1 Service Profile งานการพยาบาลผู้ป่วยใน โรงพยาบาลพยุห์ 1.บริบท (Context) หน้าทแี่ ละเปา้ หมาย ความมุ่งหมาย (Purpose) ใหบ้ รกิ ารดแู ลรักษาพยาบาลผู้ป่วยท่ีรบั ไว้ในโรงพยาบาล อย่างถูกต้อง ปลอดภยั ไมม่ ีภาวะแทรกซอ้ น ตามมาตรฐาน วิชาชีพ โดยยดึ ผู้ป่วยเป็นศูนยก์ ลาง ดูแลแบบองค์รวม ผู้ป่วยและญาติมีสว่ นรว่ มดแู ลครอบคลมุ ทงั้ ทางดา้ นการส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค รกั ษาพยาบาล และฟื้นฟูสภาพ ใช้แนวคิดการส่งเสรมิ สขุ ภาพ และดูแลต่อเนื่องถึงชมุ ชนเพื่อให้ผปู้ ่วย สุขภาพดี สามารถดูแลตนเองได้ตามศักยภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร ผู้ใหบ้ ริการและผูร้ บั บริการพงึ พอใจ 2.ขอบเขตบรกิ าร (Scope of Service) ใหบ้ รกิ ารดูแลรกั ษาพยาบาลและฟ้ืนฟสู ภาพผู้ปว่ ยทีร่ ับไวร้ กั ษาในโรงพยาบาลทุกประเภท ตลอด 24 ชม.ยกเวน้ ผปู้ ว่ ยท่ตี ้องใช้เคร่ืองช่วยหายใจรวมถงึ การวางแผนก่อนจาหนา่ ยและการดูแลต่อเนื่องท่ีบ้านโดยประสานงานกับหน่วยงานใน ชมุ ชนเพ่อื สง่ ต่อผูป้ ่วยใหไ้ ด้รบั การดแู ลตอ่ เนือ่ ง ผ้รู บั บริการท่ีมีปญั หาซับซ้อนเกินศักยภาพในการ ดูแลรกั ษา จะได้รบั การส่ง ตอ่ ไปยัง รพ. ศรสี ะกษหรอื โรงพยาบาลที่มศี กั ยภาพสงู กว่ารวมทง้ั ผู้ป่วยท่ีรบั referกลบั จากโรงพยาบาลทส่ี ง่ ต่อ และบรกิ ารรบั คนไข้กลุ่ม Intermediate care ของอาเภอพยุห์ และ อาเภอเมืองศรีสะเกษ เพื่อมารับการฟนื้ ฟูสมรรถภาพและการดแู ล ตอ่ เนอื่ ง 3.ผรู้ ับผลงานและความต้องการที่สาคญั ผ้รู ับบริการส่วนใหญ่เปน็ ประชาชนในเขตอาเภอพยุห์และอาเภอใกล้เคยี งในจังหวดั ศรีสะเกษทง้ั ที่ผู้ปว่ ยมาเอง และ ได้รับการสง่ ต่อมาจาก รพ.สต ผปู้ ่วยรบั กลบั จากโรงพยาบาลศรสี ะเกษเพ่ือดแู ลต่อเน่ือง ผู้รับรกิ ารทีม่ ปี ญั หาซับซ้อนเกิน ศักยภาพในการดูแลรักษาจะได้รับการส่งตอ่ ไปทโี่ รงพยาบาลศรสี ะเกษ ผู้รับบรกิ าร ความต้องการของผรู้ ับผลงาน ผปู้ ว่ ย - การรกั ษาพยาบาลท่ปี ลอดภยั จากภาวะแทรกซอ้ น หายจากโรค -ไดร้ ับทราบข้อมูลผปู้ ว่ ย ผลการตรวจและแผนการรกั ษา จากทมี สหวชิ าชพี อย่างดีและต่อเน่อื ง - ใหก้ ารชว่ ยเหลอื เมอื่ ได้รบั การร้องขอทีร่ วดเร็ว - ได้รบั การชว่ ยเหลือแก้ไข บรรเทาไม่สขุ สบาย - ให้คาแนะนาสอนและชว่ ยฝึกทักษะทจี่ าเปน็ ในการดูแลผู้ป่วย - เจา้ หนา้ ที่บรกิ ารดี มคี วามกระตือรอื รน้ ใสใ่ จผ้รู บั บริการ -ส่งิ แวดลอ้ มดสี ะอาด สะดวกสบายตามสมควร -มเี ครื่องมือ/เครื่องใช้เพียงพออปุ กรณ์การแพทย์ทีส่ ะอาดมีความพร้อมใช้
2 ญาติ - ได้รับทราบข้อมูลผู้ป่วย ผลการตรวจและแผนการรกั ษา - ให้การช่วยเหลอื เม่ือได้รับการรอ้ งขอทรี่ วดเรว็ - ใหค้ าแนะนาและสอนและช่วยฝึกทักษะทจ่ี าเปน็ ในการดุแลผู้ป่วย - ใหค้ าแนะนาในการจดั เตรยี มอปุ กรณท์ ่ีจาเป็นในการดูแลทบ่ี ้าน หรือ ประสานแหล่งอุปกรณ์ 4.ความคอ้ งการในการประสานงานภายในทสี่ าคัญ ผู้รับผลงานภายในโรงพยาบาล การรักษาพยาบาลตามมาตรฐานวิชาชพี และขอ้ ตกลงท่ีกาหนด ต้องการประสานงานทดี่ ี รวดเรว็ ส่งข้อมลู ถกู ต้องครบถว้ น มกี ารทางานเปน็ ทมี มีบรรยากาศการทางานทีเ่ ปน็ กนั เอง ผรู้ บั มอบผลงาน ความตอ้ งการในการประสานทส่ี าคญั แพทย์ ต้องการใหป้ ฏบิ ัตติ ามแผนการรักษาอย่างครบถว้ น มีการเฝ้าระวังการเปลีย่ นแปลงและ รายงานปญั หาที่ถกู ต้องเหมาะสมทันเวลาตดิ ตามผลการตรวจชันสตู รผลการรกั ษา กลุ่มงานเทคนิคทางการแพทย์ ประสานงานกับญาติ และฝา่ ยงานอื่นๆ ฝ่ายเภสชั กรรม ตอ้ งการใหเ้ ก็บ specimen ให้ถกู ต้องตามขน้ั ตอนและสงั่ lab ในโปรแกรมให้ครบถว้ น งานอบุ ัตเิ หตุ – ฉุกเฉิน ตรวจสอบการแพย้ า สาเนาใบสั่งยาทเ่ี ห็นลายมอื แพทย์ชัดเจน ส่งกอ่ นเวลาตอ้ งการให้มกี าร งานผูป้ ว่ ยนอก ตรวจสอบ และตามยาเดิมผู้ป่วย/ใหม้ กี ารเก็บรักษายาให้เหมาะสม งานหอ้ งคลอด เมอ่ื มีผปู้ ่วยที่ต้องadmitทางตึกสามารถเตรียมได้รวดเร็วและเหมาะสม กายภาพแพทย์แผนไทย เตรียมเตียงพร้อมเพื่อรบั ผ้ปู ว่ ยไดเ้ ร็วและเหมาะสม สทิ ธบิ ตั ร/งานเวชระเบยี น ต้องการใหน้ ดั ผู้ป่วยให้ตรงกับวันที่มคี ลนิ กิ การดูแลมารดาและทารกหลังคลอดต่อเนื่องไม่เกิดความเสีย่ งมคี วามปลอดภยั และมีความรู้ กลุ่มงานเวชปฏิบัตคิ รอบครัว ในการฏิบตั ติ ัวอย่างถูกต้อง ดแู ลผ้ปู ่วยฟื้นฟรู ่วมกัน งาน X-RAY เวชระเบยี นมเี อกสารยืนยันสิทธทิ กุ ชุด ถูกต้องตามตวั บุคคล ตอ้ งการเวชระเบียนไม่เกิน 3 วนั หลังจากผ้ปู ว่ ยจาหน่ายโดยลงรายละเอยี ดถกู ต้อง และ งานยานพาหนะ เอกสารครบถว้ น ตอ้ งการใหแ้ จง้ ทันทเี มื่อเกิดโรคตดิ ตอ่ หรือโรคทต่ี ้องแจง้ อยากใหเ้ จ้าหนา้ ที่สอบสวน/ให้ คาปรึกษา ตอ้ งการให้มกี ารตดิ ตามวัคซนี ในเด็กปว่ ยทุกราย ตอ้ งการให้มกี ารส่งข้อมูลของผู้ปว่ ยในเขต ตอ้ งการใหม้ ีการประสานงานกอ่ นท่ีจะส่งผู้ปว่ ยมาตรวจพเิ ศษ ตอ้ งการใหม้ ีการสงั่ รายการในโปรแกรม Himpro ให้เรยี บร้อยก่อนสง่ ตรวจทุกครงั้ มกี าร ตรวจสอบเตรียมชารจ์ และฟิล์มเกา่ (ประวัติ x-ray)ให้เรียบร้อยก่อนสง่ ตรวจ ตอ้ งการใหแ้ จ้งลว่ งหนา้ เม่ือประสงคใ์ ชร้ ถ
3 เวรเปล อยากให้เตรยี มผปู้ ว่ ยและเอกสารให้พรอ้ มก่อนทเี่ วรเปลจะไปรับ ช่างซอ่ มบารุง ในกรณที เี่ ปลมาสง่ ผปู้ ่วยadmit อยากใหม้ เี จา้ หน้าทมี่ ารบั ผู้ป่วย งานจ่ายกลาง ตอ้ งการให้มีการตรวจสอบเครื่องตามแนวทางช่วยกันบารงุ รักษาอปุ กรณ์ /ส่งเอกสารทกุ งานซักฟอก คร้งั เมื่อมีการซอ่ มบารุง ตอ้ งการใหแ้ ยกประเภทของน่ึงท่ใี ช้แล้วใหถ้ ูกประเภท แยกอุปกรณ์ที่ชารดุ เตรยี มสง่ ผ้บู รหิ ารงาน อปุ กรณ์ท่ใี ชแ้ ล้วตามเวลาท่ีกาหนดและตรวจนบั จานวนให้ถูกต้องตรงกนั ตอ้ งการใหเ้ บกิ ผา้ ตามรายการทีส่ ง่ และตามเวลาทีก่ าหนดเวลา งานพฒั นาคุณภาพ ต้องการให้แยกผ้าที่สกปรกมาก / นอ้ ย คัดแยกส่งิ ปะปนไปกับผ้าก่อนนาสง่ ผา้ ซัก ต้องการใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีใชผ้ ้าให้ถูกประเภท ต้องการใหบ้ รกิ ารผู้มารับบรกิ ารดว้ ยความความกระตือรอื ร้น สุภาพ ถูกตอ้ งตาม มาตรฐานวชิ าชีพ ปลอดภยั บันทึกเวชระเบยี นถูกต้องมคี ุณภาพ ใชท้ รพั ยากรอยา่ งคุ้มคา่ มี พฤติกรรมบรกิ ารทดี่ ี ให้บริการดุจญาติมิตร มีการพฒั นาคณุ ภาพอย่างตอ่ เนือ่ งและมนี วตั กรรมสุขภาพ ตอ้ งการข้อมลู การดูแลรกั ษาพยาบาล และการมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาคุณภาพทุกด้านเพื่อ ความปลอดภยั ทั้งบุคลากร ผู้รับบริการ สง่ิ แวดลอ้ มและชุมชน การปฏิบตั กิ ารพยาบาลทีม่ ีมาตรฐาน ผ้รู บั ผลงานนอกโรงพยาบาล องคก์ รตา่ งๆและ สถานพยาบาลอน่ื ตอ้ งการการสง่ ต่อขอ้ มลู และเอกสารท่ี ชดั เจน ครบถว้ น และการประสานงานทด่ี ี หน่วยงาน ความต้องการของผ้รู บั ผลงาน รพสต. - ประสานสง่ ตอ่ case ทต่ี อ้ งดแู ลต่อเน่ือง ทางโทรศพั ท์ หรอื ไลน์ รพ.ศรีสะเกษ - บนั ทกึ เอกสารสง่ ต่อประเดน็ การดแู ลตอ่ เน่ืองชดั เจน รพ.พระศรีมหาโพธ์ิ - รบั ผปู้ ่วยกลบั ดแู ลตอ่ เน่ืองเมอ่ื ไดร้ บั การประสาน สสจ.ศรีสะเกษ - ประสานสง่ ตอ่ มขี อ้ มลู ทช่ี ดั เจน ตรงกบั ประเดน็ ปัญหา - ประสานใหแ้ พทยไ์ ดส้ ง่ ต่อขอ้ มลู ทางโทรศพั ทแ์ ละแจง้ ผลการประสานแก่ Call center กระทรวงสาธารณสขุ - ดแู ลผปู้ ่วยอยา่ งมคี ณุ ภาพ มมี าตรฐาน ตามศกั ยภาพ - ประสานสขุ ภาพไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งชดั เจน - บุคลากรทม่ี คี ณุ ภาพเป็นแบบอยา่ งทด่ี ดี า้ นสขุ ภาพ -การดแู ลผปู้ ่วยทม่ี คี ณุ ภาพไดม้ าตรฐานตามนโยบายสขุ ภาพ
4 5.ลักษณะสาคญั ของบรกิ ารและปรมิ าณงาน 5.1 แสดงข้อมลู ผู้รบั บรกิ ารงานผปู้ ว่ ยใน สถิติ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 1,391 1,814 2,756 2,648 2,452 จานวนผู้รับบรกิ าร จานวนวนั นอน 2,979 3,582 6,303 6,624 6,247 จานวนวันนอนเฉล่ียตอ่ ราย 3.81 1.98 2.24 2.48 2.5 อัตราการครองเตียง 81.62 % 98.14 % 172.68 % 60.49% 62.16% CMI case mix index ไมน่ อ้ ยกวา่ 0.6 0.62 0.54 0.69 0.64 0.67 การวิเคราะห์ข้อมลู ผูร้ ับบริการมแี นวโนม้ สงู ขน้ึ จานวนวันนอนสงู ขึ้น อัตราครองเตยี งปี 2561สงู เนอื่ งจากอยูใ่ นชว่ งรอยตอ่ การ ปรบั ระดับ รพ.จากขนาด 10 เตยี ง เป็น 30 เตียง ค่า CMI ต่ากวา่ เกณฑ์ ปี 2560 จากการให้บริการผ้ปู ่วยท่ไี ม่มคี วามซับซ้อน เพิ่มมากขึน้ 5.2 แสดงข้อมูลผ้รู ับบรกิ าร 5 อันดับโรค งานผู้ป่วยใน อันดบั ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 โรค ราย โรค ราย โรค ราย โรค ราย โรค ราย 1 AGE 236 Acute 225 Acute 259 Acute 201 Acute 198 Diarrhea Diarrhea Diarrhea Diarrhea 2 Acute 61 Fever 163 Fever 183 Fever 171 Fever 139 bronchitis 3 APN 47 Acute 105 Dyspepsia 119 pneumonia 83 pneumonia 78 bronchitis 4 Dizziness 42 CKD5 69 Dizziness 107 flaccid 82 Dizziness 64 hemiplegia 5 Dyspepsia 39 Dizziness 40 Acute 67 Viral 60 CKD5 58 bronchitis Infection
5 ขอ้ มลู สถิติอันอับโรคพบวา่ 5 ปยี ้อนหลงั โรคระบบทางเดินอาหารเปน็ โรคที่พบสูงสุดในการรับไว้ในโรงพยาบาล เป็นโรคที่ ไมซ่ ับซ้อนและสามารถป้องกันไดท้ างหน่วยงานจึงไดจ้ ัดทาเอกสารคาแนะนาและการให้สุขศึกษาก่อนกลับบา้ นทงั้ ญาตแิ ละ ผปู้ ว่ ยและประเมินก่อนการจาหน่ายทกุ คร้งั ไม่พบการ re -admit ดว้ ยกลมุ่ โรคน้ี 5.3 ผู้ปว่ ยเสียชีวิตที่งานผูป้ ว่ ยใน อนั ดับ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 1 โรค คน โรค คน โรค คน โรค คน CA brain (NR) 1 Pneumonia( RF) 2 ESRD 2 Septic shock 1 2 Severe head injury 1 CA lung (NR) 1 ESRD 1 3 CA pelvis (NR) 1 1 คน 4 คน 3 คน 2 คน กลุ่มผู้ป่วยท่ีพบเสียชีวติ มากสุดคอื กลุ่ม CA ทด่ี แู ลแบบ Palliative care มีการวางแผนพฒั นา Living will และการจดั การ ความปวดโดยมคี ลินกิ palliative care พบเสียชวี ติ ในกลมุ่ Head Injury ,sepsis จึงได้จดั เปน็ โรคมุ่งเนน้ ที่มคี วามสาคญั ของ โรงพยาบาล ในปี 2564 เพ่ือป้องกันความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนและยงั พบ ผู้ปว่ ย CKD5 ท่เี สยี ชวี ติ ดว้ ยภาวะแทรกซ้อน ได้ ทบทวนร่วมกับทีม CKD clinic ในการเพื่อจัดทาโครงการร่วมกนั ในการดูแลผปู้ ่วยกลุ่ม CKD 5.4 สถิตกิ ารส่งตอ่ ของหนว่ ยงานโดยไมไ่ ด้มีการวางแผนล่วงหน้า unplan refer ปี 2561 คน ปี 2562 คน ปี 2563 คน อนั ดบั โรค โรค โรค 1 fever 16 Pneumonia 20 Septic shock 10 2 Peritonitis 12 Fever 18 Appendicitis 7 3 Pneumonia 12 Infection Diarrhea 17 UGIH 7 4 COPD 10 Peritonitis 17 Pneumonia 5 5 Abdominal pain 6 Appendicitis 11 Peritonitis 5 4.8% (307) 2.94% (358) 1.19%(284) พบความเสี่ยงในกลุ่ม sepsis มภี าวะแทรกซ้อน septic shock และภาวะ respiratory failure ต้องใส่ ET tube จากการ ทบทวนพบสาเหตุจากไม่มกี ารประเมนิ และประเมนิ ไมค่ รอบคลมุ ทาให้ผปู้ ว่ ยได้รบั การดูแลลา่ ชา้ เกดิ ภาวะแทรกซ้อนและทรดุ ลง จงึ ได้มี CPG และพฒั นาแบบประเมนิ Sepsis คือ SOS score ทุกรายเพ่ือคดั กรองและเฝ้าระวงั ความหลังดาเนนิ การ ยังไม่พบ ผ้ปู ว่ ย sepsis ทเี่ สียชวี ติ ดว้ ยภาวะ septic shock
6 5.5 สถติ ิ re-admit ของหน่วยงาน อนั ดับ ปี 2561 คน ปี 2562 คน ปี 2563 โรค โรค โรค คน 1 CKD5 7 CA 23 Alcohol Disease 10 2 CA 6 DM -Hypoglycemic coma 8 COPD 8 3 COPD 4 Alcohol Disease 4 UTI 8 4 GOUT 2 Pneumonia 6 CA 7 5 NF 2 NF 4 CKD5 6 1.54% 1.22% 1.16% การรักษาตัว ผปู้ ่วยขาดยา จึงได้มแี ผนพฒั นาร่วมกบั งานบริการปฐมภูมิและองค์รว่ มและคลนิ ิคบาบัดสุรา เพอ่ื วางแผนการดูแล และมกี ารเสริมพลงั ผู้ปว่ ยและญาตใิ หห้ ายขาดจากโรคตดิ สรุ าเรื้อรังโดยชุมชนมสี ว่ นร่วม 5.6 อตั รากาลัง บุคลากร จานวน ปริญญาโท ปรญิ ญาตรี มัธยมศกึ ษา แพทย์ 4 0 4 0 พยาบาลวิชาชีพ 7 0 7 0 ผู้ชว่ ยเหลือคนไข้ 4 0 1 3 คนงาน 3 0 0 3 เวร แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วยเหลอื คนไข้ คนงาน ดึก On call 2 1 1ใชร้ ว่ มกับ ER เช้า 1 3 1 1ใชร้ ่วมกบั ER บ่าย On call 2 1 1ใชร้ ่วมกับ ER องค์กรพยาบาลมีการบริหารอัตรากาลังรว่ มกบั งานอบุ ัติเหตุ-ฉุกเฉินและงานห้องคลอดในการปฏบิ ัตงิ านโดยมเี กณฑ์รว่ มกนั ยอด 21 คน ในเวร บ่าย/ดึก ตาม ห้องคลอดชว่ ย (กรณีห้องคลอดไมม่ ีผู้รบั บริการ) โดยประสานทง่ี านอบุ ัตเิ หตุ-ฉุกเฉิน และ ยอด 24 คน ตามเสรมิ 1 คน ยงั พบอุบัตกิ ารณ์การตามเสริมไม่ได้มีการนาเสนอข้อมูลผู้บริหารเพือ่ วางแผนพฒั นา 6.ประเดน็ คณุ ภาพท่สี าคญั (Key Quality issue) ปลอดภยั ถกู ตอ้ ง ไม่เกดิ ภาวะแทรกซ้อน มีมาตรฐานวชิ าชพี ดแู ลแบบองคร์ วม ดแู ลต่อเนอื่ ง ผู้ปว่ ย ญาติ ชุมชน มสี ว่ นรว่ ม ผูใ้ ห้บริการและผรู้ บั บรกิ ารมีความพึงพอใจ
7 6.1 กระบวนการหลัก 1.การเข้าถงึ การรบั บรกิ าร การเตรยี มความพร้อมของหอผู้ปว่ ย 2.การรบั ผปู้ ว่ ย/รบั ใหม่ 3.การประเมินผปู้ ่วย /วินจิ ฉัย/การประเมนิ ซา 4.การวางแผนจาหน่าย/การวางแผนการดูแลรักษา 5. การดแู ลรกั ษาพยาบาล/การประสานงาน 6. การจาหน่าย 7. การดแู ลต่อเนอื่ ง
8
6.2 กระบวนการสาคญั Key Processes กระบวนการสาคัญ ส่งิ ท่ีคาดหวังจากกระบวนการ (Key Processes) (Process Requirement) 1. การเขา้ ถงึ และการรบั บริการ -ผปู้ ่วยท่มี คี วามรนุ แรงได้รับการตรวจจากแพทย์ ขนั เตรยี มการ ในเวลาท่ีเหมาะสม และได้รบั ข้อมลู ครบถว้ น , มี การจัดลาดับความรุนแรงและใหข้ อ้ มูล การ การระบตุ ัวผปู้ ว่ ยได้ถกู ต้อง ลงนามยินยอม การระบุตวั ผู้ปว่ ย -ระบุตัวผปู้ ่วยถูกตอ้ ง 2. การประเมินผู้ป่วย - ผู้ป่วยแตล่ ะรายไดร้ ับการประเมินหาข้อมลู เพื่อ 2.1 การประเมนิ ผูป้ ว่ ย การซักประวตั ิ วินิจฉัยและวางแผนการดูแลรกั ษาพยาบาลเป็น การตรวจร่างกาย ระยะเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการปัญหาสุขภาพ 2.2 การสง่ ตรวจ เพอ่ื ประกอบการ -ประเมนิ ผู้ป่วยได้ถูกต้องรวดเรว็ และเหมาะสม วนิ ิจฉัยโรค Investigate อืน่ ๆ -ผปู้ ว่ ยไดร้ บั การประเมนิ ท้งั ทางกาย จิต สังคม 2.3 การวินิจฉยั โรค -วินิจฉยั ไดถ้ ูกต้อง การประเมนิ ซา - ผู้ปว่ ยได้รบั การระวังปัญหาความเสี่ยงที่อาจ การเฝา้ ระวงั ตรวจเยยี่ มของแพทย์ การ เกดิ ขนึ้ ได้ , ได้รับการประเมนิ ผลการรกั ษา สังเคราะห์ข้อมลู และการรายงานแพทย์ พยาบาล
ความเส่ียง /ปัญหา /โอกาส ตัวชวี ดั สาคญั พฒั นา (Performance Indicator) -จานวนอบุ ัตกิ ารณ์การระบุตัวผ้ปู ว่ ยผดิ คน=0 -การระบตุ วั ผปู้ ่วยผดิ พลาด -จานวนอบุ ัตกิ ารณร์ ักษาผปู้ ว่ ยผดิ คน=0 -การประเมินผู้ปว่ ยไมค่ รอบคลมุ - การเจาะเลือดและเก็บสิ่งสง่ -ผปู้ ่วยรบั ใหมไ่ ด้รับการประเมินปญั หาและความตอ้ งการ ตรวจผิด ทันท=ี 100% -การประเมินไม่ครอบคลุม -จานวนอุบตั ิการณ์การตายอย่างไม่คาดคิด=0 -การวนิ จิ ฉัยผดิ พลาด -อัตราความผิดพลาดในการใหเ้ ลอื ด=0 =จานวนอบุ ตั ิการณ์รักษาลา่ ช้าจากการไมร่ ายงานคา่ - ผู้ปว่ ยลื่น หกลม้ วิกฤติทางห้องปฏบิ ัติการ=0 - ผปู้ ว่ ยเกดิ แผลกดทบั - การติดเช้อื ในระบบทางเดนิ -จานวนอุบตั ิการณ์การพลัดตก หกล้ม =0 ปสั สาวะ -อัตราการเกิดแผลกดทับของผูป้ ว่ ย=10:1000วันนอน - การอักเสบของหลอดเลอื ดดา -อตั ราการติดเช้ือในทางเดนิ ปัสสาวะจากการคาสายสวน ปสั สาวะ -อตั ราการเกดิ หลอดเลือดดาอกั เสบจากการใหส้ ารน้า ทางหลอดเลือดดา
6.2 กระบวนการสาคญั Key Processes กระบวนการสาคญั สง่ิ ท่คี าดหวังจากกระบวนการ (Key Processes) (Process Requirement) 3. การวางแผนจาหนว่ ย - เพอ่ื ให้การรกั ษาพยาบาลเปน็ ไปในแนวทาง 3.1 การวางแผนการดูแลผปู้ ่วย (ประสาน) เดยี วกัน 3.2 การวางแผนจาหน่าย - เพื่อความรวดเร็วและปลอดภัย - ผปู้ ่วยและญาตปิ ฏบิ ัตไิ ดถ้ ูกต้องเมื่อกลบั ไปอยู่ บ้าน 4. การดแู ลผู้ป่วย - ผ้ปู ่วยได้รบั การดแู ลเอาใจใส่ตอบสนองความ 4.1 การดูแลทัว่ ไป ต้องการและปัญหาของผู้ป่วย 4.2 การดแู ลผูป้ ่วยและการให้บรกิ ารท่มี ี - ผปู้ ว่ ยได้รบั การรักษาพยาบาล ความเสี่ยงสงู -พยาบาลมีพฤติกรรมการพยาบาลท่ีดี 4.3 การดูแลเฉพาะ -การประเมนิ สภาพผปู้ ว่ ยไดอ้ ย่างรวดเร็ว ก. การระงับความรู้สึก -ให้การรกั ษาพยาบาลทถี่ ูกตอ้ งรวดเร็วและตรงกบั ข. การผ่าตัด ปัญหา ค. อาหารและโภชนาการ -ผู้รบั บรกิ ารไมเ่ กิดภาวะแทรกซอ้ นจากการ ง. การดูแลผูป้ ่วยระยะสดุ ท้าย รักษาพยาบาล จ. การจดั การความปวด ฉ. การฟน้ื ฟูสภาพ ช. การดแู ลผปู้ ว่ ยโรคไตเรอ้ื รงั
ความเสี่ยง /ปัญหา /โอกาส ตวั ชีวดั สาคัญ พัฒนา (Performance Indicator) -ข้อรอ้ งเรยี นในการให้บริการ - อตั ราผ้ปู ่วยทไี่ ดร้ บั การรักษาพยาบาลตาม Clinical -ความเสี่ยงในการรายงานผลการ Pathway ชันสตู ร -ไม่เกดิ ข้อร้องเรยี นในการให้บริการ -มีภาวะแทรกซ้อนหรืออาการ ทรุดลง - ผู้ปว่ ยและญาตไิ ม่มีความพร้อม - อตั ราการกลบั เขา้ รกั ษาซ้าในโรงพยาบาลภายใน 28 วัน ในการดูแลสขุ ภาพตนเอง จากการปฏบิ ตั ติ ัวไมถ่ ูกตอ้ ง ภายหลังจาหนา่ ย - การให้ยาไม่ถูกต้องตามหลกั 7R -จานวนอบุ ตั ิการณ์ความผิดพลาดในการบริหารยา=0 - ความผดิ พลาดจากการ -รอ้ ยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ>80-85% รกั ษาพยาบาล -ร้อยละความพงึ พอใจของผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ต่อบริการ -Medication error พยาบาล>80% -การเสียชีวติ โดยไม่คาดฝัน -จานวนขอ้ ร้องเรยี นของผรู้ บั บรกิ ารทเี่ กยี่ วกับการละเมิด บ -การเกดิ แผลกดทบั สิทธิ/พฤติกรรมบริการ=0 -อปุ กรณ์ไม่พรอ้ มใช้ -จานวนครงั้ ผปู้ ่วยไมส่ มคั รอยู่โรงพยาบาลประเภทหนี -un plan tube, CPR กลบั =0 -un plan refer -จานวนอบุ ัตกิ ารณ์จากการรกั ษาพยาบาล เฝา้ ระวงั -พลดั ตกหกลม้ ระดับ E-I = 0 -การเกดิ หลอดเลอื ดดาอกั เสบ -อัตราการเกดิ แผลกดทับระดับ 2-4 =<10:1000วนั -sepsis เกิด septic shock นอน
6.2 กระบวนการสาคญั Key Processes การจาหนา่ ย -ผ้ปู ่วยและญาติรับรูส้ ภาวะการเจ็บป่วย -กรณีกลับบ้าน -ผปู้ ่วยและญาตมิ ีความรเู้ กี่ยวกับการปฏิบตั ติ วั -กรณีสง่ ต่อ เกย่ี วกับโรค การใชย้ า อาการผดิ ปกตทิ ่ีต้องมา พบแพทย์ -ผู้ป่วยและญาตไิ ด้รบั ข้อมลู ที่จาเป็นของการส่งต่อ -การดแู ลระหวา่ งการส่งต่อปลอดภัยส่งผูป้ ่วยได้ ทันเวลา
-อบุ ัตกิ ารณ์การกลับมารกั ษาซา้ -จานวนการเสยี ชวี ติ โดยไมค่ าดฝนั = 0 ด้วยโรคเดมิ -จานวนอบุ ัติการณ์ความผิดพลาดในการใหเ้ ลือดผิด / สว่ นประกอบของเลือด= 0 % -unplan refer <1% -จานวนอบุ ตั ิการณ์พลัดตกหกลม้ =0 -อตั ราการเกดิ หลอดเลือดดาอกั เสบ=<10:1000วันนอน -อบุ ัติการณ์ผู้ปว่ ยบาดเจบ็ จากการจัดท่า ผูกบดึ การใช้ อปุ กรณ์และเครือ่ งมือ=0 -จานวนผู้ป่วย sepsis เกดิ septic shock=0 -จานวนครัง้ ผู้ป่วยมคี วามปวดระดบั 7/10ไม่ได้รับการ บรรเทาปวด=0 - อุบตั ิการณ์การกลับมารกั ษาซา้ ด้วยโรคเดิมภายใน 28 วนั จากการปฏบิ ตั ิตัวไม่ถูกต้อง<2 % -ความพึงพอใจของผู้รับบรกิ าร>80 % - เสยี ชวี ติ ขณะสง่ ต่อ -อบุ ตั กิ ารณ์การเสียชีวติ ขณะสง่ ต่อ= 0 อ -เกดิ ขอ้ ร้องเรยี นเก่ียวกบั การ รักษา
6.2 กระบวนการสาคญั Key Processes -กรณไี ม่สมคั รใจอยู่ ผูป้ ่วยและญาตเิ ขา้ ใจภาวะแทรกซอ้ นท่ีอาจจะ -กรณี Dead เกิดขนึ้ -แพทย์ต้องอธิบายให้ญาติเข้าใจและรบั รถู้ ึง สภาวะการเจบ็ ป่วยและการรักษาของทาง โรงพยาบาลอยา่ ครบถว้ น 5. การใหข้ อ้ มลู และเสริมพลังแกผ่ ู้ป่วย/ - ผู้ปว่ ยได้รบั ข้อมูลถูกต้องครบถว้ นชัดเจน ครอบครัว 6. การดแู ลต่อเนอ่ื ง -มีการส่งตอ่ อาการผู้ป่วยที่ตอ้ งตดิ ตามอาการอยา่ ง ตอ่ เนือ่ งเมื่อผปู้ ่วยกลบั บา้ นไปยังเจ้าหน้าที่ กิจกรรมค่ขู นาน สาธารณสขุ ชมุ ชนเพื่อติดตามอาการ การบนั ทึกเวชระเบียน -ผู้ป่วยสามารถปฏบิ ัตติ วั และดูแลตนเองเมอ่ื อยทู่ ่ี บา้ นไดอ้ ย่างเหมาะสม - เเฟม้ ประวัตผิ ้ปู ว่ ยมีการบันทกึ ถูกต้อง ชดั เจน
-ข้อรอ้ งเรียนเก่ียวกับพฤติกรรม -จานวนผปู้ ่วยไม่สมคั รใจอยู่ =0 ง บริการ -อบุ ัติการณข์ ้อร้องเรยี นเกีย่ วกับ -จานวนขอ้ ร้องเรยี นเกี่ยวกับการเสยี ชวี ิต=0 การตายที่ไมเ่ หมาะสม -ข้อรอ้ งเรียน -ไมม่ ีข้อร้องเรยี นเรื่องพฤตกิ รรมบริการ -ความพึงพอใจผู้รับบริการ -รอ้ ยละผูป้ ่วยและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ ตนเอง=100% ง ผูป้ ว่ ยทีต่ อ้ งติดตามอาการไม่ได้มี - จานวนอบุ ตั ิการณ์ไม่ประสานขอ้ มลู ผู้ป่วยทต่ี ้องได้รับ การประสานการตดิ ตามอาการ การดูแลตอ่ เนอ่ื ง=0 ครั้ง กับเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุขชมุ ชน -อัตราการกลับเข้ารักษาซ้าในโรงพยาบาลภายใน 28 วัน จากการปฏิบตั ิตวั ไมถ่ ูกต้อง - การบันทกึ ทางการพยาบาลไม่ - รอ้ ยละของบคุ ลากรทางการพยาบาลปฏิบัติการ สมบูรณ์ พยาบาลโดยใชก้ ระบวนการพยาบาลถูกต้อง
6.2 กระบวนการสาคญั Key Processes การให้ข้อมูล/ สขุ ศึกษา - ผูป้ ว่ ยและญาติได้รบั ข้อมูลสุขศึกษาท่ีถกู ต้อง และมกี ารบนั ทึกการให้ สุขศึกษา เรยี กชาระเงนิ - ลดปญั หาความผดิ พลาดทางการเงนิ - ถกู งาน ถกู คน
-ผู้ป่วยและญาติไม่ได้รับการ - ร้อยละของผู้ปว่ ยและครอบครัวมีความรูใ้ นการดแู ล วางแผนจาหนา่ ยก่อนกลับบ้าน สขุ ภาพตนเอง - ความผิดพลาดของเรยี กชาระ - จานวนอุบตั กิ ารณ์การระบตุ ัวผปู้ ว่ ยผิดคน เงนิ
10 7.ความท้าทายและความเส่ียงสาคญั 7.1 ความทา้ ทายทสี่ าคญั 1. ผรู้ ับบรกิ ารปลอดภยั เฝา้ ระวังอาการภาวะแทรกซ้อน และใหก้ ารดูแลรักษาตามแนวทางของโรคทีเ่ ป็นเข็มมงุ่ ของ โรงพยาบาล ในกลมุ่ ผูป้ ่วยท่ีมีความเส่ียงสูง เชน่ Sepsis, Stroke, STEMI การดแู ลผูป้ ว่ ยให้พ้นภาวะวกิ ฤติและการปอ้ งกันความเสย่ี งทางคลนิ ิกในกลมุ่ โรคทีม่ คี วามเส่ยี งสงู และเปน็ ปัญหาสาคัญ ได้แก่ -กล่มุ ผ้ปู ว่ ย ACS : มีการประเมนิ และเฝ้าระวงั ความเสยี่ งต่อภาวะแทรกซ้อนท่ีเหมาะสม เคร่ืองมือที่พร้อมใช้ และทมี ช่วยการ ฟ้ืนคนื ชีพมีประสิทธิภาพ -Head Injury: มีการประเมิน ประเมินซา้ ที่ถกู ตอ้ ง ให้การดูแลท่ถี กู ตอ้ งเหมาะสม และส่งตอ่ ท่ีทันเวลา -ผ้ปู ว่ ย Sepsis : มกี ารวินจิ ฉยั รักษา ทถี่ ูกต้อง รวดเรว็ มีการประเมนิ ประเมินซา้ การดแู ลท่ีถกู ต้องเหมาะสม และสง่ ต่อท่ี ทันเวลา 2. การประเมนิ ผ้ปู ว่ ยเข้าสภู่ าวะวกิ ฤติไดถ้ ูกตอ้ ง รวดเรว็ เหมาะสม ลดอัตราการทรุดลง ส่งต่อ 3. ผูป้ ่วยที่มีภาวะตดิ สุรา ผูป้ ว่ ยทีม่ ีประวตั ิการใช้สุรา ไดร้ บั การคดั กรองภาวะติดสุรา ไดร้ บั การเฝ้าระวงั เพ่ือปอ้ งกนั และจัดการภาวะ AWS ตามมาตรฐาน การดแู ลตามมาตรบานผู้ป่วยที่ไดร้ บั เลอื ด และผู้ป่วยทไี่ ดร้ บั ยา High alert Drug 4. การวางแผนจาหน่ายอยา่ งมีประสิทธิภาพ ในกลุ่มผปู้ ่วยตดิ สุรา,COPD,DM ใหผ้ ู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้อยา่ ง เหมาะสม ลดอัตรา re-admit ผ้ปู ่วย COPD : มีการการประเมนิ ประเมินซ้าที่ถกู ต้อง การเฝ้าระวังเพ่ือปอ้ งกนั และจดั การ ภาวะ Respiratory Failure ได้และส่งต่อทีท่ นั เวลา การเสริมพลังอานาจเพื่อป้องกนั การเกิดอาการกาเรบิ ของโรค และผู้ป่วยท่ี มีปญั หากลบั การรักษาซ้า ผปู้ ่วยต้องใช้ออกซเิ จนทีบ่ ้านไดร้ ับการสง่ ต่อเพ่ือดูแลต่อเนือ่ ง 5. การปอ้ งกนั การแพร่กระจายเชือทไ่ี ด้มาตรฐานส่งเสริมการดูแลตนเองและ ไดร้ ับการดูแลตอ่ เนือ่ งที่บา้ น ในกลมุ่ ผู้ปว่ ย covid-19,TB,กลุ่มผู้ปว่ ยตดิ เชือดือยา 6. ผู้ป่วยทีต่ ้องไดร้ ับการดูแลแบบประคับประคองไดร้ ับการดูแลตามมาตรฐาน ผู้ปว่ ยกลมุ่ เปา้ หมาย Palliative care เขา้ ถึงการวนิ ิจฉยั การวางแผนการดแู ลล่วงหนา้ การเข้าถึงยา Morphine การจัดการอาการรบกวนและไดร้ ับการสง่ ต่อเพ่ือ การดูแลตอ่ เนอ่ื งในการดุแลระยะท้ายของชีวติ เพ่ือเป้าหมายการตายดี living will
11 7.2 ความเสีย่ งทส่ี าคญั (นาส่กู ารพัฒนาคณุ ภาพ กรณีกลุ่มงานคลินิก กาหนด Specific Clinical Risk/ Common Risk) Specific Clinical Risk กลุม่ โรค/หตั ถการ Specific clinical Risk 1.sepsis Tissue hypoperfusion และ Organ dysfunction, Septic shock ,Respiratory failure Acute renal failure, Septic encephalopathy, Ischemic hepatitis, Disseminated intravascular Early warning sign coagulopathy(DIC),Hypoglycemia การวดั ซมึ สบั สนหรือกระสับกระสา่ ยมากขึ้น หายใจหอบเหน่ือย ปัสสาวะออกนอ้ ยลงหรือไม่ปสั สาวะเลย มตี าเหลืองหรอื ตงั Criteria refer เหลอื งมากข้นึ SOS score 2.Upper GI Bleeding 1. อาการของผูป้ ่วยไมด่ ีข้นึ โดยการประเมิน SOS score > 4 หลัง admit เกิน 24 ชม. Early warning sign 2. ผู้เป็นตอ้ งใช้เครือ่ งชว่ ยหายใจ 3. ไม่สามารถrecovery renal function ไดเ้ ชน่ ปัสสาวะไม่ออก หลังไดร้ ับIV fluidและInotropic drugที่เหมาะสม การวัด 4. มีeGFR แรกรบั < 15 ml/min/1.73 m2 Criteria refer 5. มี platelet ตา่ กว่า 100,000 ร่วมกับมเี ลือดออกแลว้ หยุดไม่ได้ 6. ตรวจพบ/สงสัยสาเหตุของการติดเช้ือในตาแหน่งท่ยี ากต่อการรักษา เช่น CNS ,intraabdominal 3.AKI Re-bleeding ,Hypovolemic shock ,Hemorrhagic shock, Blood loss, Anemic symptom Early warning sign อาการแสดงการเสยี เลือด ออ่ นเพลยี เหนอื่ ยงา่ ยเจ็บหนา้ อก เป็นลม ซมึ สบั สนหรือกระสับกระสา่ ยมากขึ้น หนา้ มดื การวดั ปลายมอื ปลายเทา้ เย็น ปวดทอ้ งมากผดิ ปกติ ถา่ ยอจุ จาระเปน็ เลือดสดรว่ มด้วย NG content เป็นเลอื ดสดหรือยังมสี ี Criteria refer แดงไม่จางลง Vital signs unstable ,HCTแรกรบั <30%,Serail Hct drop >3% ,BUN>70mg/dl Plt<100000 หรอื INR>2 จาเป็นตอ้ งไดร้ บั interventionสา หรับหยดุ เลือดเรง่ ด่วน Active bleeding (NG lavage > 2 L แล้วยังเป็นเลอื ดสด) Vital sign unstable อาเจยี นหรอื ถา่ ยเปน็ เลือดสดซ้าต้องให้เลอื ดมากกว่า 6 ยูนติ ใน 24 ชม จาเป็นต้องได้รับเกลด็ เลอื ดเนื่องจากมีภาวะเกลด็ เลือดตา่ สงสยั variceal bleeding มmี ultiple organ failure Volume overload ,Uremic symptoms, Hyperkalemia, Acidosis ผ้ปู ว่ ยมอี าการหอบเหนอ่ื ย นอนราบแล้วเหน่ือยมากข้ีนหรอื ตอ้ งนอนหวั สงู ขน้ึ กว่าปกติ ซึม ,สบั สน หรือ กระสับกระสา่ ยมากขึ้น Vital signs unstable ,Serum potassium > 5 mmol/L, HCO3 < 15 mmol/L 1.จาเปน็ ตอ้ งใสท่ อ่ ช่วยหายใจ ไมส่ ามารถresuscitation ให้ vital signs stable ได้ 2.ไมส่ ามารถแก้serum potassium ใหล้ ดลงได้
12 กลุ่มโรค/หัตถการ Specific clinical Risk 4.stroke Increase intracranial pressure ,Brain herniation, Hemorrhagic transformation, Recurrent stroke Early warning sign แขน-ขาออ่ นแรง หรืออาการชา ปากเบี้ยว พูดไม่ชดั กลืนสาลกั สญู เสียการมองเห็นเฉียบพลัน ชักเกร็ง หรือกระตกุ การวัด ซึม ,สับสน หรือไมร่ สู้ ึกตวั ปวดศรี ษะมากขนึ้ โดยหาสาเหตไุ มไ่ ด้ Criteria refer Vital signs unstable โดยเฉพาะ BP > 180/90 mmHg ,Motor power, Glasgow Coma Score ,Pupil size 5.MI (Acute coronary ผู้ป่วยรายใหมท่ ่สี งสยั strokeทุกราย ผู้ปว่ ยทนี่ อนในรพ.แล้วมีอาการทางระบบประสาทแยล่ ง จาเป็นตอ้ งใส่ทอ่ ช่วย syndrome) หายใจ(GCS ≤ 8) Early warning sign Cardiac arrhythmia ,Cardiogenic shock ,Heart Failure ,Cardiac arrest Misdiagnosis การวดั อาการเจบ็ แน่นหน้าอก หรอื ปวดจกุ ใตล้ ้นิ ป่ี เกดิ ขึน้ ฉบั พลนั ไมด่ ีขึน้ หลงั ไดร้ กั ษา ปวดมากขนึ้ เรอ่ื ยๆ ปวดมากผดิ ปกติ Criteria refer รู้สึกหวั ใจเตน้ ผดิ ปกติหรอื รสู้ ึกใจสน่ั หายใจหอบ กระสบั กระสาย หมดสติไม่รู้สกึ ตวั Vital signs unstable มคี ลนื่ ไฟฟ้าหวั ใจ(EKG) ไม่ปกติ 6.Peritonitis Early warning sign ผ้ปู ว่ ยรายใหมท่ ุกรายทไ่ี ดร้ บั การวนิ จิ ฉยั ACS ผปู้ ว่ ยเก่าในกรณที ว่ี ินจิ ฉยั STEMI (นอกนัน้ ให้referหลงั สนิ้ สุดการ การวัด รักษาในรพช. Vital sign unstable จา เป็นต้องุใส่ท่อช่วยหายใจ Multiple organ failure Criteria refer 1. Septic shock 2. Severe abdominal pain 3. Severe sepsis 7.Alcohol withdrawal ปวดทอ้ งรนุ แรง ,Rebound tenderness ,Abdominal guarding or rigidity syndrome Early warning sign Vital signs unstable การวดั 1. สัญญาณชีพไมค่ งท่ี Criteria refer 2. ผ้ปู ว่ ยทสี่ งสยั ถาวะตดิ เชือ้ ในชอ่ งท้องท่ีไม่ใช่Spontaneous bacterial peritonitis จากภาวะ Cirrhosis หรอื ผู้ป่วยไตวายทล่ี า้ งไตทางหนา้ ทอ้ ง 3. ผปู้ ่วยที่สงสยั วา่ มีภาวะแทรกซอ้ น เช่น กระเพาะอาหารทะลุ หรอื ลาไส้ทะลุ ลาไสอ้ ดุ ตัน มีฝี หรือหนองในชอ่ งท้อง 4. ผู้ปว่ ยท่ีจาเป็นต้องไดร้ บั การผา่ ตัด หรอื ต้องได้รบั การตรวจประเมินโดยศลั ยแพทย์หรือตรวจ เพ่ิมเติมดว้ ย เครือ่ งเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ Alcohol withdrawal seizure , Alcohol hallucinosis , Delirium tremen ,Rhabdomyolysis ,Alcoholic hepatitis ตัวสัน่ มือสน่ั รว่ มกับ มีอารมณห์ งุดหงดิ คลน่ื ไส้ อาเจยี น ชีพจรเรว็ เหงอ่ื ออกมาก ความดนั โลหติ สงู วติ กกงวั ล ซึมหด หู่ นอนไมค่ ่อยหลบั บางคนอาจมปี ระสาทหลอน หูแวว่ หวาดกลัวปสั สาวะสีแดง สีชา หรือสดี า Vital signs unstable 1.สัญญาณชพี ไมค่ งที่ มีอาการชกั หลายครั้ง โดยยังควบคมุ ไม่ไดห้ ลงั ให้ยาต้านการชกั แลว้ 2. มภี าวะแทรกซอ้ นเชน่ แขนขาออ่ นแรง ซมึ ลงไมร่ สู้ ึกตวั 3. มอี าการประสาทหลอนที่ควบคมุ ไมไ่ ดห้ รอื ยงไั มด่ ีข้ึนหลงั จากไดร้ บั การรกั ษาเบอ้ื งตน้ อยา่ งเตม็ ท่ีแลว้
13 กล่มุ โรค/หัตถการ Specific clinical Risk 8.Electolyte Imbalance Hyponatremia/Hypernatremia Complication , Osmotic demyelination syndrome (ODS) , brain edema ,Hypokalemia/Hyperkalemia Hypocalcemia/Hypercalcemia Hypomagnesemia Early warning sign Hypophosphatemia ซึม ,สบั สน หรอื กระสบั กระสา่ ยมากขึน้ รู้สึกหวั ใจเตน้ ผดิ ปกตหิ รอื รสู้ กึ ใจส่ัน มอี าการชกั เกร็ง หรือมกี ารเคลือ่ นไหว การวัด ร่างกาย ผิดปกติ ไดร้ บั บการแจงเ้ ตือนคา่ วกิ ฤตจากห้องแลบ Criteria refer Vital signs unstable ,Abnormal EKG 9.COPD AE Early warning sign 1. ไม่สามารถแก้เกลือแร่ที่ผดิ ปกตไิ ด้ 2. เกิดภาวะแทรกซอ้ นจากการแกเ้ กลือแรท่ ่ผี ดิ ปกติ การวดั Hemodynamic instability , Alteration of conscious Criteria refer 10.Liver cirrhosis หายใจลาบาก เหนอ่ื ย หอบ Early warning sign Vital sign เชน่ RR 30 คร้งั /นาที - Dyspnea at rest - respiratory paradox - PR ≥ 120 คร้งั /นาที - SpO2 ≤ 90% (room air) การวัด Criteria refer 1. Acute varicealhemorrhage 2. Hepatic encephalopathy 3. Ascites 4. Spontaneous bacterial peritonitis 5. Hepatorenal syndrome 6. Acute liver failure อาเจยี นเป็นเลอื ด หรอื ถา่ ยอจุ จาระสีดาหรอื เปน็ เลอื ดสด ทอ้ งมาน ขาบวม อณั ฑะบวมโต ภาวะความร้สู กึ ตวั ลดลง หรือ สบั สนวนุ่ วาย ตวั เหลอื งตาเหลืองมากขน้ึ Vital signs unstable 1. สญั ญาณชพี ไม่คงท่ี 2. ติดเชื้อรุนแรง 3. ไตวายและค่า Creatinine ยงั rising หลงั ได้ IV hydration หรือ ปสั สาวะไมอ่ อก 4. อาเจียนเป็นเลอื ดหรอื ถา่ ยอุจจาระเป็นเลือดแล้วไม่ดขี ึน้ หลังไดร้ บั การรักษาเบือ้ งต้น(ยาลดกรด , สารประกอบของ เลอื ด) 5. มอี าการเลอื ดออกเนอ่ื งจากมภี าวการณ์แขง็ ตวั ของเลอื ดผิดปกติหรอื เกล็ดเลอื ดตา่ 6. สภาวะการรู้ตวั ลดลงมากจนไม่สามารถหายใจเองไดห้ รอื ต้องใชเ้ ครื่องชว่ ยหายใจ หนว่ ยงานทบทวนอบุ ัติการณแ์ ละเหตกุ ารณณ์ ืสาคัญในหนว่ ยงานที่ไดจ้ ากการรักษาพยาบาล มกี ารวางแผน พฒั นาจัดทา specific clinical risk เพ่ิมขนึ ตามเหตุการณ์ โรคทพ่ี บเพอ่ื เฝา้ ระวังและปอ้ งกนั ความเสี่ยงในผู้รับบริการให้ มคี วามปลอดภัยและไดร้ บั การดูแลอย่างหมาะสม
14 ความเสี่ยง กจิ กรรมท่ตี อบสนองและเป็น เปา้ หมาย/ ตัวชวี ัดทส่ี าคัญ จุดเน้นในการพัฒนา วตั ถุประสงค์ 1.Clinical risk 1.จานวนอบุ ตั กิ ารณต์ ายอยา่ งไม่คาดคิด 1. 1 Specific clinical risk -ทบทวน specific clinical risk -เพื่อลดและปอ้ งกัน unplan death Sepsis จดั ทาคมู่ ือ ปา้ ย โปสเตอร์ ความเสยี่ ง 2.อตั ราการ re-admitted ภายใน 28 Upper GI bleeding -จัดทาแนวทางการประเมิน/ -เพื่อความปลอดภัยของ วันโดยไม่ใชก่ ารนัด (เปา้ ลดลงปีละ10%) Peritonitis ประเมินซ้า ผ้ปู ่วยไมเ่ กดิ 3.อตั ราการ refer โดยไม่ไดว้ างแผน AKI -คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ัตกิ าร ภาวะแทรกซอ้ นหรอื ลว่ งหน้าภายใน 24 ชม. Stroke พยาบาล ทรุดลงจากภาวะท่ี 4.unplan ET tube MI -ทบทวน ศึกษาพฒั นาความรู้ ป้องกนั ได้ 5.unplan CPR Electrolyte Imbalance ตลอดเวลา -มาตรฐานการ COPD AE -สรา้ งนวัตกรรรม CQI ,R2R เพือ่ รักษาพยาบาล 1.จานวนอบุ ัติการณ์ความผดิ พลาดใน Liver cirrhosis นามาใชป้ อ้ งกนั ความเส่ียง การบริหารยา (Drug Administration Alcohol withdraw syndrome ผรู้ บั บริการมคี วาม Error) 1.2 Common clinical risk -แนวทางการประเมนิ /ประเมินซา้ ปลอดภัยในการรับ 1.จานวนอุบตั กิ ารณค์ วามผดิ พลาดใน 1.จานวนอุบตั ิการณค์ วามผดิ พลาดในการ -มาตรฐานการดูแลรักษาพยาบาล บริการ การบริหารยา(Drug Administration บริหารยา(Drug Administration Error) -ทบทวนแนวทางการป้องกนั และ error) 2.จานวนอุบัติการณค์ วามผิดพลาดในการ การจดั การเพือ่ ลดความเสี่ยงและ 2.จานวนอุบตั กิ ารณ์ความผิดพลาดใน ให้เลือดและ/หรอื ส่วนประกอบของเลอื ด ปรบั ปรุงแก้ไขเมือ่ เกดิ เหตกุ ารซา้ การให้เลอื ดและ/หรือสว่ นประกอบของ 3.จานวนอุบัตกิ ารณ์การพลดั ตกหกล้ม -สื่อสารการปฏบิ ตั ิ นเิ ทศ ติดตาม เลือด 4.อตั ราการเกดิ หลอดเลอื ดดาอักเสบ กาคับโดยหัวหน้างานและทมี นา 3.จานวนอุบัติการณ์การพลดั ตกหกล้ม (Phlebitis) : 1000 วนั ทใี่ หส้ ารนา้ /on วเิ คราะห์ ประเมินผล ต่อเนอื่ งเพอื่ 4.อัตราการเกดิ หลอดเลอื ดดาอักเสบ LOCK ปรับปรุงใหท้ นั สมยั (Phlebitis) : 1000 วันทใี่ ห้สารน้า/on 5.อัตราการ re-admitted ภายใน 28 วัน LOCK โดยไมใ่ ชก่ ารนดั (เป้าลดลงปีละ10%) 5.อัตราการ re-admitted ภายใน 28 6.อัตราการ refer โดยไม่ไดว้ างแผน วนั โดยไม่ใช่การนดั (เปา้ ลดลงปีละ10%) ล่วงหนา้ ภายใน 24 ชม. 6.อัตราการ refer โดยไม่ได้วางแผน ลว่ งหน้าภายใน 24 ชม. 2.Non clinical risk 1.จานวนข้อร้องเรียนทเี่ กีย่ วกับพฤตกิ รรม 1.จานวนข้อรอ้ งเรยี นท่เี กยี่ วกบั บรกิ ารของบคุ ลากรการพยาบาล 2.อุบตั ิการณน์ า้ ไมไ่ หล พฤตกิ รรมบริการของบุคลากรการ พยาบาล
15 ตัวชีวัดผลการดาเนินงาน (Performance Indicator) อัตราความพงึ พอใจของผู้รับบริการ (เป้าหมาย > 80%) ความพงึ พอใจของผู้รับริการ >80% 120.00 88.95 87.85 88.78 98.1 86.14 100.00 78.57 84.6 80.00 รอ้ ยละความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการ 60.00 40.00 20.00 0.00 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 พบวา่ อตั ราความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารมีแนวโนม้ เพ่มิ ขนึ้ ทกุ ปี ลดลงในปี 2561 เน่ืองจากขาดความตอ่ เน่ืองในการ เก็บขอ้ มลู แบบสอบถาม จากการปรบั ระบบการทางาน โดยนาขอ้ คิดเหน็ ท่ีคะแนนต่ากวา่ รอ้ ยละ 80 มาหาแนวทาง ปรบั ปรุงใหด้ ีขนึ้ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของผรู้ บั บริการคือ ปรบั ปรุงพฤตกิ รรมบรกิ าร , การใหข้ อ้ มลู อยา่ ง ตอ่ เน่ือง และการประสานงาน ตลอดจนการสรา้ งการมีสว่ นรว่ มในการวางแผนการรกั ษาทงั้ ผปู้ ่วยและญาติ การ เพมิ่ ช่องทางในการตอบแบบสอบถาม เช่น QR codecและพฒั นาการเกบ็ ข้อมูลในสวนทไ่ี ม่พงึ พอใจของ ผู้รับบริการเพอ่ื วางแผนการพัฒนาต่อเนื่อง ผลลัพธ์ ปี 63(ปรับเป้าขึน้ 85%) ความพงึ พอใจสูง 98.1% อัตราการกลับมารักษาซาด้วยโรคเดิมภายใน 28 วัน <3% กราฟเปรียบเทยี บการกลับมารักษาซา้ ใน รพ. ภายใน 5.00 4.62 28 วัน 4.00 3.27 รอ้ ยละของการ re-… 3.00 2.00 1.87 1.66 1.54 1.00 1.22 1.16 0.00 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 กลุ่มโรค Alcohol disease ,COPD,CA(ปี 2563) กลุ่มโรคเร้ือรังเป็นปัญหาหลกั ของผปู้ ่ วยที่กลบั มารักษาซ้าใน รพ.ภายใน 28 วนั การแกไ้ ข:ปัจจุบนั มีคลินิกเฉพาะโรค และบาบดั สุรา การจดั การความปวด ใชก้ ารฟ้ื นฟูดว้ ยกายภาพบาบดั มีการวางแผนการ จาหน่ายทีมสหสาขา เสริมพลงั การดูแลตนเองใหผ้ ปู้ ่ วย การติดตามเยย่ี มบา้ นร่วมแกป้ ัญหาสาเหตุที่กระตุน้ โรคกาเริบ ประสานผดู้ ูแลและชุมชนมีส่วนร่วม เนน้ การใหข้ อ้ มูลการปฏิบตั ิตวั ของผปู้ ่ วยและญาติและการสื่อสาร พบวา่ อตั ราการกลบั มา เป็ นซ้ าลดลง
16 อุบัตกิ ารณพ์ ลัดตกหกล้ม 6.00 5.00 5 จานวนครงั้ การพลดั … 4.00 3.00 2.00 2 1.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0 0.00 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 พบอุบตั ิการณ์การเกิดพลดั ตกหกลม้ 5 ราย ในปี 2562 ไดม้ ีการทบทวนอุบตั ิการณ์ในหน่วยงานพบ อุบตั ิการณ์ในผสู้ ูงอายแุ ละเด็ก เขม้ งวดกบั การประเมิน more fall scale และ จดั ทาแนวทางการป้องกนั การ พลดั ตกหกลม้ ในหอผปู้ ่ วย ใชป้ ้ายเตือน กลุ่มเส่ียงใหม้ ีญาติดูแลใกลช้ ิด พยาบาล Round ทุก 2 ชม.ทุกราย กระตุน้ ปฏิบตั ิตามกระบวนการเฝ้าระวงั และป้องกนั การผลดั ตกหกลม้ อยา่ งสม่าสมอ มีการนิเทศติดตาม กากบั อยา่ งตอ่ เน่ือง ทาใหแ้ นวโนม้ ลดลงในปี 63 พบ 2 คร้ัง อัตราผู้ป่ วยทรุดลง ส่งตอ่ (Unplaned refer <1% 6 5 4.8 4 2.94 unplan referใน 3 24 ชม. 2 1.19 1 000 0 พบวา่ มีภาวะทรุด หลงั admit ไมเ่ กิน 4 ชม. ในกลุ่ม sepsis เกิด septic shock และ referโดยมิไดว้ างแผน มีการ ทบทวนระหวา่ งหน่วยงาน เร่ืองการประเมินคนไข้ sepsis จดั ทา CPG การประเมินแรกรับที่ ER /IPD การ รายงานแพทย์ การวางแผน refer ท่ี ERโดยไมต่ อ้ ง admit ร่วมกบั ER องคก์ รแพทย์ จดั ทาเกณฑก์ าร admit เกณฑ์ refer จดั sepsis เป็นโรคมุง่ เนน้ สาคญั รพ.พยหุ ์และมีการปรับนิยามตวั ช้ีวดั ใหช้ ดั เจนเป็น การ refer หลงั admit ใน 24 ชม โดยมิไดว้ างแผนล่วงหนา้ และผปู้ ่ วยทรุดลงโดยมิใช่จากโรคและ กรณี refer มีการ ติดตามขอ้ มูลทุกรายเพอ่ื นามาวางแผนการรักษาพยาบาล
17 ลาดับ รายการตวั ชวี ัด ผู้รับผิดชอบ เป้าหมาย 2559 2560 2561 2562 2563 มิติ 1 ด้านประสทิ ธิผลตามพันธกจิ 1 รอ้ ยละของแผนงาน/โครงการที่บรรลุตาม ยหิ วา 100% เป้าหมาย มิติท่ี 2 ด้านคณุ ภาพการให้บริการพยาบาล ความปลอดภัยของผู้ป่วย 2 จานวนอุบัติการณก์ ารระบุตัวผูป้ ว่ ยผดิ คน รัตนาภรณ์ 0 ครง้ั NA 0 1 2 1 3 จานวนอุบัตกิ ารณ์การรกั ษาผู้ปว่ ยผดิ คน รตั นาภรณ์ 0 ครง้ั NA 0 0 0 0 4 จานวนอบุ ัตกิ ารณ์ความผิดพลาดในการบริหาร รตั นาภรณ์ 0 ครั้ง NA 1.19 0 192 ยา(Drug Administration Error) 193 จานวนอบุ ตั ิการณค์ วามผิดพลาดในการให้ NA 0 0 35 19 เลอื ดและ/หรือส่วนประกอบของเลือด 5 รัตนาภรณ์ 0 ครั้ง 6 จานวนอบุ ตั กิ ารณก์ ารพลัดตกหกลม้ รัตนาภรณ์ 0 ครั้ง 0 0 52 7 จานวนอบุ ตั กิ ารณ์ผปู้ ว่ ยบาดเจบ็ จากการจดั ท่า รัตนาภรณ์ 0 ครง้ั 0 การผูกยดึ การใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมือ 00 0 จานวนอุบตั กิ ารณท์ างคลินิกระดับ E-I ทเ่ี กดิ 2 /9 8 ซ้า/จานวนอุบตั ิการณท์ างคลินกิ ระดบั E-I รัตนาภรณ์ 0 1/4. 1/7. 2/4. 1//11 ท้งั หมด 9 อัตราการเกิดแผลกดทับระดับ 2-4 ครง้ั :1000 ศิรนิ ภา <10:1000 0 วันนอนกลมุ่ เสีย่ ง ท่ีนอนรักษาในโรงพยาบาล วันนอน 00 0 10 อัตราการติดเชื้อคาสายสวนปัสสาวะ (IPD) : ศริ นิ ภา <10:1000 0 1000 วนั นอนกลมุ่ เสี่ยงผู้ปว่ ยทคี่ าสายสวน วนั นอน 00 0 11 การเกดิ หลอดเลอื ดดาอักเสบ (Phlebitis) : ศิรินภา <10:1000 0.31 1000 วันท่ีให้สารนา้ /on LOCK วนั นอน NA 0 0.18
18 11 อัตราการติดเช้อื แผลฝเี ยบ็ ศิรนิ ภา 0% NA NA 8.57 1.47 12 อัตราการติดเช้อื ที่สะดอื ของเด็กแรกเกดิ อายุ ศริ ินภา 0 ตา่ กวา่ 30วัน 0% NA NA 0 13 อัตราการติดเชอ้ื ที่แผลผา่ ตัด/Exition สะอาด ศริ ินภา 0% NA NA 0 0 14 อัตราผู้ปว่ ย Sepsis เกดิ ภาวะ Septic Shock อรพินท์ 31 เปลี่ยนเปน็ จานวน 0% 0% 0% 0% 57.69 15 จานวนอบุ ตั ิการณ์ตายอย่างไม่คาดคิด สุภาพร unplan death 2 16 อตั ราการ re-admitted ภายใน 28 วันโดย สภุ าพร 0ครั้ง 0/1 2/4. 0 /3 ไมใ่ ช่การนัด (เปา้ ลดลงปลี ะ10%) <2% 1.87 1.66 1.54 1.22 1.16 <1 4.80 2.94 1.19 17 อตั ราการ refer โดยมิไดว้ างแผนลว่ งหน้า24 สุภาพร 0 1 0 00 ชม 100% 17 จานวนอุบัตกิ ารณ์รักษาล่าชา้ จากการไม่ อารยา 0 ครง้ั 0.56 0.33 5 0 รายงานคา่ วิกฤตทิ างห้องปฏิบัตกิ าร 0 00 0 00 19 ร้อยละผปู้ ่วยและครอบครวั มีความรู้ในการ อารยา 0% 0 0 0 0 0 ดูแลสขุ ภาพตนเอง 0% 0 0 0 0 0 100% 0 0 0 0 0 20 จานวนครง้ั การไม่สมคั รใจอย่โู รงพยาบาลของ อารยา >80% 87.85 85.99 84.6 86.14 98.1 ผปู้ ว่ ยในจาหน่ายประเภทหนีกลบั 21 จานวนคร้ังผ้ปู ่วยปวดระดบั 7/10ไม่ไดร้ ับการ อารยา บรรเทาปวด 22 จานวนข้อร้องเรียนที่เกีย่ วกบั ละเมิดสิทธขิ อง วนิ ัดดา ผ้ใู ช้บริการ 23 จานวนขอ้ รองเรยี นที่เกย่ี วกับพฤติกรรมบริการ วินัดดา ของบุคลากรการพยาบาล 24 รอ้ ยละของการแก้ไขและ/หรือตอบกลบั ข้อ วินดั ดา รอ้ งเรียนของผ้ใู ชบ้ ริการ 25 รอ้ ยละความพงึ พอใจของผ้มู ารบั บรกิ ารผูป้ ว่ ย วนิ ดั ดา ใน
19 26 ร้อยละความพงึ พอใจของผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี วนิ ัดดา >80% 0 0 0 0 0 ตอ่ บริการพยาบาล มิตทิ ่ี 3 ดา้ นประสิทธภิ าพของการปฏิบตั ิการ พยาบาล 27 ผลผลติ ทางการพยาบาล(Productivity) อรพินท์ 90-110 112 80.69 109.18 131.5 113.9 0% 00 2 64 28 จานวนยา/เวชภัณฑ/์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ อรพินท์ หมดอายุเหลือค้าง 29 ระยะเวลานอนเฉลยี่ ของผ้ปู ว่ ยใน อรพินท์ 1.76 2.00 2.14 2.40 97.72 ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาล 100% 30 ปฏิบัติการพยาบาลโดยใชก้ ระบวนการ อรพินท์ พยาบาลถูกตอ้ ง 31 ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลทีป่ ฏิบตั ิ อรพินท์ 100% 95.69 ตามมาตรฐาน/แนวทางปฏบิ ตั ทิ ีก่ าหนดไว้ มติ ทิ ่ี 4 ดา้ นการพัฒนาองคก์ ร 32 ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลมี ยิหวา >80% สมรรถนะตามเกณฑท์ ่ีกาหนด >80% 100% 100% 100% 99% 100 33 พยาบาลประเมินสมรรถนะ ผ่านเกณฑ์ ยหิ วา >80% 100% 100% 100% 100% 100 >80% NA NA 100% 98% 99 สมรรถนะหลกั (Core competency) 100 สมรรถนะวชิ าชพี (Function competency) 100% 100% 100% 100% 100 34 พนกั งานผ้ชู ่วยเหลือคนไข้ ประเมนิ สมรรถนะ ยหิ วา 90 ผา่ นเกณฑ์ 100% 100% 100% 100% 100 รอ้ ยละของบุคลากรทางการพยาบาลไดร้ ับการ 0 11 2 0 3 0 112 01 35 อบรมเกีย่ วขอ้ งกบั งานทีร่ บั ผดิ ชอบอยา่ งน้อย ยิหวา 10 วนั /คน/ปี รอ้ ยละของบุคลากรทางการพยาบาลได้รบั การ 36 อบรมฟ้นื ฟทู ักษะการช่วยฟ้นื คืนชพี ขั้นพ้นื ฐาน ยหิ วา อยา่ งน้อย 1 คร้งั /คน/ปี 36 จานวนอบุ ัติการณก์ ารเกิดอุบัติเหตุจากการ ยหิ วา ปฏบิ ตั งิ านของงบคุ ลากรทางการพยาบาล 37 จานวนครงั้ ที่บคุ ลากรพยาบาล IPD ถกู ของมี ยหิ วา คมทิม่ ตา
20 38 รอ้ ยละบคุ ลากรพยาบาล IPD ไดร้ บั การตรวจ ยิหวา >80% 100% 80% 90% 100 สขุ ภาพประจาปี 39 ร้อยละผลการประเมินคุณภาพบันทกึ ทางการ ยหิ วา >80% NA 92.5 84.64 87 84.94 พยาบาลจาก สปสช.เขตบริการสขุ ภาพที่10 40 จานวนข้อร้องเรยี นเกยี่ วกบั การใหบ้ รกิ าร ยิหวา <5ครงั้ /ปี NA NA 0 0 0 Intermediate care 41 ระดบั ความสาเรจ็ การบรกิ ารศูนยด์ แู ลตอ่ เนื่อง ยหิ วา ระดบั ตามปี NA NA ระดบั ระดับ ระดบั Intermediate Care 1 23 ร้อยละของผู้ปว่ ยระยะกลางมีความสามารถใน 42 การประกอบกิจวัตรประจาวัน (BI เพมิ่ ข้นึ ) ยิหวา >70 NA NA 69 81 ปรบั ปี 62 43 หน่วยบริการ IPD ที่ผา่ นเกณฑ์ประเมนิ QA ยหิ วา ระดบั 3 3 3 3 3 3 8.ศกั ยภาพและข้อจากดั ในดา้ นผู้ปฏิบัตติ ิงาน เครือ่ งมือและเทคโนโลยี ปริมาณงานและทรัพยากร ศักยภาพ งานพยาบาลผ้ปู ่วยในรับผู้ปว่ ยจาก OPD,ER,LR ,งานกายภาพ และจากงานปฐมภูมิฯ มเี ตียงผู้ป่วยสามัญ 24 เตียง แบ่ง zone ผ้ปู ว่ ย IMC,มารดาหลงั คลอด ,zone ผ้ปู ว่ ยตดิ เชอ้ื ,Palliative care ห้องพเิ ศษ 4 ห้อง , ห้องแยกโรค 1 ห้อง (Negative pressure) ห้อง single room 1 หอ้ ง ใหบ้ ริการ 24 ชม. เพอ่ื การดูแลผูป้ ่วยทคี่ รอบคลุมในทุกกลุ่มเส่ียง ถ้าผปู้ ่วย เกินศกั ยภาพการดแู ลหรือจานวนท่รี ับไดจ้ ะส่งต่อ รพ.ศรสี ะเกษ ข้อจากดั หลังเวลา 16.00 น.แพทย์อยู่เวร 1คน ปฏิบตั ิงานถึง 20.00 น.หลัง 20.00 น.ใช้ระบบ on call เครือ่ งมือ เคร่ืองมอื อุปกรณ์ทางการแพทย์ในหอผู้ป่วย ไดร้ บั การสอบเทียบประจาปี มกี ารตรวจสอบความพร้อมใช้ประจาวัน ประจาเดอื น ประจาปี ได้รบั การดแู ลบารงุ รกั ษาตามคมู่ ือ เช่น การเปลยี่ นแบตตารี มีพยาบาลประจาตกึ เป็นผู้รบั ผดิ ชอบ เครอ่ื งมือทางการแพทย์รว่ มเปน็ คณะกรรมการในทีมเครื่องมือ เรม่ิ พัฒนาระบบการจดั เก็บเคร่ืองมือเป็น QR code ในปี 2563 ผลการสอบเทียบผา่ นมาตรฐานสามารถใชง้ านไดต้ ามปกตทิ ุกรายการปงี บประมาณ 2563 และสามารถใหบ้ ริการตรวจ ชนั สูตร เชน่ การ ultrasound การถา่ ยภาพรงั สี
21 รายการเคร่อื งมอื ที่สาคญั จานวน 1.Infusion pump 8 2 .เคร่อื งวดั BP Patient monitor 3 3.เครื่องวัด BP ผู้ใหญ่ ต้ังพ้ืน (มี cuff BP เด็ก),BP digital พกพา 2,2 4.เครื่องวดั O2 sat probe เด็ก,ผู้ใหญ่ 1,2 5.ท่ีนอนลม 3 6.เครอ่ื ง Suction ,continue child 1,1 7.เครื่องวัดระดบั น้าตาลในเลือด 1 8.เครื่องComputer CPU, Note book 2,1 9.เครอ่ื ง Printer ,printer สตกิ๊ เกอร์ 1,1 (1) 10.เคร่ือง Defibrillation 1 11.เครือ่ ง EKG 1 12.เคร่อื งปัน่ Hematocrit 1 13. เครอ่ื งชง่ั นา้ หนักผู้ใหญ่ Digital ,scale 1,1 14. เครอ่ื งช่งั น้าหนักเดก็ Digital 1 15.ชดุ Laryngoscope 1 16.หอ้ ง Negative pressure 1 เคร่อื งมือเทคโนโลยี มี ระบบ Internet การตรวจรกั ษาโดยใช้โปรแกรม Him-pro และระบบ HRMS ในการรายงานความ เสย่ี ง การจากัดผู้ใช้ Internet โดยใช้ login ทุกครงั้ พบวา่ ระบบ Internet ยงั มีปญั หาการเชือ่ มต่อในบางครั้ง มีการประสาน เครือข่าย Internet ซง่ึ งาน IT มีแก้ไขโดยการ สารอง server ขอ้ มลู เพ่ือปอ้ งกนั ข้อมลู สญู หาย บคุ ลากรขาดความเข้าใจใช้ ระบบการรายงานความเสยี่ งไม่เป็น เนอ่ื งจากไม่ได้เข้าใชง้ าน งานพยาบาลผปู้ ว่ ยใน มกี ารเพิม่ มาตรการป้องกันความ ปลอดภัยโดยใช้ระบบกล้องวงจรปิด และสัญญาณฉุกเฉิน/ไฟฉุกเฉินยังไม่ครอบคลมุ ทุกหน่วยงานมีแผนพฒั นาตดิ เพม่ิ ในจดุ เสย่ี ง เช่น ทางเขา้ -ออก
22 9.ประเดน็ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพสุขภาพทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง การส่งเสริม/สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพเจ้าหนา้ ที่, ผ้รู ับบริการ, ชุมชน,สงิ่ แวดล้อม ➢ การเชื่อมโยงการดูแลรกั ษาสู่ชมุ ชน ➢ ประเดน็ Holistic Care , Humanized Health Care ➢ เน้นส่ิงแวดลอ้ มเพื่อสร้างการเรียนรู้ เรียนรู้สาหรับตัวเองสู่การมสี ุขภาพดี & เรียนรู้สาหรับผรู้ บั บรกิ าร ➢ เขียนแสดงใหเ้ ห็นว่าบคุ ลากรเกิดความตระหนกั เรอื่ งส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อสรา้ งการเรยี นรู้ ในหน่วยงาน เช่น การ sharing,การจดั บอร์ดส่ือสารในหนว่ ยงาน
23 ทบทวน 12 กิจกรรม 1.การทบทวนขณะดูแลผปู้ ่วยขา้ งเตียง C3THER+HELP เปา้ หมาย เรยี นรู้จากผู้ปว่ ยทีอ่ ย่ตู รงหน้า ท่นี ี่ เดี๋ยวนี ว่าผู้ปว่ ยกาลังสอนอะไรเรา “อะไรเป็นความเสยี่ ง หรือโอกาสที่จะทาใหด้ ีขนึ ” สาหรบั ผปู้ ่วยรายนแี ละรายอื่นๆ, หลุมพลางท่ีพบบ่อยๆคือ วิธีการ C3THER เป็นเพยี งแนวทางเพื่อให้เห็น Risk & OFI แนวหน่งึ เทา่ นนั ความถี่ conference บรเิ วณเคาน์เตอรพ์ ยาบาล ผู้เขา้ รว่ ม วันละ 1 ครั้ง ความครอบคลุม เจ้าหน้าทใ่ี นหน่วยงาน แพทย์ สหวชิ าชีพ : เน้นการดแู ลให้ครบในทุกๆด้านทีต่ อ้ งดแู ลโดยการใช้ C3THER ในผปู้ ่วยทมี่ ปี ญั หาซบั ซ้อนและ การเปล่ยี นแปลงที่เกดิ ขึน ต้องดูแลอยา่ งใกลช้ ิด 1.เกิดการปรบั ระบบการดูแลแบบ สหสาขาวิชาชพี และการดูแลแบบองค์รวม เช่ือมต่อสู่ PCU 2.กาหนดระบบการ D/C Plan รว่ มกบั สหวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วย 3.การ Round ผ้ปู ่วยได้รบั ทราบปัญหาและสภาพผปู้ ่วยและร่วมกนั วางแผนการพยาบาลได้อย่าง เหมาะสม 2. การทบทวนเม่ือส่งต่อ ขอย้าย ปฏเิ สธการรักษา เป้าหมาย ดแู ลดพี อหรอื ไม่ เรียนรู้อะไร ทบทวนแลว้ รวู้ ่า “ตอ้ งพัฒนาศกั ยภาพอะไร วิธกี าร ทบทวน Case ส่งตอ่ ทกุ รายท่เี กดิ จากการไมไ่ ด้วางแผนไว้ลว่ งหนา้ และรวมถึงCase ทป่ี ฏิเสธการ รกั ษา ความถี่ ทุกครัง้ ที่มเี หตุการณ์ การสง่ ต่อโดยไม่ไดว้ างแผนลว่ งหน้า การปฏเิ สธการรักษา,การขอกลับ ได้ มกี ารพูดคุยและทบทวนระบบการดูแลรกั ษา ผเู้ ข้าร่วม เจ้าหน้าทีใ่ นหน่วยงาน องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล ทีม PCT ความครอบคลุม ทุก Case ท่มี กี ารส่งต่อโดยไม่ได้วางแผนล่วงหนา้ ,ปฏเิ สธการรักษา,ขอกลับหรอื ขอย้าย การเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดขึน 1.พัฒนาระบบการดแู ลส่งต่อท่ีเหมาะสมในกลุ่มผ้ปู ่วยท่ีมภี าวะวิกฤติ 2.พัฒนามาตรฐานการดูแลผู้ปว่ ยตามโรครื้อรงั และทีม่ ีความเส่ยี งสูงโรคตดิ เช้ือท่ีมีโอกาส แพรก่ ระจายเชอื้ สงู ( DM,CKD, COPD , Pneumonia , Septic Shock ,Covid-19,กลุ่มติดเชอ้ื ดอ้ื ยา) 3.พัฒนาเจา้ หนา้ ทใี่ นหน่วยงาน เก่ียวกับการดูแลผูป้ ว่ ยโรคเรอื้ รงั และโรคท่ีมคี วามเสย่ี งสูง 4.พฒั นาเจา้ หน้าท่ใี นการให้ข้อมลู ผปู้ ว่ ยและญาติในการปฏิเสธการรกั ษาและการขอย้าย 5.พัฒนาการรายงานแพทยโ์ ดยการใช้ SBAR
24 3. การทบทวนความคดิ เหน็ /ขอ้ ร้องเรยี นของผู้รบั บรกิ าร ขอ้ เสนอแนะ เปา้ หมาย เพ่ือรับรู้ ตอบสนอง ปรับระบบใหเ้ ป็นองค์กรท่ีมุ่นเนน้ ผู้ปว่ ย/ลูกคา้ มากขนึ รกั ษาศรัทธาและ ความไว้วางใจทีผ่ ูป้ ่วยมีต่อองคก์ ร และปอ้ งกันการบานปลายของเร่ืองราวท่ีอาจกลายเปน็ คดี วิธีการ ความ รบั ขอ้ ร้องเรียนจากตรู้ ับขอ้ ร้องเรียนของทมี RM , ทางโทรศัพท์, ทาง Intranet, จากแบบประเมนิ ความถี่ ความพึงพอใจของหนว่ ยงาน,QRcode ผ้เู ขา้ รว่ ม ทนั ทที ี่ได้รับข้อรอ้ งเรียนและกาหนดเป็นวาระประชุมประจาเดือน(เดือนละ 1คร้ัง) ความครอบคลุม เจ้าหนา้ ท่ใี นหน่วยงาน การเปล่ียนแปลงท่เี กดิ ขนึ ทกุ ข้อรอ้ งเรยี น 1. มีการแก้ปัญหาข้อร้องเรียนอย่างเป็นระบบ 2. มีการประชุมเพื่อรบั ฟังการแก้ไข้ปญั หาจากเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน 2. การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมบริการ 4. มีการพัฒนาระบบการรับรขู้ อ้ มูลสาหรับผู้ป่วยและญาตริ วมถึงสิทธขิ องผ้ปู ว่ ย กรณตี วั อย่าง : ขอ้ ร้องเรยี นเร่ืองการปฏิเสธการรักษาของผู้ป่วยและญาติทตี่ ้องการกลับบ้านใน ขณะท่ีแพทยย์ ังทาการรักษาไม่อนุญาตให้กลับ ผลการทบทวน : อบุ ัติการณ์ข้อรอ้ งเรียนด้านพฤติกรรมบริการ ปี 2560= 1 เร่ือง โดยได้รบั จาก การแสดงความคิดเหน็ ประชาคมของผ้รู ับบรกิ ารในอาเภอพยหุ ์ 4.การทบทวน ความสมบูรณ์ของการบันทกึ เวชระเบียน ใช้ Tigger tool เป้าหมาย ตรวจสอบเวชระเบียน เปน็ การประเมินโอกาสใชป้ ระโยชน์จากส่ิงท่ีบนั ทกึ ทบทวนแล้ว สามารถหาโอกาสพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยในการดแู ลผ้ปู ว่ ย วธิ กี าร ตรวจสอบเวชระเบียน ความถ่ี 1 ครัง้ /วนั ผู้เข้ารว่ ม เจา้ หนา้ ท่ีในหน่วยงาน ความครอบคลุม ครอบคลุมกระบวนการพยาบาล การเปลย่ี นแปลงที่เกดิ ขนึ การปรับปรงุ การเขียนบันทึกทางการพยาบาลตามจดุ ที่แนะนาแก้ไข กรณีตวั อยา่ งการทบทวน :มีการเขยี น Progress Note ในใบ Problem list และเขียนบันทึก ทางการพยาบาลในใบ Nurse Note แบบ Focus Note เพือ่ ให้กระชับ ชดั เจน ตรงประเดน็ เชือ่ มโยงกบั แพทย์ ให้ครบ AIE 1.พฒั นาการดแู ลผู้ป่วยแบบสาขาวชิ าชพี มแี บบฟอร์ม D/C Plan
25 2.มกี าร Note ปัญหาผปู้ ว่ ยใน D/C Plan ในเวชระเบียนเพอ่ื เปน็ การสอ่ื สารปญั หาเช่ือมโยงทกุ สาขาเพื่อรว่ มกนั วางแผนในการดแู ลผ้ปู ว่ ย 3.มกี ารบันทึก Nurse note ในผปู้ ่วยกล่มุ โรคเร้อื รังและผู้ป่วยกลุม่ โรคท่ีมภี าวะวิกฤติ อย่าง ต่อเนอื่ ง 4.มกี ารทบทวนการเขยี น Nurse note ท่ีมปี ระสิทธภิ าพ กรณีตวั อยา่ ง : มีการทบทวนเวชระเบียนผ้ปู ว่ ยเบาหวานทม่ี กี าร Re-Admit บอ่ ยพบว่าผปู้ ่วยยังมี ปญั หาในเรอื่ งการดแู ลตนเองทั้งภาวะแทรกซ้อนของเบาหวาน อาหารที่ควร รบั ประทาน ยา การตรวจดูแลเท้าเพ่ือป้องกันการเกดิ แผลทเ่ี ทา้ หลงั จากน้ันได้ขอ้ สรุปในการ วางแผนการ ดูแลผู้ปว่ ยเบาหวานแบบองค์รวม โดยสาขาวิชาชีพ ผลการทบทวน - ความสมบรู ณข์ องการบนั ทึกเวชระเบียน(ภาพรวม) ปี 63 =88.72% 5.การทบทวนการดูแลผปู้ ่วยจากเหตกุ ารณส์ าคญั Unplaned death/death เปา้ หมาย เพ่อื เรียนรู้ปญั หาที่เกิดขึน นามาสกู่ ารปรับปรงุ ระบบเพื่อปอ้ งกันมิให้เกิดซา รวมทังฝึก สรา้ งวฒั นะรรมไมต่ าหนิกล่าวโทษกัน (no blame) วิธกี าร ทบทวน Case เสยี ชวี ติ ทกุ รายที่เกดิ จากการไม่ไดว้ างแผนไว้ล่วงหน้าและท่ีเสยี ชีวติ ทกุ ราย ความถี่ ทกุ ครัง้ ท่ีมเี หตุการณภ์ ายใน 24 ชัว่ โมง การเสยี ชีวติ โดยไมไ่ ด้วางแผนล่วงหนา้ หรอื วางแผน ลว่ งหน้า ไดม้ กี ารพดู คุยและทบทวนระบบการดูแลรักษา ผเู้ ขา้ รว่ ม เจ้าหนา้ ท่ใี นหน่วยงาน /เจา้ หนา้ ท่ีทเ่ี ก่ียวข้อง ความครอบคลุม ทุก Case ทเ่ี สยี ชีวติ โดยไมไ่ ด้วางแผนลว่ งหนา้ ,หรอื วางแผน การเปลีย่ นแปลงท่เี กดิ ขนึ 1.พัฒนาระบบการประเมนิ คนไขแ้ บบองคร์ วมตรามมาตรฐานวิชาชีพและอาการเปลี่ยนแปลง 2.พัฒนาระบบการดแู ลท่เี หมาะสมในกลุ่มผูป้ ว่ ยระยะสดุ ท้าย 3.พัฒนามาตรฐานการดูแลผู้ป่วยตามโรคร้อื รงั และทม่ี ีความเส่ียงสงู 4.พัฒนาเจา้ หน้าทใี่ นหนว่ ยงาน เก่ยี วกบั การดแู ลผปู้ ว่ ยโรคเร้อื รงั อาการเปลี่ยนแปลงของโรค และโรคทีม่ ีความเสีย่ งสูง 5.พฒั นา เจา้ หนา้ ท่ีในการให้ข้อมูลผ้ปู ว่ ยและญาติ กรณเี สียชีวิต 6.พัฒนาการรายงานแพทย์โดยการใช้ SBAR
26 6.การคน้ หาและป้องกันความเสย่ี ง เป้าหมาย การพดู คุย ,การ round,การทบทวนเวชระเบยี น,RM วธิ ีการ ทุกคร้ังท่มี เี หตุการณภ์ ายใน 24 ชว่ั โมง ระดับ E-I , ระดับ A-D ทบทวนทุก สปั ดาห์ ความถ่ี เจา้ หนา้ ทใี่ นหน่วยงาน /เจา้ หน้าท่ที ีเ่ กย่ี วข้อง ผเู้ ข้ารว่ ม ระดบั E-I ทกุ case ความครอบคลุม 1. พฒั นาระบบค้นหาความเสี่ยง เชงิ รบั -เชงิ รุก การเปล่ียนแปลงทเ่ี กิดขึน 2. เจ้าหนา้ ที่มคี วามเขา้ งานบริหารความเส่ียงมากขึ้น 3. มีแนวทางปอ้ งกนั การเกิดความเส่ยี ง 4. เขา้ ใจบริบทองค์กร หน่วยงาน สะทอ้ นภาพองค์กรได้ และระหวา่ งหนว่ ยงาน 5 .การจัดลาดบั ความสาคัญในการพฒั นาองค์กร 6. การพัฒนาการใช้โปรแกรม risk matrix, risk profile ,risk register 7.การปอ้ งกนั และเฝา้ ระวังการตดิ เชือในโรงพยาบาล เป้าหมาย วิธกี าร ความถี่ ผ้เู ขา้ รว่ ม ความครอบคลุม การเปลีย่ นแปลงที่เกิดขนึ 8.การปอ้ งกันและเฝา้ ระวงั ความคลาดเคล่อื นทางยา เปา้ หมาย วิธีการ ความถี่ ผ้เู ข้ารว่ ม ความครอบคลุม การเปลีย่ นแปลงท่ีเกดิ ขนึ :
27 9.การทบทวนการใช้ความรู้ทางวชิ าการ เปา้ หมาย ใช้วิชาการที่ทนั โลก ไมม่ ากไป ไม่นอ้ ยไป วิธีการ ความถี่ ผู้เข้ารว่ ม ความครอบคลุม การเปล่ยี นแปลงท่เี กดิ ขึน 10.การทบทวนการใช้ทรัพยากร Utilization review เปา้ หมาย เพื่อลดความสูญเปลา่ ในการใชท้ รัพยากรทไ่ี ม่จาเปน็ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ทรัพยากรที่มีมลู คา่ สงู วธิ กี าร ความถ่ี ผเู้ ขา้ ร่วม ความครอบคลุม การเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ขึน 11.การติดตามเคร่ืองชีวดั ทีส่ าคญั เปา้ หมาย เพ่อื ใหท้ ีมงานรบั รู้วา่ สามารถเป้าหมายไดีเพยี งใด อาจนาไปสกู่ ารปรับปรุงวธิ กี ารทางาน หรอื การแบง่ ปนั บทเรยี นของความสาเรจ็ ใหแ้ กผ่ ้อู ืน่ วธิ ีการ ความถี่ ผ้เู ขา้ รว่ ม ความครอบคลุม การเปล่ียนแปลงทเี่ กิดขนึ
28 12.ทบทวนการตรวจรักษาโดยผชู้ านาญกวา่ เป้าหมาย เร่งรดั การพัฒนาให้เก่งเรว็ ขึน โดยเฉพาะในกรณี ยุ่งยาก ซบั ซ้อน หรือ เกนิ ความสามารถ วธิ กี าร ความถี่ ผู้เขา้ ร่วม ความครอบคลุม การเปล่ยี นแปลงทเี่ กดิ ขึน
29
30
31
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: