Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเห็ดกินได้

คู่มือเห็ดกินได้

Published by ampanbannongthum01022524, 2020-06-13 05:22:57

Description: คู่มือเห็ดกินได้

Search

Read the Text Version

ครู คศ.1 โรงเรยี นดอนแรดวิทยา สงั กดั สพม. เขต 33

คำนำ เม่อื เรมิ่ เข้าส่ฤู ดูฝนเราจะพบวา่ มเี หด็ มากมายหลายชนดิ ถูกนำออกมาวางขายตามขา้ งทางหรอื ใน ตลาด มีท้ังเห็ดห้า (ตับเตา่ ) เหด็ โคน เห็ดถอบ (เหด็ เผาะ) เหด็ แดง ซ่ึงเป็นเหด็ ที่มีรสชาติดเี ปน็ ที่นิยมนำมา รับประทาน แตก่ ็ยังมขี า่ วการกนิ เห็ดพิษเกดิ ข้นึ อยู่เร่ือยๆ เนอื่ งจากความเข้าใจผดิ ในลักษณะรูปร่างท่ี คลา้ ยคลึงกันกบั เหด็ ที่เคยรับประทาน หรอื มกี ารเกบ็ เหด็ ปะปนกันมาจากบรเิ วณทเ่ี คยเกบ็ ซ่ึงอาจมีท้งั เห็ด กนิ ได้และเห็ดเบ่อื (เหด็ เมา หรอื เหด็ พิษ) โดยนำมาคดั แยกในภายหลงั ทั้งน้ีการเกบ็ เหด็ ป่ามีองค์ความรทู้ ี่ ถ่ายทอดกนั จากรนุ่ สูร่ ุ่นในชุมชน ซ่ึงปจั จุบันเร่มิ มจี ำนวนผรู้ ู้ลดลงเนอ่ื งจากวิถีชีวติ ท่ีเปลี่ยนแปลงไปของ จงึ ควรมกี ารคัดแยกเหด็ ก่อนนำมารับประทาน ดงั น้นั ผูจ้ ดั ทำจึงจัดทำข้อมูลเห็ดกินได้ ชดุ ท่ี 1 จากแหล่งข้อมลู ตา่ งไ เพื่อเปน็ ขอ้ มลู ประกอบ การศกึ ษาของผู้ทสี่ นใจ นายอัมพันธ์ บรรหนองทุม่

1 ทีม่ า : https://sites.google.com/site/hedchoothai/-hed/-hed-kin-di-edible-mushrooms/-hed-pheaa- hrux-hed-thxb ชอื่ สามญั : เห็ดถอบ เห็ดเผาะ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Astraeus hygrometricus) ถิน่ กำเนดิ : พบในแอฟริกา เอเชยี ออสเตรเลยี ยุโรป อเมริกาเหนอื และอเมริกาใต้ เห็ดเผาะ หรอื เหด็ ถอบ (องั กฤษ: Barometer Earthstars, hygroscopic earthstar, false earthstar; ชื่อ วทิ ยาศาสตร์: Astraeus hygrometricus) เป็นเหด็ ราชนิดหนงึ่ ในวงศ์ Diplocystaceae เมื่อออ่ นและดอกยงั ไมเ่ ปดิ มลี ักษณะ คลา้ ยเห็ดราในหมวด Basidiomycota กล่าวคือเป็นลกู กลม เมื่อโตข้นึ ดอกเห็ดมลี ักษณะเปน็ รูปดาวซงึ่ เปน็ ผลมาจากเนอ้ื เยอ่ื ชันนอกของสปอโรคารป์ แตกออก เห็ดเผาะเปน็ เหด็ ชนิดไมคอไรซาที่เตบิ โตรว่ มกบั ตน้ ไม้หลายชนดิ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในดิน รว่ นปนทราย เหด็ เผาะมีการกระจายพันธ์ทุ ว่ั โลกในเขตอบอนุ่ และเขตร้อน ชอ่ื สามญั (hygroscopic earthstar) มาจากมนั มี คุณสมบตั ไิ ฮโกรสโคปกิ (ดดู ซับนำ้ ) เห็ดจะเปดิ ดอกวงนอกเผยถงุ สปอรเ์ มอ่ื มีความชน้ื เพ่ิมขึน้ และปิดอกี คร้งั เมอ่ื แห้ง ดอกวง นอกจะแตกแบบไม่สมำ่ เสมอทผี่ วิ ขณะทถี่ ุงสปอรเ์ ป็นสีนำ้ ตาลออ่ นมรี อยฉกี ยาวบรเิ วณด้านบน เกลบา (gleba) เริ่มแรกมสี ี ขาวและกลายเปน็ สนี ำ้ ตาลและเปน็ ผงเม่ือสปอร์เจรญิ เตม็ ท่ี สปอร์มสี ีน้ำตาลแดง เกอื บกลม มีป่มุ เลก็ ๆ มเี สน้ ผ่าศูนย์กลาง 7.5–11 ไมโครเมตร แมว้ ่าจะมลี กั ษณะภายนอกคล้ายกัน แต่เหด็ เผาะไม่ได้มสี ว่ นเก่ยี วขอ้ งกับเห็ดราในสกลุ Geastrum ถงึ ใน อดตี จะมกี ารจดั อนุกรมวิธานไวใ้ นสกลุ น้ีกต็ าม เหด็ ชนดิ นไี้ ดร้ ับการจดั จำแนกครง้ั แรกโดยคร้สตนิ เฮนดรกิ เพอร์ซนู (Christiaan Hendrik Persoon) ในปี ค.ศ. 1801 เปน็ Geastrum hygrometricus ในปี ค.ศ. 1885 แอนดรวู ์ พี. เมอรแ์ กน (Andrew P. Morgan) เสนอวา่ เหน็ ชนิดนี้มีความแตกต่างทางลกั ษณะในระดับทม่ี องด้วยตาเปลา่ ไม่เห็น จึงควรแยกออกเปน็ สกุลใหญ่ Astraeus แตค่ วามเห็นนีก้ ลบั ไมเ่ ปน็ ทีย่ อมรบั ในวงกว้าง ประชากรเห็ดในเอเชียทแ่ี ตเ่ ดมิ จำแนกเป็นเห็ดเผาะ (A. hygrometricus) ไดร้ ับการจดั จำแนกใหม่ในช่วงทศวรรษท่ี 20 จากการจำแนกตามววิ ฒั นาการชาตพิ ันธเ์ุ หด็ ใน สกุล Astraeus ประกอบด้วย เหด็ เผาะฝา้ ย (A. asiaticus) และเหด็ เผาะหนัง (A. odoratus) ทม่ี า : https://sites.google.com/site/hedchoothai/-hed/-hed-kin-di-edible-mushrooms/-hed-pheaa- hrux-hed-thxb

2 ทมี่ า : http://www.biogang.net/plant_view.php?uid=10918&id=110196 ชอ่ื สามัญ : เหด็ ไขห่ ่าน เห็ดระโงก ชื่อวิทยาศาสตร์: Amanita vaginata ชือ่ วงศ์:- ลักษณะ: เหด็ ระโงกมีทั้งสีขาว สีแดงและสีเหลอื ง ดอกตมู กลีบรี คลา้ ยไข่ห่าน เมื่อโตข้นึ หมวกและก้านดอกจะ ดันปลอกหมุ้ แตกออกมา สปอรแ์ ละครบี สีขาว แล้วแต่สายพันธุ์ ดออกเห็ดมีลักษณะเปน็ เมือก ขอบหมวกมีร่อง เลก็ ๆตรงกันกับครบี เมื่อดอกบานขอบหมวกจะขาดตามรอยน้ี ด้านลา่ งหมวกมีครบี สีขาว กา้ นดอกยาวเป็น ทรงกระบอก ผิวเรยี บสีขาวหรือเหลืองนวล เน้อื เย่ือภายในกา้ นดอกสีขาว และสานต่อกันอยา่ งหลวมๆ ตรง กลางก้านดอกมีรูกลวงเลก็ น้อย ทม่ี า : http://www.biogang.net/plant_view.php?uid=10918&id=110196

3 ทม่ี า : http://srdi.yru.ac.th/bcqy/view/93__%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8% 9B%E0%B8%B9%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88 ชือ่ สามัญ มนั ปใู หญ่ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Cantharellus cibarius Fr. ชอื่ วงศ์ CANTHAVELLACEAE ลักษณะ หมวก รปู ทรงเตย้ี เกือบแบน เส้นผ่าศูนยก์ ลาง 24-42 มิลลิเมตร สีเหลอื ง ผิวด้านบนเรียบ กลางหมวกเป็นแอง่ ขอบเรยี บงอลง ขอบหมวกเม่อื ผ่าครึง่ ตรงแลว้ งอ ขอบหมวกเม่ือมองจากดา้ นบนเรยี บ ผวิ ขอบหมวกเรยี บงอลง ครบี ยาว 14-26 มลิ ลเิ มตร สเี หลอื งอ่อน การติดของครบี กับก้านเรียวยาวลงไปตดิ กา้ น ขอบครบี เรยี บ งอลง ความกว้างของครีบ 0.5-1.5 มิลลเิ มตร การตดิ ระยะหา่ งใกลก้ ัน ขอบครบี เม่อื มองจาก ดา้ นหน้าเรยี งหา่ ง มีครีบส้นั สลับ และเรียวยาวขนานลงไปติดก้าน ก้านทรงกระบอกโคนโปง่ ออก ยาว 36- 42 มลิ ลเิ มตร เส้นผา่ ศูนย์กลาง 8-10 มลิ ลิเมตร สีเหลอื งอ่อน การติดก้านกับหมวกติดตรงกลาง ผิวเรยี บ เนื้อ ในกา้ นตัน วงแหวน ไมม่ ี กระเปาะหุ้มโคน ไม่มี สปอร์ ทรงรี ผวิ เรยี บบาง สีเหลืองอมสม้ แหลง่ ที่พบ ขน้ึ บนพน้ื ดิน เดี่ยวหรอื กลมุ่ ห่างๆ การใชป้ ระโยชน์ กินได้ ทมี่ า : http://srdi.yru.ac.th/bcqy/view/93__%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8% 9B%E0%B8%B9%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88

4 ทม่ี า https://moomkao.blogspot.com/2019/07/blog-post_71.html ทม่ี า : https://sites.google.com/site/heddpaanakinn/hed-pa-kin-di-10-chnid/4-hed-ta-khil ชือ่ สามญั : เห็ดตะไคล ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Russula delica Fr. ชื่อท้องถน่ิ อืน่ ๆ : เห็ดไค เห็ดหลม่ เหด็ ตะไคร ลกั ษณะ : ดอกใหญแ่ ขง็ และกรอบ มีสีขาวปนเทา เวลายา่ งจะมีกล่นิ หอม ดอกเหด็ อ่อนสขี าวนวล ผิวหมวก เหด็ เรยี บ เสน้ ผ่าศนู ย์กลางประมาณ 3-15 ซม. เม่ือบานรูปรา่ งคล้ายกรวย ตรงกลางหมวกเว้าลงเล็กน้อย สี นำ้ ตาลอ่อน หรือสีเนือ้ เน้ือหมวกหนาด้านลา่ งหมวกมคี รีบเรยี งกนั เป็นรศั มี ก้านดอกมลี ักษณะ กลมใหญ่ โคนก้านดอกเรียวเลก็ กวา่ ด้านบนเลก็ นอ้ ย ผิวด้านนอกสีขาวนวลและเรยี บ เม่ือกระทบ แสงไฟในตอนกลางคนื จะเรืองแสง สภาพแวดล้อมและถ่ินกำเนดิ : ชว่ งเดือนพฤษภาคมถึงเดอื นสิงหาคม ชอบขึ้นตามปา่ ท่ีเปียกช่ืน เวลาฝนตกใหม่ๆแหล่งธรรมชาติชุมชนท้องถ่ินต่างๆ เหด็ ตะไคลพบได้ท้องถ่นิ ตามธรรมชาติ บริเวณหนองนำ้ ป่าละเมาะ ปา่ เต็งรัง แถบภาคอสี าน เหนือ ท่มี า : https://sites.google.com/site/heddpaanakinn/hed-pa-kin-di-10-chnid/4-hed-ta-khil

5 ทมี่ า : https://web.facebook.com/Mushroommboy/photos/ pcb.1994304340846107/1994303744179500/ ช่อื สามัญ : เหด็ แดงนำ้ หมาก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Russula emetica (Schaeff. Ex Fr.) Pers. S.f. Gray ชอื่ ท้องถนิ่ อนื่ ๆ : เห็ดแดง เหด็ น้ำหมาก เหด็ นำ้ มอย ลักษณะ: หมวกดอก (Cap หรือ Pileus) หมวกดอกมสี แี ดงสดหรือสแี ดงอมชมพู บริเวณกลางหมวกดอกบมุ๋ เว้าลงเลก็ น้อย ผิวหมวกดอกแหง้ สากมือ บางบรเิ วณมีลักษณะเป็นคล่ืนเวา้ นนู สลบั กัน ดอกอ่อนหมวกดอก มว้ นงอเกือบตดิ ก้าน ดอกแก่หมวกดอกบานแผ่กางออกเป็นทรงร่ม ขอบหมวกดอกเรียบแตม่ ลี ักษณะหยักเป็น คล่นื และงอลงเลก็ น้อย ดอกแก่มากๆ หมวกดอกมลี ักษณะงอข้ึนเปน็ รปู ทรงกรวย บางดอกขอบหมวกดอกฉีก ขาด เนอ้ื ภายในหมวกดอกมีสีขาวนวล นุม่ มีรอยกดั แทะของสัตว์ ขนาดหมวกดอกกวา้ ง 5.0-8.0 เซนติเมตร ยาว 5.5- 10.0 เซนตเิ มตร ครบี ดอก (Gill หรอื Lamella) ครบี ดอกมสี ขี าวนวลหรือขาวอมครีม เปน็ แผ่นหนา ลกั ษณะเป็น ครบี ยาวเทา่ กนั ตลอดไมม่ ีครีบสนั้ สบั หว่าง จำนวนครีบประมาณ 8-13 ครีบ ต่อ 1.0 เซนติเมตร ก้านดอก (Stalkหรอื Stipe) ก้านดอกมสี ีขาวอมชมพแู ดง ผวิ กา้ นดอกเรยี บแห้ง ลักษณะก้านดอก แขง็ แต่เปราเนอื้ ภายในก้านดอกมสี ีขาวและมีลักษณะเป็นขุยผงนมุ่ ซง่ึ อาจเกิดจากการกัดแทะของสัตว์ ขนาด กา้ นดอกกว้าง 1.3-2.0เซนติเมตร ยาว 2.5-5.0 เซนติเมตร กา้ นดอกดา้ นท่ตี ิดกับครบี มีขนาดกวา้ งน้อยกวา่ บรเิ วณโคนกา้ นดอกเลก็ น้อย แตใ่ นบางดอกกา้ นดอกดา้ นทอ่ี ยู่ติดกบั ครีบมีความกว้างมากกวา่ บริเวณโคนกา้ น ดอก ประโยชน์: นำเห็ดท่ีไดม้ าล้างทำความสะอาดจนเกล้ยี งหลังจากนัน้ ก็สามารถนำไปประกอบอาหารไม่วา่ จะเป็น แกง,ลวก เป็นต้น ทีม่ า : http://www.biogang.net/plant_view.php?uid=59444&id=219497

6 ที่มา : https://web.facebook.com/Mushroommboy/photos/ pcb.2687373791539155/2687373734872494/ ชอื่ สามัญ : เห็ดปลวก เหด็ โคน ช่ือวิทยาศาสตร์ : Termitomyces fuliginosus Heim. ถน่ิ กำเนดิ : ในประเทศเขตร้อนแถบทวปี แอฟริกา ประทศเนบาล อินเดยี พม่า และไทย ลักษณะทางพฤกษศาตร์: เหด็ โคนมีหมวกดอกกลม ปลายแหลมเล็กนอ้ ยคลา้ ยงอบ ดา้ นบนของหมวกเหด็ สี นำ้ ตาล เรียบหรอื มีรอยย่น เล็กนอ้ ย ด้านลา่ งหมวกเป็นครบี สีขาวเรียงชดิ กัน ครีบดอกสขี าว ส่วนโคนจะพอง โปง่ ออก ก้านดอกยาวหนา โปง่ ตรงกลางเล็กน้อย เน้ือเยื่อมีสีขาวนมุ่ และเหนยี ว กา้ นทรงกระบอกสีขาว ผิว เรยี บ ยาวประมาณ 12-20 ซม. มกี ล่นิ หอมเฉพาะตัว ฤดูกาล : ฤดฝู น ชว่ งเดอื นกรกฎาคม ถึงเดือนสงิ หาคม แหล่งปลูก : ข้ึนเองตามธรรมชาติตามปา่ โปร่ง จอมปลวก และทีร่ าบทั่วทุกภาค โดยจะพบมากแถบจงั หวัด กาญจนบรุ ี นครราชสีมา ราชบรุ ี และ เพชรบุรี การกิน : เน้อื เห็ดโคนนมุ่ เหนยี ว คลา้ ยเนอ้ื ไก่ นำมาปรุงอาหารประเภท ต้มเปร้ยี วเห็ดโคน ยำเห็ดโคน แกง เลยี งเห็ดโคน แกงเขียวหวานเหด็ โคน หรอื นำมาต้มกับเกลอื กินกบั นำ้ พริก สรรพคุณทางยา: เหด็ โคนชว่ ยให้เจรญิ อาหาร บำรุงกำลงั แก้บิด คลื่นไส้อาเจยี น แกไ้ อ ละลายเสมหะ นำ้ ที่ สกัดจากเห็ดโคนสามารถยับยั้งเช้ือโรคบางชนดิ ได้เชน่ เช้ือไทฟอยด์ เป็นต้น ที่มา : http://sarunyamaleept10.blogspot.com/2009/09/termite-mushroom- termitomyces.html

7 ที่มา : file:///C:/Users/ASUS/Downloads/Documents/%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99 %E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD5.pdf ชือ่ ท้องถิ่น : เห็ดถ่านใหญ่/เห็ดถ่าน ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Russula nigricans Fr. แหล่งท่พี บ : บรเิ วณปา่ ท่มี ีความชนื้ ลกั ษณะ เป็นเหด็ ตระกลู ไมคอร์ไรซา พึ่งพากับรากต้นไม้ เห็ดถา่ นเล็ก เปน็ เหด็ ทส่ี ามารถกนิ ได้ มีลกั ษณะสีขาวนวล พบได้ในทัว่ โลก และมีเขตการกระจาย พันธใุ์ นประเทศไทยทางภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จะขึน้ เป็นดอกเดยี่ ว และกลมุ่ ใน ป่ากอ่ ป่าตองตึง และปา่ สนเหด็ ถ่านมีท้งั เห็ดถ่านเล็ก และเห็ดถ่านใหญ่ แต่ทเ่ี หน็ นเี้ ปน็ เหด็ ถา่ น ขนาดใหญ่ ประโยชน์ น้ามารับประทานได้ น้าตม้ เหด็ จะออกเปน็ สีด้าเมอ่ื ชิมสดๆแลว้ ร้อนเผด็ น่ีคงเป็น ความพิเศษของเห็ดชนดิ นี้ (เดาวา่ นา่ จะมสี รรพคณุ ต่อการไหลเวียนเลือดดี เพราะรสเผ็ดรอ้ น) ท่มี า : file:///C:/Users/ASUS/Downloads/Documents/%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99 %E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD5.pdf

8 ท่ีมา : https://web.facebook.com/Mushroommboy/posts/1994304340846107/?_rdc=1&_rdr ชือ่ สามัญ เหด็ ตบั เต่า (Bolete) หรือทางภาคเหนอื เรยี กว่า เหด็ หา้ ภาคอสี านเรยี กวา่ เหด็ น้ำผึ้ง ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Thaeogyroporus porentosus (berk. ET. Broome ) เห็ดตบั เตา่ มถี น่ิ กำเนดิ ในแถบประเทศท่มี ีอากาศช้นื มคี วามชนื้ สมั พทั ธ์สูง พบในปา่ ท่ัวไปในทุกภาคของประเทศไทย และพบในประเทศตา่ งๆ ทัว่ โลกเหด็ ตบั เต่าเป็นเหด็ ทเี่ กดิ ตามธรรมชาติในฤดฝู นจากป่าธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปา่ เต็งรงั หรอื ป่าแดง ปา่ แพะ ป่าสะแก นอกจากนย้ี งั สามารถพบเหด็ ชนิดนไ้ี ด้ในสวนไมผ้ ลไมย้ ืนตน้ เช่น สวนมะม่วง มะไฟ ลำไย สวน ไม้ผลท่มี ตี ้นทองหลาง กระถนิ เทพา โสน และสามารถเพาะได้ ลกั ษณะทางอนกุ รมวธิ าน หมวกเห็ดมลี ักษณะมนเป็นรปู กะทะควำ่ เส้นผ่านศนู ยก์ ลาง 12-30 เซน็ ตเิ มตร ผิวมนั เนอื้ แข็ง สนี ้ำตาลเขม้ โคน ก้านใหญ่ เทา่ ทพี่ บดอกเหด็ ตับเต่าท่มี ขี นาดใหญ่ทส่ี ดุ มีน้ำหนักเกือบ 2 กิโลกรัม ดอกออ่ นมขี นละเอียดคลา้ ยกำมะหยสี่ ีนำ้ ตาล เม่ือดอกบานเตม็ ท่ี กลางหมวกเว้าเล็กนอ้ ย ผวิ สีนำ้ ตาลเขม้ อมเหลืองออ่ น ปริแตกเปน็ แหง่ ๆ ดา้ นลา่ งของหมวกมีรกู ลมเลก็ ๆ สี เหลอื ง ปากรเู ช่อื มติดเป็นเนือ้ เดียวกัน เม่อื บานเต็มทเี่ นือ้ จะเปล่ียนเปน็ สีเหลืองอมเขียวหมน่ และสีเขยี วหมน่ อมนำ้ ตาล กา้ น อวบใหญ่สีน้ำตาลอมเหลือง โคนกา้ นโป่งเป็นกระเปาะ บางส่วนนูนและเวา้ เปน็ รอ่ งลกึ การนำมาเปน็ อาหาร ดอกเห็ดนำมาปรุงอาหารไดห้ ลายประเภท มกั นำมาแกง อาจใส่กะทหิ รือไม่ใส่กไ็ ด้ ดอกเห็ดตบั เตา่ เมอื่ ตดั หรอื ห่ันถกู อากาศจะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าออกซิเดชนั (oxidation) เนื้อเหด็ จะเปลย่ี นเป็นสนี ้ำเงินอมเขยี ว เหด็ ตบั เตา่ มกี ารนำมาแปรรปู เพื่อการถนอมอาหาร ดว้ ยการบรรจกุ ระปอ๋ ง (canning) และการทำแหง้ (dehydration) สรรพคุณทางยา แพทย์แผนโบราณของไทยนำเอามาปรุงเปน็ ยา ใช้ในการรักษาโรคโดยเหด็ ตับเต่าคณุ สมบัติเป็นสมนุ ไพรท่ี ใชใ้ นการบำรุงกำลัง บำรุงตบั และบำรุงปอด กระจายโลหติ ดับพษิ รอ้ นภายใน ทมี่ า http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/006827/bolete- %E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B9%87%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B 8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2

9 ท่มี า : https://web.facebook.com/Mushroommboy/photos/pcb.1992258504384024/1992258227717385/ ช่ือวิทยาศาสตร์ Tricholoma crassum , Macrocybe Crassa (Beak) ชอื่ ทอ้ งถ่ิน เหด็ ตนี แรด เหด็ จนั่ หรือเหด็ ตับเต่าขาว เปน็ เห็ดท่สี ามารถนำมารับ ประทานได้ มีรสชาตดิ ี นำมาประกอบอาหาร จะมกี ลนิ่ หอม รสหวาน เน้อื กรบุ แตไ่ มเ่ หนียว เจรญิ เตบิ โตได้ ดใี นสภาพ ภมู ิอากาศทกุ ภาคของประเทศไทยแต่ละท้อง ที่ มีชือ่ เรียกแตกต่างกนั ไป เชน่ ทางภาคเหนือ เรยี กวา่ เห็ดจน่ั ภาคอีสาน เรยี กวา่ เห็ด ตนี แรด (เน่ืองจากมีขนาดใหญ)่ สว่ นภาคกลาง เรียกวา่ เหด็ ตบั เตา่ ขาว เหด็ ตีนแรดเจรญิ เติบโตได้ดบี นพ้นื ที่ดินซงึ่ มไี ม้ผุ และในสภาพที่ดินปน ทราย บริเวณทุ่งหญ้า หรอื ปา่ โปรง่ กไ็ ด้ โดยเฉพาะในพน้ื ท่ี ทม่ี ีตน้ ไมใ้ หญ่ๆถกู โคน่ และทง้ิ ส่วนของรากไวใ้ นดนิ เม่อื ตอไม้เร่ิมผุ เห็ดตนี แรดจะเจริญ เติบโตอย่ใู นรากไม้น้ัน เมอ่ื ฝนตกสภาพความช้ืนเหมาะสม เห็ดตีนแรดก็จะเจรญิ และสร้างดอกโผล่ขึน้ มาเหนอื ดนิ บางครั้งเหด็ ตนี แรดจะโผลข่ ้ึนมาสงู ถึง 2 ฟุต และเหด็ ตีนแรดไดน้ ำมาเพาะในถงุ พลาสตกิ ก็สามารถเจรญิ ได้ดี ลกั ษณะของดอกเห็ด เห็ดตีนแรดท่ัวไป มขี นาดใหญก่ วา่ ดอกเห็ดชนดิ อืน่ มาก หมวกดอกเหด็ เมอื่ กางเตม็ ที่ จะมีเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 12 - 15เซนติเมตร 1. หมวกเห็ด (Cap) มีขนาดใหญ่ รปู กระทะควำ่ สีขาวหมน่ หรือขาวนวล ถึงนำ้ ตาลอ่อน เส้นผา่ ศูนย์กลาง 5-15 เซนติเมตร ขอบมว้ นลง เป็น รูปทรงกลม ผวิ เรยี บ เน้ือสีขาว หนา 1-2 เซนติเมตร 2.ครีบดอก (Gill) มีลกั ษณะเป็นครีบ หรอื เปน็ แผน่ บางๆ สขี าว เรยี ง เป็นรัศมีรอบกา้ นดอก มคี รีบสัน้ สลบั และเว้าเปน็ แอ่งเล็กนอ้ ย กอ่ น ยึดตดิ กกั ันกา้ น ครบี ของหมวกดอกตนี แรดจะเปราะ และฉกี ขาดได้ง่าย 3.ก้าน ดอก (Stalk) ตามปกติเหด็ ตนี แรด มกี า้ นดอกยาวประมาณ 10-12 เซนติเมตร บริเวณโคนกา้ นดอกจะมีเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 3-4 เซนตเิ มตร และก้านดอกจะค่อยๆ เรียวเลก็ ไปทางดา้ นปลาย ท่ีผวิ ของกา้ นดอก จะมีเสน้ ใยสานกนั คลา้ ยกับตาขา่ ย สว่ นเน้ือดอก จะมีสขี าว มี ลักษณะยืดหย่นุ สานกนั โปรง่ ๆ ไมเ่ หนียวเหมือนเหด็ ชนิด อน่ื บริเวณตรงกลางของก้านด้านใน เน้ือเยอื่ มีลักษณะเปน็ เสน้ 4.สปอร์ (Spore) เห็ดตนี แรดเมอ่ื เจริญเตบิ โตที่ จะสร้างสปอร์ที่บรเิ วณ ครีบใตห้ มวกดอก สปอร์จะมีสีขาว ขนาดเลก็ มาก สปอร์รูปกลมรี สขี าว ขนาด 6-7x7-8 ไมโครเมตร ผิวเรยี บและมตี ง่ิ อยู่ 1 อนั ทมี่ า : https://www.gotoknow.org/posts/401802

10 ท่ีมา : https://web.facebook.com/thepteewathep/photos/pcb.1461742147409619 /1461741857409648/ ช่ือสามัญ : เหด็ หน้าววั ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Lactarius turpis Weimn Fr. ลักษณะ : มีความสงู ประมาณ 3-6 เซนตเิ มตร ดอกเหด็ จะมีลักษณะเปน็ กรวยตื้น ขอบดอกจะงอข้ึน ลักษณะผิวเปน็ คลืน่ ก้านยดึ ตดิ ของดอกเหด็ จะเรยี งติดกา้ น ลักษณะครบี จะเปน็ เส้นคลา้ ยขน ครบี เรยี งชิดกัน โคนกา้ นทรงกระบอกและผวิ เรยี บ ดอกจะมสี ีสม้ แกมนำตาล หมวกเห็ดมองจากด้านบนหยักมลละเอยี ด เห็ดน้าวัว เปน็ เหด็ ปา่ ในสกุลเดยี วกนั กบั เห็ดหลม่ พบทาง ภาคอีสานและเหนอื หมวกเหด็ มสี เี หลืองอมนำ้ ตาล โคนดอกอวบสัน้ สขี าว เมอื่ บานผิวหมวกดา้ นบนจะแตกออก เป็นเสน้ แฉ กรอบๆหมวก หมวกดอกบาง เนอ้ื น่ิม แต่จดั เป็น เหด็ ในสกลุ เดยี วกนั กบั เห็ดหล่ม เห็ดชนดิ นี้ ข้ึนตามปา่ ไมผ้ ลัดใบ พบทาง ภาคเหนอื ของประเทศไทย แตไ่ มช่ ุกชุมเหมอื นเห็ดหล่มหรือเหด็ ตะไคล เราจะพบเหด็ ชนดิ น้ขี ายปะปน รวมอยู่กบั เห็ดอน่ื ๆ แต่ เพยี ง ๓-๔ ดอกอาจเปน็ เพราะ ผูเ้ กบ็ เห็ดมาขายบางคน ไมก่ ลา้ เพาะกลวั จะเป็นพษิ หรอื อาจเป็นเพราะเห็ดชนดิ นี้ มขี นึ้ ไมม่ าก นกั ทม่ี า : http://www.biogang.net/plant_view.php?uid=48460&id=196946

11 ทม่ี า : https://www.youtube.com/watch?v=vMCbcu5RGhk ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Boletus griseipurpureus Corner) ชอ่ื ท้องถิน่ : เห็ดผง้ึ ยูคา(อสี าน) , เหด็ เหม็ด(ภาคใต)้ ลักษณะ เป็นเหด็ ทม่ี กั ขึ้นอยูต่ ามโคนของต้นเสมด็ จงึ ทำให้ได้ชอ่ื เรียกเช่นนี้มา สำหรับรสชาตขิ องเหด็ เหม็ดนน้ั จะมรี สขม ซึ่งหากจะนำไปรบั ประทานเป็นอาหาร จะตอ้ งทราบวิธีปรงุ ถึงจะอร่อยโดย ส่วนมากแล้วเห็ดเหมด็ จะต้องนำไปตม้ ใสเ่ กลอื ใสใ่ บมะขาม เพอื่ ลดความขม จากน้นั นำไปจิม้ น้ าพริก หรอื นำาไปแกง ปา่ ยูคาลิปตัส เป็นอีกสถานที่หน่งึ ซ่งึ พบเห็ดเหมด็ แต่จะมคี วามแตกตา่ งไปจากเหด็ เหมด็ ในป่า เสม็ด คอื เหด็ ในป่ายูคาลปิ ตัส จะมีรสชาตทิ ่ขี มกว่า ทม่ี า : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view3.aspx?id=11183

12 ทม่ี า : file:///C:/Users/ASUS/Downloads/Documents/%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99 %E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%AD%2321.pdf ช่ือวิทยาศาสตร์ : (Boletellus emodensis (Berk.) Sing.) ช่อื ท้องถิน่ เหด็ ผึง้ นกยงู เหด็ ผ้งึ ชาด ลักษณะ หมวกดอกอ่อนมีรูปทรง กลม เม่ือแกด่ อกรปู กระทะ คว่ำหมวกมสี ะเก็ดสีแดงถงึ แดงเขม้ กา้ น ทรงกระบอกสมี ่วง หรือสีแดงถึงแดงเข้ม กา้ น ตัน มี ร่องตามยาว โคนกา้ น พบกลุ่มเสน้ ใยสีขาว ทม่ี า : http://www.lib2.ubu.ac.th/ubu-art-culture/wp-content/uploads/2017/09/2558- mushroom-betaglucan.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook