Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานเรื่องเตหน่ากู

รายงานเรื่องเตหน่ากู

Published by พุท, 2023-08-22 02:27:12

Description: รายงานเรื่องเตหน่ากู

Search

Read the Text Version

รายงานการศึกษาค้นคว้า เรื่อง เครื่องเล่นดนตรีเตหน่ากู พิณโบราณชาวปกาเกอะญอ เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาโรช สอาดเอี่ยม จัดทำ โดย พระพุทธิพล เก่งไฉไล รหัสนักศึกษา ๖๔๑๐๕๔๐๑๑๑๐๐๑ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า รหัส GE๔๐๐๕ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๖ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา



รายงานการศึกษาค้นคว้า เรื่อง เครื่องเล่นดนตรีเตหน่ากู พิณโบราณชาวปกาเกอะญอ เสน อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาโรช สอาดเอี่ยม จัดท ำโดย พระพุทธิพล เก่งไฉไล รหัสนักศึกษา ๖๔๑๐๕๔๐๑๑๑๐๐๑ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า รหัส GE๔๐๐๕ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๖ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา

ก คำนำ รายงานเล่มนีเ้ ป็นสว่ นหนึง่ ของ วชิ า (GE๔๐๐๕) รายงานนเ้ี ปน็ สว่ นหนึง่ ของรายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื การศกึ ษาคน้ ควา้ สาขาวิชาเอกการสอนภาษาไทย ชนั้ ปที ี่ ๓ โดยมจี ุดประสงค์เพ่อื การศกึ ษาคน้ คว้าหาความรู้ ที่เกี่ยวกับเครือ่ งดนตรีเตหน่ากู พิณโบราณชาวปกาเกอะญอ เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้เครือ่ งดนตรี “เตหน่ากู” เตหน่ากู เป็นเครื่องดนตรีชิน้ หนึง่ ท่ใี ชส้ ง่ เสยี งเล่าขานถงึ วิถีของกลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ ่ามกลางขนุ เขาและป่าไม้ ซ่ึงมักจะ ถกู มองวา่ เป็น “คนอ่นื ” หรอื มกั ถกู นิยามโดยคนภายนอกวา่ “ด้อยพัฒนา” เสยี งของเตหนา่ กู บอกเล่าถึงการทำไร่ หมุนเวียนป่าไมแ้ ละสายน้ำท่ีหล่อเลี้ยงชีวิต การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชมุ ชน ความสูญเสียและความทุกข์ทาง สังคม เตหน่ากู จึงเป็นเครื่องดนตรีที่สะท้อนวิธีชีวิตของชาวปกาเกอะญอ และมีรูปร่างลักษณะที่โดดเด่น มี ท่วงทำนองดนตรีทแ่ี ตกตา่ งออกไปตามบริบททางของสังคม ซึ่งมีจงั หวะการเลน่ ทีเ่ นน้ ความสมั พันธก์ ับผู้ฟัง ทำให้ เตหน่ากู เป็นเครื่องดนตรีทีม่ ีความนา่ สนใจในตัวเอง และถือเป็นเอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์ที่โดดเด่นของชาวปกา เกอะญอ เตหน่ากู ยังสามารถเล่นประสานได้อย่างกลมกลืนกับดนตรีสมัยใหม่ เหมือนกับอัตลักษณ์ของปกา เกอะญอ ที่ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสมัยนิยมอยา่ งระมัดระวังอยู่ตลอดเวลาต่อเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ สงั คมทมี่ ีอิทธิพลตอ่ ดนตรี และการผลิตสร้างดนตรขี องกลุม่ ชาติพันธ์ุ ดังนั้นดนตรี จึงเป็นผลติ ผลทางประวัติศาสตรแ์ ละสงั คมเป็นเสมอื นตัวบท หรอื หลักฐานท่ีช่วยให้เราอ่าน และตีความ เข้าใจชาติพันธุ์สมั พันธ์ ภายใต้บริบททางประวัติศาสตร์ ระดับความสัมพันธ์ใกลช้ ิดกับโลกภายนอก เรือ่ งราวหรอื เหตกุ ารณ์ท่ีเกิดข้ึนในท้องถ่ิน ระบบคา่ นยิ ม ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป ความผดิ หวังและความหวงั ความทุกข์ และความเงียบงนั ที่ไม่อาจจะอธิบายได้ดว้ ยการสื่อสารผ่านภาษาพดู และเขียนเสมอไป ขณะเดียวกันดนตรีชาติ พันธุ์ก็มีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมและในสังคม ดนตรีช่วยปลุกเร้าให้ผู้คนในกลุ่มชาติพันธุ์ได้มีสำนึกร่วมทาง ประวัติศาสตร์ และอัตลักษณ์ของกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ ยำ้ เตอื นใหห้ วนระลึกถงึ คณุ คา่ และวถิ ีชีวติ เดิมทกี่ ำลงั เปล่ียนแปลง ไป รวมทง้ั ทวงถามสทิ ธิและศกั ดิศ์ รขี องชาตพิ นั ธุ์ที่ถกู ริดรอนและเบยี ดขับ เตหน่ากู ในฐานะดนตรชี าติพันธ์ุจึงแยก ไมอ่ อกจากกระบวนการผลิตสร้างอัตลักษณ์ของกลุ่มชาตพิ นั ธุ์ในกระแสการเปล่ียนแปลงท่ี มผี ลกระทบต่อวิถีชีวิต และวฒั นธรรม และมอี ิทธพิ ลตอ่ การสรา้ งจิตสำนกึ ทางชาติพันธ์ปุ กาเกอะญอทค่ี วรแกก่ ารตดิ ตามศกึ ษายิ่ง ขอขอบพระคุณ อาจารย์ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาโรช สะอาดเอี่ยม อาจารย์ประจำรายวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า ผู้ให้ความรู้แนวทางในการศึกษา และขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายท่ี สนับสนุน ช่วยเหลือ และให้กำลังใจ จนผลงานประสบผลสำเร็จในครั้งนี้ และขอยกคุณงามความดี จงมีแก่ บูรพาจารย์ บรรพบุรุษผูใ้ ห้ความรู้ วิชาภาษาไทยทุกท่าน และทา้ ยน้ี หวังวา่ รายงานเล่มนจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ และให้ ความรู้ พอทีจ่ ะเป็นเนอ้ื หาประดบั สติปญั ญาแกท่ า่ นผู้อา่ นไม่มากก็น้อย พระพทุ ธพิ ล เกง่ ไฉไล ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๖

ข สารบญั หนา้ ก เรอื่ ง ข คำนำ ๑-๕ สารบัญ ๖-๘ ๑.ความเปน็ มาดนตรชี าตพิ นั ธ์ุ ๘ ๒.กําเนิดเตหน่ากู ๑๗ ๑๗ ๑.๑ กาํ เนดิ บทเพลง เตหน่ากู ๑๘ ๑.๒ ลักษณะกายภาพของเตหนา่ กู ๑๙ ๑.๓ การทาํ เตหน่ากู ๒๐ ๓.การต้ังสายเตหนา่ กู แบบเมเจอร์ สเกล (Major Scale) ๒๑ ๑.๑ วธิ กี ารฝึกบรรเลงเตหน่ากู ๒๒ ๑.๒ การกําหนดนวิ้ ใหเ้ ปน็ มาตรฐาน มือขวาจะดดี ทาํ นองหรอื คอรด์ (วิธฝี ึกร้องเพลงเพลงเตหน่า) ๒๒ ๔.ธาทีพ่ ดู ถึงเตหนา่ กู ๒๒ ๑.๑ ขอ้ หา้ มการทำเตหน่ากู ๑.๒ เพลง ใจสั่งมา (เสก โลโซ) Cover Deepunu เตหนา่ กูเวอร์ชัน่ (สแกนเข้าชมได้) ๑.๓ เพลง ปวากะญอกม็ หัวใจ- Chi Suwichan เตหน่ากูเวอร์ชั่น (สแกนเขา้ ชมได)้ บรรณานกุ รม ประวัติผู้เขียน

๑ ความเปน็ มา ดนตรีชาติพันธุ์ คือ ดนตรีดึกดำบรรพ์ของสุวรรณภูมิ นับเป็น “บรรพสังคตี ” ของดนตรีสุวรรณภูมิ ทกุ วนั นี้ ซ่งึ มดี นตรไี ทย เปน็ ส่วนหนงึ่ ของความเปน็ สวุ รรณภมู ิอย่างแยกกนั ไมไ่ ด้ ดนตรีไทย มรี ากเหง้าเกา่ แก่ อยู่ในอุษาคเนย์ราว ๕,๐๐๐ ปี มาแล้ว เป็น “วัฒนธรรมร่วม” ของดนตรีสุวรรณภูมิบนผืนแผ่น ดินใหญ่ อุษาคเนย์ ดนตรีไทยกับดนตรีสุวรรณภูมิเป็นดนตรีเดียวกัน มีความเป็นมายาวนานร่วมกันอย่างแยกไม่ได้ เชน่ เดยี วกับดินแดนและ ผคู้ นในประเทศไทย มีพฒั นาการเปน็ อนั หน่ึงอนั เดยี วกนั กบั ดนิ แดนและผ้คู นสุวรรณ ภมู ิ รวมท้งั บรรพชนคนไทยกับประวตั ศิ าสตรไ์ ทย นบั เปน็ ส่วนหนึง่ อยา่ งแยกไม่ไดจ้ ากบรรพชนคนสุวรรณภูมิ และ ประวัติศาสตร์สุวรรณภูมิ เหตุที่ทุกวนั น้ตี อ้ งแยกกนั มาจากยคุ ล่าอาณานคิ มเมอ่ื ๑๐๐ ปที ี่แล้ว ( ตรงกับ แผ่นดินรัชกาลท่ี ๔, ๕ ) กระทงั่ สงครามโลกครั้งท่ีสองราว ๖๐ ปีทแ่ี ล้ว ทำให้เกิดเส้นกั้นอาณาเขตแบ่งแต่ละ ประเทศออกจากกัน แลว้ ตดั ขาดความสัมพันธ์แบบเครอื ญาตทิ ่ี เคยมีตัง้ แตห่ ลายพันปมี าแล้ว สว่ นพน้ื ฐานทาง สังคมวัฒนธรรม ยังสืบเนื่องคล้ายคลึงกัน ที่ว่าดนตรีชาติพันธุ์เป็น “บรรพสังคีต” ของดนตรีไทย และงาน ดนตรีสุวรรณภูมิ มีตัวอย่างสำคัญอยู่ในเรื่อง น้ำเต้า ให้กำเนิดคนและเครื่องดนตรี น้ำเต้า น้ำเต้าทั่วไป มี รปู ทรงกลมป่อง แต่คอดตรงกลาง ดแู ล้ว เหมอื นท้องแม่ใกลค้ ลอดลกู น้ำเต้ามเี มลด็ มากอยู่ข้างใน ถ้าแม่มีลูก มากเหมอื นเมล็ดนำ้ เตา้ จะทำมาหากนิ ได้ผลผลติ มาก เพราะมีลกู ชว่ ยทำ ลูกน้ำเต้ามรี ูปตา่ ง ๆ หลากหลาย มี ทั้งกลมกันแป้น ตั้งกับ พื้นได้ มีคอคอด หรือไม่มีก็ได้ จนถึงมีรูปทรงรีหรอื ยาว และมีเมล็ด มาก เมื่อแห้งผิว กร้านแขง็ นํา้ เตา้ แห้ง มีพ้นื ทข่ี า้ งในกว้าง ใสน่ ้ำไปกินเม่ือเดนิ ทางไกล ได้ ( โบราณวา่ ใครกินน้ำในน้ำเต้าทุกวัน จะมอี ายุยนื ยาว ) ใส่ของ สำคญั บางอย่างกไ็ ด้ เชน่ เมล็ดพนั ธุ์พืช ฯลฯ บางกลุ่มชาตพิ ันธุ์ แขวนหรอื วางน้ำเต้า แห้งไว้ในบ้าน เป็นเครื่องรางป้องกันผีร้าย โรคภัยไข้เจ็บ ภาชนะดินเผายุคแรกๆทำเลียนแบบรูปทรงนำ้ เตา้ แล้ว สง่ อทิ ธพิ ลใหภ้ าชนะหล่อด้วยสำริดทำตามกำเนดิ คนจากน้ำเต้านม สามัญชนชาวบ้าน เชื่อว่าคนท้ังสุวรรณภูมิในอุษาคเนย์เกิด จากน้ำเต้าปุง (ปุง หมายถึง ภาชนะใส่ ของ ) เปน็ พ่นี ้องทอ้ ง ( น้ำเตา้ กุง้ ) เดยี วกนั ๕ คน สองคนแรกออกมาก่อนเป็น ขา้ สามคนหลัง ออกตามมา เป็น ไทย ( หมายถึงไมเ่ ปน็ ข้า ) ท้งั หมดล้วนเปน็ ไพร่ ของผู้เป็นนาย ความเชือ่ ของสามญั ชนยคุ ดึกดำบรรพ์ ว่า คน ๕ จำพวก เกิดจากน้ำเต้าถุงเดียวกนั ย่อมเป็นเครือญาติพี่น้องท้องเดียวกัน เหมือนคนที่เกิดจากทอ้ งแม่ เดียวกัน คน ๕ จำพวก เป็นสัญลักษณ์ ของชาติพันธุ์ในภูมิภาคอุษาคเนย์ ทั้งผืนแผ่นดินใหญ่ แม่น้ำลำคลอง กบั ชายฝัง่ ทะเลและหมเู่ กาะ ไดแ้ ก่ คนในตระกลู มอญ-เขมร ตระกลู มาเลย์-จาม หรอื ชวา-มลายู ตระกูลมงั -เย้า ตระกูลไทย- ลาว-เวียดนาม ฯลฯ เรื่องนี้อาจอธิบายความหมายเป็นตระกูลอื่น ต่างไปก็ได้ ไม่จำเป็นต้อง ตรงกัน แต่ที่ไม่ขดั กัน คือเมื่อมพี ัฒนาการ เติบโตเป็นบ้านเมืองและรัฐ ส่งผลให้มีความสัมพนั ธ์ทางการเมือง แบบเครอื ญาติ เปน็ บ้านพี่เมอื งน้อง เหน็ ได้จากกษัตริยล์ ้วน เป็นเครอื ญาตใิ กลช้ ดิ บ้าง ห่าง ๆ บา้ ง เชน่ อยุธยา

๒ สุโขทัย หลวงพระบาง เวียงจันทน์ นครวัด นครธม เวียดนาม หงสาวดี ฯลฯ รวมทั้ง นครศรีธรรมราช และ มลายปู ตั ตานี เปน็ ต้น ดนตรีชาติพันธุ์ “บรรพสังคีต” ดนตรีไทยในสุวรรณภูมิเข้าไปอยู่ ในโรงเรียน สถานศึกษา หรือใน มหาวิทยาลัย มีเหตจุ าก “วิถีคิด” ทางประวัติศาสตร์แห่งชาติของไทย ที่ล้าหลัง คลั่งเช้ือชาติ ประวัติศาสตร์ แหง่ ชาตขิ องไทยท่ีใช้เรียน ใช้สอนทงั้ ประเทศ มานานเกือบร้อยปี แล้วยังใชอ้ ยูท่ ุกวนั นี้เปน็ ประวัติศาสตร์ของ ราชสำนักลุ่มน้ำเจ้าพระยา ภาคกลางเทา่ นัน้ โดยมขี อบเขตเหนือ สดุ อยบู่ ริเวณกล่มุ สุโขทัย และใต้สุดบริเวณ กลุ่มเพชรบุรี ดนตรีแห่งชาติของไทย หรอื ดนตรีไทย กม็ ขี อบเขตตาม ทป่ี ระวตั ิศาสตรฯ์ กำหนด คอื หมายถึง ดนตรีในราชสำนักลุ่มน้ำ เจ้าพระยา ภาคกลาง อันมี มโหรี ปี่พาทย์ เครื่องสาย เป็นสำคัญ ไม่มีอย่างอืน่ อกี ราชการจดั ให้ดนตรีอย่างอื่น เป็นดนตรพี ื้นเมอื ง หมายถงึ ไมใ่ ช่ดนตรีไทย ไดแ้ ก่ สะลอ้ ซอซึง ของลุ่มน้ำปิง-วัง และกก-อิง ในล้านนาโยนก แคน และกนั ตรมึ ของลุ่มนำ้ โขง-ช-ี มลู ในภาค อสี าน โนรากาหลง ของภาคใต้ แต่ ยอมยกดนตรีมอญ เพราะ ราชสำนักยกย่องปี่พาทยม์ อญ เมื่อดนตรีชาติพันธุ์ไม่ถูกยกเป็นดนตรีไทย ก็ไม่มี ฐานะ ทางสังคมวัฒนธรรมสูงพอที่จะรับเข้าสถาบันการศึกษาอย่างเป็นทางการ ดนตรีชาติพนั ธุจ์ ึงมีฐานะต่ำ กว่าดนตรีพ้ืนเมอื ง หรอื อย่างมากก็เทา่ กันกับดนตรีพ้นื เมือง ซง่ึ ไม่มีฐานะทางสังคมสูงพอจะรับ เข้าสถาบันฯ ทางออกเรื่องนี้ ในเบื้องต้นสถาบันที่มีการเรียนการสอน ดนตรีไทยระดับมหาวิทยาลัยต้องศึกษาวิจัยเรื่อง “ดนตรีไทย” ในมุมกว้าง มองทั้งภมู ิภาคสุวรรณภูมิในอุษาคเนย์ แล้วแบ่งปัน เผยแพร่ความจริงให้เปน็ ที่รบั รู้ กว้างขวางสมำ่ เสมอจนเปน็ ที่ยอมรบั แลว้ แกไ้ ขขอ้ บกพร่องให้ถูกต้องเป็นธรรม และนอกจากน้ีวัฒนธรรมดนตรี ของชาวกะเหรีย่ งทมี่ อี ยู่ ชมุ ชนควรมีความร่วมมือ ระหว่างสถานประกอบการ หนว่ ยงานรฐั และโรงเรยี น ท้ัง สามทจ่ี ะตอ้ งให้ความร่วมมือเพอื่ ให้เคร่อื งดนตรีเตหน่ากู มเี วทสี ำหรบั การแสดงในฐานะเครอ่ื งดนตรีชาติพันธ์ุ ของชาวกะเหรี่ยงที่มีศักยภาพเหมือนเครื่องดนตรีอื่น ๆ รวมทั้งเพื่อให้เยาวชน เห็นคุณค่าของเครื่องดนตรี ประจำชาตพิ ันธ์ขุ องตนเอง ดนตรี เปน็ เอกลกั ษณ์ที่บ่งบอกชาติพนั ธุ์และความร่งุ เรืองของมนษุ ยไ์ ดเ้ ป็นอย่างดี ความมีอารยธรรม ของแต่ละสังคม จะต้องมีดนตรีเข้าไปมอี งค์ประกอบรว่ มกันเสมอ การแสดงออกทางดนตรจี ึงเป็นสิ่งที่คนใน สงั คมสร้างสรรคข์ ึ้นมา เพือ่ การบนั เทิงหรือเพอ่ื ใช้ประกอบในพิธีกรรม กะเหรยี่ ง เป็นชื่อที่คนท่ัวไปใชเ้ รียกกลุ่ม ชนชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่หนาแน่นในเขตบริเวณภาคเหนือและ ภาคตะวันตกของประเทศไทย “กะเหรยี่ ง” หมายถงึ “ดกึ ดำบรรพ์” มีชนเผ่ากะเหรี่ยงกลมุ่ หนง่ึ ท่ีเรยี กตนเองว่า “ปกาเกอะญอ” ซ่ึงแปลว่า “คน” ชาวปกาเกอะญอเป็นกลมุ่ ชนชาตพิ ันธุ์หนง่ึ ทีม่ ีประวัตคิ วามเป็นมาทีย่ าวนาน และมปี ระเพณีวัฒนธรรม ท่หี ลากหลายมารวมกัน (ลักษณะกะเหรย่ี งในประเทศไทย, ม.ป.ป.) เตหนา่ กู เปน็ วัฒนธรรมดนตรีของชาวปกาเกอะญอที่ได้สืบทอดกันโดยการจดจำตอ่ กันมาจากรุ่นสู่รุ่น โดยการเรยี นรู้ ผ่านระบบการฟัง การปฏิบัติและการนำไปบรรเลง เตหน่ากเู ป็นเครื่องดนตรที ก่ี ำลังจะสูญหาย เนือ่ งจากวฒั นธรรมดนตรี จากภายนอก การใชซ้ ีดจี ากเพลงสตรงิ เพลงลูกทุง่ เปดิ ในงานเทศกาลประเพณีแทน

๓ การใช้เครื่องดนตรีเตหน่ากู ทำให้เตหน่าก ถูกลด บทบาทลง จงึ ตอ้ งมกี ารปรับประยกุ ต์และการอนุรักษ์ เพื่อให้เตหน่ากูได้ดำรงอยู่ในวัฒนธรรมดนตรีของ ชาวปกาเกอะญอเอง เตหนา่ กู เปน็ เครือ่ งดนตรขี องกลุ่มชาตพิ ันธ์ุปกาเกอญอ ถา้ จำแนกตามระบบการจำแนกเคร่ืองดนตรี ของ Hornbostel-Sachs จดั ว่าอยใู่ นกลมุ่ เคร่ืองดนตรีท่เี สยี งเกดิ จากสาย (Chordophones) ประเภทพิณคอ โค้ง (Arched Harp) คือเป็นเครื่องสายประเภท เครื่องดดี (pluck-stringed) ที่สายข้างหนึ่งยึดตรึงกับกล่อง เสียง (soundbox) สายอีกข้างหน่งึ ถูกตรงึ กับคอ (neck) ทม่ี ีรปู โคง้ คอ ยึดติดโดยตรงกับกลอ่ งเสยี ง รูป ๑ เครอ่ื งดนตรีกลมุ่ เครอ่ื งสายที่ผลิตเสียงจากการดีด ตามระบบการ จำแนกเครอื่ งดนตรีของ Hornbostel- Sachs (Dournon, ๑๙๙๒)

๔ สายของเตหน่ากู เดิมทำจากพืชตระกูลเถาวัลย์ รากกล้วย หรือหวาย ต่อมาได้มกี ารพฒั นามาใช้เอน็ สตั ว์ กอ่ นจะพัฒนามาใช้ สายเอ็นเบ็ดตกปลา และสายเบรกรถจักรยานในที่สุด กล่องเสียง ของเตหน่ากู มักทำจากไมท้ เ่ี นือ้ ไม่แข็งไมอ่ ่อนจน เกินไปขุดขึ้นรูป จนรปู รา่ งคล้ายเรอื จากนั้นจงึ ปดิ ดา้ นบนดว้ ยแผน่ สังกะสจี ากใบใส่ ขนม หรอื บบี น้ำมันกา๊ ด ดา้ นที่คลา้ ยหวั เรือตอ่ กับ คอ ที่ทำจากไม้ เน้อื แขง็ รูปโคง้ ที่คอเจาะรเู พ่อื ใสล่ ูกบิดทม่ี ักท้าจาก ไม้ไผ่แก่ เครื่อง ดนตรีตระกูลพิณคอโค้งทุกชนิดที่พบในปัจจุบัน มีจำนวนสาย มากกว่าหนึ่งสาย แต่ละสายถูกยึดตรึงให้ขนานกันไป สายแต่ละ สายถกู เทียบเสยี งเพ่ือให้ผลิตเสียงเพียงเสยี งเดียว ดังนั้น จำนวนเสยี งท่ีเครื่องดนตรีแต่ละเครือ่ งผลิตเสยี งออกมาได้ จึงข้ึน อยกู่ บั จำนวนสายของเคร่ือง ดนตรีตัวน้ัน ในกรณีของเตหน่ากู โดย ทั่วไปมสี ายตั้งแต่ ๖ สายขึ้นไป เครื่องดนตรีตระกูลพิณคอโค้งนี้ เป็น เครื่องดนตรีที่พบได้ ทั่วไปในกลุ่มอารยธรรมเก่าแก่ของโลก เช่น ในประเทศเคนยา ยูกันดา อียิปต์ อินเดีย พมา่ และในหมู่เกาะบอรเ์ นียว รปู ๒ เครื่องดนตรีพณิ คอโคง้ จากแหล่งอารยธรรมตา่ งๆ (The Diagram Group, ๑๙๙๗)

๕ ในเอเชีย ปรากฏหลักฐานการใช้พิณคอโค้งเป็นรูปนักดนตรี กำลังบรรเลงพิณบนงาน ประติมากรรมดินเผา (terra cotta) ในประเทศอินเดีย ในสมัยคปุ ตะ (ศตวรรษที่ ๔-๖) รปู ๓ ประตมิ ากรรมดินเผารูปนกั ดนตรบี รรเลงพิณคอโค้ง ในสมัยคุปตะ ( Knight, ๑๙๘๕ ) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลักฐานการใช้พิณคอโค้งที่ ชัดเจนที่สุด เป็นงานประตมิ ากรรมนูนตำ่ ท่ี สลักบนบายน ปราสาทนครทม รูป ๔ ภาพสลกั นนู ตำ่ รปู นัก ดนตรบี รรเลงพิณคอโคง้ ที่ปราสาทนคร หม (Morton, ๑๙๗๖) ในปจั จุบนั พิณคอโค้งท่ี เปน็ ที่รจู้ กั กันมากที่สดุ ในเอเชียคอื ซาวก็ก๊อก (saung-guak) ซึง่ ถอื เป็น เคร่อื งดนตรปี ระจำชาตขิ อง ประเทศสาธารณรฐั แห่งสหภาพ พม่า เปน็ ตน้

๖ กาํ เนดิ เตหน่ากู ค่ำคนื กลางดกึ ในชมุ ชนบ้านป่า ผู้คนต่างพกั ผอ่ นหลังจากการทำงานเหน็ดเหน่ือยมาทั้งวัน นอกจาก เสียงจิง้ หรีดรอ้ งเรยี กหาคู่ แล้ว นาน ๆ นกกลางคืนจะสง่ เสยี งทหี น่ึง ความเงยี บใดท้ าํ หน้าที่ ณ หมู่บ้านกลาง ไพรให้หลับนอนอีกครั้ง ณ บา้ นเลก็ ๆ หลังหนง่ึ ข้างเตาไฟมสี องพอ่ ลูกคู่หนึ่งยัง น่งั เล่นเตหน่ากู ท่ามกลาง ความเงยี บ เล่นกนั เงียบ ๆ คุยกันเงียบ ๆ พ่อสอนลูกเรียน ลูกถามพ่อตอบ มนั คอื บ้านท่ีเหมอื นห้องเรยี น “เตหนา่ กู มคี วามเปน็ มาอย่างไรครบั พ่อ?” ลูกถาม “พอ่ เองก็ไมร่ เู้ หมอื นกนั เพราะพ่อเกิดมาก็เห็น คนเล่น กันนานแล้ว พ่อเคยได้ยินคนเฒ่าคนแก่เล่าให้ฟัง ถ้าลูกอยากฟัง ต้องต้มน้ำชาให้พ่อดื่มสักกาก่อน ไดม้ ย้ั ” ลูกชายรบี จดั แจงตามท่พี ่อตอ้ งการ การดื่มชาจะทำให้ผ้ดู ืม่ สามารถตอ่ สกู้ ับความง่วงได้ดีพอสมควร พ่อเกรงวา่ ลูกชายจะงว่ ง ก่อนเรอ่ื ง เตหน่ากู จะจบ จงึ ใหล้ ูกชายตม้ ชาด่ืมดว้ ยกนั และอกี อยา่ ง การดม่ื ชารอ้ น ๆ เป็นการเพิม่ ความอบอุน่ แกร่ า่ งกายในการโตก้ ับลม เย็นหนาวแห่งดอยสูง พ่อเล่าตอ่ ว่า ก่อนโน้นคนเฒ่าคน แก่ ปวาเกอะญอเล่าว่า คนปวาเก่อญอ มีวิถีชีวิตผูกพันกับการทำไร่หมุนเวียน คนที่เป็นเจ้า เมืองก็ต้องทำไร่ ชาวบ้าน ธรรมดากต็ อ้ งทำไร่ แม่หม้ายเด็กกำพรา้ ก็ตอ้ งทำไรก่ นั ท้งั น้นั การทำไรน่ ้นั ตอ้ งลอ้ มร้ัวเปน็ การกนั สตั ว์ป่า เช่น หมูปา่ ชา้ งป่า ควายปา่ เข้ามากนิ ขา้ วไร่ หลังจากฤดกู าลเก็บเก่ียว ก็จะนำไม้ที่ทำร้วั น้นั กลับไปทำเป็นฟืนใน การหงุ ต้มที่บ้าน ส่วนทอ่ น ไม้ใหญ่ ๆ ทไ่ี ม่สามารถเอากลับไปทีบ่ า้ นได้ก็จะเกบ็ ไว้ เมื่อถึงหนา้ ฝนอีกปีจะมีเหด็ ต่าง ๆ ขึ้นตามท่อนไม้เหล่านั้น อยู่มาปีหนึ่ง ก่อนท่ีฤดูกาลเก็บเกี่ยวจะมาถึง ในหมู่บ้าน ปกาเกอะญอ จะมี การมัดมือเอาฤกษ์เอาชัยก่อนจะลงมอื เกบ็ เกี่ยว ในพิธีกรรมมัดมือนั้นจะมีการตม้ เหล้า การทำขนม อาหาร ต่าง ๆ เพื่อใหผ้ ู้คนในหมู่บ้านได้ดื่มกินกัน ในวันดังกล่าว นอกจากการมัดมือ การดืม่ กินแล้วก็จะมีการส่อื ธา หรือขบั ขานลำน้ำของชนเผา่ ปกาเกอะญอ เสียงอ้อื ธาไดท้ ำใหห้ มู่บ้านตน่ื ข้ึนมาจากความเงยี บ ก่อนพธิ ีกรรม มดั มือในปนี ั้นจะมาถงึ ลูกสาวคนสดุ ทอ้ งของ เจ้าเมืองไดบ้ อกกับพอ่ ว่า ตนจะนอนพักผ่อนในวันเวลาดังกลา่ ว

๗ ตนจะไม่ยุ่งกับพิธีกรรมมัดมือปีน้ี ตนจะนอนพกั ผ่อนเก็บแรงไวใ้ ชใ้ น ฤดกู าลเก็บเกย่ี วที่จะมาถึงเรว็ ๆ นี้ ฝ่ายเจา้ เมืองคิดหนัก เพราะ พธิ กี รรมมดั มือน้นั ทกุ คนในครอบครวั และทุกคนในชุมชนต้องเขา้ รว่ ม ถ้าหาก ลกู สาวเจ้าเมอื งไม่เข้าร่วมกถ็ อื วา่ พิธกี รรมไม่เสรจ็ สมบูรณ์ เจา้ เมอื งและคนในเมือง ตา่ งรู้กิติศัพท์ เรื่องความ ด้ือของ ลกู สาวเจา้ เมืองคนสุดท้องดีว่า หากคดิ จะทำอะไรแล้ว ช้างกฉ็ ดุ ไม่ อยู่ เจา้ เมอื งจงึ ประกาศให้รู้ทั่วกัน ว่า ใครทีท่ ำใหล้ ูกสาวของตนตืน่ และเข้ารว่ มพิธมี ดั มอื ได้ ตนจะยกลกู สาวให้ และจะยกเมืองให้อกี คร่ึงหนง่ึ ผู้คนในเมืองตา่ งฮอื ฮาและพดู ถึงคำประกาศของเจา้ เมือง ท่ัวบา้ นท่วั เมอื ง แม้กระทั่งเด็กกำพร้าที่ไม่ คอ่ ยอยใู่ นหม่บู ้านก็ ยังได้รับรขู้ ่าวเก่ยี วกบั เรอ่ื งน้ี เด็กกำพร้าเคยเห็นลูกสาวเจ้าเมืองแต่ไกล ๆ เพยี งคร้ังเดียว เด็กกำพรา้ ยังไดย้ นิ ผู้คนต่างชื่นชมลูกสาวคนสุดทอ้ ง ของเจา้ เมอื งวา่ เป็นผหู้ ญงิ ท่ีรูปร่างหนา้ ตาดี น้ิวมอื เพรียว นิ้วเท้า แพรว ขนค้วิ โก่ง ขนตางอน ริมฝีปากสแี ดงดัง่ ปากนกแกว้ ยมิ้ ฟนั สวยเต็มเหมอื นเมล็ดข้าวโพดที่เต็ม อยู่ในฝัก ก้นใหญ่พองาม นมโต พอสวย ผมดำยาวสยายถึงก้น เด็กกำพร้ารู้ตัวดีว่า ตนไม่มีความสามารถ พอทจ่ี ะทำให้ ลกู สาวของเจ้าเมอื งเขา้ ร่วมพิธมี ดั มอื ได้ ในขณะที่ หนุ่ม ๆ ในเมือง ตา่ งเตรยี มตัวตา่ ง ๆ นานา เพ่ือจะโน้มนา้ วหรอื ดึงดูดใหล้ กู สาวเจา้ เมอื งเขา้ ร่วมพิธีนใ้ี ห้ได้ ฝ่ายเดก็ กำพรา้ ไม่กลา้ ที่จะไปรว่ มกจิ กกรรมใน บ้านเจา้ เมือง จงึ ไม่ได้วางแผนหรือเตรียมอะไร ทงั้ ท่ใี นใจกช็ อบ ลูกสาวเจ้าเมอื งเหมือนกัน ใจหนึ่งไม่กล้าไป ใจหนึง่ ก็อยากไป ชว่ งทีไ่ ตร่ตรองอยู่นัน้ เด็กกำพร้าไดห้ ยิบทอ่ นไมง้ อทอ่ นหน่ึงจากขา้ งรัว้ แลว้ ใชม้ ดี ฟันเล่น ๆ \"ไปหรือโมไปดีนะ” เด็กกำพร้าคิดในใจพร้อมกับฟินและ แกะและท่อนไม้ไป และเด็กกำพร้าก็สะดุดกับ รปู ทรงของ ทอ่ นไมท้ ี่ตนเองฟันนั้นมีรปู รา่ งโคง้ งอสวยดี มันเปน็ ทอ่ นไม้ใหญ่ กลวงมี กิ่งที่โค้งงอ “เป็นสิ่งมหัศจรรย์ดี ต้องทำอะไรเพิ่ม” เด็กกำพร้าคิดใน ใจ แล้วเด็ก กำพร้าจงึ เจาะรูตรงก่ิงท่อนไม้ท่ีโค้งงอนั้นแล้วนำกิง่ ไผ่ มาเสยี บในรูท่เี จาะ จากน้นั นำ หนังเก้งท่ียงิ ด้วยหนา้ ไมช้ ่วงแรกฝน มาปดิ ความกลวงของท่อนไม้ใหญ่ไว้ เด็กกำพร้า นำท่อนไม้ทีโ่ คง้ งอ น้ันต้ังไว้ท่ีขอนไม้แลว้ ยนื ดพู รอ้ มกับกล่าวในใจว่า “ทำยงั งยั กบั มนั ต่อดีนะ” เด็กกำพร้าคิดขณะเดินวนดูท่อน ไม้น้ี ทันใดนั้นเดก็ กำพรา้ เหลือบไปเห็น หญา้ ชนิดหนงึ่ ทล่ี กั ษณะ คลา้ ยเถาวัลย์ คนปกาเกอะญอเรยี กว่า “จอชอ่ื ” เดก็ กำพร้า จึงไป ดึงจอชื่อมาแล้วจึงเป็นสายระหว่างกิ่งไผ่กับหนังเก้งบนท่อนไม้ที่ แกะมา ท้ังหมด ๖ สาย

๘ ดัง่ คำธาของปกาเกอะญอกล่าวไวว้ ่า ๖ “เตหน่า อะ ปลี เลอ จอ ชื่อ เด เต๋อ หมึ เด ชี เด ซึ” แปลวา่ “ สายเตหน่า ทำมาจากจอช่อื หากเล่นแลว้ เพีย้ น ตอ้ งค่อยๆตั้งสาย” หลังจากนั้นเด็กกำพรา้ ทอ่ นไม้ โค้งงอนน้ั ไป วางไว้บนขอนไม้อีกคร้ังแล้วยืนดู “เอาไปทำอะไรดนี ะ” เดก็ กำพร้าครุ่นคิดขณะเดินวนรอบๆ ขอนไม้ เด็กกำพรา้ เดินเขา้ ไปใกล้ๆแล้ว เอาน้ิวแตะดูสายของมัน สองสาย “กรนู า” เดก็ กำพร้าตกใจมากท่มี ันมเี สียง จงึ เดินถอยออก มา แลว้ จ้องดมู ันด้วยใจสน่ั ไหว แต่เด็ก กำพรา้ กอ็ ดใจไม่ไหวจึงเข้าไป ใกลอ้ ีกคร้ังแล้วค่อยๆยนื่ มอื ไปแตะสายที่หน่งึ ดัง “กรู” ต่อจากนนั้ เล่ือนมือมา แตะสายท่สี องดัง “นา” เด็กกำพร้าเริ่มรูส้ ึกคุ้นเคยกบั เสียงที่ดังขึน้ ภายหลังการแตะสายหลายครง้ั ดังน้ันเด็ก กำพรา้ จงึ ค่อยๆแตะสายอื่นตอ่ ไปเร่ือย ๆ เสียงท่ีดังขึ้นมากม็ ีความแตกตา่ ง กันไป “เอาไปทำอะไรดนี ะ” เดก็ กำพร้าคดิ อีกขณะประคองมนั ขึ้น มาพร้อมกบั ลูบคลำด้วยความภมู ิใจ กําเนดิ บทเพลง เตหน่ากู เพลง กาํ เนดิ เตหนา่ กู เตหน่า อะ ปลี เลอ จอชอื่ ปกา เด เหม่ เซ เก่อ หนา่ หมี สายเตหน่าทำมาจากจอช่อื หากใครเล่นเปน็ ฟังแลว้ ไพเราะ (ธา: บทกวีของชนเผ่าปกาเกอะญอ พิธีมัดมือใกลเ้ ข้ามาทุกขณะ เจ้าเมอื งรอ้ นใจกลัวไม่มหี น่มุ ๆ คนใดในเมืองสามารถทำให้ธดิ าของตนต่ืนขนึ้ มาร่วมพธิ กี รรม มดั มอื ได้ ส่วนหนุ่มน้อยหน่มุ ใหญใ่ นเมืองตา่ งเตรยี มทเี ด็ดของตน ที่จะทำใหธ้ ดิ าเจา้ เมอื งต่ืนมา ร่วมงานใหไ้ ด้ เว้นแต่เด็กกำพรา้ ท่ี มวั แตเ่ ฝา้ ไรแ่ ละยุ่งอย่กู บั ทอ่ นไมท้ โ่ี คง้ งอของเขา “ เอาไปทำเป็นอุปกรณ์ทไ่ี ลส่ ตั ว์ ป่าน่าจะดี ” เดก็ กำพรา้ คิด ในใจพรอ้ มกับใช้นิ้วแตะสายของมนั ใหส้ ง่ เสียงดังเพ่อื ไล่สัตว์ปา่ “ ไม่ได้...เสียงมนั เบานุ่ม เสยี งมันไพเราะเกนิ ไปไมส่ ามารถ ไลส่ ัตว์ป่าได้ ” เขาครนุ่ คดิ ในใจเพือ่ หาทางใช้ประโยชน์จากเสยี ง ของมนั “ หรือ มนั จะเป็นแค่ท่อนไมง้ อทมี่ ีรูปทรงประหลาด ไม่มี ประโยชน์และความหมายอะไร” เขาวางท่อนไมท้ ่ีโคง้ งอนน้ั ลง ดงั สาํ นวนของปกาเกอะญอ ทว่ี า่ สุนขั เหน็ เต่า เห่าเต่าอยใู่ กล้ๆ แต่ไม่อาจกินเต่าได้ เดก็ กำพรา้ ไดแ้ ต่น่งั มองโดยทไี่ มร่ ู้ จะเอาไปทำ อะไร นั่งยอง ๆ กระพริบตาถี่ ๆ ขบคิดอยา่ งจรงิ จงั เขาคิด...คดิ จน หิวขา้ ว แต่กย็ ังคดิ ไมอ่ อกอยดู่ ี เขา จงึ ปล่อยใหม้ นั อยอู่ ย่างนน้ั เช่น เดยี วกับสนุ ขั ท่เี หน็ เตา่ อยใู่ กล้แค่เออื้ ม แตไ่ ม่สามารถใช้ประโยชน์ จากเต่าได้ แต่แล้ว

๙ เขากใ็ ช้นิว้ ดดี มนั อย่างตง้ั ใจอกี คร้ัง “ กรู-นา ” พลงั เสียงของมนั ทะลุเข้าสขู่ ั้วหัวใจของ เดก็ กำพร้า “เธอตอ้ งอยูก่ บั ฉัน ฉันจะแต่งเพลงใหเ้ ธอ เราต้องขับขาน ร่วมกนั ” เด็ก กำพรา้ ประคองท่อนไม้ทโี่ คง้ งอนั้นไว้และสญั ญากบั ตวั เองว่าจะไมป่ ล่อยเธอไปไหน อกี แลว้ เยอ เกอ่ เด นา เส่ เกะ กู มอ เนอ เกอ่ สอ่ ชื่อ กรู กรู ฉันจะดีดเธอท่อนไมท้ ี่โคง้ งอ ขอให้เธอส่งเสยี งกรูกรู เพลงบทแรกท่ีเดก็ กำพรา้ แตง่ ใหท้ ่อนไมท้ ีโ่ ค้งงอของเขา พรุง่ น้ีจะถึงพธิ ีมัดมอื แลว้ เด็กกำพรา้ ยังคงหมกมุน่ อยู่กับ การแต่งเพลงให้ทอ่ นไมท้ ี่โค้งงอของเขา แตใ่ นใจกค็ ิดถงึ รปู ร่าง หน้าตาของธิดาเจา้ เมอื งนดิ ๆ เชน่ กนั คืนนั้นกวา่ จะแตง่ เพลงเสร็จ ก็จวนเจยี นกบั เวลาท่ีไกข่ ันเรยี กคนให้ตน่ื อีกวนั แล้ว ในวนั งานพธิ มี ัดมือ ลกู สาวท้งั หกคนของเจา้ เมอื งตา่ งตนื่ ข้ึนมาตำข้าวหงุ ข้าวแต่เช้า ผ้คู นต่างมากันทบี่ ้าน เจ้าเมืองล้นหลาม แตเ่ ช้าเชน่ กนั แตล่ กู สาวคนสุดท้องของเจ้าเมืองยงั คงหลับพกั ผอ่ น เอาแรง ไมย่ อมตืน่ เจา้ เมืองเรมิ่ ใหห้ นมุ่ ๆ ทอ่ี าสาจะไปปลุกธดิ าคนสุดทอ้ งให้ตน่ื ขึน้ มารว่ มงาน ขบวนหนมุ่ ๆต่อควิ กันมายาว เหยียดกวา่ แม่น้ำเจ็ด สายมารวมกัน คนแรกเขา้ ไปตะโกนทหี่ ขู องธดิ าองคส์ ดุ ทอ้ งของเจ้าเมือง เขาตะโกนจนเสยี งแหบ แตเ่ ธอไมต่ น่ื คนแรกจึงเดินส่ายหัว ออก มา คนท่ีสองไปตีกลองขา้ งหู ตจี นมือบวมไปหมด แต่ เธอไม่ตนื่ คนทีส่ องจงึ เดนิ ส่ายหวั ออกมา คนท่สี ามไป กระทืบเทา้ เสียงดงั กระทืบ จนเทา้ เคล็ดไปหมด แตเ่ ธอไม่ ต่ืน คนทส่ี ามจงึ เดินสา่ ยหวั ออกมา ชาวหนุม่ คนแล้วคนเลา่ เดนิ สา่ ยหัวออกมาทกุ คน เจ้าเมือง ก็ส่ายหัวคร้งั แล้วครง้ั เล่า

๑๐ จนเวยี นหัวไปหมด กระทง่ั คนทเ่ี จ็ดร้อยซง่ึ เป็นชายหนมุ่ คนสุดท้ายในหมู่บา้ น เขาได้เอาครกกระเดอื่ งตำขา้ ว ไปต้ัง ไว้ข้างหู “คราวนีแ้ หละ ตนื่ แนน่ อน” ชาวบ้านต่างม่นั ใจอยา่ งน้ัน รวมท้ังชายคนน้ดี ว้ ย หน่มุ คนทีเ่ จด็ รอ้ ยเริม่ เหยยี บ ครกตำขา้ ว เหยยี บคร้ังที่หน่งึ บ้านสะเทอื นไปท้งั หลัง เหยียบคร้ังท่ีสองไม้ทท่ี ำโครงบา้ นหักไป หนง่ึ อัน เหยียบครง้ั ที่ สาม เสาบ้านโยกไปหนึ่งต้น ธดิ าเจ้าเมืองขยับ ตวั นิดหน่อย ทำให้ชาวบา้ นท่ีเฝา้ ดูอยู่มคี วามหวัง จงึ ต่างส่งเสยี ง รอ้ ง ออกมา แตช่ าวบ้านก็ตอ้ งผดิ หวงั ธดิ าเจ้าเมืองเพียงแต่ขยับตวั เทา่ นั้นแลว้ ก็หลบั ตอ่ ชายหนมุ่ คนท่เี จ็ดรอ้ ยโหม เหยยี บเตม็ ที่ แต่ไม่ ว่าจะพยายามขนาดไหนเธอกไ็ มย่ อมต่ืน จนชายหนมุ่ ทำทา่ จะหยุด เหยยี บครกกระเดื่องเพราะ หมดแรงแล้ว “อกี นิดหนงึ่ เด๋ยี วกต็ ื่นแล้ว พยายามหนอ่ ย” ชาวบา้ น พยายามเอาใจชว่ ย ไม่อยากใหห้ ยุด ชายหน่มุ เหยียบต่อ จากเทา้ ขวาเปลี่ยนมาเปน็ เทา้ ซ้าย จากเท้าซ้ายเปลยี่ นเป็นเทา้ ขวา เป็น อย่างน้ีเร่อื ย ๆ จนในท่สี ดุ เทา้ ของชายหนุ่มคนนเี้ คล็ดทง้ั สอง ขา้ ง มอี าการบวมจนไมส่ ามารถเดนิ และยนื ได้ ชายหนมุ่ ลม้ ทัง้ ยนื ชาวบา้ นต้อง ช่วยกันประคองและปฐมพยาบาล โหมด เจ้าเมอื งตอ้ งคอตกเพราะลูกสาวคนสดุ ทอ้ งยังไมย่ อมตน่ื “ มชี ายหนุ่มในเมืองหลงเหลอื อีกมยั้ ” เจา้ เมอื งประกาศหา คนทีจ่ ะมาปลุกลกู สาวของตน แต่ชายหนมุ่ ใน เมืองไดม้ าร่วมพิธีน้ี กนั หมดแล้ว จึงไม่มใี ครอาสามาอกี เลย จนในทสี่ ุด “ ยังมีอกี คนหน่งึ ครบั ลุงเจา้ เมอื ง ” ใครคนหนงึ่ เอ่ยออกมา “ ใคร มันอยไู่ หน ไปเรยี กมาเร็ว ” เจ้าเมอื ง ถามหาใครคนน้ัน “เจา้ เดก็ กำพร้าครับ มนั อยูใ่ นไร่โน้น” เมอ่ื ชายคนนี้พดู จบ ชาวบ้านทกุ คนตา่ งมองเขาด้วยสายตา เขม่น “ถ้าเป็นเดก็ กำพร้าไมต่ ้องใหม้ ากไ็ ด้ ถงึ มาก็ไมม่ ีความหมาย หรอก” ชาวบา้ นตา่ งบอกกบั เจ้าเมือง แต่กไ็ มม่ ี ใครคิดหาทางออกได้ ทำให้เจ้าเมอื งกลุ้มมาก เจ้าเมืองคิดแล้วคดิ อีก ไมร่ ู้จะทำเช่นไร จงึ บอกบริวารของตนว่า “ไหน ๆ กเ็ หลอื คนเดยี วแลว้ ลองไปเรยี กมนั มาชิ” บริวาร เจ้าเมอื งจึงไปเรียกเด็กกำพร้ามา ณ ไรข่ องเด็กกำพร้า แสงแดดเร่มิ แรงแล้ว เดก็ กำพรา้ เพง่ิ ต่ืน เน่อื งจากเม่ือคนื เพลนิ กบั การแต่งเพลง รว่ มกบั ทอ่ นไมท้ ่ีโค้งงอ ของเขา ทำให้เขาหลับดกึ และตื่นสาย กอปรกับโดยปกติแล้วเดก็ กำพรา้ เป็นผรู้ กั อสิ ระ จึงใช้ ชีวติ อสิ ระในไร่ อยากตื่นเมือ่ ไหร่กต็ ่นื ไมเ่ ดอื ดร้อนใคร “ เช้านแ้ี ปลกกว่าทกุ เชา้ ยังไม่ทันกินขา้ วก็มคี นมาหาถงึ ไร่ แปลกกว่านั้นคือคนทมี่ าหาเปน็ คนของเจ้าเมอื ง เมอื่ คนของเจา้ เมือง อธิบายวตั ถปุ ระสงคข์ องการมาให้เด็กกำพร้า ฟงั แล้ว เดก็ กำพรา้ ก็ หัวเราะ “ไปบอกเจ้าเมอื งวา่ ข้าพเจา้ ไม่มคี วามสามารถขนาดน้ัน หรอก ขา้ พเจา้ ไม่กล้าไป พวก เจา้ กลับไปเถดิ ” คนของเจ้าเมืองเมอ่ื ไดย้ นิ ดงั นี้ ก็บอกเดก็ กำพรา้ ว่า ถา้ ไม่ไปกบั เขา กลับไปเจ้าเมอื งต้อง เอาตาย แน่ แต่กำพร้าก็ไม่ยอมไป คนของเจ้าเมอื งคกุ เข่าขอรอ้ ง และรอ้ งหม่ รอ้ งไห้ จนเด็กกำพรา้ ใจอ่อน เดก็ กำพรา้ ไปกับคนของเจา้ เมืองพรอ้ มท่อนไมท้ ่ีโค้งงอของ เขา กับหยบิ ข้าวสุกหน่ึงกำมอื ถั่วเน่าหนงึ่ หอ่ ไป เป็นเสบียง ทางฝ่าย เจ้าเมืองรอจนใกลเ้ ท่ียงแล้ว แตค่ นของตนยังไมก่ ลับมาเสยี ที เมอื่ เดก็ กำพรา้ มาถึง ชาวบ้านต่าง หวั เราะท่เี ด็กกำพร้าเอา อะไรมาไมร่ ู้ โคง้ ๆ งอ ๆ “จะไหวเรอะ ขนาดครกกระเด่อื งตำข้าวยงั เอาไม่อยู่” ชาว บา้ น ตา่ งพูดขน้ึ มา “ไมม่ ปี ระโยชนห์ รอก เสยี เวลาเปล่า” เสียงของชาวบ้านอกี กลมุ่ หนึ่งทว้ งขนึ้ มา เม่ือถึงเวลา เดก็ กำพร้ากข็ น้ึ ไปบนบา้ นเจา้ เมือง ซง่ึ ลกู สาวคนสุดท้ายกำลงั นอนหลับอยู่ เมือ่ เด็กกำพรา้ เห็น หนา้ ลูกสาวเจา้ เมืองแล้ว เขาเกิดอาการประหมา่ และตัวสนั่ ขณะทีเ่ ด็กกำพร้า กำลังเขา้ ไปใกล้ ลูกสาวเจา้ เมอื งหาว

๑๑ ออกมาพอดี เด็กกำพร้าจึงทง้ิ ข้าวหนงึ่ กำมอื และถว่ั เนา่ อกี คร่งึ หน่งึ ลงในปากของเธอ แล้วเด็ก กำพรา้ กเ็ อาถวั่ เน่าท่ี เหลือยดั ใสร่ จู มกู ทง้ั สองของเธอ สกั พักลูกสาวเจ้าเมืองเรมิ่ หายใจไม่ออกและกระดุกกระดกิ ตัวจนเธอตนื่ ขึ้น มาแล้วบ้วนขา้ วกบั ถ่วั เนา่ ใส่หนา้ เดก็ กำพร้า แลว้ เธอกเ็ อาถ่ัวเน่าทอ่ี ดุ รูจมูกใส่เข้าไปในปากเด็กกำพร้าแทน ทำให้ ชาว บ้านต่างหัวเราะเยาะเย้ยเด็กกำพร้าเสยี งดงั ลนั่ “ไอ้บ้า... ถ้าฉนั ตายจะทำยงั ไง” เธอตอ่ ว่าเดก็ กำพรา้ แลว้ ก็ เอนกายลงหลับตอ่ เด็กกำพรา้ ย้มิ นดิ ๆ ในช่วง จังหวะท่เี ธอยังหลับ ไมส่ นทิ น่ันเอง “อขี ี้เกียจเอย้ ต่ืนเถิด เจา้ จะนอนใหโ้ ยนของเจา้ ใหญ่ข้นึ หรือ” เด็กกำพร้าพดู จบชาวบ้านหวั เราะกนั ดังลน่ั อกี คร้งั ลูกสาว เจา้ เมอื งรสู้ ึกอายและโกรธมาก “ ไมเ่ กี่ยวกบั เจา้ อย่ามายงุ่ ” เธอลกุ ขึ้นมาตอ่ วา่ เดก็ กำพรา้ อกี แล้วก็เอนกายลงหลับต่อเหมอื นเดมิ เด็กกำพรา้ หยิบท่อนไมท้ โ่ี คง้ งอของเขา ชาวบ้านตา่ งสงสัย ว่าเด็กกำพร้าจะทำอะไร แลว้ เริม่ ดีดท่อนไม้ที่ โค้งงอของเขาและ เปล่งเสียงออกมา เป็นบทเพลงที่เขาแต่งไวเ้ มือ่ คืนที่ผ่านมา กรูนา กรนู า คุ ลอ เส่ เลอ ที ฉ่า ปู คุ ลอ หว่า เลอ ที ฉ่า ปู เส่ เด เกะ เก เต หน่า กู หว่า เด เกะ เก เต หน่า กู เด เลอ เดอ เลอ บลอ หน่า ฮู เด เลอ บลอ เลอ เดอ หน่า ฮู หน่อ เพ่อื กา ซะ เต่อ หน่า ฮู มี เล่อ เป อะ โหม่ บอ ฮุ กรนู า กรนุ า ไปฟันไรท่ กี่ ลางหว้ ย ไปฟันไรท่ ีก่ ลางปา่ ทอ่ นไมโ้ ค้งงอทำเตหนา่ กง่ิ ไผโ่ ค้งงอทำเตหนา่ กู เล่นท่ไี รท่ ีบ่ า้ นไดย้ นิ เล่นทบี่ า้ นที่ไรไ่ ดย้ นิ เพลงเตหน่า นางผหู้ นงึ่ หลบั ใหลจนไมไ่ ด้ยิน แม่ตอ้ งเขย่าใหเ้ ธอตน่ื มาฟงั

๑๒ ช่วงที่เด็กกำพร้าขับบรรเลงเพลงทุกคนเงียบฟัง รวมทั้ง ลูกสาวคนสุดท้องของเจ้าเมืองเองก็หลับตาฟงั เช่นกัน “ ใช่ ใช่ นางไมไ่ ดย้ นิ หรอก นางหลับใหลขนาดนั้น ” บ้านตา่ งพดู ในเสียงเดยี วกัน ชาวลูกสาวเจ้าเมืองท่ียัง หลบั ๆตนื่ ๆ ย่ิงรสู้ กึ เขนิ อายและโกรธ มาก จนไมอ่ าจทนนอนตอ่ ไปอกี ได้ “ฉนั ได้ยนิ ทุกอย่างแหละ ฉันไมไ่ ด้หลับใหล ขนาดนั้น แต่ฉัน ไมอ่ ยากตืน่ มารว่ มพิธีมดั มอื แกเขา้ ใจมั้ย....คนจะหลบั จะนอน ยงั จริง ๆ เลย ตืน่ กไ็ ด้ โอ๊ย เบื่อจริง ๆ คนบ้านเมืองน้ี” แล้วเธอกต็ นื่ มารว่ มพิธี ชาวบ้านต่างกร็ ้องเฮดีใจกนั ทั้งเมอื ง “นี่จะไดล้ ูกเขยเปน็ เด็กกำพร้าผู้รัก อสิ ระ ไมเ่ อาการ เอางานคนน้ีเหรอ อายชาวบา้ นชาวเมืองแยเ่ ลย” เจ้าเมอื งคร่นุ คดิ อะไรบางอย่างอยใู่ นใจ หลงั จากพิธีมดั มอื เสรจ็ สนิ้ ลง ชาวบา้ นชาวเมืองตา่ งๆ เอิบใจและรู้สกึ มัน่ ใจกบั พิธกี รรมที่ผา่ นพน้ ไป ต่างรอ ดเู หตุการณ์ ในเมืองทีจ่ ะเกิดขน้ึ ตอ่ ไป “ เดก็ กำพรา้ จะได้ครองเมืองคร่ึงหน่งึ และจะไดล้ กู สาวคน สุดท้องของเจา้ เมอื งไปเปน็ ภรรยา น่าอจิ ฉาโว้ย วาสนาคนเรานี่ หนุ่มๆในเมืองต่างรำพึง ฝ่ายเจ้าเมืองพยายามคิดหาหนทางที่จะไม่ให้เด็กกำพร้าได้ ครองเมือง ครงึ่ หนงึ่ และแต่งงานกับลกู สาวของตน แต่เม่ือตนเปน็ เจา้ เมืองพดู แลว้ ต้องไม่คนื คำ จึงจำเป็นตอ้ งทำตามสัญญา “ เราต้องหาวธิ เี จ้าเล่ห์ แตช่ อบธรรมที่สุด เดยี๋ วเขาจะหาว่า เราเอาเปรยี บรงั แกคนอ่ืน” เจา้ เมืองคิดในใจ และนอนคิดต่ออีกทัง้ คืนเพื่อที่จะไม่ต้องเสียเมอื งและลูกสาวให้เด็กกำพร้า วันรุ่งเช้า ผู้คนในเมืองคอยฟังเสียง สัญญาณบางอยา่ งจาก บา้ นเจา้ เมอื ง จนแดดยามเชา้ เริม่ แรงขึ้น “ โกล๊ะ ๆ โกอ๊ะ ๆ โกอ๊ะ ๆ” เสียงเกราะเรยี กชาวบา้ น ใหม้ าประชมุ ท่ีบ้านเมือง ณ บ้านเจ้าเมือง ชาวเมืองทั้งลูกเล็กเด็กแดง แม่แก่พ่อเฒ่า แม่บ้านพ่อบ้าน ต่างมาฟังคำแถลงอะไร บางอย่างจากเจ้าเมือง และ ชาวเมืองส่วนหน่งึ อยากชมเครื่องดนตรที ี่โคง้ งอของเด็กกำพร้า ทสี่ ามารถปลุกลูกสาว คนสุดทอ้ งของเจ้าเมือง ต่นื ข้ึนมาจากการหลบั ใหลได้ “วันนี้ ขา้ ในฐานะเจ้าเมอื งผรู้ ักษาสจั จะ ขา้ จะยกเมอื ง ครึ่งหนงึ่ และลกู สาวคนสดุ ทอ้ งของขา้ ให้เดก็ กำพร้า ตามสญั ญา แต่ขา้ มขี อ้ แม้ คือหากภายในสามปี บ้านเมอื งของเด็กกำพร้าไม่ เจรญิ รงุ่ เรืองเทา่ เมอื งของขา้ ข้าจะยึด เอาเมืองคนื ” เจา้ เมอื งพูด ขึ้นในขณะทดี่ วงตาโบ๋ลกึ เหมอื นคนอดนอนมาทงั้ คืน “เจริญยังไงครับท่าน” ชาวเมืองคนหนง่ึ ถามเจา้ เมือง “เจริญรุ่งเรือง คือข้าวปลาอาหารเพียงพอหรือไม่ จำนวน ชาวเมืองเท่ากับของข้าหรือไม่ อยู่ดีกินดี หรือไม่” เจ้าเมอื งตอบ เหมอื นเตรียมคำตอบไวเ้ ป็นอยา่ งดี “ช้าก่อนครบั ทา่ นเจา้ เมอื ง” เสียงเด็กกำพรา้ พูดแทรกข้นึ มา “เจ้าตอ้ งการอะไรอีก หรือเจา้ จะเอาเมียข้า ไปเพิ่มอีกคน จะมากไปละมั้ง\" เจ้าเมืองพูดอย่างมอี ารมณ์แลก “มิใช่เช่นนั้นครับ คือข้าพเจ้าไม่ต้องการจะครอง เมืองของ ทา่ นหรอกครับ ถา้ หากทา่ นเป็นกษตั ริย์ผรู้ ักษาสัจจะจริง ขา้ พเจา้ ขอ เพยี งพนื้ ที่ที่เป็นภูเขา ป่าเขา ลำเนา ไพร ขุนห้วย ขุนเขา เพียงแค่ ครึ่งเดียวที่ท่านมีอยู่ก็พอแล้ว และข้าพเจ้าต้องการเพียงชาวเมืองที่ เป็นหนุ่มโสด สามสิบคนและสาวโสดสามสิบคนเท่านั้น ข้าพเจ้าไม่ ต้องการท่ีจะเอาคนครึ่งหนึง่ ของท่าน ออ...ไมล่ ืมลูกสาวคน

๑๓ สดุ ท้อง ของท่านตามสญั ญานะครับ” เด็กกำพร้าพูดพรอ้ มกับอมย้ิม และสง่ สายตาไปยังลูกสาวคนสดุ ท้องของเจ้า เมืองด้วยอาการทะลึ่งนดิ ๆ ย้ำอกี ที “เจ้าแนใ่ จนะว่าเจ้าตอ้ งการเพยี งแคน่ ี้” เจ้าเมืองถามย้อน “ข้าพเจา้ ขอตอบเปน็ คำตอบสดุ ท้ายครับ” เดก็ กำพรา้ ตอบ อย่างมั่นใจ “ไอ้งั่งเอ้ย เขาจะให้ครองเมืองตั้งครึ่งหนึ่ง แต่จะเอาแค่พืน้ ที ป่าเขาลำเนาไพรทีเ่ ป็นขุนห้วยขุนเขา เรา อุตสา่ ห์ลุน้ ช่วย” ชาวเมือง คนหน่ึงระบายความผิดหวงั ต่อตวั เดก็ กำพร้าออกมา “เอาละ เอาละ ถ้าเช่นนั้นทุกคนจงเป็นพยาน นี่เป็นความ ต้องการของเจ้าเด็กกำพร้าเอง ข้าก็จะ สนองตอบความต้องการของ มัน แต่ข้ายังมีข้อแม้เหมือนเดิม คือเมื่อผ่านไปสามปีแล้ว บ้านเมือง ของเจ้าไม่ เจรญิ รุ่งเรือง ข้าจะยึดเมอื งคืนมาเป็นของข้าเหมือนเดมิ ” เจา้ เมอื งพดู ด้วยสีหนา้ อมย้มิ เหมอื นคนถอื ไพท่ ีเ่ หนอื กวา่ หลังเสร็จสิ้นการประชุม เจ้าเมืองกำพร้าเตรยี มตัวออกเดิน แต่ชาวบ้านชาวเมืองต่างขอร้องให้เจ้าเมือง กำพร้าช่วยเล่น เครื่องดนตรีชิ้นนั้นอีกครั้ง ขณะที่เจ้าเมืองกำพร้าเองก็ไม่ขัดศรัทธา ต่อชาวบ้านชาวเมือง น่ัง บรรเลงเพลงเครอ่ื งดนตรีโค้งงอตวั นนั้ อีกบทเพลงหนงึ่ จนจบ “ เครอ่ื งดนตรีตวั น้ีเรียกช่ือวา่ อะไรครับท่านเจ้าเมืองกำพรา้ ” ชาวบ้านคนหนงึ่ ถามขน้ึ มาด้วยความอยาก รู้ “ขา้ จะเรยี กมนั ว่า “ เตนาเล่เกะกู ” เจา้ เมืองกำพร้าบอกชื่อ เคร่ืองดนตรี ซง่ึ เตนาเล่เกะกู แปลวา่ “ ดีดเธอไม้ โค้งงอ “ ชื่อยาวจัง ขอชื่อสนั้ ๆ ไมม่ ีเหรอ ” หนมุ่ ทะลง่ึ คนหน่งึ ถามข้ึนมา “ เรียกมนั ว่า “ เตนาเกะกู ” หรือ “เตนา ก”ู ก็ได้ ส้นั และได้ใจ ความดี” เจ้าเมืองกำพร้าตอบทีเล่นทีจริง “เรยี กวา่ ‘เดนา’ เฉย ๆ ได้ไหมครบั ” หนุ่มคนเดมิ ถามอกี คร้งั จนเรียกเสยี งฮาตรมึ จากชาวบา้ นชาวเมอื ง “แลว้ แตจ่ ะเรียกแล้วกัน แต่ขอให้มคี วามหมายเปน็ ภาษา ปกาเกอะญอ พอ ขา้ ไปละ\" เจ้าเมืองกำพร้าลุก ขึ้น พาลูกเมืองทั้ง สาวโสดสามสิบและหนุ่มโสดสามสิบ พร้อมภรรยาซึ่งเป็นลูกสาว คนสุดท้องของเจ้าเมืองออก เดินทาง โดยท่ีเจา้ เมอื งกำพรา้ ไม่ลมื ท่ี จะหอบห้วิ เครอื่ งดนตรที โ่ี คง้ งอติดตัวอย่างแนบชิดไปด้วย หลงั จากเหตุการณ์ วันนั้น ชาวเมืองตา่ งร่ำลือถงึ ความ มหัศจรรย์ ความงดงามและไพเราะของเครื่องดนตรีของเจ้าเมือง กำพร้า ชาวบ้าน บางคนเรยี กมนั ว่า “เดนาเลเ่ กะกู” บางคนเรียก “เดนาเกะกู” บางคนเรยี ก “เดนากู” และพวกท่ีทะลึ่งหน่อยเรียก

๑๔ ‘เดนา’ จากคำเรยี กต่าง ๆ นา ๆ ผ่านปากคนหน่ึงไปยังลน้ิ อกี คน จากเสยี งหนงึ่ ไปยังอกี สำเนยี งหน่งึ จนคำเพี้ยนไป จากเดิม จากคำ ว่าเดนาเกะกู พี่น้องที่เป็นกะเหรี่ยงจุกอเรยี กเป็นเตหน่าบ้าง เตหน่า กูบ้าง หรือเตหน่าเกะกบู ้าง และจากคำวา่ เดนานเ้ี อง พ่นี ้องท่ีเปน็ กะเหรีย่ งโพล่งเรยี กเป็น “นาเด” ถ้าแปลเป็นภาษาของจกุ อแปลว่า “เธอเลน่ ” ซึ่งเธอทุกคนก็เล่นได้และควรเล่นเปน็ อย่างย่ิง ณ ภูลึก ลำธารใส ป่าเขียวเขม้ ทะมึน คือเมืองใหม่ของเจ้า เมืองกำพร้า ท้งั เจา้ เมืองและชาวเมืองตา่ งทำไร่ หมุนเวียนเลย้ี งชพี ปลูกข้าว ถว่ั เผอื ก ฟกั แฟง แตง หอมตา่ งๆอย่างพอเพยี ง ๑ และพอใจ พอสุข อีกฟากหนึ่งของ เมือง เด็กกำพร้ามองออกไปไกลสุดตา คือเมืองของพ่อตาเจ้าเมืองกำพร้า “นี่ครบสามรอบฤดูแลว้ น่ี ถึงเวลาแล้ว” พ่อตาเด็กกำพรา้ คิดในใจ ขณะท่ไี ฟปรารถนาแหง่ การยึดเมืองคืนยงั มอี ยูเ่ ต็มเปี่ยม “ ไปบอกให้เขาเอาอาหารที่อรอ่ ยที่สุดในบา้ นเมอื งของเขามา ถา้ อาหารนั้นมนั สามารถย่ัว จนน้ำลาย ขา้ ไหลได้ และข้ากลนื นำ้ ลายครบสามครง้ั ขา้ จะยอมให้เมืองเขาเปน็ อิสระ หากมิเป็นเชน่ น้นั เมอื งของเขาต้อง เป็นของข้า” พ่อตาถ่ายทอดคำสง่ั ใหล้ กู น้องไปส่ง ข่าวความตอ้ งการของตนถึงเจ้าเมอื งกำพร้า เมื่อชาวเมืองทั้ง สอง เมอื งรขู้ ่าวต่างมคี วามเห็นแตกตา่ งเป็นสองฝา่ ย “ฉนั วา่ ก็ดนี ะ จะได้ร้วู า่ เมอื งของเดก็ กำพรา้ มอี ะไรดี ถา้ ไม่ มี อะไรดกี ็ควรตกเป็นเมืองของพ่อตาเขา” ความเห็นของฝา่ ยแรก “ฉนั ว่าเจา้ เมอื งทำไม่ถูก อาหารดีๆตา่ งๆเจ้า เมืองเคยกินมา หมดแลว้ จะไปหาอาหารอะไรอกี ทม่ี ันจะยว่ั ใหเ้ จ้าเมอื งน้ำลายหก เจ้าเมืองต้องการยดึ เมืองชัด ๆ เจ้าเมอื งไม่ยตุ ิธรรม” ความเหน็ ของ ๆ ฝ่ายทส่ี อง “ใช่ ใช่” ผู้ทีเ่ หน็ ดว้ ยกบั ฝ่ายที่สองสนับสนุน บรรยากาศ

๑๕ ของชาวบ้านชาวเมอื งภายในทงั้ สองเมืองเริ่ม มกี ารแบง่ แยกเป็นสองข้ัวอย่างชดั เจน และรนุ แรงขึ้นตามลำดับ จนถงึ ขัน้ เกอื บเปน็ จลาจลย่อยเกิดขน้ึ ภายในเมอื งทัง้ สอง ก่อนจะถึงเวลานดั หมาย พอ่ ตาเด็กกำพร้าไดก้ ินไก่ตม้ หมด หน่งึ ตวั หมตู ุ๋นหมดไปหนึง่ จานพรอ้ มผลไม้ ต่าง ๆ จนอม่ิ ทอ้ ง ไมอ่ ยาก ทานอะไรอีก ดอู าหารอะไรแล้วเลยี่ นไปหมด แลว้ จงึ เดนิ ออกไปหา เจ้าเมืองกำพรา้ ชาวบ้านท้ังสองเมอื งต่างมารว่ มดกู ันเตม็ บรเิ วณบ้านเจา้ เมอื ง ซึ่งเปน็ พอ่ ตาของเดก็ กำพรา้ โดยยนื แยกกันเป็น สองกลมุ่ ใหญ่ ตามความเหน็ ท่แี ตกตา่ งกนั “ไหนจะเอาอาหารอะไรท่ีมายั่วต่อมนำ้ ลายอนั มีเกียรติของ ขา้ ฮา่ ฮา่ ฮ่า....” เจา้ เมอื งชายสายตาไปที่ เด็กกำพรา้ พรอ้ มท้ังเอา มือลบู เศษอาหารอย่างเยาะเย้ย เดก็ กำพร้าพยกั หนา้ ส่งสัญญาณให้ลูกน้องนำน่องไก่ ทอดข้ึน มา แล้วลกู น้องกินนอ่ งไก่น้นั อยา่ งเอร็ดอรอ่ ย ชาวบา้ นต่างกลืนนำ้ ลายดว้ ยความอยาก “ฮ่า ฮา่ ฮ่า ไอ้น้องไก่ ข้าเพ่ิงกินเม่อื ก้ีเนย้ี ะ...ยวั่ น้ำลายขา้ ไม่ไดห้ รอก เฮ้อ” เจา้ เมืองเบป้ าก เด็กกำพรา้ ให้ลูกน้องหยิบขาหมูมากนิ ต่อ แตเ่ จา้ เมอื งรู้สึก เฉย ๆ หยบิ เนื้อเกง้ มากินก็เฉยๆ เอาลาบ กวางมากินกย็ ังเฉย ๆ เอา นำ้ ผ้ึงมาดื่มกย็ งั เฉย ๆ เอาน้ำพริกมากินกย็ งั เฉย จนชาวเมืองทีล่ ุ้น ช่วยเด็กกำพร้า เริ่มท้อ “เฮ้อ...มีแค่นี้เองเหรอ ยั่วต่อมน้ำลายข้าไม่ได้เหรอก กลับ ไปเตรียมชาวเมืองของเจ้าให้มาเป็น ชาวเมืองของข้าเสียดี ๆ รวม ทั้งตัวเจ้าด้วย ฮ่า ฮา่ เส้ยี ว” เจา้ เมืองกระแทกเสียงหวั เราะอย่าง สะใจ “ช้าก่อนครับท่าน ข้าพเจ้ายังมีอีกอย่างหนึ่งครับ” เด็ก กำพร้าพูดพรอ้ มหยิบมะม่วงเขียวดิบแกล่ กู หนง่ึ แล้วย้มิ นดิ ๆ “อะไรอกี แค่มะม่วงเนย้ี ะนะ ไม่มีประโยชนห์ รอก ยอมเสีย เถอะ” เจ้าเมืองสง่ สายตาไปยัง กองเชยี รข์ องตน เสยี งหวั เราะเยาะ ของฝา่ ยเจ้าเมอื งดังกระห่ึมบา้ น ทำใหเ้ ดก็ กำพรา้ เรม่ิ ไม่มัน่ ใจ แ แต่ก็ทําใจ ดสี เู้ สือ เดก็ กำพร้าหยบิ มะมว่ งมากดั กนิ อยา่ งสุดแรง “ซ้ีดดดดดดด เด็กกำพร้าทาํ เสียง หนา้ บูดหน้าเบยี้ วเปร้ียว ปาก จนเจ้าเมอื งลมื ตัว กลืนน้ำลายหนง่ึ ที ชาวบา้ นสง่ เสียงนับ “หน่ึง” พร้อมกนั เด็กกำพร้าหยิบช้ินมะม่วง ดิบแก่มาเคยี้ วอีกที “จว๊ บ ๆ ซ้ดี ดดๆ” เดก็ กำพร้าทำหน้าบูดเบย้ี วดว้ ยความเปรยี้ วปากและ เคยี้ วอย่างเมามัน “เอือ้ .อ.ก มันเปรี้ยวขนาดน้ันเลยเหรอ” เจา้ เมือง กลนื นำ้ ลายและถามเด็กกำพร้า ขณะทชี่ าวบ้านส่งเสียงนับ “สอง” พร้อมกัน มันเป็นมะม่วงป่า ถ้ายังไม่สุกมันเปรีย้ วมาก....ปรุ ปรุ ซี้ดดดดดด...” เสียงเคีย้ วมะม่วงดว้ ย หน้าบูดเบี้ยวเปรี้ยวอย่างที่สดุ ของเด็กกำพร้า “ไหน...ข้าลองชมิ บ้างซิ ถ้าไม่เปรี้ยวข้าจะฆ่าเจ้า เอื้อ.อ.ก เจ้า เมืองขอเด็กกำพรา้ ชิมมะมว่ งและเผลอลืมตวั กลืนนำ้ ลายอีกครั้ง “สาม” ชาวบา้ นต่างส่งเสยี งนับ กว่าจะร้ตู ัวว่า กลนื นำ้ ลาย ครบสามครง้ั ก็สายไปแลว้ “ไหน ๆ กไ็ หน ๆ ปรุ ปรุ ปรุ ชัด...ดด โอโ้ ห เปรย้ี วจรงิ ๆ ยอม ๆ” เจ้า เมอื งท้งั ชิมท้ังชมและยอมอย่างไมอ่ าย ขณะท่บี รรยากาศของกลมุ่ ชาวบ้านชาวเมืองทม่ี ีความเห็น แตกต่างกัน ทั้งสองฝ่ายนั้นยังคงดำเนินต่อไป “ว่าแล้วเด็กกำพร้า ต้องชนะ คนดีย่อมได้รับการคุ้มครองจากพระ เฮ ๆ ๆๆๆๆ” ชาว บา้ นที่เข้าขา้ งเดก็ กำพรา้ สง่ เสยี งขึ้นมา “เจ้าเมอื งของเราก็เป็นคนดโี วย้ ถ้าไม่อยากอยู่เมอื งนี้ก็ไป อยู่ เมืองไอเ้ จ้าเมืองกำพร้า ป้าย” อกี ฝ่ายเรมิ่ ไม่พอใจ ระเบิดอารมณ์ ขับไลไ่ สสง่ กัน“หยุดกอ่ น น้องพ่ที ั้งหลาย

๑๖ เราคอื พ่ีนอ้ งกัน ถา้ พี่ลม้ น้อง ช่วยดงึ ขึ้น ถา้ น้องลม้ พ่ีชว่ ยดึงข้ึน ไม่ว่าจะอยู่เมืองพ่อหรือเมืองลูก ไม่ว่าจะเป็น โพลง่ หรือจกุ อ เราคือสายเลอื ดเดียวกัน อย่าเกลียดชงั สายเลือดเดยี วกัน อยา่ ทำลายสายเลือดเดียวกัน” เด็ก กำพร้าพูดจบ หยิบเตหน่ากูออกมาบรรเลงบทธา ดอ ชอ่ื แหว่ ชอ ฮี เหม่ เซ ฮี ชิ หนะ เก โดะ ธ่อ เซ ดอ ชอ่ื แหว่ ซอ ฮี เต่อ เซ ฮี โดะ ห หนะ เก ลอ พะ เซ เหลา่ น้องพี่ประคองหมู่บ้าน แม้หมู่บ้านเลก็ จะมพี ลงั หากน้องพ่ีขาดการประคอง แมห้ มู่บ้านใหญ่ตอ้ งมีวนั ล่มสลาย เมอ่ื ฟังคำเดก็ กำพร้าเสรจ็ ชาวบา้ นจึงไดส้ ตคิ ืนมา และเมอื ง สองเมอื งกก็ ลายเปน็ เมืองนอ้ งเมืองพ่ี เมอื งลูกเมืองพ่อ แม้วา่ เดก็ กำพร้าจะถูกเชญิ ให้ไปเป็นเจา้ เมอื งท้ังสองเมือง แตเ่ ขาก็ตัดสินใจ อย่กู ลางปา่ เขา พ่งึ พาอาศัยป่า ทำไรห่ มุนเวยี น และเล่นเตหน่ากู ขบั กล่อมชาวไพร เล เล โพ แค โอะ เลอ ธี ลอ เล เล เลอ ธี ลอ ชู เด ธอ่ เต หน่า ปลี เลอ ทู เด เสอื้ หยอ่ื เด เสือ้ หย่อื ธี ลอ กอ ปู เล เล โพ แค โอะ เลอ ธี ลอ จอ เล เล เลอ ธี ลอ จอ เด ธอ่ เต หนา่ ปลี เลอ ชอ เด เสอื หย่อื เด เสือ้ หย่ือ เก โปก เดอ จกฺ อ เล เล กำพรา้ อยู่ที่ห้วยนำ้ ตก กําพรา้ อยู่ท่หี ว้ ยนํา้ ตก บรรเลงเตหน่ากสู ายทองคำ ขบั กล่อมบ้านเมอื งใหร้ ม่ เยน็ เล เล กำพร้าอยทู่ ี่ห้วยน้ำหยด กำพร้าอยทู่ ีห่ ้วยนำ้ หยด บรรเลงเตหนา่ กูสายรากไม้ ขับกลอ่ มท้ังโพล่งและจกุ อ

๑๗ ลกั ษณะกายภาพของเตหนา่ กู ๑. กล่องเสียงเตหนา่ กู ในปัจจบุ นั ทำจากไม้สกั หรือไมเ้ นอื้ ออ่ น ไมท้ ่ีเปน็ ท่อนจะนำมาเปน็ ตวั เตหน่าก ๒. คอหรือทวน จะเปน็ แผ่นไม้มีความหนาประมาณ ๒ น้วิ กว้างไม่ต่ำกวา่ ๘ นิว้ แลว้ นำมาตัดให้โค้ง งอ ถา้ ไม้มี ความกว้างมากจะไดค้ วามโค้งเยอะเชน่ กัน ๓. ลกู ปิด มกั ทำจากไม้ไผท่ ี่มีอายุ ๓-๔ ปี หรอื แกนไม้เนอื้ แข็ง มตี ง้ั แต่ ๖-๑๒ อนั ๔. ฝาปิดโพรง ทำจากหนังสัตว์ ต่อมาทำจากสังกะสี ไม่ว่าจะเป็นปี๊บหรือหลังคาสังกะสีทั่วไป เน่อื งจากหนังสตั ว์ มปี ฏิกิริยากบั อุณหภมู ิรอบขา้ ง ถ้าอากาศหนาวหนงั สตั ว์จะแขง็ ตวั ถ้าอากาศร้อนหนังสัตว์ จะออ่ นตวั มผี ลตอ่ การต้งั สาย ๕. สายเตหน่ากู แต่เดิมทำจากรากจอชื่อ ซึ่งเป็นพืชที่อยู่ในตระกูลเถาวัลย์หรือหวายโดยแช่น้ำไว้ ประมาณครึง่ วนั เพื่อเพิม่ ความเหนียวนุม่ หรือทำจากเย็นของสัตว์ ซึ่งจะมีขัน้ ตอนในการทำยุ่งยากและ เมอ่ื นำมาแช่น้ำจะส่งกลิ่นเหม็น จึงไม่นิยมนำมาทำ ต่อมานำสายเบ็ดมาทำสายเตหน่ากู จากนั้นจึงนำสายเบรก รถจักรยานมาเป็นสายเตหน่ากู ด้วยคุณสมบัติ ของสายเบรกรถจักรยานที่เป็นเกลียวของแต่ละเส้นจึงทำให้ เสยี งของเตหน่ากูเป็นเอกลักษณะเฉพาะเครอ่ื ง การทาํ เตหน่ากู ๑. นำท่อนไม้มาตัดให้เปน็ รูปสีเ่ หลี่ยมคางหมู เจาะไม้ด้านในให้เป็นโพรง กล่องเสียงของเตหน่ากมู กั ทำจากไม้ทีม่ ี เน้อื ไม้แขง็ และไม่อ่อนจนเกินไป ขึ้นรปู รา่ งคลา้ ยส่ีเหล่ียมคางหมูจดุ ภายในจะมีรูปร่างคล้ายเรือ ขัดผวิ ไม้ใหเ้ รยี บ ๒. คอท้าจากไม้เนอ้ื แขง็ รูปโคง้ ท่ีคอเจาะรูเพ่ือใส่ลกู ปดิ ทมี่ ักทำจากไม้ไผ่แก่ นำแผ่นไม้มาตัดให้โค้งงอ และ ลบเหล่ยี มไมแ้ ล้วผิวไม่ใหเ้ รียบ ๓. ใช้แผ่นเรียบสังกะสีเพื่อปิดกล่องเสียง โดยนำสังกะสีมาตัดให้ได้ขนาดของกล่องเสียงเตหน่ากู จากนั้นจึงปดิ ด้านบน ด้านที่คลา้ ยหัวเรือต่อกับเตหน่ากู ข้ึนสันตรงกลางให้ตรงและเจาะรู เพ่ือจะใช้หมุดตรึง ระหว่างทวนกับตวั กล่องเสยี ง ๔. น่ากล่องเสียงและคอมาประกบโดยใช้หมุดยึดข้างใน เพื่อไม่ให้คอหรือทวนขยับหรือเคลื่อนท่ี หลังจากนน้ั นำฝา มาปิดใช้หมดุ ตอกยึดกบั กล่องเสียง แล้วใช้สายเบรกรถจักรยานโดยที่สายข้างหนงึ่ ยึดตรึงกับ กล่องเสียง สายอกี ข้างหน่ึงถูกตรงึ กบั คอท่ีมรี ปู โคง้ คอยดึ ตดิ โดยตรงกบั กลอ่ งเสียงสายของเตหน่ากู

๑๘ การตั้งสายเตหนา่ กู แบบเมเจอร์ สเกล (Major Scale) การตั้งสายเตหน่ากูที่มีสายจํานวน ๖ สายแบบเมเจอร์ สเกล (Major Scale) ลกั ษณะการตง้ั สายเปน็ ดงั น้ี สายเส้นลา่ งสดุ จะต้ังเปน็ เสยี ง มี (M) สายท่ีสองจากลา่ งสดุ จะตั้งเปน็ เสียง เร (R) สายทส่ี ามจากลา่ งสดุ จะต้งั เปน็ เสยี ง โด (D) สายทส่ี ่ีจากลา่ งสดุ จะต้งั เป็นเสียง ลา (L) สายที่ห้าจากล่างสดุ จะตั้งเปน็ เสียง โซ (S) สายท่ีหกจากล่างสดุ หรือสายบนสดุ จะตั้งเปน็ เสยี ง (D) แต่เป็นเสยี งออก เทฟต่ำ (Octave) นน่ั หมายความว่าจะ มสี ายเสียงคู่ ๑ คู่ (Octave) เปน็ เสยี ง โด (D) หากเป็นการต้งั สายเตหนา่ กูทีม่ สี ายจำนวน ๗ สายแบบ เมเจอร์ สเกล (Major Scale) ลกั ษณะการต้ัง สายเปน็ ดังน้ี สายเสน้ ล่างสดุ จะตั้งเปน็ เสยี ง มี (M) aung สายที่สองจากลา่ งสดุ จะต้งั เปน็ เสยี ง เร (R) สายทส่ี ามจากลา่ งสุดจะตง้ั เป็นเสยี ง โด (D) สายที่สจี่ ากลา่ งสดุ จะตั้งเป็นเสียง ลา (L) Nara สายทห่ี ้าจากล่างสดุ จะต้ังเปน็ เสยี ง โซ (S) ABB สายท่ีหกจากลา่ งสดุ จะต้ังเป็นเสยี ง เร (R) แตเ่ ปน็ เสยี ง ออค-เทฟต๋า (Octave) (avisioQ) สายที่เจ็ดจากล่างสุดหรือสายบนสุดจะตั้งเป็นเสียงโด (D) แต่เป็นเสียงออค-เทฟต่ำ (Octave) เช่นกัน น่ัน หมายความ วา่ จะมีสายเสยี งคู่ (Octave) สองคู่ คือสายคู่เสยี ง เร (R) และสายคู่เสียง โด (D) (F) cultura

๑๙ หากเปน็ การตั้งสายเตหนา่ กูทม่ี สี ายจำนวน ๘ สายแบบเมเจอร์ สเกล (Major Scale) ลักษณะการ ตง้ั สายเป็นดงั น้ี สาย...และตงั้ เป็นเสยี ง ปี ๑ มี (M) สายทส่ี องจากล่างสดุ จะต้ังเป็นเสียง เร (R) สายทีส่ ามจากลา่ งสดุ จะต้ังเป็นเสียง โด (D) สายทส่ี จ่ี ากล่างสดุ จะตง้ั เป็นเสียง ลา (L) Rura สายทห่ี ้าจากลา่ งสุดจะต้ังเปน็ เสยี ง โซ (S) สายที่หกจากล่างสุดจะตั้งเป็นเสียง มี (M) แต่เป็นเสยี ง ออค-เทฟต่ำ (Octave) สายที่เจ็ดจากล่างสุดจะตัง้ เปน็ เสียง เร (R) แต่เป็นเสียง ออค-เทฟต่ำ (Octave) เช่นกัน (0) สายที่แปดจาก ล่างสดุ หรือสายบนสุดจะต้ังเปน็ เสยี ง โด TW (D) แต่เปน็ เสยี ง ออค-เทฟ (Octave) นัน่ หมายความวา่ 1) จะมี สายเสียงคู่ (Octave) เพ่มิ เปน็ สามคู่ คอื สายคู่เสยี ง มี (M) สายคู่เสยี ง เร (R) และสายคู่เสียง โด (D) วธิ ีการฝกึ บรรเลงเตหนา่ กู การวางเตหนา่ กู โดยท่วั ไปจะขึ้นอยกู่ บั ความถนดั ของผู้บรรเลง สว่ นมากจะวางไว้บนหนา้ ผาของผู้บรรเลง น้ิวมือขวา นว้ิ หัวแมม่ อื หมายถงึ นวิ้ ๑ นิว้ ช้ี หมายถงึ นว้ิ ๒ นว้ิ กลาง หมายถงึ น้วิ ๓ น้วิ นาง หมายถงึ นิ้ว ๔ ท้งั น้กี ารใชน้ ว้ิ มอื ขวาเดนิ นน้ั รวมท้งั ขน้ึ อยูก่ บั ความถนดั ของผู้บรรเลงอีกด้วย ซง่ึ แต่เดมิ นน้ั ผูบ้ รรเลงไมไ่ ดม้ ี

๒๐ การกำหนดนวิ้ ให้เปน็ มาตรฐาน มือขวาจะดดี ทำนองหรอื คอรด์ นิ้วมอื ซ้าย นิว้ หวั แม่มอื หมายถงึ นวิ้ ๑ ซ้าย ให้ผู้เรียนใช้มอื ซา้ ย ใหน้ ิ้วชี้ นว้ิ กลาง นว้ิ นาง และนว้ิ กอ้ ย แตะไวร้ ะหว่างลูกปิดของเตหน่ากู ส่วน นวิ้ หวั แมม่ ือ หรือนว้ิ ท่ี ๑ สำหรบั ดดี เป็นเสยี งเบสหรอื ส่วนท่ีใช้ประสานกับทำนอง รวมทง้ั เสียงโครน รปู ที่ ๑ ลกั ษณะการวางนวิ้ กบั สาย รปู ท่ี ๒ ลักษณะการวางนว้ิ ขวาละซ้าย วิธีฝึกร้องเพลง กรูนา กรนู า คุ ลอ เส่ เลอ ที ฉา่ ปู คุ ลอ หวา่ เลอ ที ฉา่ ปู เส่ เด เกะ เก เต หน่า กู หว่า เด เกะ เก เต หนา่ กู เด เลอ เดอ เลอ บลอ หนา่ ฮู เพลงเตหนา่ เด เลอ บลอ เลอ เดอ หน่า ฮู หน่อ เพ่อื กา ซะ เต่อ หน่า ฮู มี เลอ่ เป อะ โหม่ บอ ฮุ กรูนา กรุ ไปฟนั ไรท่ ีก่ ลางหว้ ย ไปฟนั ไรท่ กี่ ลางป่า ทอ่ นไมโ้ คง้ งอทำเตหน่า กิ่งไผ่โค้งงอทำเตหนา่ กู เล่นท่ีไรท่ บ่ี ้านได้ยิน เล่นทีบ่ ้านทไี่ ร่ไดย้ ิน นางผหู้ น่งึ หลับใหลจนไมไ่ ด้ยนิ แมต่ อ้ งเขย่าใหเ้ ธอตนื่ มาฟัง

๒๑ ธาที่พูดถงึ เตหนา่ กู บทธาบทกวี หรือสุภาษิตสอนลูกสอนหลานของคนปกา เกอะญอท่ีกลา่ วถึง เตหน่ากเู ครอื่ งดนตรี ดัง้ เดมิ ของคนปกาเกอะญอ ไว้มากมาย เมอ่ื กลา่ วถงึ ธา มหี ลายคนยงั เกดิ ความสงสัยว่า มนั คืออะไร กนั แน่ หลายคนให้คำนิยามหลายอยา่ งที่แตกต่างกนั ตามมมุ มอง และขอ้ มูลทไ่ี ด้รบั รมู้ า ผู้เฒา่ ส่าเดะคา อดีตขุนพลธา ผูล้ ว่ งลับ กลา่ วถงึ นิยามของธาตามความเข้าใจของทา่ นว่าเคย “ธา คอื ชุดความรู้ แนวปฏิบตั ิในการอยูร่ ว่ มกันของคนกบั ธรรมชาติ สิ่งมีชวี ิตอ่นื ๆ และสง่ิ ศักดิ์สทิ ธ์ิ เหนอื ธรรมชาตใิ ห้อยู่ ร่วมกนั อยา่ งสมดุล ซงึ่ บทธามีมากกวา่ ใบไมบ้ นโลกน้ี ๓ เทา่ ” ในเบ้อื งตน้ ของธาท่ี กลา่ วถึงเตหนา่ กู มดี ังนี้ ๑. เตหน่า อะ ปลี เลอ จอ ชือ่ เด เตอ่ มี เด ชี เด ซึ ๒. เตหน่า เลอ จอ แว พอ ฮอื เต่อ บะ จอ จี แซ เต่อ มี ๓. เตหนา่ ปกา แกวะ ออ เลอ เฌอ เด บะ เก อะ หลอ่ เลอเปลอ ๔.เตหน่า ปกา เจาะ เลอ เกอะ มา เด บะ เก อะ หลอ่ เลอญา ๕. เต หนา่ เร เร เตหนา่ เร ซอ เร เร ซอยู่ เร ๖. เด เตอ่ เช เปอ ซี เตอ๋ เซ ซี เตอ๋ เซ เปอ เด เตอ๋ เซ ๗. ปกา เด เหม่ เซ ซี เหม่ เซ ซ่อ เส่อื หยอ่ื ลอ อิ ลอ เอ ๘. เตหนา่ กู อะ ปลี เลอ เจ เด ต่า หมี ต่า ชือ่ แฮ เก ๙. เตหนา่ กู อะ ปลี เลอ ทู เด เส้ือ หย่อื ที หลอ่ กอ ปู ๑๐. เตหนา่ กู อะ ปลี เลอ จอ เด เสอ้ื หยอื่ เก โปก เดอ จุกอ จากบทธา ๑๐ บทที่นำมาเสนอ สามารถถอดความหมาย เปน็ ภาษาไทยไดด้ งั น้ี ๑. สายเตหน่าทำจากจอชื่อ คอ่ ยๆ เล่นค่อยๆ ตัง้ สายไป ๒. เตหน่าทพ่ี ี่ชายอุ้มไว้ หากพ่ีไมเ่ ลน่ เสียงไม่เพราะ ๓. เตหน่าแกะจากไม้ทองหลาง เล่นแล้วหวนคดิ ถึงวนั คืน ๔. เตหนา่ เจาะจากไม้ซอ้ เล่นแล้วหวนคดิ ถึงคนื วนั ก่อน ๆ

๒๒ ๕. เตหนา่ งอเตหน่ากรดี สาย ซอดโู คง้ ซอคกู่ รีดสาย ๖. เลน่ ไม่เป็นเสยี งหาเพราะไม่ ดีดไม่เพราะหาเลน่ เป็นไม่ ๗.หากรู้จกั ดดี รจู้ กั เล่น เสียงจะไพเราะจบั ใจยง่ิ นัก ๘. สายเตหนา่ กูทำมาจากเงนิ เลน่ เพรยี กหาความสุข กลบั มา ๙. สายเตหนา่ กูทำมาจากทอง เล่นขับกล่อมคนในชมุ ชน ๑๑. สายเตหนา่ กูทำมาจากใยไม้ เล่นขบั กลอ่ มท้งั โปกท่ ง้ั จุกอ ขอ้ ห้ามการทาํ เตหน่ากู คนปกาเกอะญอท่เี ลน่ เตหนา่ กูสมยั กอ่ นบอกตอ่ กนั มา ว่า ในการทำเตหน่านั้น ปหี นงึ่ ๆ ห้ามลม้ ต้นไม้ เพอ่ื มาทำเตหน่า เกินสามต้น และใช่วา่ จะไปตัดไมเ้ ม่ือไหรก่ ไ็ ด้ วนั ทผ่ี เู้ ฒา่ ผ้แู ก่ปกเกอะญอ นิยมทำมากท่ีสุด คือ วันที่พระจันทร์เต็มดวง ถือว่าเป็นวัน ดีไปล้มไม้มาทำเตหน่า เชื่อว่าจะทำให้เตหน่ากูตัวนั้นเสียงไพเราะ และดงึ ดดู คนฟงั ไดม้ ากกว่าไปล้มในวันอื่น ๆ” “คนเฒ่าคนแก่กล่าไวว้ ่า คนที่ฉลาดจะกินได้นานและย่ังยืนกว่า หากเรากินไม่เป็นใช้ไม่เปน็ มันก็จะ หมดเร็ว เมื่อกอ่ นคนที่เล่นเตหน่ากู มีความเชือ่ วา่ ภายในปีหนึ่งหากตัดต้นไม้มาทำเตหน่า กูเกินกว่าสามตน้ แล้วมือจะเปน็ หมัน จะทำให้ผลิตเตหนา่ กอู อกมา เสยี งไมด่ ี ไมเ่ พราะ และเวลาเลน่ อาจทำให้เกิดการทะเลาะ วิวาท กันในชุมชนได้ การล้มไม้ต้องตัดไม้อย่างนอ้ ยสูงระดับหัวเข่า เพื่อให้ตาไม้ สามารถแตกขึ้นมาใหม่ได้ อย่างทผ่ี ้เู ฒ่าผู้แกเ่ คยบอกไว้วา่ หนอ่ ปะต่ออะคลี เดอเอเดอท่อซอ ปกาเกอะญอ ปะตอ่ อะเจอ หมายความว่า หญา้ ตายได้ฝากเมลด็ พนั ธุ์เอาไว้ ไมล้ ม้ ตายแล้วแตก หนอ่ ข้นึ มาใหม่ คนตายย่อมฝากเชอ้ื ไขเอาไว้ หากตัดไม้ต่ำ กวา่ หวั เข่าอาจทำใหไ้ มต้ ายอย่างถาวรจนไม่ สามารถแตกหน่อใหม่ได้ หากไมต้ ้นท่ีเราตัดใชง้ านตาย แสดงวา่ เราได้ใช้งานมันเพียงแค่ครั้งเดียวแล้วจบ เราจึงกลายเป็นคนกลุ่ม ที่ไม่ฉลาดที่กินได้ไม่นานและไม่ ยงั่ ยืน เราต้องคำนึงถึงการใชใ้ น ระยะยาวด้วยเช่นกนั ” และ “ตน้ ไม้ทใี่ หญบ่ างทใี ช่วา่ จะทำเตหนา่ กูได้ดี เพราะ บางทตี ้น ใหญ่เกินไปทำใหก้ ารทำใช้เวลานาน เพราะฉะนน้ั ควรดูต้นทีไ่ ม่ใหญ่ เกนิ ไปและไม่เลก็ เกินไป ขนาด ประมาณครึ่งคนโอบกำลังดี และถ้าจะใหง้ ่ายรอใหไ้ ม้แห้งก่อนแล้วค่อยเอากลับมาท่ีบ้าน มันจะทำให้น้ำหนัก ของไม้เบาลง หากต้องการ เคลือ่ นย้ายกลบั มา ทบี่ ้านจะสะดวกกวา่ วิธกี ารท่คี นเฒ่าคนแก่สมยั กอ่ นนิยมทำ คือ การไปกันต้นไม้ท่ี หมายตาไว้ให้แห้งตายเสียก่อน แล้วค่อยไปล้มทีหลัง แต่ต้องระวัง ในการกันต้นไม้ด้วย ต้องกันให้สูงกว่าหัวเข่า มิเช่นนั้นต้นไม้จะตาย เช่นกัน คนเฒ่าคนแก่บอกว่า หากต้นไม้ตายหรือแห้งโดย ธรรมชาติ จะทำให้ทำเตหนา่ กูเสยี งดกี วา่ ปกติ” เป็นต้น เพลง ใจสั่งมา(เสก โลโซ) Cover Deepunu เตหนา่ กูเวอร์ชน่ั เพลง ปวากะญอกม็ หี ัวใจ- Chi Suwichan เตหนา่ กเู วอร์ชั่น

บรรณานกุ รม ธนพชร นุตสาระ.๒๕๕๗. แนวทางการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมดนตรีเตหน่ากู ของชาวกะเหรีย่ ง ตำบลบ้านจันทร์ อำเภอกลั ยาณวิ ฒั นา จงั หวดั เชียงใหม่.วารสารวจิ ยั เพือ่ รบั ใชส้ งั คม. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่. ๑๕, (๒):,๘๔-๑๓๒ สุวิชา พัฒนาไพรวลั ย์ (๒๕๕๔). เราคือเตหน่าก.ู ศูนย์ศกึ ษาชาติพันธแุ์ ละการพัฒนาคณะ สงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหมแ่ ละศนู ย์พฒั นาชีวิตและสงั คม บ้านเซเวยี ร์ เชียงใหม่ : ลานนามเี ดยี แอนด์โปรดกั ชั่น Dournon, Genevieve. \" Organology.\" Ethnomusicology: An Introduction, Helen Myers (ed.), New York: W.W. Norton&Company, Inc., ๑๙๙๒๒๔๕-๓๐๐. Knight, Roderic. \" The Harp in India Today.\" Ethnomusicology, ๒๙, ๑, ๑๙๘๕. ๙-๒๘. Morton, David. The Traditional Music of Thailand: Berkeley: University of California Press, ๑๙๗๖. The Diagram Group, \"Folk Harps.\" Musical Instruments of the World: An Illustrated Encyclopedia with more than ๔๐๐๙ Original Drawings, New York: Sterling Publishing Co., Inc., ๑๙๙๗.

ช่ือ-สกลุ ประวัติผู้เขยี น รหัสนกั ศึกษา ชาติภูมิ : พระพทุ ธิพล พุทธฺ ิพล (เกง่ ไฉไล) ทอี่ ยปู่ ัจจบุ นั : ๖๔๑๐๕๔๐๑๑๐๐๑ บรรพชา : ตาก อปุ สมบท : วดั ทรายมลู เมอื ง เลขที่ ๓ ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จงั หวดั เชยี งใหม่ การศกึ ษา รหสั ไปรษณยี ์ ๕๐๒๐๐ คติประจำใจ : ๒๕ เมษายน ๒๕๕๗ ณ วดั พนั เตา ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมอื ง จงั หวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ : ๖ พฤศจิการยน ๒๕๖๓ ณ วดั ทรายมลู เมือง ตำบลพระสงิ ห์ อำเภอเมืองเชยี งใหม่ E-mail จังหวดั เชยี งใหม่ ๕๐๒๐๐ -นกั ธรรมชั้นเอก จากสำนกั เรียนคณะจังหวดั เชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๑ - พ.ศ. ๒๕๕๑ - พ.ศ. ๒๕๕๗ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๖ โรงเรียนชุมชนบา้ นใหม่ -พ.ศ. ๒๕๕๘ - พ.ศ.๒๕๖๓ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑-๖ โรงเรยี นธรรมเมธศี กึ ษา ปจั จุบนั กำลงั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ชน้ั ปีท่ี ๓ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา : เรยี นใหร้ ู้ ดใู หเ้ ห็น ทำใหเ้ ปน็ : ๐๖๒ ๙๐๒ ๑๒๗๔ : [email protected]




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook