค้ วบคู่ไปการการเรียนผ่าน DLTV 4.1.4 สรา้ งแบบฝกึ ทักษะ ในการจัดการเรยี นการสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) 4.1.5 จัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ด้วยมูลนิธิทางไกล ผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์และนำผลสมั ฤทธิจ์ ากการจัดการเรยี นการสอนมาปรบั ปรุง 4.2 ขัน้ ตอนการทำตามแผน (DO : D) 4.2.1 ออกแบบนวัตกรรมการจดั การเรยี นการสอนสำหรบั นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 - 6 ด้วยมูลนิธิทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยใช้ JANE MODEL เป็นนวัตกรรมการด้านการ จัดการเรียนการสอน มกี ระบวนการดำเนนิ งานภายใตก้ รอบแนวคิด ขัน้ ตอนการพฒั นา นวตั กรรม ดงั นี้ กระบวนการสร้างนวตั กรรมทางการศกึ ษา ขัน้ ที่ 1 กำหนดวัตถุประสงคก์ ารพัฒนา นำหลักการ PDCA มาเป็นแนวทางในการสร้างนวัตกรรม JANE MODEL ซึ่งเห็นว่าการ จัดการการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV ต้องใช้กลยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีให้ ผ้เู รียนเรยี นอยา่ งมคี วามสขุ ข้นั ที่ 2 กำหนดกรอบแนวคิด เมอ่ื ไดก้ ำหนดจุดประสงค์ในการสร้างนวัตกรรมแล้ว จงึ ไดศ้ ึกษาค้นคว้าแนวคิดทฤษฎีและ เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการจัดการเรียนการสอน และศึกษาวิธีการจัดการศึกษาจากมูลนิธิ ทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ โดยการนำมาผสมผสานกับความคิดและประสบการณข์ องตนเอง พร้อมทั้งกำหนดเป็นกรอบแนวคดิ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการสร้างนวัตกรรม ขนั้ ท่ี 3 สร้างนวัตกรรม ออกแบบและสร้างนวัตกรรมให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ที่ได้กำหนดไว้ ผ่านการจัด กิจกรรมในรูปแบบของกิจกรรมการการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมหลักสูตร กจิ กรรมนอกเวลาเรียน ต้ังแต่ระดับ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1-6 ข้นั ที่ 4 นำนวัตกรรมไปใช้ เมื่อได้รูปแบบนวัตกรรม ตามวัตถุประสงค์แล้ว จึงนำไปใชจ้ รงิ ในการจัดการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยวี ทิ ยาการคำนวณ ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-6 โรงเรียนหินกอง(พิบูลอนุสรณ์) ตามขั้นตอน ของกระบวนการนวัตกรรม โดยควบคุมให้เป็นไปตามข้อกำหนดของ ตัวนวัตกรรม นำผลการดำเนินงานตาม

ขัน้ ตอนของนวัตกรรมไปใหผ้ ู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ซึ่งหากพบว่า ผลการใชน้ วตั กรรมไม่เหมาะสมหรือไมส่ มบรู ณ์ แล้ว จะเข้าสกู่ ารปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของ ผูเ้ ชย่ี วชาญตอ่ ไป ขั้นท่ี 5 รายงานผล และปรบั ปรงุ ดำเนินการเขียนรายงานผลหลังจากการใช้นวัตกรรม เพื่อนำไปต่อยอดและพัฒนาใน กระบวนการจดั การเรยี นการสอนตอ่ ไป

4.2.2 ข้นั ตอนการดำเนินงานตามรูปแบบ JANE MODEL ภาพที่ 3 รปู แบบ นวตั กรรม JANE MODEL การดำเนนิ งานตามรูปแบบ JANE MODEL มีกระบวนการดำเนนิ งาน ดังนี้ J : Joy to Learn หมายถึง จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเรียนอย่างมีความสุขโดยการสร้าง แบบฝกึ ทกั ษะการจัดการเรยี นรู้ ทางไกลผา่ นดาวเทียม DLTV พฒั นาสือ่ การเรียนการสอน

A : Attitude หมายถึง สร้างทัศนคติที่ดี ต่อการเรียนและความคิดเชิงบวกในการพัฒนานักเรียน พฒั นาตนเอง พฒั นาองค์กร ทัง้ ทางกายทางสตปิ ญั ญาและจิตใจอันดีงาม N : New Normal หมายถึง การปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา อยู่ร่วมกับ สังคมไดอ้ ย่างมีความสุข เป็นขนั้ ตอนการจัดการการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ที่ผู้เรยี นได้รับโอกาสในการ พัฒนาตนเองอย่างทั่วถงึ เริ่มต้นจาก คุณครูเก็บข้อมูล เยี่ยมบ้านนักเรียนทุกคน ติดตามการรับมอบ เอกสารใบงาน การเชิญเข้าเป็นสมาชิกใน กลุ่มไลน์ การประเมนิ ผลรว่ มกนั ระหว่างคุณครูและผปู้ กครอง และโอกาสทนี่ ักเรียนทุกคนมีเรียนรู้ จากมูลนิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ด้วยเนื้อหาและ สาระเดียวกับเพื่อนนักเรียนทั่วประเทศ นักเรียนมี พัฒนาการจากการเรียนรู้ที่มีการแบ่งปันกันกลุ่มไลน์ของ แต่ละชั้นและมีผลการประเมินจากคุณครูและ ผปู้ กครองทำให้นกั เรยี นเรียนรูอ้ ย่างมีความสุข E : Evaluation หมายถงึ การประเมนิ ผล หลังจากจัดกจิ กรรมการจดั การเรียนการสอนทางไกลผ่าน ดาวเทียม (DLTV) กไ็ ดด้ ำเนินการประเมนิ ผลหลากหลายรูปแบบ เช่น แบบทดสอบ เกมส์ ใบงาน เป็นต้น

4.3 ขั้นตรวจสอบ (Check) เป็นการประเมินผลและตรวจสอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV จากการใช้นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทางไกล ด้วย JANE Model โดยดำเนินการดังนี้ 4.3.1 ใช้แบบทดสอบกอ่ นเรียน หลังเรยี น 4.3.2 ประเมนิ จากการปฏิบัติกจิ กรรม 4.3.3 ประเมนิ ผลการเรยี นโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.3.4 แบบวดั เจตคตติ อ่ การเรยี นวชิ าเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ 4.4 ขน้ั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Action) 4.4.1 เป็นการสะท้อนผลการดำเนินงาน ตามสภาพจริง (Reflection) ต้องมีการพัฒนา นวัตกรรมปรับปรงุ ใหน้ วตั กรรมมีเนื้อหาทีม่ คี วามเหมาะสมและนา่ สนใจมากข้ึน 4.4.2 นำขอ้ เสนอแนะนำไปใชแ้ ละการศึกษาคน้ คว้าครง้ั ต่อไปจากนวตั กรรมเดิมไปพฒั นา 5. ผลการดำเนินงาน/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ทไี่ ด้รบั 5.1 ผลท่ีเกดิ ขึ้นกบั นักเรยี น 5.1.1 นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนหินกอง(พิบูลอนุสรณ์) มีผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรียนในกล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) เพ่ิมขนึ้ 5.1.2 ผเู้ รยี นมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อการเรยี นวชิ าเทคโนโลยีวทิ ยาการคำนวณ 5.1.3 ผ้เู รยี นเข้าถงึ การเรยี นการสอนและพฒั นาตนเองได้เต็มศกั ยภาพ 5.2 ผลทเ่ี กิดกบั ครู 5.2.1 เป็นสื่อออนไลน์เว็บไซต์ https://www.dltv.ac.th/ (DLTV) ในการจัดการเรียนรู้ ที่ต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะความรู้ ความสามารถในการเรียน รายวิชาวิทยาการคำนวณ ครูสามารถ นำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นช้ันเรียนของตนไดห้ รือพัฒนาเปน็ นวตั กรรมการเรียนรู้ 5.2.2 เปน็ ส่ือทีใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ที่สอดคลอ้ งกบั ทฤษฎีไดพ้ ฒั นา นวตั กรรม JANE MODEL มาใช้ในการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV ทำให้คะแนนเฉลี่ยจากการสอนหลังเรียนสูงกว่า คะแนนเฉลีย่ จากการสอนกอ่ นเรยี น ซ่ึงจะเหน็ ได้ว่าเมอื่ นำบทเรียนที่เรยี นผา่ น DLTV โดยนำนวัตกรรม JANE MODEL มาใช้จะทำให้มีผลการเรียนที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งเป็นนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้รูปแบบ ใหม่ที่ออกแบบและสอดแทรกเนื้อหาบทเรยี นลงไป ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ฝึกปฏิบัตใิ นการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง จนผูเ้ รียน เกดิ การเรยี นร้ไู ด้ในทสี่ ุด 5.2.3 เป็นสื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และจุดหมายของ หลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ทเี่ นน้ สมรรถนะผู้เรียน มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ทีน่ ำไปสู่การ ปฏิบตั โิ ดยเฉพาะสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนทีม่ ุ่งให้เกดิ ความสามารถในการสื่อสารและความสามารถในการคิด

5.3 ผลท่เี กิดกับผบู้ ริหาร ผู้บริหารให้ความสำคัญต่อการพัฒนาโรงเรียนและพัฒนาครูผู้สอน เป็นผู้นำ ในการขับเคลื่อน พัฒนาโรงเรียนภายใต้การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา มีสมรรถนะในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบจนเป็นที่ประจักษ์ชัด เจนและเป็นท่ียอมรับจากสังคม ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการไดร้ ับรางวลั ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติจากหนว่ ยงานตา่ งๆ 5.4 ผลทเ่ี กดิ กับโรงเรียน โรงเรียนได้มีรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV และนักเรียนได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม ทำให้ผลการดำเนินงานเป็นที่ยอมรับจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานภายนอก โดยเห็นได้จากการได้รับความร่วมมือ จากชมุ ชน 5.5 ผลทเ่ี กิดกับครอบครวั ของนกั เรยี น จากการทีน่ กั เรยี นมกี ารพฒั นา สง่ ผลใหโ้ รงเรยี นไดร้ ับ เสียงสะทอ้ นจากผู้ปกครองว่า บุตรหลาน มีการพฒั นาดา้ นความรคู้ วามเข้าใจในการเรยี นไปในทางที่ดขี ้นึ เขา้ ถงึ การเรยี นการสอนแม้ในสถานการการณ์ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีความรับผิดชอบ ทำการบ้าน ทำงานที่ได้รับมอบหมายโดยท่ี ผู้ปกครองไม่ตอ้ งคอยเตือน ชว่ ยทำงานบา้ น จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องเขยี นมาโรงเรยี นดว้ ยตนเอง และรจู้ ักการ ใช้ของอย่างรู้คณุ คา่ มากขึ้น 5.6 ผลทเ่ี กดิ กับครอบครัวของชมุ ชน ส่งผลใหช้ ุมชนและหน่วยงานภายนอกยอมรับในผลการดำเนินงาน ใหก้ ารชว่ ยเหลอื สนับสนุนท้ัง ด้านกำลงั ใจ กำลังทรัพยแ์ ละกำลังกายทกุ กิจกรรมที่มีโอกาส สนบั สนุนแหลง่ เรยี นรู้ เพอ่ื เพมิ่ พูนความรู้ แก่ครู และนักเรียนอยา่ งสม่ำเสมอ 6. ปัจจยั ทีน่ ำไปสคู่ วามสำเร็จ 6.1 ผ้บู รหิ ารมีวิสยั ทศั น์ ให้การสนบั สนุนการจัดการเรยี นการสอนในทุกรูปแบบ 6.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีเป้าหมายที่ชัดเจน มีวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้โดยมีความรู้ อยา่ ง กว้างขวาง มีความสามารถ ในการพฒั นานวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน 6.3 ระบบบริหารจดั การ โดยมีการจัดการเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ มีการ ปรับปรงุ อยา่ งต่อเน่ือง เน้นการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ การเปดิ โอกาสใหบ้ ุคลากรมีสว่ นรว่ มในการ ปฏิบัติงาน และการจดั สภาพการเรียนรู้โดยมีการปรับปรงุ ยทุ ธศาสตร์การจดั การเรียนการสอน และการจัด บรรยากาศที่ เออื้ ตอ่ การเรียนรู้ 6.4 นวัตกรรมและเทคโนโลยที ีใ่ ชใ้ นการบริหารและการเรยี นการสอน 6.5 หลักสูตรของโรงเรียน มีลักษณะที่ยืดหยุ่น สอดคล้องตามสถานการณ์และส่งเสริมการ เรียนรู้ อย่างหลากหลาย 6.6. การมสี ว่ นรว่ มของเครอื ข่ายสถานศกึ ษา ได้แก่ ผ้ปู กครอง ชุมชน หนว่ ยงานทางการศึกษา จาก การกำหนดแนวทางการพัฒนาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต2 เป็นไปในทิศทาง เดียวกันทั้งระบบ เพราะกลยุทธ์ส่งผลกระทบตอ่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถเลือกปรับและบูรณา การแนวพฒั นาตามบริบท สภาพสังคม ขอ้ มลู และจดุ เน้นแตล่ ะปีให้เปน็ องค์รวมโดยยึดผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง ใช้โรงเรียนเป็นฐาน เน้นการมีส่วนร่วมเป็นแรงผลักดันที่สำคัญ มีเครือข่าย และทีมงาน เป็นปัจจัยหลักที่จะ ชว่ ยใหเ้ กดิ กําลังพฒั นาอย่างต่อเน่อื ง ยั่งยนื

7. บทเรียนทีไ่ ดร้ บั ( Lesson Learn) สิ่งที่ได้จากรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทางไกล ด้วย JANE Model พบว่าการดำเนินงานด้าน การพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน ทง้ั ด้านผลสมั ฤทธิแ์ ละคุณลักษณะอันพึงประสงคเ์ กดิ จากตามกระบวนการ จดั การเรียนการสอนทีส่ รา้ งความคดิ รวบยอด มีการเช่อื มต่อด้วยระบบเครือข่าย ในห้องเรียนเสมือน ตามความ พร้อมของแต่ละบุคคล ที่มีพัฒนาการอย่างน่าชื่นชม จึงจะนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายได้เรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทางไกล พฒั นาผูเ้ รียนให้เปน็ ผทู้ ีส่ มบรู ณ์ทง้ั รา่ งกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ให้มีความรับผิดชอบตนเอง ครอบครัว และสังคม มจี ิตใจโอบอ้อมอารี อยู่รว่ มผู้อื่นอย่างมี ความสุข มีทักษะใน การดำเนินชีวิต รู้จักประหยัด มีทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ใน การประกอบอาชีพใน อนาคต รู้จัก คิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาเป็น ความสำเร็จของโครงการที่ดีนั้น ต้องมีความยั่งยืน ต่อเนื่อง ให้ประโยชนต์ ่อนักเรยี น ชุมชนและเกิดจากความร่วมมือกันของหลาย ๆ ฝ่าย 8. การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรบั ช่องทางการเผยแพร่ มีการประชาสัมพันธ์การปฏบิ ัติงานให้ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรที่เกี่ยวข้องได้ทราบเพ่ือให้เกดิ ความ รว่ มมือ ในการจดั การเรยี นการสอนใหก้ ับนกั เรียน ดังนี้ 1. จัดประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผลงานทั้งจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV ประชาสมั พันธ์วารสาร Facebook ของโรงเรยี น Line กล่มุ ห้องเรยี น 9. เง่ือนไขความสำเรจ็ สำหรับเงื่อนไขความสำเร็จของการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV โดยใช้กลยุทธิ์ JANE MODEL เป็นความรว่ มมือกนั ในการพฒั นาคุณภาพเกดิ ขึ้นกับนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็น รูปธรรม โดยนำกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย มาใช้ในการดำเนินการ ผู้บริหารและครูได้ประชุมร่วมกัน เพื่อวางแผนการพัฒนางานผา่ นกระบวนการ PLC ใช้กระบวนการ TEAMWIN ในการทำงาน ช่วยเหลือซึง่ กัน และกัน ประเด็นปัญหาใดที่ตอ้ งการความชว่ ยเหลือ ก็จะมีผู้บริหาร คณะครูที่คอยให้คำปรึกษา จำทำให้งาน ประสบผลสำเร็จ

ภาคผนวก

กจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอน วชิ า เทคโนโลยีวทิ ยาการคำนวณ

รบั แบบฝกึ ทกั ษะ การเรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม DLTV

การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม DLTV

การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม DLTV

การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม DLTV




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook