Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Description: 32.

Search

Read the Text Version

44 6. ออกกาํ ลงั กายอยา งสมํา่ เสมอ 7. พักผอ นใหเ พียงพอวันละ 6-8 ช่ัวโมง และหาวธิ ผี อนคลายความเครยี ด 8. หลกี เลีย่ งหรอื งดการสบู บุหร่ี โรคอว น (Obesity) โรคอวนเปนสภาวะท่ีรางกายมีไขมันสะสมตามสวนตางๆ ของรางกายมากเกินกวา เกณฑป กติ ซึง่ ตามหลกั สากลกาํ หนดวา ผูชายไมควรมีปรมิ าณของไขมนั ในตวั เกินกวา 12-15% ของนํา้ หนกั ตวั ผหู ญงิ ไมควรมีปริมาณของไขมันในตัวเกนิ กวา 18-20% ของนํ้าหนักตัว หากจะ ใหไดผ ลแนนอนควรไดร ับการตรวจจากหอ งปฏิบัติการ แตนักเรียนอาจประเมินวาเปนโรคอวน หรอื ไมด ว ยวธิ ีงายๆ ดว ยวธิ ีตรวจสอบกบั ตารางนา้ํ หนักและสว นสงู ของกรมอนามยั สาํ หรบั ในผูใ หญอ าจประเมนิ ไดจาก การหาคาดัชนมี วลกาย (Body Mass Index) ไดจ ากสตู รดงั น้ี _ นํ้าหนัก (กโิ ลกรัม) BMI = สวนสูง2 (เมตร) คาท่ไี ดอ ยูระหวา ง 18.5-24.9 ถือวา อยใู นเกณฑปกติ ไมอว นหรือผอมเกินไป สาเหตุ 1. กรรมพนั ธุ 2. การรับประทานอาหารเกินความตองการของรา งกาย และมพี ฤตกิ รรมการ รับประทานอาหารทไ่ี มด ี เชน กินจุบจิบ 3. ขาดการออกกําลังกาย 4. สภาวะทางจิตและอารมณ เชน บางคนเม่อื เกดิ ความเครยี ดกจ็ ะหันไปรบั ประทาน อาหารมากจนเกินไป 5. ผลขา งเคียงจากการไดร บั ฮอรโมนและการรบั ประทานยาบางชนดิ เชน ยาคมุ กําเนิด ฮอรโ มนสเตียรอยด เปน ตน

45 อาการ มีไขมันสะสมอยใู นรางกายจํานวนมาก ทําใหมีรูปรางเปลี่ยนแปลงโดยการขยายขนาด ขน้ึ และมีน้ําหนักตัวมากขน้ึ การปอ งกนั 1. กรรมพันธุ หากพบวา มปี ระวัตขิ องบุคคลในครอบครวั เปน โรคอว น ควรตองเพ่ิม ความระมัดระวัง โดยมีพฤตกิ รรมสุขภาพในเร่ืองตางๆ ที่เกีย่ วขอ งกับโรคอว นอยางเหมาะสม 2. รับประทานอาหารแตพ อสมควรโดยเลอื กรบั ประทานอาหารทมี่ ปี ระโยชน หลีกเล่ียงอาหารรสหวานและอาหารท่ีมีไขมันสูง รับประทานผักและผลไมมากๆ และ หลากหลาย 3. ออกกําลังกายสมาํ่ เสมออยางนอ ยสัปดาหละ 3 วัน วันละ 30 นาที 4. หาวิธีการควบคุมและจดั การความเครียดอยางเหมาะสม พกั ผอ นใหเพยี งพอ 5. การใชยาบางชนิดท่ีอาจมีผลขางเคยี ง ควรปรึกษาแพทย และใชย าตามทแี่ พทย แนะนําอยา งเครง ครัด เร่อื งท่ี 2 ปริมาณความตอ งการสารอาหารตามเพศ วัย และสภาพรา งกาย 1. ความตอ งการสารอาหารในวัยเด็ก อาหารมีสวนสําคัญอยา งมากในวยั เด็กทั้งในดานการเจริญเติบโตของรางกายและ การพัฒนาการในดานความสัมพนั ธข องระบบการเคลื่อนไหวของรางกาย ตลอดจนในดานจิตใจ และพฤตกิ รรมในการแสดงออกและปจจัยท่ีมีสวนสําคัญที่ทําใหเด็กไดรับอาหารที่ถูกหลักทาง โภชนาการ ไดแ ก 1.1. ครอบครัวที่คอยดูแลและเปนตวั อยา งทีด่ ี 1.2. ตวั เด็กเองทีจ่ ะตองถูกฝกฝน 1.3. ส่ิงแวดลอ มทาํ ใหเกดิ การปฏิบัติอยา งคนขา งเคียง อาหารท่ีถูกหลักโภชนาการในวัยเด็กตองการอาหารครบทั้ง 3 ประเภท เพือ่ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ สงิ่ ทีต่ องคํานงึ ถึงคอื อาหารที่ใหเด็กควรไดร บั ไดแก 1) อาหารที่ใหโปรตีน ไดแก นม ไข เนื้อสัตว ตลอดจนโปรตีนจากพืช จาํ พวกถว่ั เขยี ว ถ่ัวเหลอื ง 2) อาหารที่ใหพลังงาน ไดแก ขาว แปง น้ําตาล ไขมัน และนํ้ามัน สว นนํา้ อัดลม หรอื ขนมหวาน ลูกกวาดตาง ๆ ควรจํากดั ลง เพราะประโยชนน อยมากและบางที

46 ทําใหมปี ญ หาเรอ่ื งฟน ผุดวย 3) อาหารที่ใหวิตามินและเกลอื แรไดแก พวก ผกั ผลไม และอาหารทม่ี ี ใยอาหารท่ีมีสว นทําใหเ ก็บไมท องผกู 2. ความตอ งการสารอาหารของเดก็ วยั เรียน การเลอื กอาหารเชาท่ีเด็กวัยเรียนควรไดรับประทานและหาไดงาย คือ นมสด 1 กลอง ขาวหรือขนมปง ไข อาจจะเปนไขดาว ไขลวก หรือไขเจียว ผลไมที่หาไดงาย เชน กลว ยน้าํ วา มะละกอ หรือสม เทานเี้ ดก็ ก็จะไดร บั สารอาหารทเี่ พียงพอแลว 3. ความตองการสารอาหารในวัยรนุ วัยรุน เปน วยั ทมี่ ีการเจริญเตบิ โตในดา นรา งกายอยา งมาก และมีการเปล่ียนแปลง ทางอารมณและจิตใจคอนขางสูง มีกิจกรรมตาง ๆ คอนขางมากท้ังในดานสังคม กีฬา และ บันเทิง ความตองการสารอาหารยอมมีมากขึ้น ซึ่งจะตองคํานึงท้ังปริมาณและคุณภาพใหถูก หลกั โภชนาการ ปจจัยทส่ี ําคญั คือ 1. ครอบครวั ควรปลูกฝงนสิ ัยการรับประทานอาหารท่ีถูกหลัก 2. วัยรุน จะเร่ิมมีความคิดเห็นเปนของตัวเองมากข้ึน การรับความรูเก่ียวกับ โภชนาการ มีความจําเปนเพ่ือใหเห็นความสําคัญของการรับประทานอาหารที่มีคุณคาทาง โภชนาการอยา งสม่าํ เสมอ ซ่งึ จะมผี ลดีตอตวั วยั รุนเองโดยตรง 3. สิ่งแวดลอมในโรงเรียนหรือสถานศึกษา อิทธิพลจากเพื่อนฝูงมีสวนที่ทําให วยั รนุ เลยี นแบบกนั เรอื่ งการรับประทานอาหาร ตลอดจนการบริโภคสารอันตรายความตองการ อาหารท่ีใหโปรตีน พลังงาน และวิตามินตองเพียงพอสําหรับวัยรุน วิตามินตองเหมาะสมและ โดยเฉพาะอยา งยิ่งอาหารท่มี เี กลอื แรป ระเภทแคลเซียมและเหล็กตองเพยี งพอ 4. ความตองการสารอาหารในวัยผใู หญ วัยผูใหญถึงแมจะหยุดเจริญเติบโตแลว รางกายยังตองการสารอาหารอยาง ครบถว น เพ่อื นาํ ไปทํานบุ ํารงุ อวยั วะ และเน้อื เยอื่ ตา ง ๆ ของรางกายใหคงสภาพการทํางานท่ีมี สมรรถภาพตอ ไป และปจ จัยสาํ คัญอยางหนึ่งท่ีจะทาํ ใหวัยผใู หญยังคงแขง็ แรง ไดแก การบรโิ ภค อาหารท่ีถูกตองตามหลกั โภชนาการ การควบคมุ อาหารในวยั ผูใหญ มีดังนี้ 1. ใหบริโภคอาหารหลายชนิด เนื่องจากไมมีอาหารชนิดใดชนิดหนึ่งท่ีใหคุณคา ทางโภชนาการไดค รบถว น 2. บริโภคอาหารในปรมิ าณท่พี อเหมาะ เพ่อื ใหน ํ้าหนกั อยูใ นเกณฑที่ตอ งการ 3. หลกี เลย่ี งการรบั ประทานท่ีมีไขมนั มากเกินไป

47 4. บริโภคอาหารทม่ี ีปริมาณของแปง และกากใยใหเพียงพอ 5. หลกี เลี่ยงการบริโภคอาหารที่ปรงุ ดว ยปริมาณน้าํ ตาลจํานวนมาก 6. หลีกเลยี่ งการบริโภคอาหารเค็มมากเกนิ ไป 7. หลีกเลยี่ งเคร่ืองด่ืมท่ีมแี อลกอฮอล 5. ความตอ งการสารอาหารของวัยชรา วัยชรา หมายถงึ ผูทอี่ ยูในวัย 60 ปข้ึนไป สาํ หรับปญ หาเรอ่ื งอาหารการกินหรือ โภชนาการในวัยน้ี ขอใหรับประทานอาหารใหครบทุกหมูและควบคุมปริมาณ โดยดูจากการ ควบคุมนํ้าหนักตัวไมใหมากข้ึน และกรณีน้ําหนักเกินอยูแลว ควรจะลดนํ้าหนักใหสัมพันธกับ สวนสูง ขอ แนะนาํ ในการดแู ลเรอื่ งอาหารในผสู ูงอายุมีดงั น้ี 1. โปรตีน ควรใหรับประทานไขวันละ 1 ฟอง และด่ืมนมอยางนอยวันละ 1 แกว สาํ หรบั โปรตนี จากเนื้อสัตวควรลดนอยลง 2. ไขมัน ควรใชน้ํามันถ่ัวเหลืองหรือน้ํามันขาวโพด ในการปรุงอาหารเพราะ เปน นาํ้ มนั พืชที่มีกรดไลโนเลอกิ 3. คารโบไฮเดรต คนสูงอายุควรรับประทานขาวลดลงและไมควรรับประทาน น้ําตาลในปริมาณที่มาก 4. ใยอาหาร คนสูงอายุควรรับประทานอาหารท่ีเปนพวกใยอาหารมากขึ้น เพอื่ ชว ยปองกนั การทองผกู ชว ยลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดและลดอุบัติการณของการเกิด มะเร็งลําไสใ หญล งได 5. นาํ้ ดม่ื คนสงู อายุควรดม่ื น้ําปริมาณ 1 ลิตรตลอดทั้งวัน แตทั้งน้ีสามารถปรับ เองไดตามความตองการของรางกาย โดยสังเกตดูวาถาปสสาวะมีสีเหลืองออน ๆ เกือบขาว แสดงวา นา้ํ ในรา งกายเพยี งพอแลว สว นเครื่องด่ืมแอลกอฮอลร วมทั้งนํ้าชา กาแฟ ควรงดเวนถา ระบบยอยอาหารในคนสูงอายุไมดี ทานควรแบงเปนมื้อยอย ๆ แลวรับประทานทีละนอย แต หลายม้อื จะดกี วา แตอ าหารหลักควรเปน ม้อื เดียว 6. ความตองการสารอาหารในสตรตี ั้งครรภ สตรีตั้งครรภ นอกจากตองมีสารอาหารท้ัง 6 ประเภท ไดแก โปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร และน้ํา ในอาหารที่รับประทานเปนประจําใหครบทุก ประเภทแลว สตรีต้งั ครรภต องทราบอีกวา ควรที่จะเพ่ิมสารอาหารประเภทใด จึงจะทําใหเด็ก ในครรภไ ดร บั ประโยชนส ูงสดุ ดงั นี้

48 1. อาหารที่ใหโปรตีน ไดแก ไข นม เนื้อสตั ว เครอ่ื งในสัตวและถว่ั เมล็ดแหง 2. อาหารท่ีใหพลังงาน ไดแ ก ขาว แปง นํ้าตาล ไขมันและนาํ้ มัน 3. อาหารทใี่ หว ิตามนิ และเกลือแร สตรตี ง้ั ครรภต องการอาหารท่ีมีวติ ามนิ และเกลือแรเพิ่มขึ้นควรรับประทานอาหารประเภทผักและผลไมทุกๆวัน เชน สม มะละกอ กลว ย สลับกันไป เรอ่ื งที่ 3 วธิ กี ารประกอบอาหารเพ่ือคงคณุ คาของสารอาหาร 1. หลกั การปรงุ อาหารทีถ่ กู สุขลักษณะ เพ่ือใหไดอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และมีคุณคาทางโภชนาการ มีหลักการปรุง อาหารทถี่ ูกสขุ ลกั ษณะ โดยคํานงึ ถึงหลกั 3 ส คอื สงวนคุณคา สกุ เสมอ สะอาดปลอดภยั สงวนคุณคา คือ การปรุงอาหารจะตองปรุงดวยวิธีการปรุงประกอบเพื่อสงวน คุณคาของอาหารใหม ปี ระโยชนเ ตม็ ท่ี เชน การลา งใหสะอาดกอ นห่นั ผัก การเลือกใชเกลือเสริม ไอโอดีน สุกเสมอ คอื ตอ งใชความรอนในการปรุงอาหารใหสุกโดยเฉพาะอาหารประเภท เนื้อสัตว ท้ังน้ีเพ่ือตองการจะทําลายเชื้อโรคท่ีอาจปนเปอนมากับอาหาร การใชความรอน จะตองใชความรอนในระดับท่ีสูง ในระยะเวลานานเพียงพอที่ความรอนจะกระจายเขาถึง ทกุ สวนของอาหาร ทําใหส ามารถทําลายเช้ือโรคไดอยางมีประสิทธภิ าพ สะอาดปลอดภัย คือ จะตองมีการตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานของอาหารกอน การปรุงประกอบวาอยูในสภาพท่ีสะอาด ปลอดภัย ไดมาตรฐาน เชน เนื้อหมูสด ตองไมมีเม็ด สาคู (ตัวออนพยาธิตัวตืด) นํ้าปลา จะตองมีเครื่องหมาย อย.รับรอง เปนตน และจะตองมี กรรมวธิ ขี น้ั ตอนการปรงุ ประกอบอาหารท่ีสะอาด ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ มีผูปรุง ผูเสิรฟ อาหารท่ีมีสุขวิทยาสวนบุคคลที่ดี รูจักวิธีการใชภาชนะอุปกรณและสารปรุงแตงรสอาหาร ท่ีถูกตอง เชน มีการลดปริมาณสารพิษ กําจัดศัตรูพืชที่ตกคางในผักสด การใชชอนชิมอาหาร เฉพาะในการชิมอาหารระหวางการปรงุ อาหาร 2. หลักการทําอาหารใหสะดวกและรวดเร็ว มีวธิ กี ารเตรยี มอาหารพรอมปรุงในวันหยุดที่เก็บไวในตูเย็นแลวนํามาปรุงใหมได โดยใชเวลานอยแตไดค ณุ คามาก เริ่มจากอาหารประเภทเนื้อสัตว เชน หมู ไก กุง ปลา เม่ือซ้ือ มาจัดเตรียมตามชนิดท่ีตองการปรุงหรือหุงตมแลวทําใหสุก ดวยวิธีการตมหรือรวน แลวแบง ออกเปนสว น ๆ ตามปริมาณที่จะใชแตล ะครัง้ แลว เก็บไวในตูเย็น ถาจะใชในวันรุงข้ึน หรือเก็บ

49 ไวใ นชองแชแ ข็งถาจะเก็บไวใชนาน เมื่อตองการใชก็นําออกมาประกอบอาหารไดทันที โดยไม ตองเสียเวลา รอใหละลายเหมือนการเก็บดิบ ๆ ทั้งชิ้นใหญโดยไมหั่น การเตรียมลวงหนาวิธีน้ี นอกจากจะสะดวก รวดเรว็ แลว ยงั คงรสชาตแิ ละคุณคา ของอาหารอีกดว ย 3. หลักการเกบ็ อาหารใหส ะอาดปลอดภัย การเก็บอาหารตามหลักการสุขาภิบาลอาหาร มีวัตถุประสงคเพ่ือยืดอายุของ อาหารที่ใชบริโภค โดยจะตองอยใู นสภาพทส่ี ะอาดปลอดภัยในการบริโภค หลักการในการเก็บ อาหารใหค าํ นงึ ถึงหลัก 3 ส. คือ สัดสวนเฉพาะ ส่ิงแวดลอ มเหมาะสม สะอาดปลอดภยั สัดสวนเฉพาะ คือ ตองเก็บอาหารใหเปนระเบียบ แยกเก็บตามประเภทอาหาร โดยจัดใหเปนสดั สวนเฉพาะไมปะปนกัน มีฉลากซอ้ื หรือเคร่ืองหมายอาหารแสดงกาํ กับไว สิ่งแวดลอมเหมาะสม คือ ตอ งเก็บอาหารโดยคาํ นึงถึงการจัดสภาพสิ่งแวดลอมให เหมาะสมกับอาหารแตละประเภท โดยคํานึงถึงอุณหภูมิความช้ืนเพื่อชวยทําใหอาหารสดสะอาด เกบ็ ไดน าน ไมเนาเสยี งาย สิง่ แวดลอมของอาหารจะจัดการใหอยใู นสภาพที่จะปอ งกันการปนเปอน ได เชน การเก็บอาหารกระปองในบริเวณทีม่ ี อาหารหมนุ เวียน สูงจากพ้นื อยางนอ ย 30 เซนติเมตร การเกบ็ นมพาสเจอรไ รซไวใ นอณุ หภมู ิตาํ่ กวา 7 องศาเซลเซียส เปนตน สะอาดปลอดภัย คือ ตองเก็บอาหารในภาชนะบรรจุที่ถูกสุขลักษณะ สะอาด ปลอดภัย มกี ารทําความสะอาดสถานท่เี กบ็ อยางสมาํ่ เสมอไมเ ก็บสารเคมีท่ีเปนพิษอื่น ๆ เชน การ ใชถุงพลาสติก กลองพลาสติกสําหรับบรรจุอาหารในการบรรจุอาหารท่ีเก็บไวในตูเย็น ตูแชแข็ง เปน ตน 4. อณุ หภูมเิ ทา ไหรจึงจะทาํ ลายเช้อื โรคได เชือ้ จลุ ินทรยี มีอยูท่ัวไปตามสิ่งแวดลอมมนุษย สัตว อาหาร ภาชนะอุปกรณและ สามารถจะดํารงชีวิตอยูไดในชวงอุณหภูมิตํ่ากวา 0 องศาเซลเซียส จนถึง 75 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะเช้อื จลุ นิ ทรียท่กี อใหเ กดิ โรคระบาดทางเดินอาหาร มักจะเปนเชื้อจุลินทรียท่ีสามารถ เจริญเติบโตไดด ที ีอ่ ณุ หภูมิหอ งประมาณ 25 องศาเซลเซยี ส ถึง 40 องศาเซลเซียส ฉะนน้ั การทาํ ลายเช้ือจลุ ินทรียท ่ีกอใหเกดิ โรคระบบทางเดินอาหารจําเปนจะตอง กําหนดชวงอุณหภูมิท่ีเหมาะสม เพื่อจะไดแนใจวาเช้ือจุลินทรียถูกทําลายจนหมดสิ้น ในขบวนการผลิตอาหารทางอุตสาหกรรมการทําลายเชื้อโรคจําเปนตองอาศัยอุณหภูมิ ที่เหมาะสมควบคูไปกับระยะเวลาท่ีเหมาะสมจึงจะมีประสิทธิภาพในการทําลายที่ดี คือ อุณหภูมิที่สูงมากใชระยะเวลาส้ัน (121องศาเซลเซียสเปนเวลา 1 นาที) และอุณหภูมิที่ต่ําใช

50 ระยะเวลานาน (63 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 นาที) ท้ังที่ยังมีปจจัยอื่นที่เก่ียวของในการ ควบคมุ ไดแ ก ปรมิ าณเชื้อจลุ นิ ทรียป ระเภทของอาหารคา ความเปน กรด ดาง ความชนื้ สําหรับในการปรุงประกอบอาหารในครัวเรือนอุณหภูมิที่สามารถทําลาย เชอ้ื จลุ ินทรยี  คอื 80 - 100 องศาเซลเซียส (อุณหภูมินํ้าเดือด) เปนเวลานาน 15 นาที สําหรับ อุณหภมู ใิ นตูเย็น 5 - 7 องศาเซลเซียส เช้ือจุลินทรียสามารถดํารงชีวิตอยูได และสามารถเพ่ิม จํานวนไดอยางชา ในขณะท่อี ณุ หภูมแิ ชแข็งต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส เชื้อจุลินทรียสามารถดํารง อยูไดแตไมเพ่ิมจํานวนอุณหภูมิท่ีเช้ือจุลินทรียตาย คือ -20 องศาเซลเซียส ดังนั้น เพ่ือความ ปลอดภัยในการบริโภคอาหารโดยเฉพาะอาหารเน้ือสัตวควรปรุงอาหารใหสุกเสมอ โดยทั่วทุก สวนทอ่ี ุณหภมู ิสงู กวา 80 องศาเซลเซยี สขึน้ ไปหรอื สกุ เสมอ สะอาด ปลอดภยั 5. อุณหภูมิทเ่ี หมาะสมในการเก็บอาหารสดประเภทเนื้อสตั ว อาหารเนือ้ สัตวส ด เปน อาหารทม่ี คี วามเส่ยี งสงู เพราะมปี จ จยั เอ้อื ตอการเนาเสีย ไดงาย คือ มีปริมาณสารอินทรียสูง มีปริมาณนํ้าสูง ความเปนกรดดางเหมาะสมในการ เจรญิ เติบโตของเชอ้ื จุลินทรีย การเกบ็ เนื้อสตั วสดทีถ่ ูกสุขลกั ษณะ คือ ตองลางทําความสะอาดแลวจึงหั่นหรือ แบงเนื้อสัตวเปนชิ้น ๆ ขนาดพอดีที่จะใชในการปรุงประกอบอาหารแตละคร้ัง แลวจึงเก็บใน ภาชนะท่ีสะอาดแยกเปนสัดสวนเฉพาะ สําหรับเน้ือสัตวสดที่ตองการใชใหหมด ภายใน 24 ช่ัวโมงสามารถเก็บไวในอุณหภูมิตูเย็นระหวาง 5 - 7 องศาเซลเซียส ในขณะท่ีเน้ือสัตวสดท่ี ตองการเก็บไวใชนาน (ไมเกิน7วัน) ตองเก็บไวในอุณหภูมิตูแชแข็ง อุณหภูมิตํ่ากวา 0 องศา เซลเซียส เมอ่ื จะนาํ มาใชจําเปนจะตองนาํ มาละลายในไมโครเวฟ แตถาละลายในนํ้าเย็นจะตอง เปลี่ยนน้ําทุก 30 นาที เพื่อใหอาหารยังคงความเย็นอยูและน้ําท่ีใชละลายไมเปนแหลงสะสม ของเชื้อจุลินทรียที่อาจจะปนเปอนมา ทําใหมีโอกาสเพิ่มจํานวนไดมากขึ้นจนอาจจะเกิดเปน อนั ตรายได 6. ความสาํ คัญภาชนะบรรจอุ าหาร ภาชนะบรรจุอาหารเปนปจจัยสําคัญท่ีเสี่ยงตอการปนเปอนเช้ือโรค สารเคมีท่ีเปน พิษกบั อาหารที่พรอ มจะบริโภค สามารถกอ ใหเกดิ การปนเปอนไดท ุกขั้นตอน ตั้งแตข้ันตอนการ เก็บอาหารดบิ ขนั้ ตอนการเสิรฟใหกบั ผบู ริโภค ขั้นตอนการเก็บอาหารดิบถาภาชนะบรรจุทําดวยวัสดุท่ีเปนพิษหรือภาชนะ ที่ปนเปอนเชื้อโรคก็จะทําใหอาหารที่บรรจุอยูปนเปอนไดโดยเฉพาะภาชนะบรรจุอาหาร เน้ือสัตวสด เม่ือใชแลวตองลางทําความสะอาดใหถูกตองกอนจะนํามาบรรจุเนื้อสัตวสดใหม

51 เพราะอาจจะเปนแหลงสะสมของเชื้อจุลินทรียไดงาย ข้ันตอนการปรุงประกอบอาหารถา ภาชนะอปุ กรณท่ีใชในการปรุง ประกอบอาหาร มกี ารปนเปอ นดวยสารเคมีท่ีเปนพิษ ก็สามารถ ปนเปอนอาหารทป่ี รงุ ประกอบได กิจกรรมทายบทท่ี 3 เรอ่ื งท่ี 1 ใหผ ูเรียนสาํ รวจ ตนเอง บคุ คลใน ครอบครวั หรอื บุคคลใกลช ิด แลวพิจารณาวา บคุ คลใดมีน้ําหนักรา งกายมากท่สี ุด จํานวน 1 ราย แลว ใหผ เู รียนวเิ คราะหว า บุคคลดงั กลาวเปนโรคอว นหรือไม พรอมท้ังยกเหตุผลประกอบดวย 1. วธิ ีการประเมิน……………………………………………………………………………………… 2. สรปุ เปนโรคอว นหรอื ไม…………………………………………………….…………………… 3. เพราะเหตุใด…………………………………………………………………..………..………….. เรอ่ื งที่ 2 ใหผ ูเ รียนบอกปริมาณความตองการสารอาหารตามเพศ วัย และสภาพรา งกาย ดังน้ี 1. ความตอ งการสารอาหารในวัยเด็ก……………………………………………..…………….. ……………………………………………………………………………………………………………... 2. ความตอ งการสารอาหารของเด็กวัยเรยี น……………………………………….………….. ………………………………………………………………………………………………………….….. 3. ความตอ งการสารอาหารในวยั รนุ ………………..………………………….……………….. ……………………………………………………………………………..………………………………. 4. ความตองการสารอาหารในวัยผูใหญ… ……………….…………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. 5. ความตองการสารอาหารของวัยชรา……………………………………………….………….. ………………………………………………………………………………………….………………….. 6. ความตองการสารอาหารในสตรตี ้ังครรภ……………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………

52 เรอื่ งท่ี 3 ใหผเู รยี นอธบิ ายวธิ ีการประกอบอาหารเพื่อคงคุณคาของสารอาหาร ดังน้ี 1. หลักการปรงุ อาหารท่ีถูกสขุ ลกั ษณะ…………….…………….……………………………. ………………………………………………………..…………………………………………………… 2. การทาํ อาหารใหส ะดวกและรวดเรว็ ………………..…………………………………………. ………………………………………..……………………………………………………………………. 3. หลกั การเก็บอาหารใหสะอาดปลอดภัย……………………..………………………………. ……………………………………………………..………………………………………………………. 4. อณุ หภมู ิท่ที ําลายเชอื้ โรคได…………………………………………………………..…………. ………………………………………………………………..……………………………………………. 5. การเก็บอาหารสดประเภทเน้อื สัตว…………………………..………………………………. ……………………………………………………………………….…………….………………………. 6. ความสําคญั ภาชนะบรรจอุ าหาร………………………………..………………..……………. ……………………………………………..……………………………………………………………….

53 บทท่ี 4 โรคระบาด สาระสําคญั กกกกกกกกการมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การปองกัน และการรักษา โรคตดิ ตอทแี่ พรร ะบาดและเปนปญหาตอ สุขภาพของประชาชนในชุมชน จะชวยใหรูวิธีปองกัน ตนเองและครอบครัว ตลอดจนรวมมอื ปอ งกนั การแพรกระจายเช้ือโรคไปสูบุคคลอื่นอันจะเปน แนวทางสาธารณสขุ ของประเทศได ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั กกกกกกกก1. อธิบายสาเหตุ อาการ การปอ งกันและการรักษาของโรคทเ่ี ปนปญ หาตอ สขุ ภาพได กกกกกกกก2. อธิบายวิธีการปองกนั และหลีกเล่ยี งการเปนโรคท่ีเปนปญ หาสาธารณสขุ ได ขอบขายเนอื้ หา กกกกกกกกสาเหตุ อาการ การปอ งกันและการรกั ษาโรคท่เี ปน ปญ หาสาธารณสุข ไดแก โรคไขเ ลือดออก โรคมาลาเรยี โรคไขห วดั นก โรคซารส และโรคอหวิ าตกโรค

54 เร่ืองที่ 1 สาเหตุ อาการ การปองกนั และการรกั ษาโรคทเี่ ปน ปญ หาสาธารณสุข กกกกกก โรคตดิ ตอ หมายถึง โรคที่เกิดจากเช้ือโรคแลวสามารถติดตอจากคนไปสูบุคคลอื่นได หรืออาจติดตอระหวางคนสูคน หรือสัตวสูคนได หรือติดตอระหวางสัตวดวยกันเองได โดยมี พาหะ เชน คน สตั ว หรือมีตวั กลางนาํ เชือ้ โรค เปนตน ลักษณะของโรคตดิ ตอ 1. เชอ้ื โรคสามารถแพรกระจายไปยังบคุ คลอ่ืนไดอยางรวดเรว็ 2. การแพรกระจายของโรคมักเกิดจากพฤติกรรมของบุคคลหรือปญหาสุขาภิบาล สิ่งแวดลอ ม 3. มอี ัตราการเจ็บปว ยคอ นขางสูงและโอกาสทจ่ี ะเกิดโรคเปนไดท กุ เพศทุกวัย โรคทเ่ี ปน ปญหาสาธารณสุขของประเทศ 1. โรคไขเ ลอื ดออก โรคไขเลือดออก คือ โรคติดเชื้อซ่ึงมีสาเหตุมาจาก ไวรัสเดงก่ี (Dengue virus) อาการของโรคน้ีมีความคลา ยคลึงกับโรคไขห วัดในชวงแรก จึงทําใหผูปวยเขาใจคลาดเคลื่อนได วาตนเปนเพียงโรคไขหวัด และทําใหไมไดรับการรักษาท่ีถูกตองในทันที โรคไขเลือดออกมี อาการและความรนุ แรงของโรคหลายระดับ ต้งั แตไ มมีอาการหรือมีอาการเล็กนอยไปจนถึงเกิด ภาวะช็อก ซ่ึงเปน สาเหตุที่ทาํ ใหผ ูปวยเสยี ชีวิต อาการ อาการของโรคนี้คลายคลึงกับโรคไขหวัด กลาวคือ มีอาการไข ออนเพลีย ปวดเมื่อยกลามเนื้อ แตแตกตางกันที่ไขจะสูงกวามาก โดยอาจมีไขสูงกวา 40 องศา เซลเซียส ผูปวยจะมีหนาแดงและปวดเมื่อยกลามเนื้อคอนขางมากกวา หากทําการทดสอบ โดยการรัดตนแขนดวยสายรัด จะพบจุดเลือดออก ผูปวยอาจมีเลือดออกผิดปกติ เชน เลือด กําเดาไหล เลือดออกตามไรฟน หรืออาการเลือดออกผิดปกติอื่น ๆ และในบางรายที่มี อาการรุนแรงมาก ๆ อาจพบอาการซึม เหงื่อออก มือเทาเย็น ชีพจรเตนเบาแตเร็ว ปวด ทองโดยเฉพาะบริเวณใตชายโครงขวา ปสสาวะลดลง อาจถึงกับช็อกและเสียชีวิตได โดย อาการนําของภาวะช็อกมักเริ่มจากการมีไขลดลง ควรรีบแจงแพทยหรือนําผูปวยสง โรงพยาบาลทันที

55 การรกั ษา เนื่องจากยังไมมีการพัฒนายาฆาเช้ือไวรัสเดงก่ี การรักษาโรคน้ีจึงเปนการรักษา ตามอาการเปนสาํ คญั กลาวคือ มีการใชย าลดไข เชด็ ตวั และการปอ งกนั ภาวะชอ็ ก ยาลดไขท ใ่ี ชม เี พียงชนิดเดยี ว คอื ยาพาราเซตามอล (paracetamol) ขนาดยา ท่ีใชใ นผใู หญคือ พาราเซตามอลชนิดเม็ดละ 500 มิลลิกรัม รับประทานครั้งละ 1 - 2 เม็ด ทุก 4 - 6 ช่ัวโมง โดยไมควรรับประทานเกินวันละ 8 เม็ด สวนขนาดยาท่ีใชในเด็กคือ พาราเซตา มอลชนิดน้ํา 10 - 15 มิลลิกรัมตอนํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัมตอคร้ัง ทุก 4 - 6 ชั่วโมง โดยไมควร รบั ประทานเกินวนั ละ 5 ครง้ั ยาพาราเซตามอลน้เี ปนยารับประทานตามอาการ ดังน้ัน หากไมมี ไขก ็สามารถหยุดยาไดทนั ที การปอ งกันภาวะช็อกนั้น กระทาํ ไดโ ดยการชดเชยนาํ้ ใหรา งกายเพือ่ ไมใหปริมาตร เลือดลดต่ําลงจนทําใหความดันโลหิตตก แพทยจะพิจารณาใหสารน้ําตามความรุนแรงของ อาการ โดยอาจใหผูปวยดื่มเพียงสารละลายเกลือแร โอ อาร เอส หรือผูปวยบางรายอาจไดรับ น้ําเกลือเขาทางหลอดเลือดดาํ ในกรณีท่ผี ูปวยเกิดภาวะเลือดออกผดิ ปกตจิ นเกิดภาวะเสียเลือด อาจตองไดรับเลือดเพิ่มเตมิ การปอ งกนั 1. การปอ งกนั ทางกายภาพ ไดแ ก ปด ภาชนะเก็บนํ้าดวยฝาปด เชน มีฝาปดปาก โองน้ํา ตุมนํ้า ถังเก็บนํ้า หรือถาไมมีฝาปดก็วางควํ่าลง หากยังไมตองการใช เพื่อปองกันไมให กลายเปน ท่วี างไขของยงุ ลาย 2. การปองกันทางเคมี ไดแก เติมทรายที่มีฟอสเฟต ซ่ึงเปนสารเคมีที่องคการ อนามัยโลกแนะนาํ ใหใชและรับรองความปลอดภยั เหมาะสมกับภาชนะท่ีไมสามารถใสปลากิน ลูกน้ําได การปฏบิ ัตติ วั ไดแก นอนในมงุ หรอื นอนในหองทมี่ ีมงุ ลวดเพ่ือปองกันไมใหถูกยุง กัด โดยจะตองปฏบิ ตั ิเหมือนกันท้ังกลางวันและกลางคืน หากไมสามารถนอนในมุงหรือนอนใน หองที่มีมุงลวดได ควรใชยากันยุงชนิดทาผิวซึ่งมีสาระสําคัญที่สกัดจากธรรมชาติ เชน น้ํามัน ตะไครห อม นํ้ามนั ยคู าลปิ ตัส ซง่ึ มีความปลอดภัยสูงกวา มาทาหรอื หยดใสผ ิวหนงั ใชเ ปน ยากันยุง แตป ระสิทธิภาพจะตา่ํ กวา DEET

56 2. โรคมาลาเรีย ไขมาลาเรียหรือไขจับส่ัน เปนโรคติดตอท่ีเกิดจากเชื้อปรสิตจําพวกโปรโตซัว ช่ือ พลาสโมเดียม ซ่ึงเกิดจากยุงกนปลองเปนพาหะนําโรคมาสูคน และเปนโรคที่มีสถิติการ ระบาดสูงมาก โดยเฉพาะในภาคใตแ ละในจังหวัดทเ่ี ปน ปาเขาท่มี ีฝนตกชุกอยูบอ ย ๆ สาเหตุ ยุงกนปลองเปนพาหะนาํ โรคเมื่อยุงกัดคนทเี่ ปนไขม าลาเรียแลวไปกัดคนอื่นก็จะ แพรเ ช้อื ใหก บั คนอนื่ ๆ ตอไป อาการ ผทู ไี่ ดรับเช้ือไขมาลาเรียจะมีอาการวิงเวียนศีรษะ ออนเพลีย มีไขสูง หนาวส่ัน อาเจยี น และมเี หง่ือมาก บางรายท่ีเปนชนิดรนุ แรงมีไขสูงขนึ้ สมอง อาจมอี าการเพอ ชกั หมดสตหิ รอื ตายในทส่ี ุด บางรายไมตายแตเ พอคลงั่ เสยี สติ และความจําเส่อื ม การติดตอ ติดตอโดยยุงกนปลองตัวเมียไปกัดและกินเลือดคนท่ีเปนไขมาลาเรียแลวไดรับ เชื้อมาลาเรียมาจากคนท่ีเปนไข เชื้อน้ันจะเจริญในตัวยุงประมาณ 10 วัน ก็จะมีอาการไข มาลาเรยี การปองกัน 1. นอนในมุง อยา ใหย ุงกัดได 2. ทําลายแหลง เพาะพนั ธุย งุ เชน ภาชนะท่มี ีน้าํ ขงั ใหห มดไป 3. เม่ือเขา ปาหรอื แหลง ทม่ี ไี ขมาลาเรยี ระบาด ระวังอยาใหย งุ กดั โดยใชยา กนั ยงุ ทา 4. ผอู ยใู นพืน้ ท่แี หลง ไขม าลาเรียระบาดควรปลกู ตนตะไครหอมไวกนั ยุง 5. ถาสงสัยวาเปนไขมาลาเรีย ควรไปรับการตรวจเลือด และรับการรักษา เพอ่ื ปองกันการแพรต อไปยังผูอนื่ การรักษา เนื่องจากในปจ จุบันพบเชือ้ มาลาเรยี ที่ดอื้ ตอ ยา และอาจมโี รคแทรกซอนรา ยแรง (เชน มาลาเรียขึน้ สมอง) โดยเฉพาะอยางยิง่ สําหรับผทู ีอ่ ยใู นเมือง ซ่ึงไมม ภี ูมติ านทานโรคนี้

57 3. โรคไขหวดั นก เดิมเชือ้ ไขหวดั นกเปนเช้ือไวรสั โดยธรรมชาตจิ ะติดตอในนกเทา นั้น โดยเฉพาะ นกปา นกเปด นํา้ จะเปน พาหะของโรค เชื้อจะอยใู นลําไสน ก โดยท่ีตัวนกไมมีอาการ แตเม่ือนก เหลาน้ีอพยพไปตามแหลงตาง ๆ ท่ัวโลก ก็จะนําเช้ือนั้นไปดวย เม่ือสัตวอ่ืน เชน ไก เปด หมู หรอื สตั วเ ล้ียงอ่ืน ๆ ไดร บั เชื้อไขหวัดนกก็จะเกดิ อาการ 2 แบบ คอื 1. หากไดร บั เชอ้ื ชนดิ ไมรนุ แรงสตั วเ ลี้ยงนั้นอาจจะมีอาการไมมากและหายไดเ อง 2. หากเชือ้ ทไี่ ดร บั มีอาการรนุ แรงมากก็จะทําใหส ตั วเ ลย้ี งตายไดภายใน 2 วัน สาเหตุ เกิดจากเช้ือไวรัสชนิดเอ็ชไฟวเอ็นวัน (H5N1) พบในนก ซ่ึงเปนแหลงเช้ือโรคใน ธรรมชาติ โรคอาจแพรม ายงั สตั วปก ตาง ๆ ได เชน ไกท ่ีเลยี้ งอยูในฟารม เลี้ยงตามบานและไก ชน รวมทงั้ เปดไลท งุ ดว ย อาการ ผูปวยมีอาการคลายไขหวัดใหญ ไขสูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเม่ือยกลามเนื้อ ออนเพลยี เจ็บคอ ไอ ผูปว ยเดก็ เลก็ ผูสูงอายุ หรือผทู มี่ ีโรคประจําตัว หากมีภูมิคุมกันไมดี อาจ มีอาการรนุ แรงได โดยจะมอี าการหอบ หายใจลาํ บาก เนื่องจากปอดอกั เสบรุนแรง การติดตอ โดยการสัมผสั ซากสตั วปก ทป่ี ว ยหรอื ตาย เช้อื ท่อี ยใู นนํา้ มกู นํ้าลาย และมลู สัตวปวย อาจตดิ มากับมือและเขาสรู า งกายทางเยอื่ บขุ องจมกู และตา ผูท เ่ี สี่ยงตอ โรคไขห วัดนก ไดแก ผูที่ ทาํ งานในฟารมสัตวปก ผูท่ีฆาหรือชําแหละสัตวปก ผูเล้ียงสัตวปกในพื้นท่ีท่ีเกิดโรคไขหวัดนก ระบาด การปอ งกนั 1. รับประทานอาหารประเภทไกและไขที่ปรุงสุกเทานั้น โดยเฉพาะชวงท่ีมีการ ระบาดของโรค 2. ควรเลือกซอ้ื ไกสดทไ่ี มม ลี ักษณะบงชี้วาอาจตายดวยโรคติดเช้ือ 3. ไมเ ลน คลุกคลีหรอื สัมผัสตัวสัตว นํ้ามกู นาํ้ ลาย มูลของไกแ ละสัตวป ก 4. อาบน้ําใหสะอาดและเปล่ียนเส้ือผาทุกครั้งหลังสัมผัสหรือคลุกคลีกับสัตวปก ทกุ ชนิด 5. หา มนาํ สตั วป ก ทีป่ วยหรือตายมารับประทาน หรอื ปรงุ เปน อาหารอยางเด็ดขาด

58 6. รักษาความสะอาดในบา น ในสถานประกอบการ และบริเวณรอบ ๆ ใหสะอาด อยูเสมอ 7. กําจัดสัตวท่ีปวยหรือตายผิดปกติ ดวยการเผาหรือฝงอยางถูกวิธีและราดดวย น้าํ ยาฆา เชือ้ โรคหรอื โรยดว ยปนู ขาว 8. หากพบไก เปด หรือสัตวปกตายจํานวนมากผิดปกติใหรีบแจงเจาหนาท่ี ผนู าํ ชุมชนทันที 4. โรคซารส อาการ อาการสําคัญของผูปวยโรคซารส ไดแก มีไขตัวรอน หนาวสั่น ปวดเม่ือย กลามเน้ือ ไอ ปวดศีรษะ และหายใจลําบาก สวนอาการอ่ืนที่อาจพบไดมีทองเดิน ไอมีเสมหะ นํ้ามูกไหล คลื่นไสอาเจียนผูปวยท่ีสงสัยวาจะเปนโรคซารส ผูปวยมีอาการปวยเกี่ยวกับโรค ทางเดินหายใจและสงสัยวาจะเปนโรคซารส ตองมีอาการตามเกณฑท่ีองคการอนามัยโลก กาํ หนดไวคือ มีไขส งู เกิน 30 องศาเซลเซยี สและมอี าการไอ หายใจตดิ ขัด การแพรก ระจายของเช้ือโรค เชอื้ โรคซารสตดิ ตอไดทางระบบหายใจ และอาจติดตอทางอาหารการกินไดอีกดวย เนือ่ งจากมีการศึกษาพบวา เชอื้ นม้ี ีอยูในน้ําเหลือง อุจจาระและปสสาวะของผูปวย เมื่ออาการ ปว ยยางเขาสัปดาหท ี่ 3 การปอ งกนั และรักษา โรคนีต้ ดิ ตอ ไดโดยการสมั ผสั ละอองนํา้ ลาย เสมหะ เขา ทางปากและจมูก แตเดิมเช่ือ วา เช้อื ไวรสั โคโรนาจะมีชวี ิตอยูนอกรางกายมนุษยไดไมเกิน 3 ชั่วโมง แตจากขอมูลการศึกษา ใหม ๆ พบวา เชือ้ นีอ้ ยไู ดน านกวา 1 วัน โดยเฉพาะในอุจจาระและปสสาวะจะอยูไดนานหลาย วัน การปองกันท่ีดีที่สุด ไดแก การลางมือ การปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยอยางเครงครัด และ การใสหนากากอนามยั 5. โรคอหวิ าตกโรค อหิวาตกโรค คือ โรคระบาดชนิดหน่ึงมีอาการทองรวง อาเจียน รางกายจะขับน้ํา ออกมาเปน จํานวนมาก อหิวาตกโรคเปนโรคในระบบทางเดินอาหารท่ีเกิดขึ้นเฉียบพลัน เกิดจากเช้ือ แบคทีเรียในสายพันธุเฉพาะชื่อ ไวบริโอ คอเลอรี โดยท่ัวไปมีอาการไมมาก แตประมาณ 1 ใน 10 ราย อาจเกิดอาการทอ งเสยี อยา งรุนแรง อาเจยี น และเปนตะคริวที่ขาได เปนผลใหเกิดการ

59 สูญเสยี น้ําและเกลือแรอยางรวดเร็ว เกิดภาวะขาดน้ําและหมดสติ ถาไมไดรับการรักษาอาจถึง แกช ีวิต การติดตอ และแพรกระจายของเช้อื โรค อหิวาตกโรคติดตอ ไดจ ากการรับประทานอาหารหรือดื่มน้ําท่ีปนเปอนอุจจาระหรือ อาเจียนของผูติดเช้ือหรือโดยการรับประทานหอยดิบ ๆ จากแหลงนํ้าท่ีมีเช้ือน้ี แตไมติดตอ โดยการสัมผัสผิวเผนิ กบั ผตู ดิ เช้อื อาการ 1. เปนอยางไมรุนแรง พวกน้ีมักหายภายใน 1 วัน หรืออยางชา 5 วัน มีอาการ ถายอุจจาระเหลวเปนน้ํา วันละหลายครั้ง แตจํานวนอุจจาระไมเกินวันละ 1 ลิตร ในผูใหญ อาจมีปวดทอ งหรือเคล่อื นไสอาเจยี นได 2. เปนอยางรุนแรง อาการระยะแรก มีทองเดิน มีเนื้ออุจจาระมาก ตอมามี ลกั ษณะเปน นาํ้ ซาวขา ว เพราะวามมี ูกมาก มกี ล่นิ เหมน็ คาว ถายอุจจาระไดโดยไมมีอาการปวด ทอง บางคร้ังไหลพุง ออกมาโดยไมรสู กึ ตวั มีอาการอาเจยี นโดยไมค ลนื่ ไส อุจจาระออกมากถึง 1 ลิตรตอชั่วโมง และจะหยดุ เองใน 1 - 6 วัน ถาไดนํ้าและเกลือแรชดเชยอยางเพียงพอ แตถาได น้ําและเกลือแรทดแทนไมทันกับท่ีเสียไป จะมีอาการขาดนํ้าอยางมาก ลุกนั่งไมไหว ปสสาวะ นอ ยหรอื ไมมีเลย อาจมีอาการเปน ลม หนามืด จนถงึ ชอ็ ก ซึ่งเปน อันตรายถึงชีวติ ได ขอควรปฏิบตั เิ ม่อื เกดิ อาการทอ งเสีย 1. งดอาหารทมี่ ีรสจัดหรือเผด็ รอ น หรือของหมกั ดอง 2. ด่ืมน้ําชาแกแทนนํ้า บางรายตองงดอาหารชั่วคราว เพ่ือลดการระคายเคืองใน ลาํ ไส 3. ด่ืมนํา้ เกลอื ผง สลบั กับนาํ้ ตม สุก ถา เปนเดก็ เล็กควรปรกึ ษาแพทย 4. ถาทองเสียอยางรนุ แรง ตองรบี นําสงแพทยท ันที การปอ งกัน 1. รบั ประทานอาหารทป่ี รงุ สุกใหม ๆ และดมื่ นาํ้ สะอาด เชน นา้ํ ตมสุก ภาชนะที่ใส อาหารควรลางสะอาดทุกครงั้ กอ นใช หลกี เล่ยี งอาหารหมกั ดอง สุก ๆ ดิบ ๆ อาหารท่ีปรุงทิ้งไว นาน ๆ อาหารที่มแี มลงวันตอม 2. ลางมอื ฟอกสบูใหส ะอาดทกุ ครัง้ กอ นกินอาหารหรือกอ นปรุงอาหารและหลังเขา สวม

60 3. ไมเทอุจจาระ ปสสาวะและสิง่ ปฏิกูลลงในแมน ํ้าลาํ คลอง หรือท้ิงเรี่ยราด ตองถายลงในสวมท่ีถูกสุขลักษณะและกําจัดส่ิงปฏิกูลโดยการเผาหรือฝงดิน เพ่ือปองกัน การแพรของเชือ้ โรค 4. ระวงั ไมใ หน ้าํ เขาปาก เม่ือลงเลน หรืออาบน้าํ ในลําคลอง 5. หลีกเลีย่ งการสมั ผัสผปู ว ยทเ่ี ปนอหิวาตกโรค 6. สําหรบั ผูทีส่ ัมผสั โรคนี้ ควรรับประทานยาท่แี พทยใหจนครบ การรกั ษาทางการแพทย การรกั ษาฉกุ เฉนิ คือ การรักษาภาวะขาดน้าํ โดยดวน ดว ยการใหน้ําและเกลือแร ทดแทนการสญู เสียทางอุจจาระ ถาผปู ว ยอยูในภาวะขาดน้าํ รุนแรง ตอ งใหน าํ้ ทาง เสน โลหิตอยางเรงดวน จนกวาปริมาณนํ้าในรางกาย ความดันโลหิตและชีพจรจะกลับสูภาวะ ปกติ สําหรับผูปวยในระดับปานกลาง การใหด่ืมนํ้าเกลือแรทดแทนจะใหผลดี สวนผสมของนํา้ เกลือแรสตู รมาตรฐานไดแก กลโู คส 20 กรัม โซเดียมคลอไรด 3.5 กรัม โปแตสเซียม 1.5 กรัม และโตรโซเดียมซิเทรต 2.9 กรัม หรือโซเดียมไบคารบอเนต 2.5 กรัม ตอนํ้าสะอาด 1 ลิตร

61 กจิ กรรมทายบทที่ 4 เร่ือง 1 ใหผเู รยี นอธิบาย สาเหตุ อาการ การปองกนั และการรกั ษาโรค ดงั ตอไปน้ี 1. โรคไขเ ลอื ดออก 1.1 สาเหต…ุ ………………………………………………..….. 1.2 อาการ………………………………………………………. 1.3 การปอ งกนั ……………………………………………….. 1.4 การรักษา……………………………………………..…… 2. โรคมาลาเรยี 2.1 สาเหตุ……………………………………………………… 2.2 อาการ…………………………………………………..…. 2.3 การปอ งกนั …………………………………………….…. 2.4 การรักษา……………………………………………..…… 3. โรคไขหวัดนก 3.1 สาเหตุ………………………………………………….….. 3.2 อาการ………………………………………………………. 3.3 การปอ งกัน……………………………………..………… 3.4 การรักษา…………………………………………..……… 4. โรคซารส 4.1 สาเหตุ………………………………….………………….. 4.2 อาการ………………………………………………………. 4.3 การปองกนั ……………………………..………………… 4.4 การรกั ษา…………………………………..……………… 5. โรคอหิวาตกโรค 5.1 สาเหต…ุ …………………………………………….…….. 5.2 อาการ………………………………………………………. 5.3 การปองกัน…………………………………..…………… 5.4 การรักษา…………………………………….…………....

62 บทท่ี 5 ยาแผนโบราณและยาสมุนไพร สาระสาํ คญั กกกกกกกกปจ จบุ นั ประชาชนหนั มานยิ มใชย าแผนโบราณและยาสมุนไพรกนั มากขึ้น การศึกษา ถงึ สรรพคุณและวิธีการใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพรที่ถูกตอง จะชวยใหประชาชนรูจักการ ดแู ลรกั ษาสุขภาพดว ยตนเองอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั กกกกกกกก1. อธิบายหลกั และวิธกี ารใชย าอยางปลอดภัยไดอ ยา งถูกตอ ง กกกกกกกก2. อธบิ ายความแตกตา งระหวางยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพรได กกกกกกกก3. อธิบายอนั ตรายจากการใชยาประเภทตา ง ๆ ไดอ ยา งถกู ตอง ขอบขายเน้ือหา กกกกกกกกเรอื่ งท่ี 1 หลักและวธิ ีการใชย าแผนโบราณและยาสมุนไพร กกกกกกกกเรือ่ งที่ 2 อันตรายจากการใชยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร

63 เรือ่ งที่ 1 หลักและวิธกี ารใชย าแผนโบราณและยาสมนุ ไพร 1.1. หลกั และวธิ กี ารใชยาแผนโบราณ ความหมายของยาแผนโบราณ ยาแผนโบราณ คือ ยาท่ีมุงหมายสําหรับใชในการประกอบโรคศิลปแผนโบราณ ซึ่งเปน ยาท่อี าศยั ความรจู ากตําราหรอื เรยี นสืบตอ กนั มา อันมใิ ชก ารศึกษาตามหลักวิทยาศาสตร และยาแผนโบราณ ที่ยอมรับของกฎหมายยาจะตอ งปรากฏในตาํ รายา ทร่ี ัฐมนตรปี ระกาศหรอื เปนยาท่รี ัฐมนตรีประกาศหรอื รบั ขึ้นทะเบียนเทา นั้น อนั ตรายจากการรับประทานยาแผนโบราณท่ไี มไ ดขนึ้ ทะเบียนหรอื ยาปลอม ในปจจุบันพบวา มียาแผนโบราณที่ไมไดขึ้นทะเบียนหรือยาปลอมกอใหเกิด อนั ตรายตอ ผูบริโภคได เชน มีการปนเปอนของจลุ ินทรียท กี่ อ ใหเ กดิ โรค หรอื การนําสารเคมีท่ีไม ปลอดภยั ตอผูบ ริโภคมาใสในยาแผนโบราณ เชน เมธิลแอลกอฮอล คลอโรฟอรม การใสยาแก ปวด แผนปจจุบัน เชน อินโดเมทาซิน หรือแมแตการนํายาเฟนิลบิวตาโวนและสเตียรอยด ซ่งึ เปน ยาควบคุมพเิ ศษ ซ่ึงมผี ลขา งเคยี งสูงผสมลงในยาแผนโบราณ เพื่อใหเกิดผลในการรักษา ทร่ี วดเร็ว แตจะทําใหเกิดอันตรายตอ ผบู ริโภค คือ ทําใหเกิดโรคกระดูกผุ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคกระเพาะได เปนตน การเลอื กซอื้ ยาแผนโบราณ เพอ่ื ความปลอดภยั ในการใชย าแผนโบราณ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและ ยาขอแนะนําวธิ ีการเลอื กซอ้ื ยาแผนโบราณ ดงั นี้ 1. ควรซ้อื ยาแผนโบราณจากรา นขายยาท่ีมีใบอนญุ าตและมีเลขทะเบยี น ตาํ รับยา 2. ไมควรซื้อยาแผนโบราณจากรถเรข าย เพราะอาจไดรับยาที่ผลิตขึ้นโดยผูผลิต ทไี่ มไ ดมาตรฐาน ซ่ึงอาจมีการปนเปอ นของจุลนิ ทรยี ในระหวางการผลิต อาจทําใหเกิดอันตราย ตอ ผบู ริโภคได 3. กอ นซ้อื ยาแผนโบราณ ควรตรวจดฉู ลากยาทุกครั้งวา มขี อความ ดังนี้ 3.1. ชื่อยาเลขท่ีหรือรหัสใบสําคัญการขึ้นทะเบียนยา ปริมาณของยา ที่บรรจุเลขท่หี รืออักษรแสดงคร้ังท่ผี ลติ 3.2. ชื่อผูผลิตและจังหวัดท่ีต้ังสถานท่ีผลิตยา วัน เดือน ป ที่ผลิตยา คําวา “ยาแผนโบราณ” ใหเห็นไดช ดั เจน

64 3.3. คาํ วา “ยาใชภายนอก” หรือ “ยาใชเ ฉพาะท่ี” แลวแตกรณี ดวยอักษร สแี ดงเห็นไดชัดเจน ในกรณเี ปน ยาใชภ ายนอกหรือยาใชเ ฉพาะท่ี คําวา “ยาสามัญประจําบาน” ในกรณเี ปน ยาสามญั ประจําบาน คําวา “ยาสาํ หรบั สัตว” ในกรณเี ปน ยาสําหรบั สัตว 1.2. หลกั และวิธกี ารใชย าสมุนไพร สมุนไพรตามพระราชบัญญตั ิยา หมายถึง ยาทไ่ี ดจ ากพชื สตั ว หรือแรธ าตุ ซึ่งยัง ไมไ ดผสม ปรงุ หรอื แปรสภาพ แตในทางการคาสมุนไพรมักจะถูกดัดแปลงสภาพไป เชน ห่ันเปนชิ้นใหเล็กลง บดเปน ผงใหละเอยี ด นาํ ผงท่ีบดมาอัดเปนเมด็ หรอื นํามาใสแคปซูล ในปจ จบุ ันไดมกี ารนําสมุนไพรมาใชอยางกวางขวาง เชน ใชเปนอาหาร อาหาร เสริม เครื่องดื่ม ยารักษาโรค เครื่องสําอาง สวนประกอบในเครื่องสําอาง ใชแตงกลิ่นและสี อาหาร ตลอดจนใชเปนยาฆา แมลง วธิ ใี ชส มุนไพร สมุนไพรท่ีมีการนํามาใชในปจจุบันน้ีมักนํามาปรุงเปนยาเพ่ือใชรักษาปองกัน และสรางเสริมสุขภาพ แตสวนมากจะเปนการรักษาโรค ทีพ่ บมากมดี ังน้ี 1. ยาตม อาจเปน สมุนไพรชนดิ เดียวหรือหลาย ๆ ชนิดก็ไดที่นํามาตม เพื่อให สารสําคัญท่ีมีในสมุนไพรละลายออกมาในน้ํา วิธีเตรียมทําโดยนําสมุนไพรมาใสลงในหมอ ซึ่งอาจเปนหมอดินหรือหมอท่ีเปนอะลูมิเนียม สแตนเลสก็ได แลวใสนํ้าลงไปใหทวมสมุนไพร แลวจงึ นาํ ไปต้งั บนเตาไฟ ตม ใหเดือดแลว เคยี่ วตออกี เลก็ นอ ย วิธรี ับประทานใหร นิ นํ้าสมุนไพรใส ถวยหรือแกว หรือจะใชถวยหรือแกวตักเฉพาะน้ําขึ้นมาในปริมาณพอสมควร หรือศึกษาจาก ผูขายยาบอก ยาตมบางชนดิ สามารถใชไ ดเกนิ กวา 1 คร้งั ดวยการเติมนาํ้ ลงไปแลวนาํ มาตมแลว เค่ียวอกี จนกวารสยาจะจืดจึงเลิกใช เรามกั เรยี กยานี้วา “ยาหมอ” จะมีรสชาติและกล่ินท่ีไมนา รบั ประทาน นาํ้ หนักของสมุนไพรท่นี าํ มาตมนัน้ แตละชนดิ มักจะช่ัง ซึ่งมีหนวยนํ้าหนักเปนบาท ตามรานท่ีขายจะมีเครื่องชั่งชนิดนี้ แตถาหมอที่จายยาไมชั่งก็จะใชวิธีกะปริมาณเอง ในการตม ยาน้ีถาเปนสมุนไพรสดจะออกฤทธ์ิดีกวาสมุนไพรแหง แตตามรานขายยาสมุนไพรมักเปน สมนุ ไพรแหง เพราะจะเกบ็ ไวไ ดน านกวา 2. ยาผง เปนสมุนไพรที่นํามาบดใหเปนผง ซึ่งตามรานขายยาสมุนไพรจะมี เครอ่ื งบด โดยคิดคาบดเพ่ิมอีกเล็กนอย อาจเปนสมุนไพรชนิดเดียวหรือหลายชนิดก็ไดท่ีนํามา บดใหเปน ผง แลวนาํ มาใสกลอ ง ขวด หรือถุง วิธรี ับประทานจะละลายในน้ําแลวใชด่ืมก็ได หรือ

65 จะตักใสปากแลวดื่มนํ้าตามใหละลายในปากได ปจจุบันมีการนํามาใสแคปซูล เพื่อสะดวก ในการรับประทาน พกพา และจาํ หนา ย 3. ยาชง วธิ เี ตรียมจะงายและสะดวกกวายาตม มักมีกลิ่นหอม เตรียมโดยห่ัน เปน ช้นิ เลก็ ๆ ตากหรืออบใหแ หงแลวนํามาชงนํ้าดื่มเหมือนกับการชงนํ้าชา ปจจุบันมีสมุนไพร หลายอยางที่นํามาชงด่ืม มักเปนสมุนไพรชนิดเดียว เชน ตะไคร หญาหนวดแมว ชาเขียวใบ หมอน หญาปกกิ่ง เปนตน ในปจจุบันมีการนําสมุนไพรมาบดเปนผงแลวใสซองมีเชือกผูกติด ซอง ใชช งในนํา้ รอ นบางชนดิ มีการผสมน้ําตาลทรายแดงเพอ่ื ใหมีรสชาติดีขึ้นแลวนํามาชงกับนํ้า รอนดืม่ 4. ยาลกู กลอน เปนการนํายาผงมาผสมกับนา้ํ หรอื นํา้ ผงึ้ แลวปน เปน ลูกกลม ๆ เลก็ ๆ วธิ ีรบั ประทานโดยการนํายาลกู กลอนใสป าก ด่มื นํา้ ตาม 5. ยาเมด็ ปจจุบันมีการนํายาผงมาผสมนํ้าหรือนํ้าผ้ึงแลวมาใสเคร่ืองอัดเปน เมด็ เคร่ืองมอื นห้ี าซ้ือไดง าย มีราคาไมแ พง ใชมือกดได ไมตองใชเคร่ืองจักร ตามสถานที่ปรุงยา สมุนไพรหรือวดั ท่มี กี ารปรุงยาสมนุ ไพรมกั จะซ้ือเคร่อื งมอื ชนดิ น้ีมาใช 6. ยาดองเหลา ไดจ ากการนาํ สมุนไพรมาใสโหลแลวใสเหลาขาวลงไปใหทวม สมนุ ไพร ปด ฝาทิ้งไวป ระมาณ 1-6 สัปดาห แลวรินเอาน้ํามาดื่มเปนยา ปจจุบันมีการจําหนาย เปน “ซุมยาดอง” 7. นํามาใชสด ๆ อาจนํามาใชทาบาดแผล หรือใชทาแกพิษ เชน วานหาง จระเข ผักบุงทะเล เปนตน นํามาตําใหแหลกแลวพอติดไวที่แผล เชน หญาคา ใบชุมเห็ด เปนตน นาํ มายา งไฟแลว ประคบ เชน ใบพลับพลึง เปนตน หรือนํามาใชเปนอาหาร เชน หอม กระเทยี ม กลว ยน้าํ วา ขา ขิง ใบบัวบก เปน ตน เรื่องท่ี 2 อันตรายจากการใชย าแผนโบราณและยาสมุนไพร 2.1. อนั ตรายจากยาแผนโบราณ จากปญหาของยาแผนโบราณในสังคมไทย สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและ ยา (อย.) รว มกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ไดมีการติดตามตรวจสอบและเฝาระวัง การแพรระบาดของยาสมุนไพรท่ีไมไดขึ้นทะเบียนตํารับยาแผนโบราณ ซ่ึงเปนยาปลอมอยาง สม่ําเสมอ และจากผลการตรวจวิเคราะหยาปลอม พบวา มีการปนเปอนของจุลินทรีย ทีก่ อ ใหเ กดิ โรคหรอื การลักลอบนําสารเคมที ี่ไมปลอดภยั ตอผูบริโภคมาใสในยาแผนโบราณ เชน เมธทลิ แอลกอฮอล คลอโรฟอรม การใสยาแกปวดแผนปจจุบัน เชน อินโดเมทาซิน หรือแมแต

66 การลักลอบนํายาเฟนิลบิวตาโซน และสเตียรอยด ซ่ึงเปนยาควบคุมพิเศษที่มีผลขางเคียงตอ รางกายสูง ผสมลงในยาแผนโบราณ เพอ่ื ใหเกดิ ผลในการรักษาทีร่ วดเรว็ ซงึ่ ลวนแตเปน อนั ตราย ตอ ผูบ ริโภคได โดยเฉพาะสารสเตยี รอยด มักจะพบเพรดนโิ ซโลน และเดกซามีธาโซนผสมอยูใน สมุนไพรแผนโบราณที่ไมไ ดขึ้นทะเบียน สารสเตียรอยดท่ีผสมอยูในยาแผนโบราณกอใหเกิดอันตรายตอรางกายได มากมาย เชน 1. ทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหาร อาจถึงขั้นทําใหกระเพาะทะลุ ซึ่งพบใน ผูท่ีรับประทานยากลุมน้ีหลายรายท่ีกระเพาะอาหารทะลุ ทําใหหนามืด หมดสติ และอาจ อนั ตรายถึงชีวิตได โดยเฉพาะในผูสูงอายุ หรอื ผทู ม่ี โี รคประจาํ ตวั อยูแลว 2. ทําใหเ กิดการบวม (ตงึ ) ท่ีไมใ ชอวน 3. ทาํ ใหกระดูกผกุ รอนและเปราะงา ย นาํ ไปสูค วามทพุ พลภาพได 4. ทําใหความดันโลหิตสูง และระดับน้ําตาลในเลือดสูงพบในบางรายท่ีสูง จนถึงขนั้ เปน อนั ตรายมาก 5. ทาํ ใหภ ูมิคุมกนั รา งกายตา่ํ มโี อกาสตดิ เช้ือไดง ายนําไปสูความเส่ียงที่จะติด เช้อื และอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได 2.2. อันตรายจากการใชยาสมุนไพร ผลติ ภณั ฑสมนุ ไพรทั่วไปจัดอยใู นจาํ พวกอาหารหรอื สวนประกอบอาหาร ที่ฉลากไมตองระบสุ รรพคุณทางการแพทยห รือขนาดรับประทาน ดงั นัน้ ผใู ชผ ลิตภัณฑสมุนไพร สวนมากจึงตอ งศึกษาจากหนงั สอื หรอื ขอคาํ ปรกึ ษาจากผรู ูหรอื แพทยท างเลือก เชน แพทยแผน ไทย แพทยแ ผนจีน เปนตน 2.3. ขอ ควรระวังในการใชย าสมนุ ไพร 1. พืชสมุนไพรหลายชนิดมีพิษโดยเฉพาะถาใชไมถูกสวน เชน ฟาทะลายโจร ควรใชสว นใบออน แตไมค วรใชก า นหรือลําตน เพราะมีสารไซยาไนตประกอบอยู ดังนั้นกอนใช ยาสมุนไพรตองแนใ จวามีอะไรเปน สว นประกอบบาง 2. กอ นใชยาสมุนไพรกับเดก็ และสตรีมีครรภ ตอ งปรกึ ษาแพทยกอนทกุ ครั้ง 3. การรับประทานยาสมุนไพรควรรับประทานตามปริมาณและระยะเวลา ทีแ่ พทยแนะนาํ หากใชใ นปรมิ าณที่เกินขนาดอาจเกิดผลขางเคยี งท่ีเปน อันตรายมาก

67 4. ตองสังเกตเสมอวา เมื่อใชแลวมีผลขางเคียงอะไรหรือไม หากมีอาการ ผิดปกติ เชน ผืน่ คัน เวียนศีรษะ หายใจไมส ะดวก หรือมอี าการถายรนุ แรง ควรรบี ปรกึ ษาแพทย โดยเรว็ กอนใชยาทุกประเภทควรคํานึงถึงหลักการใชยาทั่วไป โดยอานฉลากยาให ละเอยี ดและใชอยางระมดั ระวัง ดงั น้ี 1. ใชใหถูกตน สมุนไพรสวนใหญมีชื่อพองหรือซ้ํากันมากแลว แตละทองถ่ิน กอ็ าจเรยี กช่ือแตกตา งกนั ท้งั ๆ ที่เปน พืชชนิดเดยี วกนั หรอื บางครง้ั ชอื่ เหมือนกัน แตเ ปนพืช คนละชนิด เพราะฉะนั้นจะใชสมุนไพรอะไรก็ตองใชใหถูกตนจริงๆ ดังเชนกรณีของหญาปกกิ่ง ทีย่ กตวั อยางขางตน ท่ีนาํ หญา ชนดิ อ่นื มาขายคนทไี่ มร ูจกั 3. ใชถกู สวน พชื สมนุ ไพรไมวาราก ดอก ใบ เปลอื ก ผล หรือเมล็ด จะมีฤทธ์ิใน การรักษาหรือบําบัดโรคไมเทากัน แมกระท่ังผลออน หรือผลแกก็มีฤทธ์ิแตกตางกัน ดังน้ัน การนํามาใชก ต็ องมคี วามรจู ริง ๆ 4. ใชใหถูกขนาด ธรรมชาติของยาสมุนไพร คือ หากใชนอยไป ก็จะรักษาไม ไดผ ล แตถา ใชม ากไปกอ็ าจเกดิ อันตรายตอรางกายไดเชนกนั 5. ใชใหถูกวิธี สมุนไพรที่จะนํามาใช บางชนิดตองใชตนสด บางชนิดตองผสม กับเหลา บางชนดิ ใชต มหรือชง ซ่งึ หากใชไมถกู ตองกไ็ มเกิดผลในการรกั ษา 6. ใชใ หถ กู กับโรค เชน มอี าการทอ งผกู ก็ตอ งใชส มุนไพรท่มี ฤี ทธิเ์ ปน ยาระบาย ถาไปใชส มุนไพรที่มีรสฝาด จะทําใหทองผูกมากข้ึน

68 กิจกรรมทายบทที่ 5 เรอื่ งที่ 1 ใหผ ูเรยี นบอกหลกั และวิธีการใชยาอยา งปลอดภยั ดังตอ ไปน้ี 1. หลกั การใชย าแผนโบราณ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….………………… 2. หลกั การใชยาสมนุ ไพร…………………………………………….……………………………… …………………………………………………………………………….……………………………… เร่ืองที่ 2 ใหผเู รียนอธบิ ายอันตรายจากการใชยาประเภทตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. อนั ตรายจากการใชยาแผนโบราณ…………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….……………………… 2. อนั ตรายจากการใชยาสมนุ ไพร………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………….……………

69 บทที่ 6 การปองกนั สารเสพติด สาระสําคญั กกกกกกกกความรูความเขาใจเก่ียวกับปญหา สาเหตุ ประเภท และอันตรายของสารเสพติด ตลอดจนลักษณะอาการของผูติดสารเสพติด และสามารถรูวิธีการปองกันและหลีกเลี่ยง พฤตกิ รรมเสย่ี งตอสารเสพติดได ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวัง กกกกกกกก1. บอกถงึ ประเภทและชนดิ ของสารเสพตดิ ได 2. อธบิ ายปญหา สาเหตุ ประเภทและชนิดของสารเสพติดได 3. บอกลักษณะอาการของผตู ิดสารเสพติด 4. อธบิ ายอนั ตราย วิธีการปองกนั และหลกี เล่ียงพฤตกิ รรมเลีย่ งตอ สารเสพติดได ขอบขายเนอื้ หา กกกกกกกกเรือ่ งที่ 1 ปญหา สาเหตุ ประเภทและชนิดของสารเสพติด และการปองกนั แกไ ข เร่ืองท่ี 2 ลักษณะอาการของผูต ดิ สารเสพติด เรอื่ งที่ 3 อันตราย การปอ งกัน และการหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมเสีย่ งตอสารเสพติด เร่ืองที่ 4 การปอ งกันและหลีกเลี่ยงการติดสารเสพตดิ

70 เร่ืองที่ 1 ปญ หา สาเหตุ ประเภทและชนดิ ของสารเสพตดิ และการปอ งกนั แกไข สถานการณปจจุบันพบวา การใชสารเสพติดไดแพรระบาดเขาไปถึงทุกเพศทุกวัย ทุกกลุมอายุ สงผลกระทบตอสุขภาพพลานามัยของบุคคลกลุมนั้น ๆ โดยเฉพาะการใช ยาเสพติดในทางท่ผี ิดของกลมุ เยาวชนท่ีกําลังศึกษาเลาเรยี นในสถานศกึ ษาหรอื นอกสถานศึกษา หรือกลุม เยาวชนนอกระบบการศกึ ษา สารเสพตดิ หมายถงึ ยาเสพติด วัตถุออกฤทธ์ิ และสารระเหย 1. สาเหตุของการติดสารเสพตดิ 1.1. สาเหตจุ ากการรูเ ทาไมถ ึงการณ 1) อยากทดลอง 2) ความคกึ คะนอง 3) การชกั ชวนของคนอ่ืน 1.2. สาเหตทุ ี่เกิดจากการถูกหลอกลวง 1.3. สาเหตทุ ีเ่ กิดจากความเจ็บปว ย 1.4. สาเหตุอน่ื ๆ เชน การอยูใกลแหลงขายหรือใกลแหลงผลิต หรือเปนผูขาย หรือผูผลิตเอง จึงทําใหมีโอกาสติดส่ิงเสพติดใหโทษน้ันมากกวาคนท่ัวไป เม่ือมีเพื่อนสนิทหรือ พี่นองที่ติดส่ิงเสพติดอยู ผูนั้นยอมไดเห็นวิธีการเสพของผูท่ีอยูใกลชิด รวมทั้งใจเห็นพฤติกรรม ตาง ๆ ของเขาดวย และยงั อาจไดร ับคําแนะนาํ หรอื ชกั ชวนจากผูเสพดวย จงึ มีโอกาสติดได 2. ประเภทของสารเสพติด ยาเสพติดใหโทษแบง ได 5 ประเภท ดังนี้ 2.1. ยาเสพติดใหโทษประเภท 1 เชน เฮโรอีน เมทแอมเฟตามีน เอ็มดีเอ็มเอ (ยาอ)ี ยาเสพติดใหโทษประเภทน้ีไมใ ชประโยชนทางการแพทย 2.2. ยาเสพติดใหโทษประเภท 2 เชน มอรฟน โคเคอีน เพทิดีน เมทาโดน และ ฝน ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภทน้มี ีประโยชนท างการแพทย แตก ม็ โี ทษมาก จึงตองใชภายใตความ ควบคุมของแพทย และใชเฉพาะในกรณที จี่ าํ เปน เทานนั้ 2.3. ยาเสพติดใหโทษประเภท 3 เปนยาสําเร็จรูปที่ผลิตขึ้นตามทะเบียนตํารับ ท่ีไดร บั อนญุ าตจากกระทรวงสาธารณสขุ แลว มีจําหนายตามรานขายยา ไดแก ยาแกไอ ที่มีตัว ยาโคเคอีน หรือยาแกทองเสียท่ีมีตัวยาไดเฟนอกซิน เปนตน ยาเสพติดประเภทน้ีมีประโยชน ทางการแพทยและมโี ทษนอ ยกวา ยาเสพตดิ ใหโ ทษอื่น ๆ 2.4. ยาเสพติดใหโ ทษประเภท 4 เปนนํา้ ยาเคมีทน่ี าํ มาใชในการผลิตยาเสพติดให โทษประเภท 1 ไดแก น้ํายาเคมี อาซิติกแอนไฮไดรด อาซิติลคลอไรด เอทิลิดีน ไดอาเซเตท

71 สารเออรโกเมทรีน และคลอซูโดอีเฟดรีน ยาเสพติดใหโทษประเภทน้ีไมมีประโยชนในการ บาํ บดั รักษาอาการของโรคแตอ ยา งใด 2.5. ยาเสพติดใหโทษประเภท 5 ไดแก พืชกัญชา พืชกระทอม พืชฝน และพืช เห็ดขคี้ วาย ยาเสพติดใหโ ทษประเภทนไี้ มม ีประโยชนท างการแพทย วตั ถุออกฤทธ์ิ หมายถงึ วัตถทุ ี่ออกฤทธิ์ตอ จิตและประสาท ที่เปนส่ิงธรรมชาติหรือได จากสิ่งธรรมชาติ วัตถุออกฤทธแิ์ บงได 4 ประเภท ดงั นี้ 1. วัตถุออกฤทธ์ิประเภท 1 มีความรุนแรงในการออกฤทธ์ิมาก ทําใหเกิดอาการ ประสาทหลอน ไมมีประโยชนใ นการบําบดั รกั ษาอาการของโรค ไดแก ไซโลไซบนั และเมสคาลีน 2. วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 2 เชน ยากระตุนระบบประสาท เชน อีเฟดรีน เฟเนทิลลีน เพโมลีนและยาสงบประสาท เชน ฟลูไนตราซีแพม มดิ าโซแลม ไนตราซีแพม วัตถุประเภทน้ีมีการ นําไปใชในทางทผ่ี ิด เชน ใชเ ปน ยาแกงวง ยาขยนั หรือเพื่อใชม อมเมาผอู ื่น 3. วัตถอุ อกฤทธป์ิ ระเภท 3 ใชในรูปยารักษาอาการของโรค สวนใหญเปนยากดระบบ ประสาทสวนกลาง เชน เมโพรบาเมต อะโมบารบติ าล และยาแกป วด เพตาโซซีน การใชยาจําพวก น้ีตองอยูในความควบคมุ ดูแลของแพทย 4. วตั ถอุ อกฤทธปิ์ ระเภท 4 ไดแก ยาสงบประสาท ยานอนหลับในกลุมของบารบิตูเรต เชน ฟโ นบารบ ติ าล และเบน็ โซไดอาซปี น ส เชน อลั ปราโซแลม ไดอาซแี พม สวนใหญม ีการนํามาใช อยางกวางขวาง ทั้งน้ีเพื่อบําบัดรักษาอาการของโรค และการนํามาใชในทางที่ผิด การใชยาวัตถุ ออกฤทธ์ิประเภทน้ตี อ งอยูภ ายใตก ารควบคมุ ของแพทย สารระเหย เปนสารเคมี 14 ชนิด ไดแก อาซีโทน เอทลิ อาซีเตท โทลอู ีน เซลโลโซลฟ ฯลฯ ผลิตภัณฑ 5 ชนิด ไดแก ทินเนอร แลคเกอร กาวอินทรียสังเคราะห กาวอินทรีย ธรรมชาติ ลูกโปง วทิ ยาศาสตร

72 เรอื่ งที่ 2 ลักษณะอาการของผตู ิดสารเสพติด ลักษณะการตดิ ยาเสพติด ลักษณะทว่ั ไป 1. ตาโรยขาดความกระปร้ีกระเปรา นํ้ามูกไหล น้ําตาไหล ริมฝปากเขียวคล้ําแหง แตก (เสพโดยการสูบ) 2. เหงื่อออกมาก กลน่ิ ตวั แรง พูดจาไมสมั พันธก บั ความจรงิ 3. บริเวณแขนตามแนวเสนโลหิต มีรองรอยการเสพยาโดยการฉีดใหเ ห็น 4. ท่ที อ งแขนมีรอยแผลเปน โดยกรดี ดวยของมคี มตามขวาง (ตดิ เหลาแหง ยากลอ มประสาท ยาระงับประสาท) 5. ใสแ วนตากรอบแสงเขมเปนประจาํ เพราะมานตาขยายและเพอ่ื ปดนัยนต าสีแดงก่าํ 6. มกั สวมเสอ้ื แขนยาวปกปดรอยฉีดยา โปรดหลกี ใหพ นจากบุคคลท่ีมีลักษณะดังกลาว ชีวิตจะสขุ สนั ตต ลอดกาล 7. มคี วามตองการอยา งแรงกลาท่ีจะเสพยานน้ั ตอไปอกี เร่ือย ๆ 8. มีความโนม เอียงทจ่ี ะเพม่ิ ปรมิ าณของส่งิ เสพตดิ ใหม ากขน้ึ ทุกขณะ 9. ถาถงึ เวลาทีเ่ กดิ ความตองการแลวไมไ ดเ สพจะเกิดอาการขาดยาหรอื อยากยา โดยแสดงออกมาในลักษณะอาการตาง ๆ เชน หาว อาเจียน นํ้ามูกน้ําตาไหล ทุรนทุราย คลุมคลั่ง ขาดสติ โมโห ฉนุ เฉยี ว ฯลฯ 10. ส่ิงเสพติดนั้นหากเสพอยูเสมอ ๆ และเปนเวลานานจะทําลายสุขภาพของผูเสพ ทงั้ ทางรางกายและจติ ใจ 11. ทาํ ใหรางกายซบู ผอมมโี รคแทรกซอน และทาํ ใหเกิดอาการทางโรคประสาทและจิต ไมปกติ การตดิ ยาทางกาย เปน การตดิ ยาเสพติดทผี่ ูเ สพมคี วามตอ งการเสพอยา งรนุ แรง ท้ังทางรางกายและจิตใจ เม่ือถึงเวลาอยากเสพแลวไมไดเสพจะเกิดอาการผิดปกติอยางมาก ท้ังทางรางกายและจิตใจ ซ่ึงเรียกวา “อาการขาดยา” เชน การติดฝน มอรฟน เฮโรอีน เม่ือขาดยาจะมีการคลื่นไส อาเจียน หาว น้าํ มูก นา้ํ ตาไหล นอนไมหลับ เจ็บปวดทว่ั รา งกาย เปนตน

73 การติดยาทางใจ เปนการตดิ ยาเสพติดเพราะจิตใจเกิดความตองการหรือเกิดการติดเปนนิสัย หากไมได เสพรางกายก็จะไมเกิดอาการผิดปกติ หรือทุรนทุรายแตอยางใด จะมีบางก็เพียงเกิดอาการ หงุดหงดิ หรือกระวนกระวาย วิธสี ังเกตอาการผูตดิ ยาเสพติด จะสังเกตวาผูใดใชหรือเสพยาเสพติด ใหสังเกตจากอาการและการเปลี่ยนแปลง ท้งั ทางรางกายและจิตใจตอ ไปน้ี 1. การเปลย่ี นแปลงทางรา งกาย สังเกตไดจาก 1) สขุ ภาพรา งกายทรดุ โทรม ซบู ผอม ไมมแี รง ออ นเพลยี 2) รมิ ฝปากเขยี วคลํา้ แหง และตก 3) รางกายสกปรก เหงื่อออกมาก กล่ินตัวแรงเพราะไมชอบอาบน้ํา 4) ผิวหนังหยาบกราน เปนแผลพุพอง อาจมีหนองหรือน้ําเหลือง คลายโรค ผิวหนงั 5) มีรอยกรีดดวยของมีคม เปนรอยแผลเปนปรากฏท่ีบริเวณแขนและ/หรือ ทอ งแขน 6) ชอบใสเสื้อแขนยาว กางเกงขายาว และสวมแวน ตาดําเพ่อื ปดบงั มานตา ทข่ี ยาย 2. การเปลีย่ นแปลงทางจิต ความประพฤตแิ ละบุคลิกภาพ สังเกตไดจ าก 1) เปนคนเจา อารมณ หงดุ หงิดงาย เอาแตใจตนเอง ขาดเหตผุ ล 2) ขาดความรับผิดชอบตอหนาท่ี 3) ขาดความเชื่อม่ันในตนเอง 4) พดู จากาวราว แมแ ตบิดามารดา ครู อาจารย ของตนเอง 5) ชอบแยกตัวอยคู นเดยี ว ไมเ ขาหนาผูอ่ืน ทาํ ตัวลกึ ลบั 6) ชอบเขา หอ งนํ้านาน ๆ 7) ใชเ งินเปลืองผิดปกติ ทรัพยสินในบา นสญู หายบอ ย 8) พบอุปกรณเกย่ี วกบั ยาเสพติด เชน หลอดฉดี ยา เข็มฉีดยากระดาษตะกวั่ 9) มั่วสมุ กับคนที่มพี ฤติกรรมเกีย่ วกบั ยาเสพติด 10) ไมส นใจความเปนอยูของตนเอง แตง กายสกปรก ไมเ รียบรอ ย ไมคอยอาบนา้ํ

74 11) ชอบออกนอกบานเสมอ ๆ และกลับบานผดิ เวลา 12) ไมชอบทํางาน เกยี จคราน ชอบนอนต่นื สาย 13) อาการวิตกกงั วล เศรา ซมึ สหี นา หมองคล้ํา 3. การสังเกตอาการขาดยา ดังน้ี 1) นา้ํ มกู นาํ้ ตาไหล หาวบอ ย 2) กระสับกระสาย กระวนกระวาย หายใจถ่ี ปวดทอง คลื่นไส อาเจียน เบือ่ อาหาร นํ้าหนักลด อาจมีอุจจาระเปน เลอื ด 3) ขนลกุ เหงอื่ ออกมากผิดปกติ 4) ปวดเม่ือยตามรา งกาย ปวดเสียวในกระดูก 5) มา นตาขยายโตขึ้น ตาพราไมส ูแดด 6) มกี ารสั่น ชัก เกร็ง ไขข้นึ สูง ความดันโลหติ สงู 7) เปน ตะคริว 8) นอนไมห ลบั 9) เพอ คลมุ คลง่ั อาละวาด ควบคมุ ตนเองไมได เรื่องที่ 3 อันตราย การปอ งกนั และการหลีกเลยี่ งพฤติกรรมเสยี่ งตอสารเสพตดิ สารเสพตดิ ใหโ ทษมีหลายชนิดไดแพรระบาดเขามาในประเทศไทย จะพบในหมูเด็ก และเยาวชนเปน สวนมาก นับวาเปนเรื่องรายแรงเปนอันตรายตอผูเสพและประเทศชาติดังนั้น ผเู รียนควรทราบอนั ตรายจากสารเสพติดในแตล ะชนิด ดงั น้ี 1. ฝน จะมฤี ทธ์ิกดประสาท ทําใหน อนหลับเคลิบเคลิ้ม ผูที่ติดฝนจะมีความคิดอาน ชา ลง การทํางานของสมอง หวั ใจ และการหายใจชา ลง อาการขาดยา จะเรม่ิ หลงั จากไดรบั ยาครั้งสุดทาย 4-10 ชั่วโมง แลวไมสามารถ หายาเสพไดอกี จะมีอาการกระวนกระวาย หงุดหงิด โกรธงาย ต่ืนเตนตกใจงาย หาวนอนบอย ๆ น้าํ มกู นาํ้ ตา น้ําลาย และเหง่อื ออกมาก ขนลุก กลา มเนื้อกระตกุ ตวั สนั่ มานตาขยาย ปวดหลังและขามาก ปวดทอง อาเจยี น ทอ งเดนิ บางรายมีอาการรุนแรงถึงขนาดถายเปนเลือด ท่ีภาษาชาวบานเรียกวา“ลงแดง” ผูติดยาจะมีความตองการยาอยางรุนแรงจนขาดเหตุผล ท่ีถกู ตอง อาการขาดยาน้ีจะเพ่ิมขึน้ ในระยะ 24 ชั่วโมงแรก และจะเกิดมากท่ีสุดภายใน 48-72 ช่วั โมง หลังจากน้นั อาการจะคอ ย ๆ ลดลง

75 2. มอรฟน เปนแอลคาลอยดจากฝนดิบ มีฤทธ์ิท้ังกดและกระตุนระบบประสาท สว นกลาง ทําใหศูนยประสาทรับความรสู ึกชา อาการเจ็บปวดตาง ๆ หมดไป กลา มเน้ือคลายตัว มีความรูสึกสบายหายกังวล นอกจากนี้ยังมีฤทธ์ิกดศูนยการไอทําใหระงับอาการไอ กดศูนย ควบคุมการหายใจ ทําใหร างกายหายใจชา ลง เกิดอันตรายถึงแกชีวิตได สวนฤทธิ์กระตุนระบบ ประสาทสวนกลางจะทาํ ใหคลื่นไส อาเจียน มานตาหรี่ บางรายมีอาการตื่นเตนดวย กระเพาะ อาหารและลาํ ไสทํางานนอยลง หูรูดตา ง ๆ หดตัวเล็กลง จึงทําใหมีอาการทองผูกและปสสาวะ ลาํ บาก 3. เฮโรอีน สกัดไดจากมอรฟนโดยกรรมวิธีทางเคมี ซ่ึงเกิดปฏิกิริยาระหวาง มอรฟ น และน้ํายาอะซิตคิ แอนไฮไดรด เปนยาเสพติดท่ตี ิดไดงายมาก เลิกไดยาก มีความแรงสูง กวา มอรฟ นประมาณ 5-8 เทา แรงกวาฝน 80 เทา และถาทําใหบริสุทธ์ิจะมีฤทธ์ิแรงกวาฝนถึง 100 เทา ตวั เฮโรอีนเปนยาเสพติดใหโทษท่ีรา ยแรงทส่ี ุด ใชไดท้ังวิธีสูบฉีดเขากลามเนื้อหรือเสน เลือดดํา ละลายไดดีในน้ํา เฮโรอีน มีฤทธ์ิทําใหงวงนอน งุนงง คล่ืนไส อาเจียน เบ่ืออาหาร รางกายผอมลงอยางรวดเร็ว ออนเพลีย ไมกระตือรือรน ไมอยากทํางาน หงุดหงิด โกรธงาย มกั กอ อาชญากรรมไดเ สมอ มกั ตายดว ยมีโรคแทรกซอ น หรือใชยาเกินขนาด 4. บารบ ทิ ูเรต ยาท่ีจัดอยูในพวกสงบประสาทใชเปน ยานอนหลับ ระงับความวิตก กงั วล ระงบั อาการชักหรือปองกันการชัก ที่ใชกันแพรหลายไดแก เซดคบารบิตาลออกฤทธ์ิกด สมอง ทาํ ใหส มองทาํ งานนอ ยลง ใชยาเกนิ ขนาดทําใหม ฤี ทธิ์กดสมองอยางรุนแรง ถึงขนาดหมด ความรสู ึกและเสยี ชวี ติ จะมอี าการมนึ งง หงุดหงิด เล่ือนลอย ขาดความรับผิดชอบ มีความกลา อยา งบาบิน่ ชอบทะเลาะววิ าท กา วราว ทํารายตนเอง คลุม คลั่ง พดู ไมชัด เดินโซเซคลายกับคน เมาสุรา ขาดความอาย อาทิ สามารถเปลอื้ งเสอื้ ผาเพื่อเตนโชวไ ด 5. ยากลอ มประสาท เปน ยาทีม่ ฤี ทธ์ิกดสมอง ทาํ ใหจ ติ ใจสงบหายกงั วล แตฤ ทธิไ์ ม รุนแรงถงึ ข้นั ทําใหห มดสตหิ รือกดการหายใจ การใชย าเปน เวลานาน จะทําใหรางกายเกิดความ ตา นทานตอยาและเกดิ การเสพตดิ ได และมแี นวโนม จะปว ยดวยโรคความดันโลหติ ตาํ่ โรคกระเพาะ โรคทางเดนิ อาหาร ฯลฯ 6. แอมเฟตามีน มีช่ือที่บุคคลทั่วไปรูจัก คือ ยาบา หรือยาขยันเปนยาท่ีมีฤทธิ์ กระตุนประสาทสว นกลาง และระบบประสาทสวนปลาย ทาํ ใหม ีอาการต่ืนตัว หายงวง พูดมาก ทาํ ใหห ลอดเลอื ดตบี เล็กลง หวั ใจเตน เรว็ ขึน้ ความดันเลอื ดสงู มือสั่นใจสนั่ หลอดลมขยาย มาน ตาขยาย เหงื่อออกมาก ปากแหง เบ่ืออาหาร ถาใชเกินขนาดจะทําใหเวียนศีรษะนอนไมหลับ

76 ตัวสน่ั ตกใจงาย ประสาทตึงเครียด โกรธงาย จิตใจสับสน คลื่นไส อาเจียน ทองเดินและปวด ทองอยา งรุนแรง มอี าการชักหมดสติ และตายเนอ่ื งจากหลอดเลอื ดในสมองแตกหรือหวั ใจวาย 7. กัญชา ผลท่ีเกิดข้ึนตอรางกายจะปรากฏหลังจากสูบ 2-3 นาที หรือหลังจาก รบั ประทานครึ่งถงึ 1 ชัว่ โมง ทําใหม อี าการตื่นเตน ชา งพูด หัวเราะสงเสียงดัง กลามเนื้อแขนขา ออนเปลี้ยคลายคนเมาสุรา ถาไดรับในขนาดมาก ความรูสึกนึกคิดและการตัดสินใจเสียไป ความจาํ เสื่อม ประสาทหลอน หวาดระแวง ความคิดสับสน ไมสนใจส่ิงแวดลอม การสูบกัญชา ยังทําใหเกิดหลอดลมอักเสบเร้ือรัง โรคหืดหลอดลม มะเร็งท่ีปอด บางรายมีอาการทองเดิน อาเจียน มอื ส่ันเปน ตะคริว หลอดเลอื ดอดุ ตนั หวั ใจเตน เร็ว ความรสู กึ ทางเพศลดลงหรือหมดไป และเปน หนทางนําไปสูการเสพตดิ ยาชนิดอนื่ ๆ ไดง าย 8. ยาหลอนประสาท เปนยาที่ทําใหประสาทการเรียนรูผิดไปจากธรรมดา ยาท่ี แพรหลายในปจ จุบัน ไดแก แอลเอสดี ดีเอม็ ที เอสทพี ี เมสคาลนี เห็ดขีค้ วาย ตนลําโพง หัวใจเตนเร็วขึ้น ความดันเลือดสูง มานตาขยาย มือเทาส่ัน เหงื่อออกมากท่ีฝามือ บางราย คล่ืนไส อาเจียน สงผลตอจิตใจ คือ มีอารมณออนไหวงาย ประสาทรับความรูสึกแปรรวน ไมสามารถควบคมุ สติได ทา ยสุดผเู สพมกั ปวยเปนโรคจิต 9. สารระเหย สารระเหยจะถูกดูดซึมผานปอดเขาสูกระแสโลหิต แลวเขาสู เนอ้ื เยอ่ื ตา ง ๆ ของรา งกาย เกิดพิษ ซง่ึ แบงไดเ ปน 2 ระยะ คือ พิษระยะเฉียบพลัน ตอนแรกจะรูสึกเปนสุข ราเริง ควบคุมตัวเองไมได คลายกับคนเมาสรุ า ระคายเคืองเยอื่ บุภายในปากและจมกู นา้ํ ลายไหลมาก ตอมามีฤทธ์กิ ด ทําใหงว งซึม หมดสติ ถาเสพในปรมิ าณมากจะไปกดศนู ยหายใจทําใหตายได พิษระยะเรื้อรัง หากสูดดมสารระเหยเปนระยะเวลานานติดตอกัน จะเกิด อาการทางระบบประสาท วิงเวียนศีรษะ เดินโซเซ ความคิดสับสน หัวใจเตนผิดปกติ เกิดการ อักเสบของหลอดลม ถายทอดทางพันธุกรรม เปนเหตุใหเด็กที่เกิดมามีความพิการได เซลล สมองจะถูกทําลายจนสมองฝอ จะเปนโรคสมองเส่อื มไปตลอดชีวติ 10. ยาบา เปนช่ือที่ใชเรียกยาเสพติดที่มีสวนของสารเคมีประเภทแอมเฟตามีน สารประเภทนแี้ พรระบาดอยู 3 รปู แบบดว ยกนั คอื 1) แอมเฟตามีนซลั เฟต 2) เมทแอมเฟตามีน 3) เมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด ซ่ึงจากผลการตรวจพิสูจนยาบา ปจจบุ ันในประเทศไทยมกั พบวา เกือบทงั้ หมดมีเมทแอมเฟตามนี ไฮโดรคลอไรด ผสมอยู

77 อาการผูเ สพ เมื่อเสพเขาสูรางกาย ระยะแรกจะออกฤทธ์ิทําใหรางกายต่ืนตัว หัวใจเตนเร็ว ความดนั โลหิตสูง ใจส่ัน ประสาทตึงเครียด แตเม่ือหมดฤทธิ์ยา จะรูสึกออนเพลียมากกวาปกติ ประสาทลาทําใหการตัดสินใจชาและผิดพลาด เปนเหตุใหเกิดอุบัติเหตุรายแรงได ถาใช ติดตอกันเปนเวลานานจะทําใหสมองเสื่อม เกิดอาการประสาทหลอนเห็นภาพลวงตา หวาดระแวงคลุมคล่ัง เสียสติ เปนบาอาจทํารายตนเองและผูอ่ืนได หรือในกรณีที่ไดรับยาใน ปริมาณมากจะไปกดประสาทและระบบการหายใจทาํ ใหหมดสติ และถึงแกความตายได อันตรายท่ไี ดรบั การเสพยาบา กอ ใหเ กดิ ผลรา ยหลายประการ ดังนี้ 1) ผลตอจิตใจ เม่ือเสพยาบาเปนระยะเวลานานหรือใชเปนจํานวนมาก จะทําให ผูเสพมีความผิดปกติทางดานจิตใจกลายเปนโรคจิตชนิดหวาดระแวง สงผลใหมีพฤติกรรม เปล่ียนแปลงไป เชน เกดิ อาการหวาดหว่ัน หวาดกลัว ประสาทหลอน ซ่ึงโรคน้ีหากเกิดขึ้นแลว อาการจะคงอยูต ลอดไป แมใ นชวงเวลาที่ไมไ ดเ สพยาก็ตาม 2) ผลตอระบบประสาท ระยะแรกจะออกฤทธิ์กระตุนประสาท ทําใหประสาท ตึงเครียด แตเ มอ่ื หมดฤทธ์ิยาจะมีอาการประสาทลา ทําใหการตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ ชา และ ผิดพลาด หากใชติดตอกันเปนเวลานานจะทําใหสมองเสื่อม หรือกรณีที่ใชยาในปริมาณมาก จะไปกดประสาทและระบบการหายใจ ทาํ ใหห มดสตแิ ละถึงแกค วามตายได 3) ผลตอ พฤติกรรม ฤทธ์ิของยาจะกระตุนสมองสวนที่ควบคุมความกาวราว และ ความกระวนกระวายใจ ดงั นั้นเมื่อเสพยาบา ไปนาน ๆ จะกอใหเกิดพฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไป คอื ผูเ สพจะมีความกาวรา วเพม่ิ ขน้ึ และหากยงั ใชต อ ไปจะมีโอกาสเปนโรคจิตชนิดหวาดระแวง เกรงวาจะมีคนมาทาํ รา ยตนเอง จงึ ตองทาํ รายผูอ ่ืนกอน 11. ยาอี ยาเลฟิ ยาอี ยาเลิฟ เอค็ ซตาซี เปนยาเสพติดกลุมเดียวกัน จะแตกตางกันบางในดาน โครงสรา งทางเคมี ลกั ษณะของยาอี มีทงั้ ท่ีเปนแคปซูลและเปน เม็ดยาสีตางๆ แตท่ีพบในประเทศ ไทย สวนใหญมีลักษณะเปนเม็ดกลมแบน เสนผาศูนยกลาง 0.8-1.2 ซม. หนา 0.3-0.4 ซม. ผิวเรียบ และปรากฏสญั ลักษณบ นเมด็ ยา เปนรูปตางๆ เชน กระตาย คางคาว นก ดวงอาทิตย PT ฯลฯ

78 เสพโดยการรับประทานเปน เม็ด จะออกฤทธภิ์ ายในเวลา 45 นาที และฤทธ์ิยา จะอยใู นรา งกายไดนานประมาณ 6-8 ช่วั โมง อาการผูเสพ เหงือ่ ออกมาก หวั ใจเตน เรว็ ความดันโลหติ สูง ระบบประสาทการรับรูเกิดการ เปล่ยี นแปลงทัง้ หมด ทําใหการไดยินเสยี งและการมองเห็นแสงสีตางๆ ผิดไปจากความเปนจริง เคลบิ เคลม้ิ ควบคุมอารมณไ มได อันตรายทไ่ี ดร บั การเสพยาอี กอ ใหเ กดิ ผลรา ยหลายประการ ดงั นี้ 1) ผลตออารมณ เม่อื เริม่ เสพในระยะแรกยาอีจะออกฤทธิ์กระตุนประสาทให ผูเสพรูสึกต่ืนตัวตลอดเวลา ไมสามารถควบคุมอารมณของตนเองได เปนสาเหตุใหเกิด พฤตกิ รรมสาํ สอนทางเพศ 2) ผลตอการรูสกึ การรบั รจู ะเปลยี่ นแปลงไปจากความเปน จรงิ 3) ผลตอระบบประสาท ยาอีจะทําลายระบบประสาท ทําใหเซลลสมองสวน ท่ีทําหนาที่หล่ังสารซีโรโทนิน ซ่ึงเปนสาระสําคัญในการควบคุมอารมณน้ัน ทํางานผิดปกติ กลาวคือ เมื่อยาอีเขาสูสมองแลว จะทําใหเกิดการหล่ังสาร “ซีโรโทนิน” ออกมามากเกินกวา ปกติ สงผลใหจ ติ ใจสดชืน่ เบกิ บาน แตเ มื่อระยะเวลาผา นไปสารดงั กลา วจะลดนอยลง ทําใหเกิด อาการซมึ เศรา หดหอู ยา งมาก อาจกลายเปนโรคจิตประเภทซึมเศรา และอาจเกิดสภาวะอยาก ฆาตัวตาย นอกจากนี้การที่สารซีโรโทนินลดลง ยังทําใหธรรมชาติของการหลับนอนผิดปกติ จาํ นวนเวลาของการหลบั ลดลง นอนหลับไมสนทิ จงึ เกดิ อาการออ นเพลียขาดสมาธิในการเรียน และการทํางาน 4) ผลตอสภาวะการตายขณะเสพ มักเกิดเม่ือผูเสพสูญเสียเหง่ือมาก ทําให เกิดสภาวะขาดนาํ้ อยางฉับพลัน หรือกรณที ี่เสพยาอพี รอมกบั ดม่ื แอลกอฮอลเ ขาไปมาก หรือผูที่ ปวยเปน โรคหวั ใจ จะทาํ ใหเ กิดอาการช็อกและเสียชีวิตได เรื่องที่ 4 การปอ งกนั และหลีกเลย่ี งการตดิ สารเสพติด 1. ปอ งกนั ตนเอง ไมใ ชย าโดยมไิ ดรบั คาํ แนะนําจากแพทย และจงอยาทดลองเสพยา เสพติดทุกชนดิ โดยเด็ดขาด เพราะตดิ งายหายยาก ทาํ ไดโดย 1.1. ศกึ ษาหาความรูเ พ่ือใหร ูเทาทนั โทษพษิ ภยั ของยาเสพติด 1.2. ไมท ดลองใชย าเสพตดิ ทุกชนิดและปฏเิ สธเมือ่ ถูกชักชวน

79 1.3. ระมัดระวังเรือ่ งการใชย า เพราะยาบางชนดิ อาจทาํ ใหเ สพตดิ ได 1.4. ใชเวลาวางใหเ ปน ประโยชน 1.5. เลอื กคบเพือ่ นดี ท่ชี กั ชวนกนั ไปในทางสรา งสรรค 1.6. เมื่อมีปญหาชีวิต ควรหาหนทางแกไขที่ไมของเกี่ยวกับยาเสพติดหากแกไข ไมไ ดควรปรึกษาผใู หญ 2. ปองกนั ครอบครัว ควรสอดสองดูแลเด็กและบุคคลในครอบครัวหรือที่อยูรวมกัน อยาใหเก่ียวของกับยาเสพติด ตองคอยอบรมส่ังสอนใหรูสึกโทษและภัยของยาเสพติด หากมี ผเู สพยาเสพตดิ ในครอบครวั จงจดั การใหเ ขา รกั ษาตัวท่ีโรงพยาบาล ใหหายเด็ดขาด การรักษา แตแรกเรมิ่ ตดิ ยาเสพตดิ มโี อกาสหายไดเ ร็วกวาที่ปลอยไวน าน ๆ 3. ปองกนั เพ่อื นบาน โดยชว ยชแ้ี จงใหเ พอื่ นบานเขา ใจถึงโทษและภัยของยาเสพติด โดยมิใหเพื่อนบานรูเทาไมถึงการณตองถูกหลอกลวง และหากพบวาเพื่อนบานติดยาเสพติด ตอ งแนะนาํ ใหไ ปรักษาตัวท่ีโรงพยาบาล 4. ปอ งกันโดยใหความรว มมือกับทางราชการ เมอ่ื ทราบวาบานใด ตําบลใด มียาเสพ ติดแพรร ะบาดขอใหแจง เจา หนาที่ตํารวจทุกแหงทุกทองที่ทราบ หรือท่ีศูนยปราบปรามยาเสพ ติดใหโทษ เชน สํานักงานตํารวจแหงชาติ โทร. 02-2527962 สํานักงาน ป.ส.ส. โทร. 02-2459350-9

80 กจิ กรรมทา ยบทที่ 6 เรอ่ื งที่ 1 ใหผ ูเ รียนอธบิ าย สาเหตกุ ารตดิ ยาเสพติด ประเภทของสารเสพติด และอาการของ ผูตดิ สารเสพติด 1. สาเหต…ุ ………………………………………………………………………………………….………… 2. ประเภทและชนิด………………………………………………………….…………………………….. 3. อาการของผตู ิดสารเสพตดิ ………………………………………….……………………………….. เร่ืองท่ี 2 ใหผเู รียนอธบิ ายผลของยาเสพติดท่มี ตี อ รา งกายผเู สพ ตามชนดิ ของยาเสพตดิ ดังตอไปนี้ 1. ฝน ………………………………………………………………………………………………………………. 2. มอรฟน ………………………………………..……………………………………………………………… 3. เฮโรอนิ …………………………………………………………………………….………………………….. 4. บารบทิ เู รต…………………………………………………………….…………………………………….. 5. ยากลอ มประสาท..……………………………………………………………………………………….. 6. แอมเฟตามีน………………………………………………………………………………………........... 7. กญั ชา…………………………………………………………………………………………………………. 8. หลอนประสาท……………………………………………………………………………………………... 9. สารระเหย………………………………………………………………………………………………….. 10. ยาบา ………………………………………………………………………………………………………..... 11. ยาอี ยาเลฟิ ………………………………………………………………………………………………….. เร่ืองที่ 3 ใหผูเรียนบอกวิธีการปองกันและหลีกเล่ียงการติดสารเสพติด ตามระดับตาง ๆ ดงั ตอ ไปน้ี 1. ปอ งกนั ตนเอง………………………………………………………………………………………..…….. 2. ปองกนั ครอบครัว…………………………………………………………………………………………. 3. ปองกันเพื่อนบาน……………………………………………………………………………………..…..

81 บทที่ 7 อุบัตเิ หตุ อบุ ตั ิภัย สาระสําคญั กกกกกกกกความรู ความเขาใจ เก่ียวกับอันตรายที่อาจเกิดข้ึนในการประกอบอาชีพตลอดจน วิธกี ารปองกันแกไ ขและวิธปี ฐมพยาบาลเมื่อเกิดอนั ตรายจากการประกอบอาชีพได ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั กกกกกกกก1. อธบิ ายปญ หา สาเหตชุ องการเกดิ อุบตั ิเหตุ อบุ ตั ภิ ัยและภยั ธรรมชาติ กกกกกกกก2. วเิ คราะหพ ฤติกรรมเลี่ยงที่จะนําไปสูความไมปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยส นิ กกกกกกกก3. บอกเทคนคิ วธิ ีการขอความชวยเหลือและการเอาชีวิตรอด เมื่อเผชิญอันตราย และ สถานการณค บั ขันได กกกกกกกก4. อธิบายวิธีการปฐมพยาบาลเม่ือไดรับอันตรายจากอุบัติเหตุ อุบัติภัยได อยา งถกู ตอง ขอบขายเน้อื หา กกกกกกกกเรื่องที่ 1 ปญ หา สาเหตุของการเกิดอบุ ตั ิเหตุ อบุ ตั ภิ ัย และภยั ธรรมชาติ กกกกกกกกเร่ืองท่ี 2 การปอ งกันอันตรายและหลกี เล่ยี งพฤติกรรมเสย่ี งที่จะนําไปสคู วาม ไมป ลอดภยั จากอบุ ตั ิเหตุ อุบัตภิ ัย และภัยธรรมชาติ กกกกกกกกเรือ่ งที่ 3 เทคนิค วธิ กี ารขอความชวยเหลอื และการเอาชวี ติ รอด เมอื่ เผชญิ อนั ตราย และสถานการณค บั ขัน กกกกกกกกเรอ่ื งที่ 4 การปฐมพยาบาลเมือ่ ไดร ับอนั ตรายจากอุบัติเหตุ อบุ ตั ิภัย จากภยั ธรรมชาติ

82 เร่ืองท่ี 1 ปญ หา สาเหตขุ องการเกิดอบุ ตั เิ หตุ อบุ ตั ิภยั และภยั ธรรมชาติ กกกกกกกกสาเหตุทท่ี าํ ใหเ กิดอบุ ตั เิ หตแุ ละอบุ ตั ภิ ยั กกกกกกกกอุบัติเหตุหรืออุบัติภัย (Accident) หมายถึง เหตุการณอันตรายที่เกิดข้ึนโดยไมได ตง้ั ใจ หรือคาดคิดมากอน ทาํ ใหเกดิ ความเสียหายแกท รัพยสิน บุคคลไดรับอันตรายทั้งรางกาย และจติ ใจ อาจบาดเจ็บ พกิ าร หรอื รนุ แรงถึงข้นั เสียชวี ติ ได การเกดิ อุบัตเิ หตหุ รอื อุบตั ิภยั ในชวี ิตประจําวนั อาจเกดิ ขึ้นไดจ ากสาเหตุ ดังนี้ 1. สาเหตุที่เกิดจากบุคคล คนอาจเปนสาเหตุทําใหเกิดอุบัติเหตุหรืออุบัติภัย ในลักษณะตา ง ๆ ดังนี้ 1.1. สภาพรางกายและจิตใจไมอยูในภาวะปกติ ผูที่รางกายทรุดโทรม เชน ออ นเพลยี เหนด็ เหนื่อย เจบ็ ปวย หรือผทู มี่ นึ เมาจากการดม่ื สุราหรือยากระตนุ ประสาท เปนตน จะมผี ลทําใหค วบคุมสติของตนเองไดไ มด ี จะมโี อกาสเกดิ อุบตั เิ หตุ อบุ ัตภิ ัยไดงา ย 1.2. เกิดจากคนขาดความรูและความชํานาญหรือประสบการณ ผูท่ีใช เครื่องจักรเคร่อื งยนตในขณะทาํ งานนน้ั ถา หากขาดความรูความชํานาญหรือมีประสบการณไม เพียงพอจะเปนเหตใุ หเกดิ อุบตั ิเหตุ อบุ ตั ิภัยไดง า ย 1.3. เกดิ จากคนมคี วามประมาท คนสวนใหญม นี สิ ัยรักความสะดวกสบาย หาก อันตราย ยังไมเกิดข้ึนมักจะคิดวา \"ไมเปนไร\" และบางคนมีนิสัยชอบความเส่ียง เชน ชอบ เผอเรอ สะเพรา ขาดความรอบคอบ เหลานี้เปนเหตใุ หเกดิ อุบตั เิ หตุ อุบตั ภิ ัยได 1.4. เกิดจากคนไมปฏิบัติตามคําเตือน กฎ ระเบียบ ขอบังคับ คนบางคน ไมเห็นความสําคัญของกฎระเบียบ ขอบังคับหรือคําเตือนตางๆ มักจะเปนเหตุใหเกิด อุบตั เิ หตุ อบุ ัติภัยได 1.5. เกิดจากคนมีความรูเทาไมถึงการณ มักเน่ืองมาจากการคาดคะเนผิด โดยไมร วู า อะไรเกดิ ขนึ้ จะเปน เหตใุ หเ กิดอบุ ตั เิ หตุ อุบตั ภิ ยั ได 1.6. เกิดจากความเช่ือในทางท่ีผิด บางคนเช่ือวาอุบัติเหตุ อุบัติภัย เกิดขึ้น เพราะโชคชะตาหรอื เคราะหก รรมไมสามารถจะหลกี เลี่ยงได ทําใหขาดความระมัดระวังจนเปน เหตุใหเกดิ อุบตั ิเหตุ อบุ ัติภยั ได

83 กกกกกกกก2. สาเหตุที่เกิดจากเครื่องจักรและอุปกรณหรือยานพาหนะในการทํางาน มหี ลายกรณี ดงั นี้ 2.1. เคร่ืองมือและวัสดุอุปกรณหรือยานพาหนะชํารุด เชน ดามมีด ดามคอน หรือดา มจอบไมแนน ลวดสลิงของเครอ่ื งจักรสกึ หรอเกอื บจะขาด สายไฟฟาเกาและฉนวนที่หุม เปอยยุย เปนตน 2.2. การใชเ คร่ืองมอื ผิดประเภท เชน ใชมดี กรรไกรหรอื ตะไบไปงัดเหล็ก ทําใหหักเปราะกระเด็นถูกบุคคลอื่นได การใชจอบแทนคอน การใชสายไฟฟาท่ีมีขนาดเล็ก ไมเหมาะสมกับกระแสไฟฟา ทม่ี วี ตั ตม ากเกนิ กาํ ลังท่จี ะทําใหเ กิดความรอ นลกุ ไหมขน้ึ ได 2.3. การใชเคร่ืองจักรโดยที่ไมมีอุปกรณปองกันอันตราย เชน การเช่ือมเหล็ก โดยไมใ สห นากากปองกัน การใชเครื่องลบั มดี ทีไ่ มม ีฝาครอบปอ งกนั เศษวัสดุ เปน ตน 2.4. สภาพของงานท่ไี มปลอดภยั 1) มีสภาพไมเ รียบรอย เชน ขรุขระ แหลมคม ลืน่ รกรุงรัง ฯลฯ 2) แสงสวา งไมเ พียงพอ 3) การระบายอากาศไมดพี อ 4) ใชเ ครอื่ งจักรที่มรี ปู รา งลกั ษณะไมป ลอดภยั 5) เคร่อื งแตงกายไมเ หมาะสมกับลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติอยู 2.5 การปฏบิ ัติงานทไี่ มปลอดภยั 1) ปฏบิ ตั ิงานโดยไมไ ดร ับอนุญาตหรอื ไมใ ชห นาที่ 2) การยกของข้นึ ลงโดยวิธที ่ไี มป ลอดภัย 3) หยอกลอเลนกันในระหวางทํางาน หรือไมมีใจจดจอตองานที่กําลัง ปฏบิ ัติ กกกกกกกก3. สาเหตุจากสภาพแวดลอ ม 3.1 สภาพแวดลอมในบานและบริเวณบาน ท่ีกอใหเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัย ไดม ากท่สี ุด ไดแก หอ งครัว หองนา้ํ บรเิ วณบนั ได เปนตน 3.2 สภาพแวดลอมในโรงงานหรือสถานทีท่ ํางาน ดังน้ี 1) บริเวณภายนอกโรงงาน ควรจดั ใหเปน ระเบียบไมเ กะกะ 2) การจราจรในโรงงาน ควรกําหนดเสนทางเขา-ออกใหช ัดเจน

84 3) ความไมเปนระเบียบเรียบรอยในโรงงาน เชน วางน้ํามันเชื้อเพลิงหรือ วัสดอุ ุปกรณทีแ่ หลมคมไวเกะกะทางเดนิ อาจทําใหเกิดการหกลม ลืน่ หรอื บาดเทา ได เปนตน 4) แสงสวา งบริเวณโรงงานหรอื สาํ นักงาน มแี สงสวา งไมเ พยี งพอ 5) ฝุนละออง จะเปน อนั ตรายตอ ปอดและระบบทางเดนิ หายใจ เรือ่ งท่ี 2 การปองกนั อนั ตราย และหลีกเลีย่ งพฤตกิ รรมเส่ยี งทจ่ี ะนําไปสคู วามไมป ลอดภยั จากอบุ ตั เิ หตุ อบุ ตั ภิ ัย และภยั ธรรมชาติ 2.1. อุบัตเิ หตุในบา น อบุ ัตเิ หตุในบาน เปนภัยทเี่ กิดจากการกระทําที่ประมาทของสมาชิกในบานหรือ เกิดจากสภาพบานและบรเิ วณบานทีอ่ าจกอ ใหเ กิดอนั ตรายได อุบตั เิ หตุในบา นนน้ั เกิดจากสาเหตหุ ลายประการ ดังนี้ 1) พลดั ตกจากบนั ไดหรอื ที่สงู 2) เลนกบั ไฟ นํา้ รอ นลวก ไฟไหม จดุ ธูปเทียนทิง้ ไว 3) จมนาํ้ ในสระนํ้าหรอื ในแมนา้ํ ลําคลองใกลบ าน 4) ถกู ของมีคมทม่ิ แทงหรอื บาดมอื 5) กินยาผดิ ดมหรือกนิ สารเคมี ขอควรปฏบิ ัติในการปองกันอบุ ัตเิ หตใุ นบาน 1) ไมว ่ิงเลนขณะขึ้นหรือลงบันได 2) ใชอ ปุ กรณแ ละเคร่ืองมือ เครือ่ งใชอยางระมดั ระวัง และเก็บไวในท่ีปลอดภัย 3) ไมจ ุดไมข ดี ไฟเลน และดับไฟทกุ คร้งั หลังใชง านเสรจ็ แลว 4) ถอดปล๊กั เครอื่ งใชไ ฟฟา ทกุ ครงั้ เมื่อใชเสร็จแลว 5) ไมว ิ่งเลน ในบรเิ วณทมี่ หี ญาขน้ึ รก เพราะอาจถกู สัตวมพี ิษกดั ตอ ยได 6) ไมค วรหยิบยากนิ เอง ควรใหผ ูใหญหยิบยามาให 7) ไมปนตนไมหรอื ท่ีสงู เพราะอาจพลัดตกลงมาได 8) ไมท ้ิงเศษกระเบื้องหรือของมคี มไวตามทาง เพราะอาจถูกบาดเทา ได 9) เมอ่ื พบส่งิ ของในบา นชาํ รุด ควรแจง ใหพอ แมทราบทันที 10) ถา บา นอยใู กลแ มน ํา้ ลําคลองควรฝก วา ยนา้ํ ใหเ ปน

85 2.2. อุบัตเิ หตุในโรงเรียน อุบัติเหตใุ นโรงเรียน อาจเกิดข้ึนจากความประมาทและความคึกคะนองของตัว นกั เรยี นเอง หรือเกดิ จากสภาพแวดลอมของโรงเรยี น เชน โตะและเกาอี้ชํารุด อาคารเรียนทรุด โทรม สนามของโรงเรยี นมีหญา ขึน้ รก เปน ตน ดังนัน้ เราจึงควรเรียนรขู อ ควรปองกันตนเองจาก การเกิดอุบตั เิ หตใุ นโรงเรยี น ขอ ควรปฏบิ ตั ใิ นการปอ งกันอบุ ตั ิเหตุในโรงเรยี น 1) ไมเลน รนุ แรงกับเพอ่ื น 2) ปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบียบของโรงเรียน เชน ไมหอยโหนประตูหรือหนา ตา ง 3) เก็บเครอ่ื งมือหรอื อุปกรณท ี่ใชเ สร็จแลวใหเ รียบรอย 4) ถาหากพบอปุ กรณหรือเครือ่ งมอื เครื่องใชชาํ รดุ ตองรีบแจง ใหค รทู ราบทันที 2.3. อุบัตเิ หตใุ นการเดินทาง อุบัติเหตุในการเดินทาง เปนอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนได จากการเดินถนนเดินทาง โดยรถยนต หรอื เดนิ ทางทางน้ํา อุบัติเหตุในการเดินทางอาจทําใหเราเสียชีวิตได ดังนั้น เราจึง ควรรขู อควรปฏิบตั ิในการปอ งกันอุบัติเหตจุ ากการเดินทาง ดังนี้ 1) ขา มถนนตรงทางขาม เชน ทางมาลาย สะพานลอย ทางขามท่ีมีสัญญาณไฟ จราจร 2) กอนขา มถนนควรมองขวา มองซา ย และมองขวาอกี คร้งั จึงขา มถนน 3) ควรเดนิ บนทางเทา ไมว ่งิ หรอื เลน กนั ขณะเดินถนน 4) ใสเสือ้ ผา สสี วางในขณะเดินทางตามถนนในตอนกลางคนื 5) ไมค วรแยงกันขนึ้ รถประจําทาง 6) ไมหอ ยโหนอยูท ่ปี ระตรู ถโดยสารประจําทาง 7) รอขนึ้ หรอื ลงเรือเมอ่ื จอดเทียบทาหรอื ริมฝงเรียบรอ ยแลว 8) ปฏิบตั ติ ามกฎ หรือระเบียบของการนัง่ เรือ เชน ไมนง่ั บนกราบเรือ ความเสยี่ งทจี่ ะนําไปสคู วามไมปลอดภัยตอชีวติ และทรัพยส นิ ภัยท่ีไมค าดคิดอาจจะเกดิ ข้นึ กับตนเองและครอบครวั ที่ควรศกึ ษา ดังนี้ 1) ไมค วรใสข องมีคาไปในทีช่ ุมชน อาจถกู จ้ี หรอื กระชากว่งิ ราวได 2) ถามีคนแปลกหนามาขอเขาบานอยาไวใจ ตองพิจารณาดูใหดีอาจเปนพวก มิจฉาชพี ได

86 3) ถึงแมจะมีคนอยูบาน ก็ควรปดประตูร้ัว ประตูบาน ซ่ึงเปนประตูเหล็กดัด เปดไวเฉพาะหนาตา งประตไู ม อยาเปด โลง เพราะมิจฉาชพี อาจเขามาลักขโมย หรือจ้ีปลน ได 4) ไมควรใชกระเปาถือในท่ีชุมชน ควรใชกระเปาสะพายจะดีกวา เพราะกระเปาถือจะถูกฉกชงิ วิง่ ราวไดงาย 5) ไมค วรเดินไปในทเ่ี ปลี่ยวตามลําพัง โดยเฉพาะผูหญิงควรมีเพอ่ื นไปดวย 6) การเดินขามสะพานลอยท่ีมีหลังคา มีแผนปายติดดานขาง ดูมืดทึบ ตอ งระวงั โจรสะพานลอย 7) ผูหญิงไมควรแตงกายโปหรือโชวสัดสวนมากเกินไป เพราะจะเปนการยั่วยุ อารมณทางเพศของผูชายได อาจถูกพวกบากาม ขาดความยั้งคิด ขมขืนไดถาอยูในสถานท่ี เปลย่ี ว 8) อยาหลงเช่ือคนท่ีติดตอคุยกันทางอินเทอรเน็ต เพราะถือวาเปนคนแปลก หนา อาจนําไปสูการลอลวง เรือ่ งที่ 3 เทคนคิ วิธกี ารขอความชวยเหลือและการเอาชวี ิตรอดเม่ือเผชิญอันตรายและ สถานการณค บั ขนั 3.1. วิธีการขอความชวยเหลือและการเอาชีวิตรอดเมื่อเผชิญอันตรายและ สถานการณคบั ขัน เมอื่ อยใู นสถานการณท ่ีอาจเปนอนั ตรายตอ ชวี ิตและความปลอดภยั ควรคํานึงถึงข้ันตอนการส่ือสารเพื่อขอความชวยเหลือดวย เพราะในบางครั้งเราจะชวยเหลือ ตัวเองไมไดแลว คอื 1) การโทรศัพทขอความชว ยเหลือ 2) การตะโกนรอ งขอความชว ยเหลอื 3) การเขียนจดหมายขอความชวยเหลอื 4) การแกป ญหาเฉพาะหนา

87 3.2. แหลงขอความชวยเหลอื และใหค าํ ปรกึ ษา ปจ จุบนั มีแหลงขอความชวยเหลอื และใหคาํ ปรึกษามากมายทั้งหนว ยงานของรัฐ และเอกชน พอจะยกเปน ตัวอยา งไดด ังน้ี 1) เหตดุ ว นเหตรุ าย กดหมายเลข 191 2) กองปราบปราม กดหมายเลข 195 3) ตํารวจทอ งเทีย่ ว กดหมายเลข 1155 4) ตํารวจทางหลวง กดหมายเลข 1193 5) สถานีวิทยุ สวพ.91 กดหมายเลข 1644 6) สถานีวิทยชุ ุมชนรวมดว ยชวยกนั กดหมายเลข 1677 หรอื 142 7) สถานีวิทยุ จส.100 กดหมายเลข 1137 8) ศูนยนเรนทรเพื่อใหมารบั ผปู ว ยฉุกเฉิน กดหมายเลข 1669 9) สายดว น กรมสขุ ภาพจิต กดหมายเลข 1323 10) เพลงิ ไหม กดหมายเลข 199 11) หนว ยกชู พี วชิรพยาบาล กดหมายเลข 1554 3.3. การตดั สินใจและปฏบิ ัตติ นในการแกปญหาเมอื่ เผชญิ กับภยั อันตราย เม่อื เผชญิ กบั ภยั อนั ตรายตองควบคมุ สติใหด ี แลว จะหาทางแกปญหาได โดยขอ เสนอแนะไวด ังนี้ 1) ถาเกดิ ภยั อันตรายเปน หมคู ณะ หากตนเองอยูในสถานะพอจะชวยผูอ่ืนไดให ชวยเหลือทันที 2) รองขอความชวยเหลือจากผูอยูใกลเคียง ไมตองอายและไมตองเกรงใจ บคุ คลทจ่ี ะมาชว ยเหลอื 3) บอกเรอื่ งราวใหผ ูท ีม่ าชวยเหลือทราบ พดู ส้ันๆ พอไดใ จความ 4) ถาตนเองหรือคนอ่ืนๆ ไดรับบาดเจ็บ ถาพอจะปฐมพยาบาลได ใหปฐมพยาบาลโดยเร็ว 5) สังเกตและจดจาํ รูปพรรณ ลักษณะเดน ๆ ของคนรา ย หรือเหตกุ ารณ ที่เกิดขึ้น เพอ่ื แจงแกเจาหนา ท่ีตาํ รวจเมอ่ื ไปแจง ความ

88 3.4. การเอาชีวติ รอดเมือ่ เผชิญอันตรายและสถานการณคับขัน ในสังคมปจจุบันน้ี มีสถานการณท่ีอาจเปนอันตรายตอชีวิตและความปลอดภัย ของคนเรามากมาย ตวั อยางดงั น้ี 1) การถูกคนรา ยจห้ี รอื ปลน มกั เกิดข้ึนในท่ีเปล่ียว ควรต้ังสติใหม่ัน พยายาม จดจําลกั ษณะรูปรา ง หนาตา บคุ ลิก ลกั ษณะ สวนสงู อายุ นาํ้ เสยี ง เพอ่ื แจง แกตาํ รวจ 2) การถกู คนรา ยจี้บงั คับขมขนื มกั เกิดในท่เี ปลีย่ วในยามวกิ าล ตอนดึกหรือเชา มดื ควรต้งั สตใิ หม น่ั พยายามจดจํารปู พรรณของคนราย เพือ่ แจง เจา หนาทตี่ าํ รวจ 3) การอยทู า มกลางคนทะเลาะวิวาทหรือยกพวกตีกัน อาจเกิดในงานเล้ียงที่มี คนดืม่ สุราจนมนึ เมา การดูคอนเสิรต 4) การถูกหาเร่ือง มักเกิดจากนักเรียน นักศึกษาตางสถาบันหรือวัยรุนท่ีชอบ เที่ยว เมื่อถูกหาเรื่องใหพยายามพูดกับคนรายดีๆ อยาโตเถียงใหคนรายโกรธ และพยายามตี จากกลมุ คนรายใหเ ร็ว ในกรณีท่ีคดิ วาตองถกู ทํารายใหวงิ่ หนเี ขา หาฝูงชน 5) การถูกสุนัขไลกัด ใหอยูน่ิงๆ ใชของในมือปองกันตัว หรือรองขอความ ชว ยเหลอื 6) รถชนกันหรอื ถกู รถชน ใหพยายามชวยตัวเอง เพือ่ ออกจากสถานการณนน้ั 7) เรือลมขณะโดยสารเรือ ถา วา ยนํา้ ไมเปน ควรใสเ สอื้ ชูชีพเตรยี มไว 8) เมื่อเกิดไฟไหม ควรหนีออกจากที่น่ันโดยเร็ว ใหหวงชีวิตมากกวาหวง ทรัพยสิน 9) เมื่อเกิดอุทกภัย ใหรีบหนีไปหาสถานที่สูงท่ีคิดวาปลอดภัย เชน ภูเขา อาคารสูง เปนตน เรื่องที่ 4 การปฐมพยาบาล เมอื่ ไดร ับอนั ตรายจากอบุ ัติเหตุ อบุ ตั ิภัย จากภยั ธรรมชาติ การปฐมพยาบาล คอื การใหก ารชว ยเหลือเบอื้ งตนตอผปู ระสบอนั ตราย หรือ เจ็บปว ย ณ สถานทเ่ี กิดเหตุกอ นท่ีจะถึงมือแพทย หรือโรงพยาบาล เพื่อปอ งกนั มใิ หเ กิด อันตรายแกชีวติ หรือเกิดความพิการโดยไมส มควร

89 4.1. วตั ถุประสงคของการปฐมพยาบาล 1) เพ่ือใหมชี ีวิตอยู 2) เพื่อไมใ หไดร บั อันตรายเพม่ิ ข้ึน 3) เพ่อื ใหก ลับคืนสสู ภาพเดิมไดโ ดยเรว็ 4.2. หลกั ท่วั ไปในการปฐมพยาบาล 1) อยา ตนื่ เตนตกใจ และอยาใหค นมุง เพราะจะแยงผูบาดเจ็บหายใจ 2) ตรวจดูวาผบู าดเจ็บยังรสู กึ ตัวหรอื หมดสติ 3) อยากรอกยาหรอื น้ําใหแกผูบาดเจ็บในขณะท่ีไมร สู ึกตวั 4) รีบใหก ารปฐมพยาบาลตอ การบาดเจบ็ ท่อี าจทาํ ใหเ กิดอันตรายถึงแกชีวิต โดยเรว็ กอน สวนการบาดเจ็บอ่ืน ๆ ที่ไมรนุ แรงมากใหดําเนินการปฐมพยาบาลในลําดับถัดมา 4.3. การบาดเจบ็ ทตี่ องไดร ับการชวยเหลอื โดยเร็ว คือ 1) การขาดอากาศหายใจ 2) การตกเลือด และมีอาการชอ็ ก 3) การสัมผสั หรอื ไดร บั ส่งิ มีพิษที่รุนแรง 4.4. การปฐมพยาบาลเมือ่ เกิดอาการบาดเจ็บ 1) ขอ เคลด็ สาเหตุ เกดิ จากการฉีกขาด หรือการยดึ ตัวของเนื้อเย่อื กลามเนื้อ หรือเสนเอ็นรอบ ขอ ตอ อาการ (1) เวลาเคลอ่ื นไหวจะรสู ึกปวดบริเวณขอตอท่ไี ดร ับอนั ตราย (2) บวมแดงบรเิ วณรอบ ๆ ขอ ตอ การปฐมพยาบาล (1) อยา ใหขอตอบรเิ วณที่เจบ็ เคลอ่ื นไหว (2) อยาใหของหนกั กดทับบริเวณขอท่ีเจ็บ (3) ควรประคบดว ยความเยน็ ไวก อ น (4) ถา มอี าการปวดรนุ แรง ใหรบี นําไปพบแพทย

90 2) ขดั ยอก สาเหตุ เกิดจากการทก่ี ลา มเน้อื ยึดตัวมากเกนิ ไป ซ่ึงเกิดขนึ้ เพราะการเคลอื่ นไหว อยา งรุนแรงและรวดเร็วมากเกนิ ไป อาการ เจ็บปวดบรเิ วณท่ีไดรับบาดเจ็บ ตอ มามอี าการบวม การปฐมพยาบาล (1) ใหผ บู าดเจบ็ น่ัง หรอื นอนในทา ทีส่ บาย และปลอดภัย (2) ถา ปวดมากอาจบรรเทาอาการโดยการประคบความเยน็ กอน แลวตอ ดวยประคบ ความรอ น 3) สารเคมีเขาตา สาเหตุ กรด หรือดา งเขา ตา อาการ ระคายเคอื งตา เจ็บปวดและแสบตามาก การปฐมพยาบาล (1) ใหลา งตาดวยนาํ้ ทสี่ ะอาดโดยวธิ ีการใหน้าํ ไหลผานลกู ตา จนกวาสารเคมีจะออกมา (2) ใชผ า ปดแผลทีส่ ะอาดปดตาหลวม ๆ แลวนําผูบ าดเจบ็ ไปพบแพทยโดยเรว็ ท่สี ดุ 4) ไฟไหมหรอื นา้ํ รอ นลวก สาเหตุ บาดแผลอาจจะเกดิ จากถกู ไฟโดยตรง ประกายไฟ ไฟฟา วตั ถทุ ่รี อ นจัด นา้ํ เดอื ด สารเคมี เชน กรด หรอื ดางทมี่ ีความเขม ขน อาการ แบง เปน 3 ลักษณะ (1) ลกั ษณะท่ี 1 ผวิ หนงั แดง (2) ลักษณะท่ี 2 เกดิ แผลพอง (3) ลักษณะที่ 3 ทําลายชนั้ ผวิ หนงั เขา ไปเปนอนั ตรายถงึ เนือ้ เยอื่ ทอ่ี ยูใ ตผ ิวหนัง บางคร้งั ผูบ าดเจบ็ จะมีอาการช็อก การปฐมพยาบาล บาดแผลในลกั ษณะท่ี 1 และ 2 ซ่ึงไมสาหสั ใหปฐมพยาบาล ดงั นี้ (1) ประคบดว ยความเย็นทันที (2) ใชนํ้ามนั ทาแผลได และปดแผลดวยผาทีส่ ะอาด ใชผ าพันแผลพันแตอยาให แนน มาก

91 บาดแผลในลกั ษณะท่ี 3 ใหปฐมพยาบาล ดังนี้ (1) ถาผูบ าดเจ็บมีอาการชอ็ ก รีบใหการปฐมพยาบาลอาการชอ็ กกอน (2) หามดึงเศษผา ท่ถี กู ไฟไหมซง่ึ ติดอยูกับรา งกายออก (3) นาํ ผูบาดเจ็บสงโรงพยาบาลโดยเรว็ ที่สุดเทาทจ่ี ะทาํ ได 5) การหามเลอื ดเมือ่ เกดิ อนั ตรายจากของมคี ม วธิ หี ามเลือดมีหลายวธิ ี ไดแ ก 1. การกดดวยนิว้ มอื มีวิธีปฏิบัตดิ งั น้ี 1.1. ในกรณีที่บาดแผลเลือดออกไมมาก จะหามเลือดโดยใชผาสะอาดปดที่บาดแผล แลวพันใหแ นน ถา ยงั มีเลือดไหลซึม ใหใ ชน ว้ิ มอื กดตรงบาดแผลดวยก็ได 1.2. ในกรณีทเ่ี สนโลหติ แดงใหญข าด หรือไดรบั อันตรายอยางรุนแรงเปนบาดแผลใหญ ควรใชนวิ้ มือกดเพื่อหามเลือดไมใหไหลออกมา และใหกดลงบริเวณระหวางบาดแผลกับหัวใจ เชน 1) เลือดไหลออกจากหนังศีรษะและสวนบนของศีรษะ ใหกดที่เสนเลือดบริเวณ ขมับดา นท่มี ีบาดแผล 2) เลอื ดไหลออกจากใบหนา ใหก ดทเ่ี สนเลือดใตขากรรไกรลางดา นทม่ี ี บาดแผลหา งจากมุมขากรรไกรไปขา งหนาประมาณ 1 นิ้ว 3) เลือดไหลออกมาจากคอ ใหกดลงไปบริเวณตนคอขาง ๆ หลอดลมดานที่มี บาดแผล แตการกดตําแหนง นีน้ านๆ อาจจะทาํ ใหผถู ูกกดหมดสตไิ ด ฉะนั้นควรใชวิธีนี้ตอเมื่อใช วธิ ีอนื่ ๆ ไมไ ดผลแลวเทานน้ั 4) เลือดไหลออกมาจากแขนทอนบน ใหกดลงไปท่ีไหปลาราตอนบนสุดใกล หัวไหลของแขนดา นท่ีมบี าดแผล 5) เลอื ดไหลออกมาจากแขนทอนลาง ใหกดที่เสนเลือดบริเวณแขนทอนบนดาน ในกึ่งกลางระหวา งหัวไหลกบั ขอ ศอก 6) เลือดออกท่ีขา ใหกดเสนเลือดบรเิ วณขาหนีบดานที่มีบาดแผล 2. การใชสายรดั หา มเลือด ในกรณที ่ีเลอื ดไหลออกจากเสน โลหิตแดงทแี่ ขนหรอื ขา ใชนว้ิ มือกดแลว เลอื ด ไมห ยดุ ควรใชส ายสําหรับหา มเลือดโดยเฉพาะ 2.1. สายรัดสาํ หรบั แขน ใหใชร ดั เสนโลหติ ท่ตี นแขน สายรัดสําหรับขาใหใชรัดเสน โลหิตทโี่ คนขา

92 2.2. อยาใชสายรัดผูกรัดใหแนนเกินไป และควรจะคลายออกเปนเวลา 3 วินาที ทกุ ๆ 10 นาที จนกวาเลือดจะหยดุ 2.3. ถาไมมีสายรัดแบบมาตรฐาน อาจใชวัตถุท่ีแบน ๆ เชน เข็มขัด หนังรัด ผาเช็ดตัว เนคไท หรือเศษผา ทําเปนสายรัดได แตอยาใชเชือกเสนลวด หรือดายทําเปน สายรดั เพราะอาจจะบาดหรือเปน อันตรายแกผวิ หนงั บริเวณที่ผกู ได 3. การยกบริเวณท่ีมีบาดแผลใหสูงกวาหัวใจ ในกรณีที่มีบาดแผลเลือดออกท่ีเทา จดั ใหผ ูบาดเจ็บนอนลงแลว ยกเทาข้ึน กกกกกกกกการปฐมพยาบาล หนา มดื เปน ลม หนามดื เปน ลม เปนสภาวะทอ่ี าจเกดิ จากสาเหตทุ ่ไี มรา ยแรง หรอื จากสาเหตุ ท่รี า ยแรงก็เปนได ดังน้ันผูท่ีอยใู กลชิดควรจะตอ งทราบและเรยี นรทู ีจ่ ะชวยเหลือผทู ่มี อี าการ หนามืดเปนลมนั้นๆ ไดทันทวงที มีอาการหมดสติไปชวั่ ขณะประมาณ 1-2 นาที ภายหลงั หนามืดเปนลมแลวรสู ึกตวั ดขี นึ้ ในเวลาตอ มา สว นใหญแสดงวาไมนา จะมอี ะไรรายแรง เชน พวกทีย่ ืนกลางแดดเปน เวลานานอาจเสยี เหงอื่ มากทาํ ใหมีอาการเปนลมแดดได แตห ากวาหมดสตไิ ปนานกวาน้ีควรพา คนไขไ ปพบแพทยจะเปนวธิ ที ี่ดีท่สี ุด การปฐมพยาบาล 1. ควรใหคนไขนอนราบลงพื้นยกปลายขาสงู เพื่อใหเลอื ดไหลไปเลย้ี งสมอง 2. คลายเส้อื ผา ใหห ลวม 3. อยใู นท่อี ากาศถายเท 4. ดมแอมโมเนียหรอื ยาหมอง (ถามี) การปฐมพยาบาล ตะคริว ตะคริว คือ ภาวะทกี่ ลามเนื้อหดเกรง็ เองโดยท่ีเราไมไดสัง่ ใหเกร็งหรือหดตวั โดยที่ เราไมส ามารถควบคุมใหก ลามเนื้อมดั น้ัน ๆ คลายตวั หรอื หยอนลงไดกวา จะหาย คนที่เปน ตะคริวก็จะมคี วามเจบ็ ปวดคอนขางมาก สาเหตุของตะครวิ อาจเกิดความลา กลา มเน้อื จากการใชงานติดตอ เปนเวลานาน หรอื อาจเกดิ จากการกระแทก ทําใหเกดิ การฟกชํา้ ตอกลา มเนอ้ื หรอื บางทา นเชอ่ื วา อาจเกดิ จาก ภาวะไมส มดุลของเกลือแรในรางกาย กลา มเน้อื ท่ีพบวา เปน ตะคริวไดบอย คอื กลา มเนอ้ื นอง กลา มเน้ือตนขาทัง้ ดานหนา และดานหลัง และกลามเนื้อหลงั

93 การปฐมพยาบาล 1. ยืดกลา มเนือ้ ออกตามความยาวปกติของกลา มเนื้อใชเ วลาประมาณ 1-2 นาที ปลอยมือดอู าการวา กลา มเนอ้ื นน้ั ยงั เกรง็ อยหู รอื ไม ถา ยังมอี ยูใหทาํ ซํา้ อกี จนไมมีการ เกร็งตัว 2. เกดิ ตะครวิ ที่นอง รบี เหยยี ดเขาใหต รง กระดกปลายเทา ขึ้นทําเองหรือใหคนที่ อยูใกลๆ ชว ยก็ได ถาทาํ เองกม เอามือดึงปลายเทา เขาหาตัว 1-2 นาที


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook