Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบเรียนวัสดุศาสตร์ 3

แบบเรียนวัสดุศาสตร์ 3

Published by ณัฐิกา เสนาเทพ, 2022-02-20 01:37:52

Description: แบบเรียนวัสดุศาสตร์ 3 พว32024

Search

Read the Text Version

90 10. การเรียนรูตามอัธยาศัย (non-formal learning) เมื่อผสู อนไดด าํ เนนิ การ 9 ขอขา งตน แลว อาจมองออกนอกสถานศึกษา สราง นิสัยการเรียนรูตลอดชีวิต ใหเปนวัฒนธรรมของชุมชน รวมกันสรางแหลงเรียนรูดานสะเต็มใน ทอ งถนิ่ เชน เขา คายวิทยาศาสตรท่ีศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา หรือประยุกตความรูสะเต็ม เพื่อสนับสนุนแหลงเรียนรูวิถีชุมชน เชน สงเสริมใหนักเรียนใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมนําเสนอ ขอมูลภูมิศาสตร ประวัติศาสตร และวัฒนธรรมในชุมชนสรางหอเกียรติยศสะเต็มของหมูบาน เพ่ือนําเสนอเร่ืองราวการใชความรูสะเต็มในการพัฒนาอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิต เชน ผลงานดานการเกษตร ดานสาธารณสุข ดานการพัฒนาผลิตภัณฑ หรือดานการประยุกตใช เทคโนโลยี เปนตน การสงเสริมการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษาสําหรับการประดิษฐ วัสดุใชแลว เปนความพยายามจากหลากหลายภาคสวนในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษา ให พรอมสําหรับการดํารงชีวิต ดวยความรูความเขาใจในความงามและคุณคาของธรรมชาติ ดวย ความสามารถในการสรางสรรคว ิธีการแกป ญหาสง่ิ แวดลอมอยางเปนระบบดว ยกระบวนคดิ เชิงวศิ วกรรม และการใชศักยภาพของเทคโนโลยสี ื่อสารและทํางานรว มกบั ผอู ื่นอยา งสรางสรรค

91 เร่ืองที่ 3 การประดษิ ฐว ัสดุใชแ ลว 3.1 ส่งิ ประดิษฐจ ากวสั ดใุ ชแลวประเภทอิเล็กทรอนกิ ส สิ่งประดิษฐจากวัสดุใชแลวประเภทอิเล็กทรอนิกส เปนการนําขยะที่เปน เคร่ืองใชอิเล็กทรอนิกสที่ท้ิงแลว เชนเครื่องคอมพิวเตอรและวัสดุคอมพิวเตอรเกามาดัดแปลง เปน ของใช ไดแก CD/DVD มาทําเปนของใชจกุ จิกนารักสําหรับวางตกแตงเพิ่มความสวยงามของ สถานที่ตาง ๆ การนําแผนซีดีมาประดิษฐเปนนาฬิกา ที่รองแกว เครื่องประดับ ชั้นวางของ จุกจิก และอ่ืน ๆ การนําแปนพิมพคอมพิวเตอร (คียบอรด) เอาเฉพาะตัวอักษรมาเขียนสี ตัวอักษรใหชัดแลวนํามาติดรอยเรียงกันทําเปนพวงกุญแจ การนําหลอดไฟนีออนกลมมาทํา ความสะอาดเอาไสห ลอดออกแลวนํามาเปนแจกันปลูกตนไมประดับภายในอาคาร โทรทัศนเกา นาํ มาทําเปนทีน่ อนสตั วเ ลี้ยง หรือตูปลา เปนตน ซ่ึงจะเปนการปองกันขยะอิเล็กทรอนิกส ไมให เกิดผลกระทบตอ ส่งิ แวดลอ ม และลดความเสี่ยงและผลกระทบจากปริมาณขยะ นอกจากนี้แลว ยังเปน การสรา งงานสรางรายไดใหกบั ผทู ี่คิดคน ประดษิ ฐสงิ่ ของตา ง ๆ ออกจําหนายอกี ดวย ภาพที่ 5.1 เศษวัสดุอเิ ล็กทรอนกิ สท ีถ่ ูกนํามาประดิษฐเปนของใชต าง ๆ ทมี่ า : http://www.manager.co.th ภาพที่ 5.2 ภาพท่ี 5.3 จอคอมพวิ เตอร ภาพท่ี 5.4 หลอดไฟประดิษฐเ ปนแจกนั ประดษิ ฐเปน ที่นอนสัตวเล้ียง ตูป ลาจากโทรทัศนเ กา ทีม่ า : http://www.manager.co.th ทม่ี า : http://www.creativemove.com ท่ีมา : http://www.homedd4u.com

92 ขอควรระวังในสง่ิ ประดิษฐจากวัสดุใชแ ลว ประเภทอิเล็กทรอนิกส ขยะอิเล็กทรอนิกส สวนใหญมีสารอันตรายที่มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและ สุขภาพ ไดแก สารตะก่ัว สารปรอท คลอรีน แคดเมียม โบรมีน ซึ่งจะทําใหเกิดอันตรายตอ รางกาย ดงั นั้น กอ นการประดษิ ฐควรศกึ ษาหาขอมูลและวิธีการทําทถี่ ูกตองเพ่ือปองกันอันตราย ท่ีอาจเกดิ จากสารพิษ 3.2 ส่ิงประดษิ ฐจากวสั ดใุ ชแลวประเภทเศษเหลก็ สง่ิ ประดิษฐจ ากวสั ดุใชแลวประเภทเศษเหล็ก เปนการนําเศษเหล็กช้ินเล็กช้ิน นอยมาปะติดปะตอกันเกิดเปนรูปรางใหม อาจเปนของใชหรืองานศิลปะ งานประติมากรรม แลวแตผูประดิษฐจะคิดคนหรือสรางสรรค นําเศษเหล็กเหลาน้ันมาออกแบบ แลวเช่ือมตอกัน เปนรูปรางตามที่ออกแบบไว หรือตามประโยชนที่ตองการใชสอย ตัวอยางเชน การนําทอ นํ้าประปาที่เปนทอเหล็กมาทําเปนขาตั้งของโคมไฟ การทําเศษเหล็กหลายรูปแบบมาเช่ือมตอ กันเปนรูปรางงานประติมากรรม เชน หุนยนต สัตวตาง ๆ เปนตน นําเศษเหล็กมาทําเปน เฟอรน ิเจอรรูปแบบตาง ๆ ภาพท่ี 5.5 เศษเหลก็ ทอประปานํามาประดษิ ฐเปน ขาตงั้ โคมไฟ ที่มา : http://www.houzzmate.com ภาพที่ 5.6 เศษเหล็กหลายประเภทนํามาประดษิ ฐเปน งานปติมากรรม ทม่ี า : http://www.nana108.com

93 ภาพท่ี 5.7 เศษเหล็กประดษิ ฐเปน หุนยนตส รางงานสรา งอาชีพใหแ กผ ปู ระดษิ ฐ แหลง ผลติ หุน เหล็กยักษส ง ออก บานหนุ เหลก็ จังหวัดอา งทอง ท่มี า : http://www.thailovetrip.com ภาพท่ี 5.8 เศษเหล็กประดิษฐเปน โตะเกาอี้ ทม่ี า : http://www.manager.co.th ขอควรระวัง ในการประดิษฐเศษเหล็กนั้น ผูประดิษฐควรมีความรูเร่ือง การเช่ือมเหล็ก และควรรูจักการปองกันเศษเหล็กหรือไฟจากการเชื่อมเหล็กเขาตา ควรระวัง ไมใหเ ศษเหลก็ บาดมอื หรอื สวนตา ง ๆ ของรา งกายซ่งึ อาจกอ ใหเกิดโรคบาดทะยัก

94 3.3 สงิ่ ประดิษฐจากวสั ดใุ ชแลวประเภทยางรถยนต ส่งิ ประดษิ ฐจากวสั ดุใชแ ลวประเภทยางรถยนต เปนการนํายางรถยนตเกา โดยเฉพาะยางนอกนํามาดัดแปลงตกแตงเปนขาวของเครื่องใชและงานศิลปะตาง ๆ เชน ที่นอน สัตวเล้ียง บอเลี้ยงปลา เฟอรนิเจอร กระถางตนไม รูปสัตวสําหรับตกแตงสวนหรือบานเรือน ถงั ขยะ และอีกมาก ซึง่ จะทาํ ใหป ระหยดั คาใชจ า ยและยงั ชว ยใหผทู ี่คดิ คนประดษิ ฐสามารถ มรี ายไดจ ากการจําหนายผลติ ภัณฑจ ากยางรถยนตอ ีกดวย ภาพที่ 5.9 ภาพท่ี 5.10 ยางรถยนตประดิษฐเปน ท่ีนอนสตั วเ ล้ียง ยางรถยนตประดษิ ฐเปนกระถางตน ไม ที่มา : https://www.iurban.in.th ภาพที่ 5.11 ภาพที่ 5.12 ภาพที่ 5.13 ยางรถยนตป ระดิษฐเ ปน ยางรถยนตประดษิ ฐ ยางรถยนตประดษิ ฐ เปน สนามเด็กเลน เปนกรอบกระจก เฟอรน ิเจอร ท่ีมา : http://www.banidea.com

95 3.4 สิ่งประดษิ ฐจากวัสดใุ ชแ ลว ประเภทอลมู ิเนยี ม สิ่งประดิษฐจากวัสดุใชแลวประเภทอลูมิเนียม เปนการนําเอาขยะที่เปน กระปองอลูมิเนียม หรือฝาเปดกระปอง นํามาประดิษฐดัดแปลงใชประโยชน และจําหนายเปน รายได ไดแก นํามาประดิษฐเปนโคมไฟ ที่เก็บของรูปแบบตาง ๆ เคสโทรศัพทมือถือ กระเปา กระถางปลกู ตน ไม เปนตน ภาพท่ี 5.14 กระปอ งประดิษฐเปนกระถางตนไม ภาพท่ี 5.15 ท่ีเก็บของจากกระปอ งเกา ทม่ี า : http://www.banidea.com ภาพที่ 5.16 ฝาเปดกระปองประดิษฐเปนโคมไฟ ภาพที่ 5.17 ฝาเปดกระปองประดิษฐเปน ทมี่ า : http://www.banidea.com เคร่ืองประดับ ทม่ี า : http://women.kapook.com ขอควรระวัง ในการนาํ เศษอลูมิเนยี มหรือกระปอง หรือฝาเปดกระปอ ง มาทาํ งานประดิษฐนัน้ ควรระมดั ระวงั ไมใหบาดมือ หรอื เศษผงของอลมู ิเนยี มเขาตา ซ่งึ จะเปน อันตรายตอสขุ ภาพ

96 3.5 สิง่ ประดิษฐจากวสั ดใุ ชแ ลว ประเภทขวดน้าํ พลาสตกิ สิ่งประดิษฐจากวัสดุใชแลวประเภทขวดนํ้าพลาสติก ขวดน้ําพลาสติกมี หลายประเภทเชนขวดนํ้าดื่มแบบออนใส และแบบขาวขุน ขวดบรรจุภัณฑพลาสติกแข็ง สามารถนํากลับมาสรางสรรรคเปนงานประดิษฐที่ใชประโยชนไดจริงอีกคร้ัง และสามารถสราง งาน สรางอาชีพใหแกผ ูค ิดคนประดษิ ฐไดอ กี ทางหนงึ่ ดวย ตัวอยาง เชน การนํามาประดิษฐเปน กระถางตนไม โคมไฟ มานบังตา โรงเรือนเพาะปลูก โตะ เกาอ้ี ช้ันเก็บของ และอ่ืน ๆ อีก มาก ภาพท่ี 5.18 ขวดพลาสติกประดิษฐเปน มานบังตา โคมไฟ และโรงเรอื นเพาะชํา ภาพที่ 5-19 ขวดพลาสตกิ ประดษิ ฐเปน ร้วั บาน และลิน้ ชักเก็บของในบา น ที่มา : http://www.nonvisual.com ภาพที่ 5.20 บา นทีต่ กแตงดว ยฝาขวดนาํ้ ดืม่ พลาสติก ที่มา : http://www.bareo-isyss.com

97 3.6 สง่ิ ประดิษฐจ ากวสั ดใุ ชแ ลวประเภทเศษผา ส่ิงประดิษฐจากวัสดุใชแลวประเภทเศษผา เปนการนําเศษผาที่เหลือจากการ ตัดเย็บเส้ือผา หรือเสื้อผาเกาท่ีไมใชมาดัดแปลงเปนของใชตาง ๆ เชน พรมเช็ดเทา ผารองครก ผา หม ตกุ ตา ของท่ีระลึก เบาะรองนัง่ เปน ตน ภาพที่ 5.21 เบาะรองน่งั จากเศษผา ภาพที่ 5.22 กระถางตนไมจากเศษผา ทีม่ า : http://p-dit.com ภาพท่ี 5.23 พรมเช็ดเทาจากเสอ้ื ผาเกา ภาพที่ 5.24 หมอนองิ จากกางเกงยีนสเกา ท่ีมา : http://home.kapook.com ภาพท่ี 5.25 พวงกญุ แจจากเศษผา ภาพที่ 5.26 ตกุ ตาจากเศษผา ท่ีมา : https://sites.google.com ท่ีมา : http://www.ladysquare.com

98 3.7 ส่ิงประดษิ ฐจ ากวสั ดใุ ชแลว ประเภทเศษไม ส่ิงประดิษฐจากวสั ดุใชแลว ประเภทเศษไม เปนการนําเอาเศษไมท่ีเหลือใช จากงานกอสราง หรือจากลังไมเกา หรือจากจุกเครื่อมด่ืม มาประดิษฐดวยความคิดสรางสรรค ประดิษฐเปน ของใชใหม ๆ เชน โตะ เกา อ้จี ากเศษไมเ กา กรอบรูปหรือกรอบกระจก ช้ันวางของ ตกุ ตา เปนตน ภาพที่ 5.27 เศษไมป ระดษิ ฐ เปน เครื่องใชป ระดบั ตกแตง บาน ทีม่ า : http://www.diy-knight.com 3.8 สิ่งประดิษฐจ ากวัสดใุ ชแ ลว ประเภทกระดาษ สิง่ ประดิษฐจากวสั ดใุ ชแลว ประเภทกระดาษ เปนการนํากระดาษประเภท ตาง ๆ เชน กระดาษเอกสาร การดาษหนังสือพิมพ กระดาษนิตยสาร กระดาษรังไข กระดาษ กลอ งบรรจภุ ัณฑ นํามาประดิษฐดัดแปลงเปน ของใชใหมเ พ่มิ มลู คา เปนของใชใหมใ นครวั เรือน ลดรายจา ยและยงั เปน สินคาสรา งรายไดสรา งอาชีพได เชน ทาํ เปเปอรมาเชร  ทาํ ดอกไม สารเปน ตะกรา โคมไฟ กรอบรปู โตะ เกาอี้ และเคร่ืองประดบั เปนตน ภาพที่ 5.28 กระดาษประเภทตา ง ๆ ประดิษฐเปน ของใชในบา นและสนิ คา เพอื่ จําหนาย ท่มี า : https://www.iurban.in.th

99 ภาพที่ 5.29 งานประดิษฐเปเปอรมาเชจ ากกระดาษ ที่มา : http://www.kruwichan.com 3.9 สิ่งประดษิ ฐจ ากวสั ดุใชแลว ประเภทถุงพลาสตกิ ส่ิงประดิษฐจากวัสดุใชแลวประเภทถุงพลาสติก เปนการนําถุงพลาสติกท่ีใชบรรจุ สิง่ ของจากหา งรานตางหรือรานคาตาง ๆ มาทําความสะอาดใหแหง หรือที่ชาวบานเรียกกันวา ถุงกอบแก็บ หรือกอบแกบ นํามาตัดแลวมัดตอกันยาวเปนเสนเชือก แลวนํามาถักเปนส่ิงของ เครื่องใช ไดแก ท่ีนอนฟูก กระเปา ที่รองจาน ที่รองแกว ไมแขวนเส้ือ ถุงเทา ท่ีใชของจุกจิก ตามแตความคิดสรา งสรรคข องผปู ระดิษฐ ภาพท่ี 5.30 ถุงพลาสตกิ ท่ีนํามาประดษิ ฐเปน ที่รองภาชนะ และใสของจกุ จิก ที่มา : http://joobbox.exteen.com

100 ภาพที่ 5.31 ฟกู ทถี่ ักจากถุงพลาสติก ภาพท่ี 5.32 รองเทาทถ่ี ักจากถงุ พลาติก ท่ีมา : http://www.posttoday.com ที่มา : http://www.jeab.com ภาพที่ 5.33 กระเปาท่ถี ักจากถงุ พลาสตกิ ภาพที่ 5.34 ดอกไมป ระดษิ ฐจ ากถุงพลาสตกิ ท่มี า : http://p-dit.com ท่มี า : http://www.jeab.com 3.10 สิ่งประดษิ ฐจากวสั ดุใชแ ลว ประเภทขวดแกว การประดิษฐขวดแกว เปนการนําขวดแกวเคร่ืองดื่ม หรือเครื่องปรุงตาง ๆ นํากลับมาใชใหมโดยอาจจะประดิษฐเปล่ียนรูปราง หรืออาจคงรูปรางเดิมไวแตนําไปใช ประโยชนแบบใหม เชน การนําประดิษฐเปนงานศิลปะตาง ๆ การนํามาทําเปนโคมไฟ การ นําไปทาํ เปนกาํ แพงร้ัวสวนหรือรั้วบา น การนําไปประกอบตกแตงฝาผนังบานเพ่ือเพ่ิมแสงสวาง แทนบลอ็ กแกวในการกอสรา งบานเรอื น และอ่ืน ๆ อกี มาก

101 ภาพที่ 8.35 งานศิลปะจากขวดแกว ภาพที่ 8.36 โคมไฟจากขวดแกว ทีม่ า : http://www.greenintrend.com ทม่ี า : https://pinperty.com ภาพที่ 8.37 ขวดแกว ใชป ระดับตกแตงผนงั ภาพที่ 8.38 ร้ัวสวนจากขวดแกว บานเพม่ิ แสงสวางแทนบล็อกแกว ท่มี า : https://benefitsofbeingfit. ทม่ี า : http://www.designrulz.com wordpress.com จากตัวอยางขางตน ยังมีขยะอีกหลายประเภทท่ีสามารถนํามาประดิษฐได เชน โฟมจากหอบรรจุภณั ฑ หรอื โฟมบรรจอุ าหาร เปนตน ซึง่ สามารถศึกษาเพิ่มเตมิ ไดจากหนงั สอื ทีม่ ีจาํ หนายตามรานขายหนงั สอื และจากเว็บไซตตา ง ๆ จะเห็นไดวาการคัดแยกขยะมีประโยชน และความจําเปนอยางมากในการลดปริมาณขยะ นอกจากจะขายเปนเศษขยะไดแลว ยังนํามา ดัดแปลงตกแตง เปนขาวของเครื่องใช หรือสินคาใหม ลดรายจาย เพิ่มรายไดใหกับครอบครัว และหากรวมกลมุ กันทําก็จะเพมิ่ รายไดใหกบั ชุมชนดว ย

102 กิจกรรมทา ยหนวยที่ 5 หลงั จากทผ่ี ูเรยี นศึกษาเอกสารชุดการเรียนหนว ยท่ี 5 จบแลว ใหศ ึกษาคน ควา เพิ่มเตมิ จากแหลง เรยี นรูต าง ๆ แลวทํากจิ กรรมการเรียนหนวยที่ 5 ในสมุดบนั ทกึ กจิ กรรม การเรียนรู แลวจดั สง ตามท่คี รผู สู อนกาํ หนด

103 หนวยที่ 6 เทคโนโลยกี ารกําจัดวสั ดุ สาระสาํ คัญ 1. การเผาเศษวัสดุเหลอื ท้งิ เปนการจดั การเศษวสั ดุเหลอื ทิ้ง เปนวิธีท่ไี ดรับความนยิ ม สามารถกําจัดของเสียท่มี าจากการรักษาพยาบาลและของเสียท่ีมพี ิษได ดีกวา การกําจัดเศษวัสดุ เหลอื ท้ิงโดยวิธฝี งกลบและอาจนาํ สวนทีเ่ หลือน้ไี ปใชประโยชนไ ด ผลกระทบทางระบบนิเวศนก น็ อ ย กวา 2. ความจําเปนท่จี ะตอ งแสวงหาแหลง พลังงานหมนุ เวยี นทดแทนพลงั งานเช้ือเพลิง ฟอสซลิ ซึ่งนบั วนั จะมปี ริมาณลดนอ ยลงและมรี าคาสูงข้นึ เศษวัสดเุ หลอื ทงิ้ เปนอีก ทางเลอื กหน่ึง ดา นการผลติ พลังงาน เพราะเศษวสั ดเุ หลือท้ิง มศี กั ยภาพทส่ี ามารถนาํ มาใชเพอ่ื ผลิตพลังงานได ทงั้ นี้ เนื่องจากมปี ริมาณมาก และไมต อ งซอ้ื หาแตใ นปจจุบันมีการนําเศษวสั ดุเหลอื ท้ิงมาผลิต เปน พลงั งานนอยมากเมอื่ เทยี บกบั พลังงานทดแทนดา นอ่ืน ๆ ตวั ช้วี ดั 1. อธิบายเทคโนโลยีการกําจัดเศษวัสดุเหลือท้ิงดวยการเผาได 2. นาํ ความรูเรื่องเทคโนโลยีการกําจัดเศษวัสดุเหลือทิ้งดวยการเผาไปใชได 3. อธบิ ายการผลติ พลงั งานจากเศษวสั ดเุ หลือท้งิ ได 4. นาํ ความรเู รื่องการผลิตพลังงานจากเศษวสั ดุเหลือท้งิ ไปใชได ขอบขา ยเน้ือหา 1. เทคโนโลยกี ารกําจดั เศษวัสดเุ หลือทงิ้ ดว ยการเผา 2. การผลิตพลงั งานจากเศษวสั ดุเหลอื ทง้ิ

104 หนวยที่ 6 เทคโนโลยีการกาํ จดั วัสดุ เร่ืองท่ี 1 เทคโนโลยกี ารกําจัดเศษวัสดเุ หลอื ทงิ้ ดว ยการเผา 1. เทคโนโลยีเตาเผาที่ใชกันอยปู ัจจุบัน เทคโนโลยีเตาเผา หรือ Incineration คือ การเผาไหมมูลฝอยกับอากาศเพื่อ เกิดปฏิกริ ิยาการเผาไหม ที่ใหค วามรอ นและอณุ หภูมเิ พือ่ ทําลายมวลและปรมิ าตรของมลู ฝอย การเผาไหมเ กดิ ขึน้ ในเตาเผาที่ไดมกี าร ออกแบบเปน พิเศษเพื่อใหเขากับลกั ษณะสมบตั ขิ องขยะ มูลฝอย คือ อัตราความช้ืนสูง และมีคาความรอนท่ีแปร ผันได การเผาไหมจะตองมีการควบคุมท่ีดี เพ่ือจะปองกนั ไมใ หเกิดมลพิษและการรบกวนตอสภาพแวดลอม เชน กาซพษิ เขมา กล่ิน เปนตน กา ซซ่ึงเกิดจากการเผาไหมจะไดรับการกาํ จัดเขมาและอนภุ าคตามทีก่ ฎหมาย ควบคมุ กอ นที่ ปลอยออกสูบรรยากาศ ข้ีเถาซ่ึงเหลือจากการเผาไหม ซึ่งมีปริมาตรประมาณรอยละ 10 และ น้ําหนกั ประมาณรอยละ 25 ถงึ 30 ของขยะทสี่ ง เขาเตาเผา สามารถนํ้าไปฝงกลบหรือใชเ ปนวสั ดุ ปูพ้นื สําหรับ การสรางถนน สวนข้ีเถาที่มีสวนประกอบของโลหะ อาจถูกนํากลับมาใชใหมได นอกจากน้ันในบางพื้นที่ที่มี ปริมาณขยะมลู ฝอยอยูมาก สามารถที่จะน้ําพลังงานความรอนท่ีไดจาก การเผาไหมม าใชในการผลติ ไอนา้ํ หรอื ทาํ นํ้ารอน หรือผลติ กระแสไฟฟาได หัวใจของโรงเผามูลฝอยคือระบบกานเผาไหมซ ึ่งสามารถแบง ออกเปน 2 ประเภท คอื 1. ระบบการเผาไหมมวล (Mass Burn System) ซึง่ หมายถงึ การเผาทําลายมูลฝอยใน สภาพทร่ี บั เขา มาโดยไมตอ งมี กระบวนการจดั การเบื้องตนกอน 2. ระบบที่มีการจัดการเบ้ืองตน (Burning of Preheated and Homogenized Waste) หมายถึง ระบบการเผาไหมมวลเปน การเผาไหมมูลฝอยท่ีมีองคประกอบท่ีหลากหลายโดย ไมตอ งมีการจัดการเบ้อื งตน กอ น จากการศึกษารวบรวมขอมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีเตาเผามูลฝอยระบบการเผาไหมมวลท่ี มีอยูใน ปจจุบัน พบวา เตาเผาระบบการเผาไหมมวลที่นิยมใชกันอยูในปจจุบันสามารถจําแนก ออกเปน 2 ประเภท หลัก ๆ คอื เตาเผาแบบตะกรับเคล่ือนที่ (Moving Grate) ซ่ึงเปนเทคโนโลยี ท่ีใชกันแพรหลายและไดรับการ ทดสอบแลว มีสมรรถนะทางเทคนิคท่ียอมรับไดและสามารถ รองรับการเผาทําลายขยะมูลฝอยท่ีมีองคประกอบ และคาความรอนที่หลากหลาย และเตาเผา แบบหมนุ (Rotary Kiln) ซึง่ เปน ระบบทีไ่ ดร บั ความนิยมรองลงมา

105 ระบบทม่ี กี ารจัดการมูลฝอยเบ้ืองตนกอนทาํ การเผาตองมรี ะบบเพอื่ การลดขนาด การบด ตดั และการ คดั แยก หรือในบางคร้ังอาจมรี ะบบการผลติ เช้ือเพลิงจากมลู ฝอย (Refuse-Derived Fuel : RDF) ซงึ่ ทําใหม ี ความยงุ ยากในการปฏบิ ัติงานมากขน้ึ ดังนั้นระบบดงั กลาวจึงมีการใชงาน อยใู นวงจาํ กดั ระบบที่มกี ารจัดการมลู ฝอยเบ้อื งตนกอ นทาํ การเผาในทางทฤษฎอี าจจัดใหเ ตาเผาแบบ ฟลอู ิดไดซเ บด (Fluidized Bed) จดั อยใู นพวกเดยี วกันดวย อยางไรก็ตาม เทคโนโลยีฟลอู ดิ ไดซเบด จดั วา เทคโนโลยีที่ใหมอยู และมกี ารใชงานเพื่อการเผาทําลายขยะมูลฝอยในวงจาํ กัด โดยทวั่ ไปใช ในการกาํ จดั เศษวสั ดอุ ตุ สาหกรรมอตุ สาหกรรม (มตี ัวอยางการใชง านในประเทศญ่ปี ุน) นอกจากน้มี ี เทคโนโลยไี พโรไลซิส-กา ซซิฟิเคชั่นอีกดวย โดยรายละเอยี ดของเตาเผาแตละเทคโนโลยี ท้งั ทาง ดา นเทคนิควิศวกรรมการจัดการสง่ิ แวดลอ มการบริหารจัดการโรงแรม รายละเอียดคาใชจาย ในการดาํ เนนิ งานและการบํารงุ รกั ษา จะไดก ลาวถึงตอไป 1.1 ประเภทของเทคโนโลยแี ละหลกั การทํางานของเทคโนโลยี เตาเผามลู ฝอยแบบการเผาไหมมวลเปน ระบบที่ใชกันอยางแพรห ลาย ซ่งึ ประกอบดวยตะกรบั ทส่ี ามารถเคลอ่ื นท่ีไดแ ละมี การเผาไหมบนตะกรับนี้ โดยขยะเผา ไหม ตะกรับ จะเคลื่อนทแี่ ละลําเลยี งมลู ฝอยจากจุดเริม่ ตน ถงึ จุดสุดทา ย ภาพที่ 6.1 เตาเผาแบบตะกรับเคลอ่ื นที่ ทม่ี า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th

106 ภาพที่ 6.2 ภาพถา ยแสดงใหเหน็ ตะกรบั ทอี่ ยดู านในของเตาเผามูลฝอย ทมี่ า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th กามปูของเครนเหนือเตา จะทําหนาที่จับมูลฝอยเพื่อปอนลงไปในชองปอนกอนท่ีจะ หลนเขาไป ในหองเผาไหมของเตาเผาดวยแรงโนมถวง เมื่อมูลฝอยตกลงไปวางบนตะกรับ ความ รอนในเตาเผาจะทําใหมูล ฝอยแหงกอนท่ีจะเกดิ การเผาไหมดวยอุณหภูมิสูงกับอากาศที่ใชในการ เผาไหม ขี้เถา (รวมท้ังสวนประกอบของ มูลฝอยสวนที่ไมสามารถเผาไหมได ) จะหลุดออกจาก ตะกรับในลกั ษณะของเถาลอย ลงสูหลุมถายขเ้ี ถา ตะกรบั จะทําหนาท่ีเปน เสมือนพ้นื ผิวดานลางของเตา การเคลอ่ื นทีข่ องตะกรับหาก ไดร ับการ ออกแบบ อยา งถูกตอ งจะทาํ ใหมูลฝอยมีการขนยา ยและผสมผสานกันอยา งมี ประสทิ ธภิ าพและทาํ ใหอากาศทใ่ี ชในการ เผาไหมสามารถแทรกซมึ ไปถว่ั ถึงพ้ืนผวิ ของมูลฝอย ตะกรับอาจถูกจัดแบง ใหเปน ท่ียอยเฉพาะ ซ่งึ ทาํ ใหสามารถ ปรบั ปริมาณอากาศเพอ่ื ใชใ นการเผา ไหมไ ดอยางอิสระและทาํ ใหสามารถเผาไหมไดแ มมูลฝอยทมี่ คี าความรอนตาํ่

107 ภาพท่ี 6.3 สวนประกอบของตะกรับท่ชี วยใหมลู ฝอยเกิดการเคลอ่ื นที่ ท่ีมา : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th อากาศทีใ่ ชในการเผาไหมแบงออกเปนอากาศปฐมภูมิ (Primary Air) ซึง่ เปา ดานลาง ของผิวตะกรับ โดยทาํ หนาท่ี ชวยใหเ กิดการเผาไหมในภาคของแขง็ และระบายความรอนใหกับ ตะกรับ อากาศทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Air) จะจายเขา บริเวณดา นบนของหองเผาไหมและทาํ หนาท่ี เผาไหมกา ซที่ระเหยข้นึ มาจากมูล ฝอยทีว่ างบนตะกรับเพ่ือใหเ กิดการเผาไหมท่สี มบรู ณ ตะกรบั ทใี่ ชกบั ระบบเตาเผามลู ฝอยมีหลายแบบเชนกัน เคลื่อนไปดา นหนา (Forward Movement), เคลือ่ นไปดานหลงั (Backward Movement), เคล่ือนทแ่ี ยกตวั (Double Movement Rocking) และ ลกู กลง้ิ (Roller) เปน ตน รูปท่ี 6.4 อากาศท่ใี ชใ นการเผาไหมท ีจ่ า ยเขา ตามสว นตาง ๆ ของหองเผาไหม ทม่ี า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th

108 ผนงั ของหองเผาไหมใ นเตาเผามูลฝอยมักเปนแบบบดุ ว ยอิฐทนไฟ (Refractory Wall) หรือแบบผนังนํ้า (Water Wall) สําหรับแบบหลงั นส้ี วนมากจะปฏิบัตงิ านโดยใชอากาศสว นเกิน ในปรมิ าณตํา่ ซงึ่ ชวยใหลด ปรมิ าตรของหอ งเผาไหมและลดขนาดของอุปกรณควบคุมมลพษิ อากาศ ตารางที่ 6.1 ขอไดเปรียบและขอ เสียเปรียบของเตาเผาแบบตะกรับเคลอื่ นท่ี ขอไดเปรียบ ขอเสียเปรยี บ 1. ไมตองการคัดแยกหรือบดตัดมลู ฝอยกอน 1. เงินลงทุนและบำรงุ รักษา 2. เปนเทคโนโลยีทม่ี ใี ชกนั อยา งแพรหลายและไดรับ คอนขางสงู การทดสอบแลวสำหรับการเผาทำลายมูลฝอยและ มสี มรรถนะตรงตามวตั ถปุ ระสงค 3. สามารถจัดการกับมูลฝอยทม่ี อี งคป ระกอบและ คาความรอ นที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาไดเ ปน อยางดี 4. สามารถใหคาประสิทธิภาพเชิงความรอ นไดส ูงถงึ รอยละ 85 5. เตาเผาแตล ะเตาสามารถกอสรา งใหม ี ความสามารถในการเผาทำลายไดถ ึง 1,200 ตนั ตอวัน (50 ตันตอช่วั โมง)

109 เตาเผาแบบหมนุ (Rotary Kiln) ระบบเตาเผาแบบหมนุ เปนการเผาไหม มวลของมูลฝอยโดยใชห อ งเผาไหม ทรงกระบอกซงึ่ สามารถ หมนุ ไดร อบแกน มลู ฝอยจะเคล่ือนตวั ไปตามผนงั ของเตาเผ า ทรงกระบอกตามการหมุน ของเตาเผาซึง่ ทํามมุ เอยี งกับแนวระดับ รปู ที่ 6.5 ระบบเตาเผาแบบหมนุ ท่มี า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th เตาเผาแบบหมุนสวนใหญจะเปนแบบผนังอฐิ ทนไฟ แตก็มีบางท่ีเปนผนังถํ้า ทรงกระบอกอาจมีขนาด เสนผานศูนยกลางต้ังแต 1 ถึง 5 เมตร และยาวตั้งแต 8 ถึง 20 เมตร ความสามารถในการเผาทําลายมูลฝอย มีต้ังแต 2.4 ตันตอวัน (0.1 ตันตอชั่วโมง) จนถึง ประมาณ 480 ตันตอชั่วโมง (20 ตันตอ ช่วั โมง) อตั ราสวนอากาศสวนเกินที่จะใชม ปี รมิ าณท่ีมากกวาแบบทใี่ ชก บั เตาเผาแบบตะกรับ และอาจจะมากกวาที่ใชก บั เตาเผาแบบฟลูอดิ ไดซเ บดดว ยสิง่ ท่ตี ามมากค็ ือ เตาเผาแบบหมนุ มปี ระสิทธิภาพพลังงานที่ ต่ํากวาเลก็ นอ ย แตก ย็ ังมคี ามากกวารอยละ 80 เนื่องจากวาเวลาที่ใชในการเผาไหม (Retention Time) ของกา ซไอเสยี คอนขางสัน้ เกนิ ไปสาํ หรับการทาํ ปฏิกิรยิ าการเผาไหมใ นเตาเผาแบบหมุน ดงั น้นั เตาทรงกระบอกจึงมกั มี สว นตอทที่ ําเปนหองเผาไหมหลัง (After-Burning Chamber) และหมักรวมอยูใ นสว นของหมอ นํ้าดวย

110 ภาพท่ี 6.6 ระบบเตาเผาแบบหมุนที่ติดต้ังใชง านจริง ที่มา : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th ตารางท่ี 6.2 ขอไดเปรยี บและขอ เสยี เปรียบของเตาเผาแบบหมุน ขอไดเ ปรียบ ขอเสียเปรยี บ 1. ไมตองการการคัดแยกหรือบดตดั มลู ฝอยกอน 1. เปนเทคโนโลยีทีม่ กี ารใชใ นการเผาทําลาย มูลฝอยคอนขางนอย 2. สามารถใหค า ประสทิ ธิภาพเชิงความรอนสงู ถึง 2. เงนิ ลงทนุ และบํารุงรักษาคอนขางสูง รอ ยละ 80 3. สามารถจดั การกับมูลฝอยทีม่ อี งคประกอบ 3. ความสามรถในการเผาทําลายสูงสดุ ตอ และคา ความรอนทีเ่ ปล่ียนแปลงตลอดเวลาได หนึง่ เตาประมาณ 480 ตันตอ วัน เปน อยา งดี (20 ตันตอช่ัวโมง)

111 เตาเผาแบบฟลูอดิ ไดซเบด (Fluidized Bed) เตาเผาแบบฟลูอิดไดซเบด ทํางานโดยอาศัยหลักการที่อนุภาคของแขง็ ท่ีรวมตัว เปน Bed ในเตาเผา ผสมเขากับมลู ฝอยที่ทําหนาท่ีเปน เชื้อเพลิงสําหรับการเผาไหมถกู ทําให ลอยตัวขึ้น อนั เน่ืองมาจากอากาศท่ีเปา เขาดานขา งทําใหมันมีพฤติกรรมเหมือนกบั การไหล เตาเผาโดยท่ัวไปจะมีรปู รา งเปนทรงกระบอกต้ัง และวัสดุท่ีทําผนังหองเผาไหม มักทํามาจาก ทรายซิลิกา หินปนู หรือวัสดเุ ซรามกิ ส การใชงานเตาเผาแบบฟลูอิดไดซเบดอยูในขั้นเริ่มตนเน่ืองจากมีการพัฒนา เทคโนโลยีเตาเผาอยูอยาง สม่ําเสมอ โดยเตาเผามีขอ ไดเปรียบที่สามารถลดปริมาณสาร อนั ตรายไดในผนังหองเผาไหม และมปี ระสิทธิภาพเชิงความรอนสูง สามารถใชไดกับเชื้อเพลิง หลากหลายประเภท ขอเสียเปรยี บหลักของเตาเผาแบบนีอ้ ยูทตี่ องการกระบวนการในการจดั การ มูลฝอยเบื้องตนกอนที่จะสามารถปอนขอมูลเขาสูเตาเผาได เพ่ือใหมูลฝอยมีขนาด คาความ รอน ปริมาณข้ีเถาท่ีอยูขางในและอื่น ๆ เพื่อใหตรงตอขอกําหนดในการปฏิบัติงานของ เตาเผา และเนื่องจากมูลฝอย มีลักษณะสมบัติท่ีหลากหลาย จึงทําใหเกิดความยากลําบาก ในการทําใหไดเ ช้ือเพลงิ ทตี่ รงตามความตองการ ภาพที่ 6.7 เตาเผาแบบฟลอู ดิ ไดซเ บด ที่มา : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th

112 ตารางที่ 6. 3 ขอ ไดเ ปรยี บและขอเสียเปรียบหลกั ของเตาเผาแบบฟลูอดิ ไดซเบด ขอไดเปรียบ ขอเสียเปรียบ 1. เงนิ ลงทุนและคาใชจายในการบํารุงรักษา 1. ณ ปจ จุบันยงั จัดวาเปนเทคโนโลยีท่ียงั คอ นขา งตํา่ เนอื่ งจากออกแบบทคี่ อ นขา งงาย ตอ งการการทดสอบอยสู าํ หรับเผาทําลายมูลฝอย 2ช. ชคอ นขา งมีขอจํากัดดานขนาดและ 2. สามารถใหคาประสิทธิภาพเชิงความรอนได องคป ระกอบของมลู ฝอย โดยทว่ั ไปตองมี สูงถงึ รอ ยละ 90 กระบวนการในการจดั การมลู ฝอยกอนสง เขา 3. สามารถใชใ นการเผาทําลายเชื้อเพลงิ ที่ เตาเผา หลากหลายประเภทและสามารถรบั รองไดทัง้ และกากของแข็ง เหลวโดยเผาทาํ ลายรวมกนั หรือแยกจากกนั เตาเผาแบบไพโรไลซสิ - กา ซซิฟเิ คชนั (Pyrolysis and Gasification) กระบวนการผลิตกาซเชื้อเพลิงจากมลู ฝอยชุมชน (MSW Gasification) เปน กระบวนการทําใหมูลฝอยเปนกาซโดยการทํา ปฏิกิริยาสันดาปแบบไมสมบูรณ (Partial Combustion) กลา วคอื สารอินทรยี ใ นมูล ฝอยจะทําปฏกิ ิริยากับอากาศหรือออกซิเจนปริมาณ จํากดั ทําใหเกิดกา ซ ซึ่งมีองคประกอบหลกั ไดแก คารบอนมอนอกไซด ไฮโดรเจนและมีเทน เรียกวา Producer gas ในกรณที ี่ใชอากาศเปนกาซทําปฏิกิริยากาซ เช้ือเพลิงที่ไดจะมคี าความ รอนตํ่าประมาณ 3 - 5 เมกะจูลตอลูกบาศกเมตร แตถาใชออกซเิ จนเปนกาซทําปฏิกิริยากาซ เช้ือเพลิง ท่ีไดจะมีคาความรอนสูงกวาคือ ประมาณ 15 - 20 เมกะจูลตอลูกบาศกเมตร กระบวนการผลิตกาซเชื้อเพลิงจากเช้ือเพลิงแข็งประกอบไปดวยกระบวนการสลายตัว (Decomposition) และกระบวนการกล่นั สลาย (Devolatilization) ของโมเลกุลสารอินทรีย ใน มูลฝอยชุมชน ที่อณุ หภูมิสูงประมาณ 1,200 - 1,400 องศาเซลเซียส ในบรรยากาศที่ควบคุม ปริมาณออกซิเจ น เพ่ือผลิตสาระเหย และถานชาร (Char) ในข้ันตอนของกระบวนการกล่ัน สลายทเ่ี รยี กวาไพโรไลซสิ (Pyrolysis) มลู ฝอยจะสลายตวั ดว ย ความรอนเกิดเปนสาระเหย เชน มเี ทน และสวนที่เหลือยังคงสภาพของแข็งอยูเรียกวา ถานชาร สารระเหยจะทําปฏิกิริยาตอกบั อากาศ ออกซเิ จน หรือไอน้ํา ไดเปนกา ซเช้ือเพลิง

113 ปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึนในกระบวนการแปรสภาพเปนแกส (Gasification Process) จะเปน ตวั กาํ หนดองคประกอบของกา ซเชื้อเพลิง ซ่ึงปจจัยหลักทกี่ ําหนดเกิดปฏิกิริยาดังกลาว คือ อณุ หภูมิ ภายในเครื่องปฏิกรณ เชน ถาอุณหภูมิตํ่าเกินไป จะทําใหโมเลกุลขนาดกลางไม เกดิ สันดาป และจะหลดุ ออกไปเกดิ การควบแนน เปน นาํ้ มนั ทาร ภาพท่ี 6.8 กระบวนการไพโรไลซิส ของบริษัท Compact Power® ทีม่ า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th เคร่อื งปฏิกรณผ ลติ กา ซเชื้อเพลิง (Gasifier) สามารถแบงออกไดเปน 4 ชนดิ ไดแก 1. ระบบผลิตกาซเชือ้ เพลิงแบบไหลขึ้น (Updraft Gasifier) 2. ระบบผลิตกา ซเชอื้ เพลิงแบบไหลลง (Downdraft Gasifier) 3. ระบบผลิตกาซเช้ือเพลิงแบบไหลขวาง (Cross-Current Gasifier) 4. ระบบผลติ กา ซเชอื้ เพลิงแบบปอ นเชื้อเพลิงตอ เน่ือง (Fluid Bed Gasifier) โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

114 1) เคร่ืองปฏิกรณแ บบระบบผลิตกาซเชอ้ื เพลิงแบบไหลขน้ึ (Updraft Gasifier) เคร่ืองปฏิกรณแบบนี้เปนแบบท่ีใชเร่ิมแรกและเปนแบบท่ีงายท่ีสุด เช้ือเพลิง จะถูกปอนเขาทางสวนบนของเคร่ืองและอากาศจะถูกสงผานตะแกรงเขามาทางดานลาง บริเวณเหนือตะแกรงขึ้นไปมีการเผาไหมของเชื้อเพลิงข้ึน ซ่ึงเรียกบริเวณน้ีวา สวนเผาไหม (Combustion Zone) เมื่ออากาศผานเขาไปบริเวณสวนเผาไหม(Combustion Zone) จะ เกิดปฏิกิริยาข้ึนไดกาซคารบอนไดออกไซดและนํ้า กาซรอนที่ผานมาสวนเผาไหม (Combustion Zone) จะมีอุณหภูมิสูงและจะถูกสงผานไปยังสวนปฏิกิริยาเกิดกาซ (Reduction Zone) ซ่ึงเปนโซนท่ีมีปริมาณ คารบ อนมากเพียงพอท่ีจะกอ ใหเกดิ ปฏกิ ริ ิยากับ กาซคารบอนไดออกไซดและนํ้า เกิดเปนกาซ คารบอนมอนอกไซดและไฮโดรเจน หลังจากนั้น กาซที่จะไหลเขาสูบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ํากวาในชั้น ของเชือ้ เพลิง และกลัน่ สลายในชว งอณุ หภมู ิ 200 - 500 องศาเซลเซียส หลังจากนั้นกาซก็จะ ไหลเขาสูชั้นของเช้ือเพลิงท่ีชื้น เน่ืองจากกาซยังคง มีอุณหภูมิสูงอยู จึงไประเหยน้ําท่ีอยูในเช้ือเพลิง เหลา นัน้ ทาํ ใหกาซท่ีออกจากเคร่อื งปฏกิ รณม ี ภาพที่ 6.9 ระบบผลติ กาซเชือ้ เพลงิ แบบไหล อุณหภมู ิต่ําลง สารระเหยและนํา้ มนั ทาร ขน้ึ (Updraft Gasifier) ทม่ี า : http://bangkokgreencity.bangkok.go.th ที่เกิดขึ้นในชวงการกลั่นสลายจะติดออกไปกับกาซ เช้ือเพลิงที่เกิดขึ้น ดังนั้นกาซเช้ือเพลิงที่ไดจากเครื่องปฏิกรณแบบผลิตกาซเชื้อเพลิงแบบไหล ข้ึน (Updraft Gasifier) จะมีปริมาณของนํ้ามันทารมาก บางครั้งอาจมีมากถึงรอยละ 20 ของ นํา้ มนั ทารท ีไ่ ดจากการไพโรไลซสิ

115 gasifier) 2) เครือ่ งปฏกิ รณแ บบระบบผลติ กาซเช้อื เพลงิ แบบไหลลง (Downdraft เคร่ืองปฏิกรณแบบระบบผลิตกาซเชื้อเพลิงนี้ ออกแบบมาเพื่อขจัดน้ํามันทาร ในกาซเช้ือเพลิง โดยเฉพาะ อากาศจะถูกดูดผานจากดานลาง ผานกลุมของหัวฉีดซึ่ง เรียกวา Tuyers บริเวณหัวฉีดจะเปนบริเวณของโซนสวนเผาไหม (Combustion) กาซที่ไดจากโซน สวนเผาไหม (Combustion) จะถูกลดขนาดลงในขณะท่ีไหลงลงสูดานลางและผานช้ันของ คารบอนทีร่ อ นซึง่ อยูเหนอื ตะแกรงเล็กนอยขณะเดยี วกันในชัน้ ของเชื้อเพลงิ ทอี่ ยูท างดานบน ของโซนสวนการเผาไหม จะมีปริมาณออกซิเจนนอยมากทําใหเกิดการกลั่นสลายและน้ํามัน ทารท ่เี กิดจากการกลั่นสลาย จะไหลผานช้ันของคารบอนท่ีรอน ทําใหนํ้ามันทารเกิดการแตก ตวั เปนกา ซ ซึง่ การแตกตัวนีจ้ ะเกดิ ทอ่ี ณุ หภมู ิ คงที่ในชวงระหวาง 800–1,000 องศาเซลเซียส ถาอุณหภูมิสูงกวา 1,000 องศาเซลเซียส ปฏิกิริยาดูดความรอนจะทําใหกาซท่ีไดมี อุณหภูมิต่ําลง แตถาอุณหภูมิตํ่ากวาชวงอุณหภูมิดังกลาว ปฏิกิริยาคายความรอนจะ ทําให กาซท่ีไดมีอุณหภูมิสูงขึ้น กาซที่ผานโซนสวนเผาไหม (Combustion) จะมีสวนประกอบของ นํา้ มันทารล ดลงเหลือนอยกวารอ ยละ 10 ของนํา้ มันทารท ี่ไดจ ากระบบผลิตกาซเชื้อเพลงิ แบบไหลขน้ึ (Updraft gasifier) และกา ซเชอื้ เพลิงท่ีไดจ ะสะอาดกวา การผลติ กา ซเชือ้ เพลงิ โดยเครื่องปฏิกรณแบบระบบผลติ กา ซเชอื้ เพลงิ แบบไหลลง (Downdraft gasifier) นี้งา ย และ มคี วามนาเชือ่ ถือสาํ หรับเช้อื เพลิงท่มี แี หง (มคี วามชื้นต่ํากวารอยละ 30) เน่ืองจากวา กา ซเชื้อเพลิงทไี่ ดมปี ริมาณนา้ํ มนั ทารตํ่า ดังน้นั เคร่อื งปฏกิ รณแ บบระบบผลติ กาซเชอื้ เพลิง แบบไหลลง (Downdraft gasifier) จงึ เหมาะ กับเครอ่ื งกาํ เนิดไฟฟา ขนาดเล็กทมี่ เี ครอื่ งยนต รปู ที่ 6.10 ระบบผลติ กา ซเชื้อเพลงิ แบบไหลลง (Downdraft gasifier) สนั ดาปภายในทีม่ ีขนาดกาํ ลงั การผลิตไมเ กนิ ทีม่ า : http://biofuelsacademy.org 500 กโิ ลกรัมตอช่ัวโมง(kgh-1 ) หรือ 500 กโิ ลวัตต

116 3) เครอ่ื งปฏิกรณแ กส ซฟิ ายเออรแบบไหลขวาง (cross draft gasifier) เครื่องปฏกิ รณแ กส ซฟิ ายเออรแบบไหลขวางนมี้ หี ลักการทาํ งานคือใหอากาศ เขาทางดา นขา งของเตาและกาซออกทางตรงขาม อากาศจะถูกดดู ผานหวั ฉดี อยใู นแนวราบเขต เผาไหมจะอยถู ดั จากหัวฉีดออกไป และตอ จากน้ันจะเขาเขตรีดกั ชั่น ความรอ นจะไหลออกสู ภายนอก โดยผานตะแกรงซึ่งอยรู อบๆเขตการเผาไหม และเขตรีดักช่ันจะเปนบริเวณเขตกล่ัน สลายนา้ํ มันดนิ (ทาร) ท่ีจะเกดิ จากเขตกลั่นสลายนีจ้ ะฝุนเขตรดี ักช่ันกอน ทาํ ใหน า้ํ มันดินเกิด แตกสลายกอนออกสูภายนอก รูปท่ี 6.11 เครอ่ื ง ปฏกิ รณแ กสซฟิ าย เออรแบบไหลขวาง (cross draft gasifier) ท่ีมา : http://www.fao.org 4) เคร่ืองปฏิกรณแ บบระบบผลิตกา ซเชื้อเพลิงแบบปอ นเช้อื เพลิงตอเนื่อง (Fluid Bed Gasifier) การทํางานของเครื่องปฏิกรณท่ีกลาวมาขา งตนเปน การทํางานของ กระบวนการในระบบซึ่งจะขึ้นอยูกับ ปฏิกิริยาเคมีและสภาพทางฟิสิกสของเชื้อเพลิง โดยจะ เกิดปญหาของขยะหลอมเหลว ท่ีเกิดข้ึนมากเกินไป จ่ึงกอใหเกิด การอดุ ตันในเครื่องปฏิกรณ บอยครั้ง เพ่ือแกปญหาดังกลาว จึงไดมีการพัฒนาเครื่องปฏิกรณแบบ ระบบผลิตกาซ เช้ือเพลิงแบบปอนเชื้อเพลิงตอเนื่องข้ึน เคร่ืองปฏิกรณแบบนี้ อากาศจะไหลผานช้ันของ เช้ือเพลิง เมื่อเราเพิ่มความเร็วของอากาศท่ีไหล ผานสูงจนกระท่ังทําใหเชื้อเพลิงท่ีวางอยูเร่ิม ลอยตัวข้ึนมีลักษณะคลายของไหล ภายในเคร่ืองปฏิกรณ จะใสวัสดุเฉ่ือย (Inert Material) ซง่ึ อาจเปน ทราย อลูมินา หรอื ออกไซด ของโลหะที่ทนความรอนสูงและไมเกดิ การหลอม

117 รวมตัว โดยมีแผนที่เจาะรมู ารองรบั ตัวกลางเหลา นี้ทตี่ อนลางของเครื่องปฏิกรณ แผนท่ีเจาะรู นีจ้ ะชว ยทําใหเกิดการกระจายตวั แบบฟลอู ดิ ไดเซชนั อยา งทัว่ ถึงของผนังหองเผาไหม โดยการ ผานอากาศหรือออกซิเจนเขาสูตอนลางของแผนรองรับ ซ่ึงความเร็วของอากาศหรือ ออกซเิ จนทีผ่ า นเขาไปตองมีคาที่เหมาะ สม ทําใหตัวกลาง มีสภาพแขวนลอย (Suspension) โดยปกติเชื้อเพลิงจะถูกเปล่ียนใหเปนกาซเชื้อเพลิงภายในผนังหองเผาไหม อยางไรก็ตาม ปฏกิ ริ ยิ า Gasification อาจเกิดขึ้นที่สวนท่ีเปนท่ีวางเหนือผนังหองเผาไหม โดยเปนปฏิกิริยา ของอนุภาคเชื้อเพลิงเล็ก ๆ ที่ปลิวหลุดออกมาจากผนังหองเผาไหม หรือเปนปฏิกิริยาการ สลายตัวดวยความรอนของนํ้ามันทาร กาซเช้ือเพลิงท่ีได จากเคร่ืองปฏิกรณแบบระบบผลิต กาซเชื้อเพลิงแบบปอนเช้ือเพลิงตอเน่ืองจะมีปริมาณน้ํามันทารอยูระหวางกาซเช้ือเพลิงที่ได จากเคร่ืองปฏิกรณแบบระบบผลิตกาซเชอ้ื เพลิงแบบไหลขึ้นและแบบระบบผลิตกาซเช้ือเพลิง แบบไหลลง เครอ่ื งปฏกิ รณแ บบระบบผลติ กา ซเชื้อเพลงิ แบบปอนเช้ือเพลิงตอเน่ือง มี ขอดี คือ มกี ารผสมทีป่ นปว นมาก ทาํ ใหอตั ราการถา ยเทความรอนและการถายเทมวลมีคาสูง มีการผสม ที่ดขี องวสั ดกุ อ นนํามาปอ นเขา เตา ทาํ ใหอัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าสงู และสามารถควบคุมอณุ หภูมิ ในเครื่องปฏิกรณไดคอนขางงาย ขอเสีย ของเคร่ืองปฏิกรณแบบนี้คือกาซเช้ือเพลิงท่ีไดจะมี ปริมาณเถาและฝุนถานชารออกมาดวย เนื่องจากความเร็วของอากาศภายในเคร่ืองปฏิกรณ มีคาสูง จงึ ตองนําระบบหมนุ วนอากาศมาใชก ับระบบดวย ภาพที่ 6.12 ระบบผลติ กาซเชอ้ื เพลิงแบบปอ นเช้อื เพลงิ ตอเน่ือง (Fluid Bed Gasifier) ทมี่ า : https://www.andritz.com

118 1.2 การนําพลังงานที่ไดไปใช ประโยชนหลักท่ีไดรับจากการเผาไหมมูลฝอยในเตาเผา ไดแก การนํ้าเอา พลังงานที่มีอยูในมูลฝอยกลับมาใชประโยชนใหม โดยการเผาทําลายขยะมูลฝอยในเตาเผา สามารถลดปริมาณการปลดปลอยกา ซมี แทนจากหลุมฝง กลบและสามารถใชท ดแทนเชอื้ เพลิง ฟอสสิลได นอกจากนีย้ ังเปน การลดการปลดปลอ ยกาซ เรือนกระจกโดยรวมดวย กาซรอ นท่เี กิดจากการเผาไหมในเตาเผาจะมีพลังงานที่เกิดจากการเผาไหม อยใู นตวั ดวยมันจะถกู ทาํ ใหเย็นตัวลงในหมอน้ํากอนท่ีไหลเขาสูอุปกรณควบคุมมลพิษอากาศ ชนิดของหมอนํ้าที่ติดต้ังข้ึนอยูกับวา ตองการพลังงานในรูปของนํ้ารอนเพื่อใชกับระบบนํ้า รอน หรือไอนาํ้ เพื่อใชใ นกระบวนการอุตสาหกรรมหรอื เพอ่ื การผลิตกระแสไฟฟา การนา้ํ พลงั งานขัน้ สุดทา ยไปใชงานก็ขึน้ อยตู ลาดพลังงาน ณ โรงเผามูล ฝอยดวยวาเปนอยางไร ซึง่ อาจขึน้ อยูกบั สิง่ ตอไปนี้ - โครงขายระบบพลังงาน เชน มีโครงขา ยสายไฟฟา หรอื มโี ครงขายระบบ นํ้ารอ นหรอื ไอนาํ้ - รูปแบบการใชพ ลังงานตลอดทั้งป ตองระลึกวา โรงงานเตาเผาขยะมูล ฝอยชุมชนมกั มกี ารผลิต พลงั งานที่คอ นขางจะไมคงท่ี - ราคาของแหลงพลังงานอืน่ ๆ และขอ ตกลงการซ้ือพลังงานกบั ผใู ช พลงั งาน

119 เรื่องที่ 2 การผลิตพลงั งานจากเศษวสั ดุเหลอื ท้ิง 2.1 การผลติ พลงั งานโดยการหมักใชกาซชีวภาพ ในสภาวะท่ีประเทศไทยมีความจําเปนท่ีจะตองแสวงหาแหลงพลังงาน หมุนเวียนทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งนับวันจะมี ปริมาณลดนอยลงและมีราคาสูงข้ึน เศษวัสดุเปนอีก ทางเลือกหน่ึงดานการผลิตพลังงาน เพราะเศษวัสดุ มีศักยภาพท่ีสามารถ นํามาใชเพื่อผลิตพลังงานได ท้ังน้ี เนื่องจากมีปริมาณมาก และไมตองซื้อหาแตในปจจุบันมีการ นําเศษวัสดมุ าผลติ เปน พลังงานนอยมากเมื่อเทยี บกบั พลังงานทดแทนดานอ่นื ๆ ในสภาวะที่ประเทศไทย มีความจําเปนที่จะตองแสวงหาแหลงพลังงาน หมุนเวียน ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลซ่ึงนับวันจะมีปริมาณลดนอยลงและมีราคาสูงขึ้น เศษวัสดเุ ปน อกี ทางเลอื กหนึง่ ดา นการผลติ พลงั งาน เพราะเศษวัสดุมีศักยภาพท่ีสามารถนํามาใช เพื่อผลติ พลังงานไดท ้งั นี้เน่ืองจากมีปริมาณมากและไมตองซื้อหาแตในปจจุบันมีการนําเศษวัสดุ มาผลิตเปนพลังงานนอยมากเมื่อเทียบกับพลังงานทดแทนดานอ่ืนๆการยอยสลายแบบไมใช ออกซิเจน (Anaerobic Digestion) เปนกระบวนการหมักของเสียในสภาวะท่ีไรออกซิเจน เพ่ือใหจ ุลินทรียย อ ยสลายสารอนิ ทรยี ใ หกลายเปน กา ซชวี ภาพ สําหรับใชผลิตพลังงานไฟฟาหรือ ความรอนและสุดทายยังสามารถปรับสภาพดินใหสามารถนําไปใชในการเพาะปลูกพืชไดอยาง ปลอดภัย ระบบยอย สลายแบบไมใชออกซิเจนสามารถแบงไดเปน 2 ประเภทหลัก ๆ ตาม ความเขมขน ของ สารอนิ ทรียท ่ีปอ งเขาสถู งั หมัก ไดแก การหมักแบบแหง (Dry Digestion) ซึ่งมี ความเขม ขน ของสารอินทรยี ประมาณรอยละ 20–40 และการหมักแบบเปยก (Wet Digestion) ซ่ึงมคี วามเขม ขนของสารอนิ ทรียน อ ยกวา รอ ยละ 20 นอกจากน้ียงั สามารถแบง ระบบหมัก ตาม อุณหภูมิระดับกลาง (Mesospheric Digestion Process)และระบบหมักที่อุณหภูมิสูง (Hemophilic Digestion Process) ปริมาณและคณุ ภาพของกา ซชวี ภาพจากระบบยอยสลายแบบไมใชออกซิเจนขึ้นอยู กบั ลกั ษณะของเศษวัสดุเปน หลกั นอกจากนั้นยงั ขน้ึ อยูกบั การควบคุมระบบและสภาพแวดลอม ของการหมัก ไดแก ปริมาณแบคทีเรียปริมาณสารอินทรียอุณหภูมิระยะเวลาการหมักการผสม คลุกเคลาและปริมาณสารยับย้ังแบคทีเรีย กาซชีวภาพท่ีผลิตไดสามารถนําไปใชในการผลิต พลังงานไดหลายรูปแบบเชนผลิตไฟฟา โดยใชเ ครื่องยนตก า ซหรือใช เปน เชอ้ื เพลงิ สาํ หรับ หมอ น้าํ เพอื่ ผลิตนํา้ รอนหรอื ไอนํ้า

120 รปู ท่ี 6.13 การผลติ พลังงานโดยใชก าซชีวภาพจากหลมุ ฝงกลบเศษวสั ดุ ท่ีมา : http://s2.thingpic.com เปนการพฒั นาและปรบั ปรงุ ระบบฝงกลบเศษวสั ดเุ พ่ือลดการปลอ ยกา ซชีวภาพออก และนํา กา ซชีวภาพท่ีไดจากหลุมฝงกลบเศษวัสดุมาใชพลังงานทดแทนกาซชีวภาพท่ีไดสามารถ นําไป ใชป ระโยชนเ ปน เชื้อเพลิงพลงั งานไดหลายทางเชนเดยี วกบั กา ซชวี ภาพที่ไดจากระบบยอย สลายแบบไมใชอ อกซิเจน แตอ าจมีความจําเปน ตอ งปรับปรุงคุณภาพกาซกอนนําไปใช เชน การ กําจัดน้ําคารบอนไดออกไซด และสารกัดกรอนตาง ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขอกําหนด คุณภาพ กาซ สําหรับการใชประโยชนในแตละรูปแบบ การผลิตเชื้อเพลิงเศษวัสดุ (Refuse Derived Fuel : RDF) เทคโนโลยผี ลิตเชอ้ื เพลงิ จากเศษวัสดุ เปน การนาํ เศษวัสดมุ าผา นกระบวนการจดั การ ตา ง ๆ ไดแก การคัดแยกดวยมือหรือเครื่องจักรการลดขนาดการผสมการทําใหแหงการอัดแทง การบรรจุแลการเก็บ เพ่ือปรับปรุงคุณสมบัติ ทางกายภาพและเคมีใหกลายเปนเช้ือเพลิงเศษ วัสดุที่มีคาความรอนสูงสามารถนําไปใชเปนเชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงาน อีกทั้งยังสะดวกตอการ จดั เก็บและขนสง การผลิตกาซเช้ือเพลิง (Gasification) การผลิตกาซเช้ือเพลิงจากเศษวัสดุในชุมชน (MSW Gasification) เปนกระบวนการทําใหเศษวัสดุกลายเปน กาซโดยทําปฏิกิริยาสันดาป แบบไมสมบูรณ (Partial Combustion) กลาวคือ สารอินทรียในเศษวัสดุจะทําปฏิกิริยากับ อากาศหรือ ออกซิเจนในปริมาณจํากดั และทาํ ใหเ กิดกา ซซึ่งมอี งคประกอบหลักคือคารบอนมอน ออกไซคไฮโดรเจนและมีเทน ท้ังน้ี องคประกอบของกาซเช้ือเพลิงจะข้ึนอยูกับชนิดของเคร่ือง ปฏกิ รณ (Gasifier) สภาวะความดนั อณุ หภูมิและคณุ สมบัติของกา ซเชื้อเพลิงแขง็ กา ซเชอ้ื เพลงิ ท่ี

121 ผลิตไดสามารถใชงานไดหลายรูปแบบเชนเปนกาซเชื้อเพลิงสําหรับผลิตไฟฟาการใหความรอน โดยตรง หรือใชเปนเช้ือเพลิงสําหรับยานพาหนะทั้งนี้ การใชงานจะตอง คํานึงถึงคุณภาพของ กาซเช้ือเพลิงโดยอาจจําเปนตองทําความสะอาดกาซเช้ือเพลิง โดยการกําจัดกาซท่ีเปนกรด สารประกอบของโลหะอัลคาไลน น้ํามันทารและฝุนละออง เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบ ลดปญ หาการเสียหายของอุปกรณแ ละปองกนั ปญหามลพิษท่เี กิดขน้ึ ศักยภาพสําหรับปริมาณเศษวัสดุที่เกิดข้ึนในประเทศไทยมียอดรวมประมาณ 41,991 ตันตอวันเปนเศษวัสดุที่เกิดขึ้นในกรุงเทพฯ ถึง 9,400 ตันตอวันซ่ึงจํานวนเศษวัสดุ ทเ่ี กดิ ข้ึนสามารถนํามาผลิตเปนพลงั งานไดอยางมากมายแตสาเหตุท่ีการใชพลังงานจากเศษวัสดุ ยังมีนอย เนื่องมาจากการขาดความพรอมในหลายดานท้ังงบประมาณเคร่ืองมืออุปกรณ บคุ ลากรหรอื แมแตส ถานที่ดังนนั้ การนําพลังงานจากเศษวสั ดมุ า ใชในประเทศไทยจึง ตองอาศัย ระยะเวลาในการพฒั นา อีกระยะหนง่ึ จงึ จะ สามารถนาํ พลังงานดงั กลา วมาใชไ ดอยา ง เต็มประสทิ ธภิ าพ เศษวัสดุเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจากของเหลือใชในกิจวัตรประจําวันของมนุษยกอนจะถูก ท้ิงออกมาสูส่ิงแวดลอมเศษวัสดุเหลาน้ี หากไมไดรับการกําจัดอยางถูกวิธีจะสงผลกระทบกับ สงิ่ แวดลอ มและสขุ ภาพอนามยั ของมนษุ ยก ารนําเศษวัสดมุ าผลิตพลงั งาน เปน อกี วธิ หี นึ่ง ท่ีสามารถชวยกําจัดเศษวัสดุที่เกิดข้ึนไดอีกท้ังวิธีดังกลาวยังทําใหไดประโยชนจากเศษวัสดุ กลับมาในรูปของ พลังงานจากเศษวัสดุซึ่งจะทําใหประเทศมีแหลงพลังงานเพ่ิมขึ้นแตการใช พลังงานอยา งคมุ คา ที่สุดยังคงเปนสงิ่ สําคัญ ตอการอนรุ กั ษพ ลังงานในยุควิกฤตพลังงานเชนนี้ การผลิตเชือ้ เพลิงจากเศษวัสดุ จุดเริ่มตนของมาใชเชื้อเพลิงเศษวัสดุจะเริ่มจากการใชเศษวัสดุเหลือท้ิงที่เก็บ รวบรวม ไดไปใชในการเผาไหมโดยตรง ซ่ึงมักกอใหเกิดความยุงยากในการใชงาน เน่ืองจาก ความไมแนน อนและไมส มํา่ เสมอในองคป ระกอบตาง ๆ (Non-homogeneousness) ทปี่ ระกอบกันขึ้นเปนเศษวัสดุเหลือท้ิง ซ่ึงเปล่ียนแปลงไปตามชุมชนและตามฤดูกาล อีกทั้งเศษ วัสดุเหลือทิ้งเหลานี้มีคาความรอนตํ่า มีปริมาณเถาและความช้ืนสูง ส่ิงเหลาน้ีกอความยุงยาก ใหกับผูออกแบบโรงเผาและผูปฏิบัติ และยังควบคุมการเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมไดยาก การแปรรูปเศษวัสดุเหลือท้ิงโดยผานกระบวนการจัดการตางๆ เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทาง กายภาพและคุณสมบัติทางเคมีของเศษวัสดุเหลือท้ิงเพ่ือทําใหกลายเปนเชื้อเพลิงเศษวัสดุ (Refuse Derived Fuel, RDF) จะสามารถแกปญหาดังกลาวมาขางตนได ซึ่งเชื้อเพลิงที่ไดน้ัน สามารถนาํ ไปใชเ ปนเชอ้ื เพลงิ เพื่อผลติ พลังงานได

122 เชอ้ื เพลิงเศษวัสดุ (RDF) เปน การปรับปรุงและแปลงสภาพของเศษวัสดุเหลือทิ้ง ให เปนเช้ือเพลงิ แขง็ ท่ีมคี ุณสมบัติในดานคาความรอน (Heating Value) ความช้ืนต่ํา มีขนาดและ ความหนาแนน เหมาะสมในการขนยาย หรือการเผา และมีองคประกอบทัง้ ทางเคมีและกายภาพ สมา่ํ เสมอ คุณลักษณะทว่ั ไปของเชือ้ เพลงิ เศษวัสดปุ ระกอบดวย ปลอดเช้อื โรคจากการอบดวยความรอ น ลดความเส่ียงตอการสมั ผัสเชื้อโรค ไมม ีกล่นิ มขี นาดเหมาะสมตอการปอ นเตาเผา-หมอไอนํา้ (เสนผา นศูนยก ลาง 15-30 มิลลิเมตร ความยาว 30 - 150 มิลลิเมตร) มคี วามหนาแนน มากกวาเศษวัสดุเหลอื ทิง้ และชีวมวลทว่ั ไป (450 - 600 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร) เหมาะสมตอการจัดเก็บ และขนสง มีคา ความรอ นสูง เทยี บเทากับชวี มวล (ประมาณ 13 - 18 เมกะจูลตอลกู บาศกเมตร) และมคี วามชนื้ ตาํ่ (ประมาณรอ ยละ 5 - 10) ลดปญหามลภาวะจากการเผาไหม เชน ไนโตรเจนออกไซค และ ไดออกซนิ และฟรู าน หลักการทาํ งานของเทคโนโลยนี ี้ เริม่ จากการคดั แยกเศษวัสดุท่ีไมสามารถเผาไหมได (โลหะ แกว เศษหิน) เศษวสั ดุอันตราย และเศษวัสดุรีไซเคิลออกจาก มีเหลือเพียงเศษวัสดุท่ีเผา ไดประกอบดวย เศษวัสดอุ นิ ทรีย ไม ผา ยาง หนัง ใสจุดนี้อาจจะมีการแยกซากเศษวัสดุอินทรีย ซึ่งไดแก เศษอาหาร เศษผักผลไมอ อก เพ่อื นาํ ไปหมักผลิตกาซชีวภาพตอ ไป เศษวสั ดทุ ่ีเผาได อนื่ ๆ จะถูกสง เขาเครอื่ งสับ - ยอ ยเพอ่ื ลดขนาด และเขาเตาอบเพอ่ื ลดความชื้นเศษวัสดุ เศษวัสดุแหงจะมีใหน า้ํ หนกั ลดลงเกอื บรอ ยละ 50 (สําหรบั ความชืน้ เหลอื ไมเกินรอ ยละ 15) ในขั้นตอนสุดทา ยเศษวัสดจุ ะถกู สงไปเขาเครื่องอัดเม็ด เพ่ือทําใหไดเช้ือเพลิงเศษวัสดุอัดเม็ดที่มี ขนาดและความหนาแนนเหมาะสมในข้ันตอนของการอัดเม็ด อาจมีการเติมหินปูน (CaO) เขา ไป เพ่อื ควบคมุ และลดปรมิ าณกา ซพษิ ที่เกดิ ขน้ึ จากการเผาไหม เชื้อเพลิงเศษวัสดุจะเปนไปตาม มาตรฐาน ASTM E-75 ในตอนนี้เช้ือเพลิงจากเศษวัสดุก็พรอมท่ีจะเผาแลวนําความรอนท่ีไดไป ตม นํ้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟา ตอไป

123 กาซชีวภาพ กาซชวี ภาพกาซที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการหมักยอยสลายของสารอินทรีย ภายใตสภาวะท่ีปราศจากออกซิเจน (anaerobic digestion) กาซชีวภาพโดยทั่วไปจะ ประกอบดวยแกสมีเทน(CH4) ประมาณรอยละ 50 - 70 และกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ประมาณรอยละ 30 - 40 สวนที่เหลือเปนแกสชนิดอื่น ๆ เชน ไฮโดเจน (H2) ออกซิเจน (O2) ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ไนโตรเจน (N) และไอน้ํา แตเม่ือเรากลาวถึงกาซชีวภาพเรามักจะ หมายถึง กาซมีเทน โดยหลักการ กาซมีเทนจะเกิดการหมัก (fermentation) ของสารอินทรีย โดยกระบวนการน้ีสามารถเกิดขึ้นไดในหลุมเศษวัสดุ กองมูลสัตว และกนบอแหลงนํ้านิ่ง กลาวคอื เมอ่ื ไหรก ต็ าม ที่มีสารอินทรียหมกั รวมกันเปน เวลานานก็อาจเกิดกา ซชีวภาพ กาซชีวภาพทแ่ี ตกตา งกนั จะมีสัดสว นของกาซมเี ทนและกาซอืน่ ๆ ที่แตกตาง กัน ซึ่งกจ็ ะมวี ิธีการผลิตและวตั ถทุ ีน่ าํ มาผลิตทีแ่ ตกตา งกนั โรงผลติ แกสชวี ภาพโดยทว่ั ไปจะใช มลู สุกร นํ้าเสยี จากโรงงานแปงมัน โรงงานปาลม โรงหมกั เบียร โรงกลั่นสุรา และโรงงานแปรรปู อาหาร รวมทั้งนาํ้ เสยี จากฟารมเลี้ยงสัตว การนาํ กาซชีวภาพไปใชจําเปนตองมีการปรบั ปรงุ ซง่ึ สรุปเปน สามขอดังน้ี การปรบั ปรุงคณุ ภาพกาซชวี ภาพ (Gas Purification) กอนการนาํ ไปใชง าน มขี ั้นตอนดังนี้ 1. การดกั นํ้าในทอสง กา ซชีวภาพ ปกติแลวกาซชีวภาพที่ผลิตไดมักจะมีความชื้นสูงเกือบถึงจุดอ่ิมตัว เมื่อกาซ ชีวภาพไหลผานทอสงกาซท่ีฝงอยูในดินที่มีอุณหภูมิต่ํามักจะทํา ใหความชื้น(ไอน้ํา) ในกาซ ชีวภาพกลน่ั ตวั เปน หยดนาํ้ และสะสมจนเกดิ เปนอปุ สรรคในการสง กา ซไปตามทอ ได ดังน้ันตองมี การติดตัง้ ชดุ ดักนํ้ากอ นนาํ กาซชวี ภาพไปใชง าน 2. ปรับลดปรมิ าณกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) การปรบั ลดปริมาณกาซคารบ อนไดออกไซด (CO2) จากกา ซชีวภาพนี้ จะปฏิบัตกิ ็ตอเม่ือมคี วามจาํ เปน เชน ในกรณีทก่ี า ซชีวภาพทไี่ ดม ีสัดสวนของกา ซมีเทน (CH4) ตํ่ามากจนอยูในระดับทีจ่ ุดไฟติดยาก คือประมาณเปอรเซ็นต CH4 นอ ยกวา 45 เปอรเซ็นต แตในระบบผลติ กา ซชีวภาพสาํ หรบั ฟารมสกุ รน้ันไมม ีปญหาในเร่อื งน้ี ดงั นั้นการลดปริมาณ กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) จึงไมจ าํ เปน

124 3. การปรับลดกา ซไฮโดรเจนซลั ไฟด (H2S) การปรบั ลดกา ซไฮโดรเจนซลั ไฟด (H2S) ทป่ี นเปอ นในกา ซชีวภาพนั้น มีคณุ สมบตั เิ ปน กา ซพิษและเมือ่ สมั ผัสกับน้าํ หรอื ไอนาํ้ จะเปลยี่ นสภาพเปนกรดซลั ฟูริค (H2SO4) ซึง่ เปน สาเหตขุ องฝนกรดหรือไอกรดทส่ี ามารถกัดกรอนโลหะและวัสดุอุปกรณได ดังน้ันการลด ปริมาณกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ในกาซชีวภาพกอนการนําไปใชประโยชนน้ันจะเปนผลดี ตอ ส่งิ แวดลอมโดยท่วั ไป และจะชวยยดื อายุการใชงานของอปุ กรณใชกาซดวย การผลติ พลงั งานไฟฟาจาก กา ซชีวภาพสามารถกระทําไดดว ยวธิ หี ลัก ๆ 3 วธิ ี กลาวคือ 3.1 ระบบกงั หันไอนํ้า 3.2 ระบบกงั หนั กา ซเดนิ คกู บั ระบบกังหันไอนาํ้ 3.3 ระบบเครอ่ื งยนตกาซสันดาปภายใน 1. การผลติ พลงั งานไฟฟาดวยระบบกงั หันไอนํ้า วิธีนี้เปนวิธีที่ใชกันทั่วไป โดยระบบกังหันไอนํ้าแตละระบบจะตางกันตรง ชนิดเช้ือเพลิงท่ีนํามาเผาใหความรอนแกหมอน้ําเทาน้ัน ระบบนี้เปนการนํากาซชีวภาพมาเผา เพอื่ ตมนา้ํ ในหมอ นํา้ โดยตรงใหกลายเปนไอนํา้ จากนัน้ ใชไอนาํ้ ไปหมุนกังหันไอนํ้าท่ีตอกับเครื่อง กําเนิดไฟฟาอีกทอดหน่ึง อุปกรณหลักประกอบดวย เตาเผากาซชีวภาพ หมอน้ํา (boiler) ระบบจายนํ้าและบําบดั นํา้ เคร่อื งควบแนน (condenser) หอหลอ เย็น (cooling tower) กงั หัน ไอนํ้า (turbine) และเคร่อื งกําเนิดไฟฟา ซึง่ ประกอบดวยอุปกรณส ําคัญทีซ่ ับซอนหลายชนิด 2. การผลิตพลงั งานไฟฟาดวยระบบกงั หนั กาซเดนิ คูกบั ระบบกงั หนั ไอนํา้ วิธีน้ีนาจะมีประสิทธิภาพดีท่ีสุด หลักการทํางานก็คือ ใชระบบกังหันกาซ ชนิดเดียวกับท่ีใชในเคร่ืองบินไอพน โดยอัดอากาศผานเคร่ืองอัดความดันสูง แลวนําอากาศ ความดันสูงที่ไดมาเผารวมกับกาซชีวภาพในหองเผาไหม ซึ่งทําใหกาซท่ีเผาไหมแลวเกิดการ ขยายตัวทันที กลายเปน พลงั งานไปหมนุ เครอ่ื งกาํ เนดิ ไฟฟา เนือ่ งจากกาซเสีย (กา ซผสมท่ปี ลอ ยทิ้ง) มีอณุ หภูมิสงู ถึง 450 - 550 องศาเซลเซียส ดงั น้นั จงึ สามารถนําไปใชใ หความรอ นแกห มอ นํ้า เพื่อไปหมุนกงั หนั ไอนํ้าท่ีใชขับเคล่ือนเครอื่ ง กําเนิดไฟฟา ไดอ ีกทอดหนึง่ ระบบนี้ใหประสทิ ธภิ าพโดยรวมประมาณรอยละ 30

125 3. การผลิตพลงั งานไฟฟาดว ยระบบเครื่องยนตก า ซสนั ดาปภายใน เคร่ืองยนตสันดาปภายในเครื่องแรกที่ใชกาซเปนเช้ือเพลิง ผลิตข้ึนในป ค.ศ. 1876 ที่ประเทศเยอรมันนี ตอมาอีก 10 ป เครื่องยนตสันดาปภายใน 4 จังหวะท่ีใชนํ้ามันเปน เช้ือเพลิงไดถือกําเนิดขึ้นที่เยอรมันเชนกัน สําหรับเคร่ืองยนตสันดาปภายในท่ีใชกาซธรรมชาติ และใชกาซชีวภาพนั้น การทํางานของเคร่ืองยนตจะมีลักษณะเหมือนกับการทํางานของ เครอื่ งยนตในรถยนตท ่ีใชน าํ้ มันเบนซนิ ซง่ึ ตอ งมกี ารจดุ ระเบิดโดยใชหัวเทียน แตมีสวนประกอบ หรือชิ้นสวนตาง ๆ เหมือนกับเครื่องยนตดีเซลมากกวา โดยกาซที่เผาไหมในกระบอกสูบของ เคร่ืองยนตกาซสันดาปภายในที่จุดศูนยกลาง อาจมีอุณหภูมิสูงถึง 1,400 องศา ทําให ประสิทธภิ าพของการผลติ ไฟฟาดวยระบบนส้ี งู กวาระบบทใี่ ชกังหนั กา ซ เดินคกู ับระบบกงั หัน ไอน้าํ โดยมีคา อยทู ่ีรอ ยละ 32 - 40 และคา เฉลี่ยท่วั ไปจะอยทู ีร่ อยละ 35 6.14 การผลติ พลงั งานไฟฟาดวยระบบเครือ่ งยนตกาซสันดาปภายใน ภาพที่ ท่ีมา : http://www.thaiwaste.com

126 กจิ กรรมทายหนว ยการเรยี นที่ 6 หลังจากที่ผูเรียนศึกษาเอกสารชุดการเรียนหนวยท่ี 6 จบแลว ขอใหศึกษา คนควาเพ่ิมเติมจากแหลงเรียนรูตาง ๆ แลวทํากิจกรรมการเรียนรูหนวยท่ี 6 ในสมุดบันทึก กิจกรรมการเรียนรู แลว จดั สงตามทผ่ี ูส อนกาํ หนด แนะนาํ แหลงเรียนรูบ นอินเทอรเนต็ เตาเผาขยะลดมลพิษ_เทคโนโลยีลานนา เชียงใหม https://www.youtube.com/watch?v=oBSNhNpSdmQ โครงการเตาเผาขยะในชุมชนไรมลพษิ ไมใชเ ชอ้ื เพลงิ https://www.youtube.com/watch?v=K0gOe1z7_tI เตาเผาขยะผลติ ไฟฟาเทศบาลนครภูเกต็ https://www.youtube.com/watch?v=K0gOe1z7_tI วิชาการ.คอม http://www.vcharkarn.com/varticle/42732

127 บรรณานุกรม กรมควบคมุ มลพษิ . (2553). คมู ือประชาชนการคัดแยกขยะมูลฝอยอยา งถูกวิธีและเพิ่ม มลู คา . กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ฮีซ จาํ กัด. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู พื้นฐานสารและสมบตั ิของสาร (พมิ พค ร้งั ท่ี 3). กรุงเทพ : โรงพิมพค ุรุสภาลาดพราว. สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี. (2556). หนงั สอื เรยี นสาระการเรยี นรู พนื้ ฐานเคมี (พมิ พครั้งที่ 6). กรุงเทพ : โรงพมิ พค รุ ุสภาลาดพราว. สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี. (2556). หนังสือเรียนสาระการเรยี นรู พ้ืนฐานและเพิ่มเตมิ เคมี (พมิ พครงั้ ท่ี 4). กรงุ เทพ : โรงพมิ พค ุรสุ ภาลาดพรา ว. สาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสงิ หบ รุ ี. (2559). คูมือการสรางวินัยสกู ารจดั การ ขยะแบบครบวงจร (เอกวชิ าการลําดบั ท่ี 6/2559). สิงหบ ุรี:สํานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาสิงหบ รุ .ี สํานกั งานทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ มจงั หวดั ขอนแกน. (ม.ป.ป.). คมู ือดาํ เนินการตงั้ ศนู ยเ รียนรูการจัดการขยะชุมชนและศูนยร ีไซเคลิ . ขอนแกน : ม.ป.ท. สาํ นักงานสิง่ แวดลอ มภาคท่ี 14.(2554). คูมือการลด คัดแยก และใช ประโยชนข ยะมลู ฝอย ชมุ ชน.สรุ าษฎรธานี : ม.ป.ท.

128 แหลง อา งองิ ออนไลน นาว26. ขยะลนเมอื ง...ปญหาใหญมลพษิ ป 59. เขาถงึ ไดจาก : http://www.now26.tv/view/66104. (วนั ที่คน ขอมลู : 8 กมุ ภาพนั ธ 2560). พรทพิ ย ศิรภิ ัทราชัย. วารสารนักบรหิ าร STEM Education กบั การพฒั นาทกั ษะในศตวรรษ ท่ี 21(2556). เขาถึงไดจาก : http://www.scipnru.com/ materials/newsystem/materials.pdf. (วันทีค่ น ขอมลู : 13 กมุ ภาพันธ 2560). รกั ษพล ธนานวุ งศ. Executive Journal ปท ี่ 33 ฉบับที่ 2 เมษายน - มถิ นุ ายน 2556. รายงานสรปุ การประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร STEM Education. เขา ถึงไดจ าก: http://www.slideshare.net/ focusphysics/stem-workshop-. (วนั ท่ีคนขอ มูล : 14 กมุ ภาพันธ 2560). วชิ าการ.คอม. การผลิตไฟฟา จากขยะ. เขา ถึงไดจาก : http://www.vcharkarn.com/ varticle/42732. (วนั ทคี่ นขอมูล : 10 กุมภาพนั ธ 2560) หองสมุดวัสดุเพอื่ การออกแบบศนู ยส รา งสรรคง านออกแบบ. วสั ดุมาแรงในป 2556 และใน อนาคต. เขา ถึงไดจ าก : http://th.materialconnexion.com/admin/mainmenu. (วันท่ีคนขอมลู : 8 กมุ ภาพันธ 2560). อภสิ ิทธิ์ ธงไชย และคณะ. สรปุ การบรรยายพิเศษเรื่อง Science, Technology, Engineering, and Mathematics Education: Preparing students for the 21st Century. เขา ถงึ ไดจ าก : http://designtechnology.ipst.ac.th/ uploads/STEMeducation.pdf. (วนั ท่คี น ขอ มลู : 14 กุมภาพันธ 2560). เอไอดเี อ. การจัดทาํ คารบ อนฟตุ พร้นิ ทข องผลิตภณั ฑ (Carbon Footprint Calculation). เขาถึงไดจาก : http://www.aida-2010.com/carbon-footprint.php. (วันที่คน ขอมลู : 8 กุมภาพันธ 2560). โฮมโปร. 6 สัญลักษณ รักษโ ลกกบั โฮมโปร. เขาถึงไดจาก : https://www.homepro.co.th/news/pr/927?lang=en. (วนั ที่คน ขอมลู : 10 กุมภาพันธ 2560). Janjarus Srisomboon. วัสดศุ าสตรแ ละเทคโนโลย.ี เขาถึงไดจ าก : https://preat55janjarus.wordpress.com/2013/01/23/. (วนั ท่ีคน ขอ มลู : 7 กุมภาพนั ธ 2560).

129 ท่มี าภาพประกอบชดุ วชิ า หนว ยที่ 1 หลกั วสั ดศุ าสตร ภาพที่ ชื่อภาพ ท่ีมา 1.1 วัสดปุ ระเภทโลหะ http://www.fsocial789013.blogspot.c 1.2 พอลเิ มอรธรรมชาติ om/p/blog-page_41.html 1.3 พอลิเมอรส งั เคราะห http://www.newsplus.co.th/images/2 1.4 โมเลกุลของโฮโมพอลเิ มอร 016/02/93877/เสนใยที่ปน เปน 1.5 โมเลกลุ ของโคพอลิเมอร ดาย.jpg 1.7 เสนใย 1.8 พลาสตกิ http://www.vcharkarn.com/uploads/ 43/44020.jpg 1.10 วสั ดุประเภทวสั ดเุ ซรามกิ ส ในชีวิตประจาํ วัน https://th.wikipedia.org/wiki/พอลเิ มอร https://th.wikipedia.org/wiki/พอลิเมอร http://santext.igetweb.com/article/ar t_42078094.jpg http://www.kanchanapisek.or.th/ kp6/sub/book/book.php?book =28&chap=8&page=t28-8- infodetail06.html http://www.thaiceramicsociety.com/ ts_waste.php http://www.hong-pak.com/ www.php?web=SORWASANA& lang=th&p=roomdetail&rid=10 37%20target=_blank%3E

130 หนวยที่ 2 การใชป ระโยชนและผลกระทบจากวสั ดุ ภาพที่ ชอื่ ภาพ ท่มี า 2.1 ผลิตภัณฑท่ที ําจากพอลิเอทลิ นี http://www.gacner.com/products/ pd001_plastic6.jpg 2.2 ผลิตภัณฑท ท่ี ําจากพอลิโพรไพ http://kanchanapisek.or.th/kp6/pict ลีน ures28/l28-249.jpg 2.3 พอลสิ ไตรีน http://kanchanapisek.or.th/kp6/pict ures28/l28-251.jpg 2.4 พอลิเททระฟลอู อโรเอทลิ ีน http://kanchanapisek.or.th/kp6/pict ures28/l28-253.jpg 2.5 ผลิตภัณฑเซรามกิ ส มี http://fieldtrip.ipst.ac.th/backend/ หลากหลายรปู แบบ และสีสัน images/resources/hongtai/ content_pic/contents04_03. jpg

131 หนว ยที่ 3 การคัดแยกและการรไี ซเคิล ที่มา http://www.promma.ac.th/main/ch ภาพท่ี ชือ่ ภาพ 3.1 ภาพถงั ขยะประเภทตา ง ๆ emistry/boonrawd_site/plasti c_waste.htm 3.2 การรณรงคลดใชถงุ พลาสติก http://www.bloggang.com/m/viewd ของหนว ยงานตาง ๆ iary.php?id=shabu&group=1& month=11-2012&date=14 3.4 เกา อจ้ี ากขวดนา้ํ http://www.oknation.net/blog/hom e/blog_data/912/23912/imag es/rcjpg 3.5 พรมเชด็ เทาจากเศษผา https://www.l3nr.org/posts/559460 3.6 กระถางตนไมจ ากรองเทาเกา http://www.thaitambon.com/produ ct/1412814174 3.7 ตุก ตาตกแตง สวนจากยาง http://www.jeab.com/home- รถยนตเ กา living/how-to/25-reuse- old-tires-ideas/attachment/ reuse-old-tires-2 3.8 การรไี ซเคลิ หรอื การแปรรูปเศษ https://www.dekd.com/activity/280 วัสดุนํากลับมาใชใหม 28/ 3.9 ปา ยประชาสมั พนั ธกิจกรรม http://www.siamgoodlife.com/inde 3R ของกรมควบคุมมลพษิ x.php?route=product/produc t&product_id=1927

132 ภาพท่ี ช่ือภาพ ท่ีมา 3.10 ตวั อยา งโลหะประเภท http://www.thaiceramicsociety.com เหลก็ หลอ เหลก็ หนา และ /ts_waste.php เหลก็ บาง 3.11 อะลมู ิเนยี มหนา และ http://images.recyclechina.com/im อะลูมิเนยี มบาง g/products/2012/7/3/134124 6610734839.jpg 3.12 ดึงแยกฝากระปองเครื่องดื่ม http://nwnt.prd.go.th/centerweb/ ออกแลว ทุบใหแบน news/NewsDetail?NT01_New sID=TNSOC5812140010034. jpg 3.13 ตัวอยา งโลหะประเภท http://www.in.all.biz/img/in/catalog ทองเหลือง ทองแดง และ /376264.jpeg สแตนเลสท่ีนาํ มารไี ซเคิลได 3.14 สัญลกั ษณร ีไซเคลิ กระปอง https://img.kapook.com/u/surauch/ โลหะและอะลมู เิ นยี ม movie2/page_68.jpg 3.15 ตวั อยา งพอลเิ มอรป ระเภท https://www.easypacelearning.com เทอรโมเซตติ้ง /design/images/carparts.jpg 3.16 ตวั อยางพอลิเมอรป ระเภท https://sites.google.com/site/mypo เทอรโ มพอลิเมอร t24/_/rsrc/1395645629601/6- wasdu-chang/untitled 3232.png 3.17 ซายแกวดนี ํารยี สู ขวาแกวแตก http://pkrugreenlife.net23.net/img/ เขา กระบวนการรไี ซเคลิ re11.jpg 3.18 สญั ลักษณรีไซเคิลแกว https://home.kapook.com/view743 26.html

133 หนวยท่ี 4 แนวโนม การใชวัสดุในอนาคต ภาพท่ี ชอ่ื ภาพ ท่มี า 4.1 Micro lattice โลหะเบาสุด https://www.electricallab.gr/images/ ในโลก stories/science00.jpg 4.2 Shape memory polymers http://www.ictp.csic.es/Boletin/Info คืนรูปได แตกหกั – เสียหาย CTP%20mayo2014/fotos/foto ซอมตวั เอง _2014/mayo/imagen-shape- memory2.jpg 4.3 แกรฟน วัสดทุ ่ใี ชท ําหนาจอสัมผัส https://d27v8envyltg3v.cloudfront. มลี กั ษณะบางมาก โปรง ใส net/tackk/614939/1393983495 ยดื หยนุ และนาํ ไฟฟา 6169/cover.jpg 4.4 วัสดุประเภทเซรามกิ สในอนาคต https://img.grouponcdn.com/deal/its mGzPSgdRcXCwvXrX2/V7- 960x582/v1/c700x420.jpg 4.5 วสั ดุทีม่ ีความเปน มิตรตอ http://www.1000ideas.ru/wp- สิ่งแวดลอม content/uploads/2013/08/Ban anas-foto2.jpg 4.6 พลาสติกจากพืชทแี่ ขง็ แรง https://s-media-cache-ak0.pinimg. ทนทาน com/originals/c9/c6/0a/c9c60 a250598491316722eb753e27d 2b.jpg 4.7 วัสดุลกู ผสม http://www.alternative-energy-news. info/images/pictures/self- powered-devices.jpg 4.8 สปนโพลเี อสเตอร http://www.msgtexmed.com/upload /articles/%E0%B9%80%E0%B 8%AA%E0%B9%89%E0%B8% 99%E0%B9%83%E0%B8%A2.jpg 4.9 เสอ้ื ผา ที่ใชเทคโนโลยนี าโนซลิ https://s-media-cache-ak0.pinimg. เวอร com/originals/1c/2c/fd/1c2cfd 276044a42eddc0eeb592b684f 8.jpg

ภาพท่ี ชือ่ ภาพ 134 4.10 สแคนเดียม 4.11 โพรมีเทยี ม ทม่ี า 4.12 แลนทานัม https://www.webelements.com/_m 4.13 อิตเทรียม edia/elements/element_pictu 4.14 เพรซโี อดเี มยี ม res/Sc.jpg 4.15 โซลารเซล http://elements.vanderkrogt.net/ 4.16 อเิ ล็กทรอนกิ สโ ปรง ใส jdurg/Pm.jpg http://98a4980578083abe0fc6- 26cdb33025b4deaf9c0a6e9a3 953d227.r43.cf2.rackcdn.com/ 5305AE2C-56DB-45FD-92D1- 617DDB107AD0.jpg http://www.rmutphysics.com/charud /specialnews/3/periodic3/Y. jpg http://vichakarn.triamudom.ac.th/co mtech/studentproject/sci/che me/periodic/pic/059_pr.jpg http://estaticos.qdq.com/swdata/cac he/ad/bc/adbc3a82744efe5ba 4d7670f11dc5d24.jpg https://s-media-cache-ak0.pinimg. com/736x/39/a9/0e/39a90e51 8154b6c75f941570eb4461f2. jpg

135 หนว ยที่ 5 สง่ิ ประดิษฐจ ากวสั ดุตามหลกั สะเต็มศกึ ษา ภาพท่ี ช่ือภาพ ทีม่ า 5.1 เศษวสั ดุอิเลก็ ทรอนกิ สที่ถกู นาํ มา http://www.manager.co.th/Science/ ViewNews.aspx?NewsID=9540000 ประดษิ ฐเ ปนของใชต า ง ๆ 107869 5.2 หลอดไฟแปลงรา งเปนแจกัน http://www.manager.co.th 5.3 จอคอมพิวเตอรแ ปลงรา งเปน ท่ี http://www.creativemove.com/creativ e/diy-monitor-cat-house/ นอนสตั วเล้ียง 5.4 ตูปลาจากโทรทศั นเ กา http://www.homedd4u.com/ 5.5 เศษเหล็กทอ ประปานาํ มาแปลง http://www.houzzmate.com/topic/ รางเปน ขาตัง้ โคมไฟ 1215122012434252 5.6 เศษเหลก็ หลายประเภทนํามา http://www.nana108.com/ แปลงรา งเปนงานปตมิ ากรรม 5.7 เศษเหล็กแปลงรางเปน หุนยนต http://www.thailovetrip.com/ สรางงานสรา งอาชีพใหแ ก view.php?id_view=654 ผูป ระดษิ ฐแ หลง ผลติ หุน เหลก็ ยักษ สง ออก บา นหุนเหลก็ จงั หวดั อา งทอง 5.8 เศษเหล็กแปลงรา งเปน โตะ เกา อ้ี http://www.manager.co.th/iBizchannel /ViewNews.aspx?NewsID=952000 0070875 5.9 ยางรถยนตแ ปลงรา งเปนท่ีนอน https://www.iurban.in.th/greenery/ สัตวเล้ียง brilliant-ways-to-reuse-and- 5.10 ยางรถยนตแปลงรา งเปน กระถาง recycle-old-tires/ ตน ไม 5.11 ยางรถยนตแ ปลงรา งเปนสนามเด็ก http://www.banidea.com/diy-garden- เลน in-can-ideas/ 5 .12 ยางรถยนตแปลงรา งเปนกรอบ กระจก 5.13 ยางรถยนตแ ปลงรา งเปน เฟอรน เิ จอร

136 ภาพท่ี ชื่อภาพ ทมี่ า 5.14 กระปองแปลงรางเปน กระถาง http://www.banidea.com/ideas-to- ตนไม recycle-tin-cans/ 5.15 ทเ่ี กบ็ ของจากกระปองเกา 5.16 ฝาเปดกระปอ งแปลงรางเปน http://www.banidea.com/lamp- โคมไฟ canned-aluminum/ 5.17 ฝาเปด กระปอ งแปลงรางเปน http://women.kapook.com/photoกาํ ไล เคร่อื งประดับ ขอ มือ_3728html 5.18 ขวดพลาสติกแปลงรางเปนมาน http://www.nonvisual.com/2016/01/ บังตา โคมไฟ แลโรงเรอื นเพาะชาํ diy.html 5.19 ขวดพลาสตกิ แปลงรา งเปนร้ัวบาน http://www.nonvisual.com/2016/01/ และล้ินชักเกบ็ ของในบาน diy.html 5.20 บานทีต่ กแตงดว ยฝาขวด น้าํ http://www.bareo-isyss.com/design- ด่มื พลาสติก tips/161-diy-plastic-bottles. html 5.21 เบาะรองนง่ั จากเศษผา http://p-dit.com/2013/12/08/3610/ 5.22 กระถางตนไมจากเศษผา http://p-dit.com/2016/08/09/8015/ 5.23 พรมเชด็ เทาจากเสอ้ื ผาเกา http://home.kapook.com/view124978. 5.24 หมอนอิงจากกางเกงยนี สเ กา html 5.25 พวงกุญแจจากเศษผา https://sites.google.com/site/fabrickey chain/home/phwng-kuycae- dxk-thiw-lip-cak-ses-pha 5.26 ตุกตาจากเศษผา http://www.ladysquare.com/forum_p osts.asp?TID=133936&PN=2 5.27 เศษไมแ ปลงรา งเปน เครอ่ื งประดับ http://www.diy-knight.com/2015/06/ ตกแตงบา น diy-diy_1html https://decorationlite.wordpress.com/ 2013/01/18/พาเลทไมเกาๆอยาทิ้ง/ 5.28 กระดาษประเภทตาง ๆ แปลงรา ง https://www.iurban.in.th/inspiration/re เปนของใชในบานและ สนิ คาเพอ่ื cycle- newspaper-to-coo/ จาํ หนา ย

137 ภาพที่ ชือ่ ภาพ ท่ีมา 5.29 งานประดษิ ฐเ ปเปอรมาเชจาก http://www.kruwichan.com/_files_sch กระดาษ ool/00000647/activity/0000064 7_1_20131226-162208.jpg 5.30 ถุงพลาสติกท่นี าํ มาแปลงรางเปนท่ี http://joobbox.exteen.com/20080807/ รองภาชนะ และใสของจุกจิก entry http://www.babyfancy.com/printer_fri endly_posts.asp?TID=56203 http://home.sanook.com/5577/ 5.31 ฟกู ทีถ่ กั จากถุงพลาสติก http://www.posttoday.com/social/goo dstory/459192 5.32 รองเทาทถ่ี ักจากถงุ พลาตกิ http://www.jeab.com/home-living/ how-to/6-diy-plastic-bag-ideas 5.33 กระเปาท่ีถกั จากถุงพลาสติก http://p-dit.com/2013/12/20/3721/ 5.34 ดอกไมป ระดษิ ฐจ ากถุงพลาสตกิ http://www.jeab.com/home-living/ how-to/6-diy-plastic-bag-ideas 5.35 งานศิลปะจากขวดแกว http://www.greenintrend.com/งาน อารต จากขยะ ขวดแกว/ 5.36 โคมไฟจากขวดแกว https://pinperty.com/blog/wine- bottle-crafts-412 5.37 ขวดแกวใชป ระดับตกแตง ผนงั http://www.designrulz.com/product- บานเพิม่ แสงสวางแทนบล็อกแกว design/2012/08/20-ideas-of- recycle-wine-bottles/ 5.38 รว้ั สวนจากขวดแกว https://benefitsofbeingfit.wordpress.co m/2015/03/17/make-use-of- you-glass-bottles/

138 หนว ยท่ี 6 สิ่งประดษิ ฐจ ากวสั ดุตามหลกั สะเตม็ ศกึ ษา ภาพที่ ชื่อภาพ ท่มี า 6.1 เตาเผาแบบตะกรบั เคลอื่ นท่ี http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ Moving Grate kmedweb/pdf/Incinerator_tec 6.2 ภาพถายแสดงใหเห็นตะกรับ hnology.pdf http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ ท่อี ยดู า นในของเตาเผามูลฝอย kmedweb/pdf/Incinerator_techn 6.3 สวนประกอบของตะกรับท่ีชว ย ology.pdf http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ ใหมูลฝอยเกิดการเคล่ือนที่ kmedweb/ 6.4 อากาศที่ใชใ นการเผาไหมที่จาย pdf/Incinerator_technology.pdf http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ เขา ตามสวนตา ง ๆ ของหอง kmedweb/pdf/Incinerator_ เผาไหม technology.pdf 6.5 ระบบเตาเผาแบบหมุน http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ kmedweb/pdf/Incinerator_techn 6.6 ระบบเตาเผาแบบหมนุ ทตี่ ิดตั้ง ology.pdf ใชงานจรงิ http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ kmedweb/pdf/Incinerator_techn 6.7 เตาเผาแบบฟลอู ดิ ไดซเบด ology.pdf http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ 6.8 กระบวนการ Pyrolysis & kmedweb/pdf/Incinerator_techn Gasification ของ Compact ology.pdf Power® http://bangkokgreencity.bangkok.go.th/ kmedweb/pdf/Incinerator_techn ology.pdf 6.9 ระบบผลติ กาซเชือ้ เพลงิ แบบ http://www.kobelco/general/illist_haiki ไหลข้ึน (Updraft Gasifier) _03.jpg 6.10 ระบบผลิตกาซเชอื้ เพลิงแบบ http://biofuelsacademy.org/web_ ไหลลง (Downdraft gasifier) images/CFBG/CFBG3.jpg

139 ภาพท่ี ช่อื ภาพ ทีม่ า 6.11 เครื่องปฏกิ รณแ กส ซิฟายเออร http://www.fao.org/docrep/t0512e/T05 แบบไหลขวาง 12e13.gif (cross draft gasifier) 6.12 ระบบผลติ กาซเชือ้ เพลิง https://www.andritz.com/pp- แบบปอ นเช้ือเพลิงตอ เนอ่ื ง powergeneration-bfb-gasifer- (Fluid Bed Gasifier) principle.jpg 6.13 การผลติ พลังงานโดยใชกาซ http://s2.thingpic.com/images/qC/KQyi ชีวภาพจากหลมุ ฝงกลบเศษวัสดุ G99bQ5YfJYQNTVT2Nkqc.jpeg (Landfill Gas to Energy) 6.14 การผลิตพลงั งานไฟฟาดวยระบบ http://www.thaiwaste.com/wp- เครอ่ื งยนตก า ซสนั ดาปภายใน content/uploads/2016/02/23514 3.jpg


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook