1
2 เอกสารสรปุ เน้อื หาทต่ี องรู รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน รหัส ทช21001 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาํ นักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร หามจําหนาย หนงั สอื เรียนนีจ้ ดั พมิ พดวยเงนิ งบประมาณแผนดินเพ่อื การศกึ ษาตลอดชีวติ สําหรบั ประชาชน ลขิ สทิ ธเิ์ ปนของสํานกั งาน กศน.สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
4 สารบัญ หนา คํานาํ คาํ แนะนาํ การใชเ อกสารสรปุ เนอ้ื หาทต่ี อ งรู บทที่ 1 ความเปน มา ความหมาย หลักการแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1 เร่อื งท่ี 1 แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1 เรื่องที่ 2 ความหมาย และหลักการของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 7 บทท่ี 2 การประกอบอาชพี อยางพอเพียง 15 เรื่องที่ 1 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การจดั การทรัพยากรที่มีอยู ของตนเอง ครอบครวั ชุมชน 15 เรอ่ื งที่ 2 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการประกอบอาชพี 17 บทที่ 3 การวางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพยี ง 21 เรอื่ งที่ 1 การวางแผนการประกอบอาชีพ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 21 เรอ่ื งท่ี 2 โครงการและแผนงานประกอบอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 29 เร่อื งท่ี 3 การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปน ฐาน ในการประกอบอาชีพ 35 เรื่องที่ 4 คุณธรรมในการประกอบอาชีพตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง 38 บทท่ี 4 สรางเครอื ขายดาํ เนนิ ชวี ิตแบบพอเพยี ง 43 เรื่องที่ 1 การสงเสรมิ เผยแพร ขยายผลงานการปฏบิ ตั ติ ามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งของบุคคล ชุมชน ท่ปี ระสบผลสําเรจ็ 43 เรื่องท่ี 2 การสรางเครอื ขายการประกอบอาชีพ การดาํ เนนิ ชีวติ และกระบวนการขบั เคลือ่ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 48 กิจกรรมทายเลม 64 บรรณานกุ รม 65 คณะผูจดั ทาํ 67
5 คําแนะนําการใชเอกสารสรปุ เนอื้ หาทต่ี องรู หนังสือเรยี นสรปุ เนื้อหารายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ทช 21001 ระดับมัธยมศกึ ษา ตอนตน เปนการสรปุ เน้ือหาจากหนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิตทีจ่ ัดทาํ ขึ้น สาํ หรับ ผเู รยี นที่เปนนักศกึ ษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสอื สรุปเน้อื หา รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ผเู รยี นควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรา งรายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง สาระทักษะการดําเนนิ ชีวติ ทช 21001 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2554) ใหเขาใจกอ น 2. ศึกษารายละเอียดเน้อื หาของแตละบทอยา งเพือ่ ความเขาใจอยา งชัดเจนจนครบ 4 บท 3. หากตอ งการศกึ ษารายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ จากตาํ รา หนังสอื เรียนท่มี ีอยูตามหอ งสมุดหรอื รานจาํ หนายหนงั สือเรยี นหรือครผู สู อน
1 บทที่ 1 ความเปน มา ความหมาย หลักการแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เร่อื งที่ 1 แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงความเปน มาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรชั ญาทช่ี ้แี นวทางการดาํ รงอยูและปฏิบตั ิตน ท่ีพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดํารัสแกพสกนิกรชาวไทยมาต้ังแตป พ.ศ. 2517 มีใจความวา “...การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับขั้น ตองสรางพื้นฐาน คือ ความ พอมีพอกิน พอใช ของประชาชนสวนใหญเปนเบ้ืองตนกอนโดยใชวิธีการและใชอุปกรณ ที่ประหยัด แตถูกตองตามหลักวิชา เม่ือไดพ้ืนฐานมั่นคงพรอมพอควร และปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรา งคอยเสริม ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจข้ันท่ีสูงขึ้นโดยลําดับตอไป...” และนับ จากน้ันเปนตน มาพระองคไ ดทรงเนนย้าํ ถึงแนวทางการพัฒนาหลักแนวคิดพ่ึงตนเองเพ่ือใหเกิด ความพอมี พอกิน พอใชของคนสวนใหญ โดยใชหลักความพอประมาณ การคํานึงถึงความมี เหตผุ ล การสรางภมู คิ มุ กันในตัวท่ีดี ตลอดจนทรงเตือนสติปวงชนชาวไทยไมใหประมาท มีความ ตระหนักถึงการพัฒนาอยางเปนข้ันเปนตอนท่ีถูกตองตามหลักวิชา และการมีคุณธรรมเปน กรอบในการปฏบิ ตั แิ ละการดํารงชีวติ ในป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ นับวาเปนบทเรียนของ การพัฒนาท่ีไมสมดุลและไมมีเสถียรภาพ ซึ่งสงผลกระทบตอความเปนอยูของประชาชน สวนใหญ สวนหน่ึงเปนผลมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมท่ีไมไดคํานึงถึงระดับความ เหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ หรือความพรอมของคนและระบบและอีกสวนหน่ึงน้ัน การหวังพึ่งพิงจากตางประเทศมากเกินไปท้ังในดานความรู เงินลงทุน หรือตลาด โดยไมได เตรยี มสรางพื้นฐานภายในประเทศใหมีความม่ันคงและเขมแข็ง หรือสรางภูมิคุมกันที่ดีเพื่อให สามารถพรอมรับความเสี่ยงจากความผกผันเปล่ียนแปลงของปจจัยภายในและภายนอก บทเรียนจากการพัฒนาท่ีผานมานั้นทําใหประชาชนคนไทยทุกระดับในทุกภาคสวนของสังคม ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม นักวิชาการ หันกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาและการ ดําเนินชีวิตของคนในชาติ แลวมุงใหความสําคัญกับพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวในเร่ืองการพัฒนาและการดําเนินชีวิตแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษา คน ควาพฒั นาความรู ความเขา ใจเก่ียวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในเชิงกรอบแนวคิดทาง ทฤษฎีและใชเ ปน แนวในการนําไปประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจาํ วันมากขึ้น
2 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดเชิญผูทรงคุณวุฒิจาก หนว ยงานตางๆ มารว มกันพิจารณา กล่นั กรอง พระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัว ทไี่ ดพ ระราชทานแกปวงชนชาวไทยในโอกาสตางๆ ที่เก่ียวของกับเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงแลว สรปุ เปนนยิ ามความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และไดอัญเชิญเปนปรัชญานําทางใน การจัดทําแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) และฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) เพอื่ สง เสริมใหประชาชนทุกระดับและทุกภาคสวนของสังคมมีความ เขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนาํ ไปเปนพ้ืนฐานและแนวทางในการดําเนินชีวิต อันจะนาํ ไปสูการพฒั นาทสี่ มดลุ และย่งั ยนื ประชาชนมีความเปนอยรู มเย็นเปนสุข สังคมมีความ เขม แข็ง และประเทศชาติมคี วามม่นั คง หลักแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ไดพัฒนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเพ่อื ทจี่ ะใหพสกนกิ รชาวไทยไดเขา ถงึ ทางสายกลางของชีวติ และเพ่ือคงไวซ่ึงทฤษฎีของ การพัฒนาท่ีย่ังยืน ทฤษฎนี ้เี ปน พืน้ ฐานของการดํารงชีวิตซ่ึงอยูระหวางสังคมระดับทองถิ่นและ ตลาดระดบั สากล จุดเดน ของแนวปรัชญาน้ีคือแนวทางที่สมดุล โดยใชหลักธรรมชาติท่ีเปนเหตุ เปน ผลอยา งเชื่อมโยง พัฒนาใหทนั สมัย และกา วสูค วามเปนสากลได โดยปราศจากการตอตาน กระแสโลกาภวิ ัตน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญในชวงป พ.ศ. 2540 เมื่อปท่ีประเทศ ไทยตองการรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเพื่อท่ีจะยืนหยัดในการพ่ึงตนเอง และพัฒนานโยบายทส่ี าํ คญั เพื่อการฟน ฟเู ศรษฐกิจของประเทศ โดยการสรางแนวคิดเศรษฐกิจ ที่พึ่งตนเองได ซึ่งคนไทยจะสามารถเลี้ยงชีพโดยอยูบนพ้ืนฐานของความพอเพียงและการนํา แนวคิดดังกลาวมาใชก็ไดผานการทดลองในพระตําหนักสวนจิตรลดารโหฐานและโครงการ ในภมู ภิ าคตา ง ๆ หลายโครงการ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั มพี ระราชดํารวิ า มนั ไมไ ดมีความจาํ เปน ทเ่ี ราจะกลายเปน ประเทศอตุ สาหกรรมใหม (NIC) พระองคไดท รงอธบิ ายวา ความพอเพียงและการพ่ึงตนเอง คือ ทางสายกลางทีจ่ ะปอ งกันการเปล่ยี นแปลงความไมม น่ั คงของประเทศได และการดําเนินชีวิตตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียงเชื่อวาจะสามารถปรับเปล่ียนโครงสรางทางสังคมของชุมชนใหดีขึ้น โดยมีปจจัย 2 อยาง คอื
3 1. การผลิตจะตองมีความสมั พันธก ันระหวา งปรมิ าณผลผลิตและการบรโิ ภค 2. ชุมชนจะตองมีความสามารถในการจัดการทรพั ยากรของตนเองอยา งครบวงจร ผลที่เกดิ ข้ึน คือ 1. เศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถทจี่ ะคงไวซง่ึ ขนาดของประชากรท่ีไดสดั สวน 2. ใชเ ทคโนโลยไี ดอยา งเหมาะสม 3. รักษาความสมดุลของระบบนเิ วศ และปราศจากการแทรกแซงจากปจ จยั ภายนอก ปจจุบันแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดมีการนําไปใชเปนนโยบายของรัฐบาล และ ปรากฏในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (1) วา “การบริหาร ราชการแผนดินใหเปนไปเพ่ือการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจและความม่ันคงของประเทศอยางยั่งยืน โดยตองสงเสริมการดําเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และคํานึงถึงผลประโยชนของ ประเทศชาติในภาพรวมเปนสาํ คัญ” การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยูบนพ้ืนฐานทางสายกลาง และความไมป ระมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัว ทีด่ ตี ลอดจนใชความรู ความรอบคอบ และคณุ ธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการ กระทํา ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมหี ลักการพิจารณา 5 สว น ดังน้ี 1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงชีวิตและการปฏิบัติตนในทาง ที่ควรจะเปนโดยมีพ้ืนฐานจากวิถีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทยท่ีนําประยุกตใชไดตลอดเวลา และ เปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและ วกิ ฤติเพือ่ ความมั่นคงและความย่ังยืนของการพฒั นา 2. คุณลักษณะของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการ ปฏิบัติตนไดใ นทกุ ระดับโดยเนนการปฏบิ ตั ิบนทางสายกลางและการพัฒนาอยางเปนขน้ั ตอน 3. คาํ นยิ ามความพอเพียง ประกอบดว ย 3 คุณลักษณะ ดงั น้ี 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ไ่ี มนอยเกินไปและไมม ากเกินไป โดยไมเบยี ดเบียนตนเองและผูอืน่ การจะทาํ อะไรตองมีความพอดี พอเหมาะ พอควร ตอความ จาํ เปน เหมาะสมกับฐานะของตนเอง สภาวะสังคมแวดลอม รวมทงั้ วฒั นธรรมในแตล ะทองถิน่
4 และไมน อ ยเกนิ ไปจนกระทงั่ ไมเพียงพอทจี่ ะดาํ เนนิ การได ซงึ่ การตัดสนิ วา ในระดับพอประมาณ น้ันจะตอ งอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบในการวางแผนและตดั สินใจอยา งมีคณุ ธรรมดวย เชน ไมเ บยี ดเบยี นตนเองและผอู ่นื ไมท ําใหสังคมเดือดรอ น ไมทาํ ลายธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดลอ ม 3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะตอง เปน ไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตปุ จจัยท่ีเก่ียวขอ ง ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวา จะเกิดขึ้นจากการกระทําน้ันอยางรอบคอบ ครบวงจรบนพื้นฐานของความถูกตอง ความเปน จริง ตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมท่ีดีงาม ทั้งใน ระยะยาว ทั้งตอตนเอง ผูอ่ืน และสวนรวม การคิดพิจารณาแยกแยะใหเห็นความเชื่อมโยง ของเหตุ ปจจัยตางๆ อยางตอเน่ือง อยางเปนระบบจะทําใหบรรลุเปาหมายไดอยางมี ประสิทธิภาพ มีขอผิดพลาดนอย การท่ีจะวางแผนดําเนินการส่ิงใดอยางสมเหตุสมผล ตองอาศัยความรอบรู ขยันหม่ันเพียร อดทนท่ีจะจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบและแสวงหา ความรูท่ีถูกตองอยางสม่ําเสมอ มีความรอบคอบในความคิด พิจารณาตัดสินใจ โดยใชสติ ปญ ญา อยางเฉลยี วฉลาดในทางที่ถกู ทคี่ วร 3.3 การมีภูมคิ มุ กันในตัวท่ีดี หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการ เปล่ียนแปลงดา นตางๆ ที่จะเกิดท้ังในดานเศรษฐกิจสังคม ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม4เพื่อให สามารถปรับตัวและรบั มือไดท ันที หรอื กลาวไดวาการทจี่ ะทําอะไรอยางไมเสี่ยงเกนิ ไป ไมป ระมาท คิดถงึ แนวโนมความเปนไปไดข องสถานการณตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได แลวเตรียม ตนเอง เตรยี มวิธีการทํางานรองรบั กบั การเปลี่ยนแปลงตางๆ เพื่อใหการทํางานสามารถดําเนิน เปน ไปไดอ ยา งราบร่ืนและนาํ มาซึง่ ผลประโยชนใ นระยะยาวและความสขุ ที่ยงั่ ยนื 4. เงื่อนไขการตัดสินและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับพอเพียง ตองอาศัย ทัง้ ความรแู ละคุณธรรมเปน พนื้ ฐาน ดังน้ี 4.1 เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเก่ียวกับวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของ อยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในข้นั ปฏบิ ัติ
5 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม คุณธรรมท่ีจะตองเสริมสรางใหเปนพ้ืนฐานของคนในชาติ ประกอบดวย มคี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซอ่ื สัตยส จุ รติ มคี วามอดทน มีความเพียร รูผิด รูชอบ ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิตอยางถูกตองและเหมาะสม ไมโลภและไมตระหน่ี รูจกั แบงปนและรับผิดชอบในการอยูรวมกบั ผูอ่ืนในสงั คม 5. แนวทางการปฏิบตั /ิ ผลท่คี าดวาจะไดรบั จากการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกตใช คือ การพัฒนาท่ีสมดุลและยั่งยืน พรอมกับการเปลี่ยนแปลงในทุกดานท้ังดาน เศรษฐกจิ สังคม ส่ิงแวดลอม ความรแู ละเทคโนโลยี สรุปปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เงอื นไข ความรู้ นํา ่สู เงอื นไข คุณธรรม (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั ) (ซอื สตั ย์ สจุ ริต ขยนั อดทน แผนภาพแสดงแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง 3 หว ง 2 เงื่อนไข ระบบเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหบุคคลสามารถประกอบอาชีพไดอยางยั่งยืน และใช จายเงนิ ทไี่ ดมาอยา งพอเพยี งและประหยดั ตามกําลังของเงนิ ของบคุ คลนนั้ โดยหลกี เลี่ยงการ กหู นี้ ยมื สนิ และถามเี งนิ เหลือกแ็ บงเก็บออมไวบ างสวน ชวยเหลือผูอื่นบางสวน และอาจจะใช จายมาเพ่ือปจจัยเสริมอีกบางสวน (ปจจัยเสริมในท่ีนี้เชน ทองเท่ียว ความบันเทิง เปนตน) สาเหตุที่แนวทางการดํารงชีวิตอยางพอเพียง ไดถูกกลาวถึงอยางกวางขวางในขณะน้ี เพราะ สภาพการดํารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปจจุบันไดถูกปลูกฝง สราง หรือกระตุนใหเกิดการใช จา ยอยา งเกินตัว ในเรื่องท่ไี มเ ก่ยี วของหรือเกินกวาปจ จัยในการดํารงชวี ิต เชน การบรโิ ภคฃ
6 เกนิ ตวั ความบันเทงิ หลากหลายรปู แบบ ความสวย ความงามการแตงตัวตามแฟชั่น การพนัน หรอื เสี่ยงโชค เปน ตน จนทําใหไมมีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความตองการเหลาน้ัน สงผลให เกดิ การกูหนีย้ มื สนิ เกดิ เปน วัฏจกั รท่บี ุคคลหน่งึ ไมสามารถหลุดออกมาได ถาไมเปล่ียนแนวทาง ในการดํารงชวี ติ 13 นักคิดระดับโลกเหน็ ดว ยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนําเสนอบทความ บทสัมภาษณเ ปน การยืน่ ขอเสนอแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งใหแกโ ลก เชน ศ.ดร.วูลฟกัง ซัคส นักวิชาการดานสิ่งแวดลอมคนสําคัญของประเทศเยอรมนี สนใจ การประยกุ ตใชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหเ ปนทร่ี ูจ กั ในเยอรมนี ศ.ดร.อมาตยา เซน ศาสตราจารยช าวอินเดยี เจาของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร ป 1998 มองวา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนการใชสิ่งตาง ๆ ท่ีจําเปนตอการดํารงชีพ และใชโ อกาสใหพ อเพยี งกับชวี ิตทด่ี ี ซึง่ ไมไ ดหมายถงึ ความไมตอ งการ แตต อ งรูจกั ใชชีวิตใหดีพอ อยาใหค วามสาํ คัญกับเร่อื งของรายไดแ ละความร่ํารวยแตใหมองทค่ี ุณคาของชวี ิตมนษุ ย นายจิกมี ทินเลย กษัตริยแหงประเทศภูฎานใหทรรศนะวา หากประเทศไทยกําหนด เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงใหเปนวาระระดับชาติ และดําเนินตามแนวทางน้ีอยางจริงจัง “ผมวา ประเทศไทยสามารถสรางโลกใบใหมจากหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสรางชีวิตที่ย่ังยืน และสุดทายจะไมหยดุ เพียงแคใ นประเทศ แตจ ะเปน หลักการและแนวปฏบิ ตั ิของโลก ซ่ึงหากทํา ไดสาํ เร็จไทยก็คือผนู ํา” ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงนี้ ไดรับการเชิดชูสูงสุดจากองคการสหประชาชาติ (UN) โดยนายโคฟ อันนัน ในฐานะเลขาธิการองคการสหประชาชาติ ไดทูลเกลาฯ ถวายรางวัล The Human Development Lifetime Achievement Award แกพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2549 และไดมีปาฐกถาถึงปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงวา เปนปรชั ญาทม่ี ีประโยชนตอ ประเทศไทยและนานาประเทศ และสามารถเร่ิมไดจาก การสรางภูมิคุมกันในตนเองสูหมูบาน และสูเศรษฐกิจในวงกวางขึ้นในที่สุด นาย Hakan Bjorkman รักษาการผูอํานวยการ UNDP ในประเทศไทยกลาวเชิดชูปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และ UNDP นั้นตระหนักถึงวิสัยทัศนและแนวคิดในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จ พระเจา อยูหวั ฯ โดยทอ่ี งคการสหประชาชาติไดสนับสนุนใหประเทศตาง ๆ ท่ีเปนสมาชิก 166 ประเทศ ยึดเปนแนวทางสูก ารพฒั นา ประเทศแบบย่งั ยนื
7 เร่ืองท่ี 2 ความหมาย และหลกั การของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความหมายปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน ปรัชญาท่ีเปนแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตน ของแตละบุคคลและองคกรทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับประเทศ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยคํานึงถึงความ พอประมาณกับศักยภาพตนเองและสภาวะแวดลอม ความมีเหตุผลและการมีภูมิคุมกันท่ีดีใน ตัวเองโดยใชความรูอยางถูกหลักวิชาการดวยความรอบคอบและระมัดระวังควบคูไปกับการมี คุณธรรม ไมเบยี ดเบียนกัน แบงปน ชวยเหลือซ่ึงกันและกันและรวมมือปรองดองกันในสังคมซึ่ง นําไปสูความสามัคคีการพัฒนาท่ีสมดุลและย่ังยืนพรอมรับตอการเปล่ียนแปลงภายใตกระแส โลกาภวิ ัตนได หลกั การปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พระราชดาํ รัสท่พี ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานแกพสกนิกรชาวไทยใน เรือ่ งเศรษฐกิจพอเพยี งนนั้ คือการมุง เนน ใหย ึดวิถีชีวิตไทย โดยหันกลับมายึดเสนทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ในการดําเนินชีวิตใหสามารถพ่ึงตนเองได โดยใชหลักการพึ่งตนเอง 5 ประการ คือ (สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาํ ร,ิ 2547:2-3) 1. ดานจิตใจ ทาํ ตนใหเปน ทพี่ ง่ึ ของตนเอง มจี ติ ใจท่เี ขม แข็ง มีจิตสํานึกท่ีดี สรางสรรค ใหตนเองและชาติโดยรวม มีจิตใจเอื้ออาทร ประนีประนอม ซ่ือสัตยสุจริต เห็นประโยชน สว นรวมเปน ทต่ี ั้งดังกระแสพระราชดํารัสในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เกี่ยวกับการพัฒนา ความวา “...บคุ คลตองมีรากฐานทางจิตใจท่ีดี คือ ความหนักแนนม่ันคงในสุจริตธรรมและความ มงุ มั่นที่จะปฏิบตั หิ นาทีใ่ หจนสําเร็จ ทั้งตองมีกุศโลบายหรือวิธีการอันแยบยลในการปฏิบัติงาน ประกอบพรอมดวยจึงจะสัมฤทธิ์ผลที่แนนอนและบังเกิดประโยชนอันย่ังยืนแกตนเองและ แผนดิน...” 2. ดานสังคม แตละชุมชนตองชวยเหลือเกื้อกูลกัน เช่ือมโยงกันเปนเครือขายชุมชน ทแ่ี ข็งแรง เปนอสิ ระ ดังกระแสพระราชดาํ รัสความวา “...เพื่อใหงานรุดหนาไปพรอมเพรียงกัน
8 ไมลดหลั่น จึงขอใหทุกคนพยายามที่จะทาํ งานในหนาท่ีอยางเต็มท่ี และใหมีการประชาสัมพันธ กนั ใหดี เพอ่ื ใหง านท้ังหมดเปนงานทีเ่ กื้อหนุนสนบั สนนุ กัน...” 3. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ใหใชแ ละจดั การอยา งฉลาดพรอมท้งั การ เพ่ิมมูลคาโดยใหยึดหลักการของความย่ังยืนและเกิดประโยชนสูงสุด ดังกระแสพระราชดํารัส ความวา “...ถารักษาส่ิงแวดลอมใหเหมาะสม นึกวาอยูไดอีกหลายรอยป ถึงเวลาน้ันลูกหลาน ของเรามาก็อาจหาวิธแี กป ญหาตอ ไปเปนเรือ่ งของเขา ไมใชเรือ่ งของเรา แตเราก็ทําได ไดรักษา ส่ิงแวดลอ มไวใ หพ อสมควร...” 4. ดานเทคโนโลยี จากสภาพแวดลอมท่ีเปล่ยี นแปลงรวดเร็วเทคโนโลยที ีเ่ ขามาใหมทั้ง ดีและไมด ี จึงตองแยกแยะบนพ้นื ฐานของภมู ปิ ญญาชาวบา น และเลือกใชเ ฉพาะท่ีสอดคลองกับ ความตอ งการของสภาพแวดลอ ม ภมู ปิ ระเทศ สังคมไทยและควรพฒั นาเทคโนโลยจี าก ภมู ิปญญาของเราเอง ดงั กระแสพระราชดาํ รัสความวา “...การสงเสริมที่ชาวบา นชาวชนบทขาด แคลน และความตองการ คือ ความรูในดานเกษตรกรรมโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมเปนส่ิงท่ี เหมาะสม...” “...การใชเทคโนโลยีอยางใหญโตเต็มรูปหรือเต็มขนาดในงานอาชีพหลักของ ประเทศยอ มจะมปี ญ หา...” 5. ดานเศรษฐกิจ แตเดิมนักพัฒนามักมุงที่จะเพิ่มรายไดและไมมีการมุงที่การลด รายจา ย ในเวลาเชนนีจ้ ะตอ งปรับทิศทางใหม คือ จะตองมุงลดรายจายกอนเปนสําคัญและยึด หลกั พออยู พอกนิ พอใช และสามารถอยูไดดว ยตนเองในระดับเบื้องตน ดังกระแสพระราชดํารัส ความวา “...การทต่ี อ งการใหท ุกคนพยายามที่จะหาความรแู ละสรางตนเองใหม่ันคงนี้เพ่ือตนเอง เพือ่ ทจ่ี ะใหตัวเองมีความเปนอยูที่กาวหนา ที่มีความสุขพอมี พอกิน เปนข้ันหน่ึงและข้ันตอไป ก็คือใหมีเกียรติวายืนไดดวยตนเอง...” “...หากพวกเรารวมมือรวมใจกันทําสักเศษหนึ่งสวนสี่ ประเทศชาตขิ องเรากส็ ามารถรอดพน จากวกิ ฤตไิ ด. ..”
9 ความสาํ คญั ของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมีความสาํ คญั ตอการพฒั นาประเทศและพฒั นาคน ดังนี้ 1. เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน ปรัชญาท่ีมีความสําคัญยิ่งสําหรับการขจัดความยากจน และ การลดความเสยี่ งทางเศรษฐกิจ 2. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนพื้นฐานของการสรางพลังอํานาจของชุมชนและ การพัฒนาศกั ยภาพชมุ ชนใหเ ขม แข็งเพื่อเปนรากฐานของการพฒั นาประเทศ 3. เศรษฐกิจพอเพียงชวยยกระดับความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทดวยการสราง ขอปฏบิ ตั ิในการทําธุรกจิ ทเี่ นน ผลกําไรระยะยาวในบรบิ ททม่ี ีการแขงขัน 4. หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญเปนอยางย่ิงตอการปรับปรุงมาตรฐานของ ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารงานภาครัฐ 5. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใชเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายของ ชาติ เพ่ือสรางภมู ิคุมกนั ตอ สถานการณท เ่ี ขามากระทบโดยฉับพลัน เพื่อปรับปรุงนโยบายตางๆ ใหเ หมาะสมย่งิ ขน้ึ และเพ่ือวางแผนยทุ ธศาสตรในการสงเสรมิ การเตบิ โตทเ่ี สมอภาคและยง่ั ยืน 6. ในการปลูกฝงจิตสํานึกตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงจําเปนตองมีการปรับเปล่ียน คานยิ ม และความคิดของคนเพือ่ ใหเ ออ้ื ตอการพัฒนาคน 7. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งชว ยใหม นุษยมคี วามเปนอยูอยางพออยู พอกิน พอใช พึ่งตนเองได และมีความสขุ ตามอัตภาพ 8. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยอยูรวมกับผูอื่นตลอดจนอยูในสังคมได อยางสันติสุข ไมเบียดเบียน ไมเอารัดเอาเปรียบ แบงปน เอื้อเฟอเผ่ือแผ มีจิตเมตตาและจิต สาธารณะ 9. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยอยูรวมกับธรรมชาติและส่ิงแวดลอมได อยางยั่งยืน โดยไมทําลาย เห็นคุณคาและมีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 10. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยอยูอยางมีรากเหงาทางวัฒนธรรม ประเพณี ประวตั ศิ าสตร ภมู ปิ ญ ญา คา นยิ ม และเอกลกั ษณข องแตละบคุ คล/สังคม
10 การแสวงหาความรู การแสวงหาความรขู องมนุษยเกิดจากความตองการของคนท่ีตองการพัฒนาชีวิตความ เปนอยูของตนเองใหดีขึ้น จึงเปนแรงกระตุนใหมีความอยากรู อยากเห็น อยากเขาใจ ในปรากฏการณธ รรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม เพอื่ ใหรูและเขาใจถงึ ความจริงท่ีควรเช่ือและยอมรับ ในความเปนจริงของปรากฏการณตางๆ เหลา น้นั วธิ กี ารแสวงหาความรูข องมนุษย มดี งั น้ี 1. การแสวงหาความรูจากประสบการณ (Experience) เปนวธิ กี ารแสวงหาความรูของ แตละบุคคลจากการคนพบดวยตนเองหรือเกิดขึ้นโดยบังเอิญ (By Chance) เชน การคนพบ ความรขู องชารลส กูดเยยี ร (Charls Goodyear) เกี่ยวกับยางพาราดิบเม่อื ถกู ความรอนจะชวย ใหย างนั้นแขง็ ตวั และมีความทนทานเพิ่มข้ึน ซ่ึงนําไปสูการประดิษฐยางรถยนตท่ีแพรหลายใน ปจจบุ นั นี้ หรือเกิดจากการลองผิดลองถกู (By Trial and Error) เชน ผูเดินทางไปเทีย่ วในปาถูก แมลงกัดตอยเกิดเปนผ่ืนคัน ไมมียาทาจึงนําใบไมชนิดใดชนิดหน่ึงมาทาแลวหาย จึงเกิดการ เรียนรูวาใบไมช นิดน้นั สามารถนํามาใชแ กผื่นคนั ได 2. การแสวงหาความรูจ ากผรู ู (Authority) เปนการแสวงหาความรูจากคําบอกเลาของ ผูรู ผเู ช่ยี วชาญ หรอื ผูม อี ํานาจหนา ท่เี ปน ทีย่ อมรบั ท่วั ไป เชน นักปราชญ ผูนํา นักบวช หรือการ เรียนรูจากประเพณี วัฒนธรรมที่มีผูรู หรือผูที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ เปนผูบอกหรือ ถา ยทอดความรโู ดยการเขยี นหนังสือตํารา หรือบอกโดยผานสอ่ื อืน่ ๆ 3. การแสวงหาความรูโดยอาศัยเหตุผลจากการอนุมาน (Deductive Reasoning) เปนการแสวงหาความรจู ากความสมั พนั ธเชงิ เหตุผลระหวางขอเทจ็ จริงใหญและขอเท็จจริงยอย แลว นาํ มาสรุปเปน ความรู ขอเทจ็ จรงิ ใหญ : เปนขอตกลงทก่ี ําหนดขนึ้ เปนขอเทจ็ จริงในวงกวาง ขอเทจ็ จรงิ ยอ ย : เปนเหตุเฉพาะกรณีใดๆ เปนขอเท็จจริงในวงแคบที่มี ความสมั พนั ธก ับขอ เทจ็ จริงใหญ ขอ สรุป : เปนขอสรุปจากความสัมพนั ธข องขอเทจ็ จรงิ ใหญแ ละขอ เท็จจริงยอ ย ซงึ่ กลา ววาการอนุมานคือการสรุปจากสว นใหญไ ปหาสว นยอย
11 ตัวอยา งเหตผุ ลจากการอนุมาน ขอเทจ็ จริงใหญ : ลูกชายของลุงกํานันทุกคนเรียนเกง ขอ เทจ็ จริงยอย : พงไพรเปน ลูกชายคนท่ีสองของลงุ กํานนั ขอ สรุป : พงไพรเปน คนทเี่ รยี นเกง 4. การแสวงหาความรูโดยอาศัยเหตุผลจากการอุปมาน (Inductive Reasoning) เปนวธิ กี ารแสวงหาความรูท ีย่ อ นกลับกับวิธีอนุมาน เปนการคนหาความรูจากขอเท็จจริงยอยๆ โดยพิจารณาจากสิ่งทเ่ี หมือนกนั ตางกัน สัมพันธก นั แลวสรุปรวมเปนขอเทจ็ จรงิ ใหญ ตวั อยา งเหตุผลจากการอปุ มาน ขอเท็จจริงยอ ย : คนที่เปนโรคมะเรง็ ระยะสุดทาย แตละคนไมส ามารถรักษาใหห ายได และจะตองตายในทสี่ ดุ ดงั น้นั : กลุมคนทเี่ ปน โรงมะเรง็ ระยะสดุ ทา ยตองตายทุกคน 5. วิธีการทางวิทยาศาสตร (Scientific Approach) เปนวิธีแสวงหาความรูของมนุษย ทช่ี ารล ส ดารวิน (Charles Darwin) และจอหน ดิวอี้ (John Dewey) ไดพัฒนาและนําแนวคิด เชิงยอนกลับ (Reflective Thinking) และแนวคิดการแกปญหา (Problem Solving) มาเปน พ้ืนฐานในการคิดเปนกระบวนการศึกษาขอเท็จจริงและความรูตางๆ โดยผานการสังเกต การดําเนินการตามแนวคิดทฤษฎีตางๆ การทดสอบ การคนพบ การทบทวน และการทําซํ้า ผลิตความรใู หม จากกระบวนการทีม่ คี วามสัมพันธกันและเก่ียวของเปนวัฏจักร โดยวิธีการทาง วิทยาศาสตร คอื การพิจารณาใหใ กลค วามจรงิ มากทสี่ ุด โดยอาศยั การศกึ ษาขอเทจ็ จริง ทฤษฎี และการทดสอบเครือ่ งมอื ดังนัน้ วธิ กี ารวทิ ยาศาสตร ถือวาเปน วธิ ีการท่ีมีหลักเกณฑและเหตุผล ท่ีสามารถอธิบายได มีลักษณะการศึกษาท่ีเปนระบบ ตรงไปตรงมาปราศจากความลําเอียง และสามารถพิสูจนได ประกอบดวย 5 ข้ันตอนดวยกัน ซึ่งเรียกวาขั้นตอนวิธีการทาง วทิ ยาศาสตร ดังนี้ 1. ขั้นปญหา (Problem) เปนการระบุและกําหนดขอบเขตของปญหาของส่ิงที่ ตองการศกึ ษาใหช ดั เจน
12 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (Hypotheses) เปนการคาดเดาหรือคาดคะเนคําตอบของ ปญ หา ไวล ว งหนาอยา งมเี หตุผล 3. ข้นั รวบรวมขอ มลู (Collecting data) เปน การรวบรวมขอมูลและขอเท็จจรงิ ตา ง ๆ ท่เี กี่ยวกับประเดน็ ปญหาทีก่ าํ หนด 4. ขนั้ วิเคราะหข อ มลู (Analysis) เปนการจัดกระทาํ กบั ขอมูลทร่ี วบรวมมาได โดยวธิ ีการตรรกศาสตรห รือวธิ กี ารทางสถติ ิ เพอ่ื ตรวจสอบสมติฐานที่ต้งั ไว 5. ขั้นสรุปผล (Conclusion) เปนการสรุปจากการวิเคราะหขอมูลวาขอเท็จจริง ของปญ หาทีแ่ ทจ รงิ น้นั คืออะไร ทักษะการแสวงหาความรูดว ยตนเอง การแสวงหาความรู เปนทกั ษะท่ีตองอาศัยการเรียนรแู ละวิธีการฝก ฝนจนเกดิ ความชํานาญ ทาํ ใหเ กดิ แนวความคิดความเขาใจที่ถูกตองและกวางขวางย่ิงข้ึน เน่ืองจากผูท่ีแสวงหาความรู จะเกิดทักษะในการคนควา สิ่งทตี่ องการและสนใจอยากรูจากแหลงเรียนรูตาง ๆ จะทําใหทราบ ขอ เท็จจรงิ และสามารถเปรยี บเทยี บขอ เทจ็ จรงิ ท่ไี ดม าวาควรเชอื่ ไดห รือไม ทกั ษะในการสรางปญ ญาเพ่ือนําไปสูการแสวงหาความรูดวยตนเองมี 10 ข้ันตอน ดังนี้ (พัฒนาทกั ษะการแสวงหาความรใู หก ับตนเอง, 2554 : ออนไลน) 1. ทักษะการสังเกต คือ การสังเกตส่ิงที่เห็น สิ่งแวดลอมหรือส่ิงที่ตองการจะศึกษา โดยสังเกตเก่ียวกบั แหลง ทีม่ า ความเหมอื น ความแตกตา ง สาเหตุของความแตกตาง ประโยชน และผลกระทบ วิธีฝกการสังเกต คือ การฝกสมาธิเพื่อใหมีสติและทําใหเกิดปญญา มโี ลกทรรศน มวี ิธคี ดิ 2. ทักษะการบันทึก คือ การบันทึกส่ิงที่ตองจําหรือตองศึกษา มีหลายวิธี ไดแก การทําสรุปยอ การเขียนเคาโครงเร่ือง การขีดเสนใต การเขียนแผนภูมิ การทําเปน แผนภาพ หรอื ทําเปนตาราง เปนตน วิธีฝกการบันทึก คือ การบันทึกทุกคร้ังท่ีมีการสังเกต มกี ารฟง หรอื มีการอา น เปน การพัฒนาปญ ญา 3. ทักษะการนําเสนอ คือ การทําความเขาใจในเร่ืองที่จะนําเสนอใหผูอ่ืนรับรูได โดยจดจําในสิ่งท่ีจะนําเสนอออกมาอยา งเปน ระบบ ซ่งึ สามารถทาํ ไดหลายรูปแบบ เชน การทํา รายงานเปนรูปเลม การรายงานปากเปลา การรายงานดวยเทคโนโลยี เปนตน วิธีฝกการ
13 นําเสนอ คือ การฝกตามหลักการของการนําเสนอในรูปแบบตาง ๆ ดังกลาวอยางสมํ่าเสมอ จนสามารถนาํ เสนอไดดซี ่งึ เปน การพฒั นาปญญา 4. ทักษะการฟง คือ การจับประเด็นสําคัญของผูพูด สามารถต้ังคําถามเร่ืองที่ฟงได รูจ ดุ ประสงคในการฟง แสวงหาความรูจะตองคนหาเรื่องสําคัญในการฟงใหได วิธีฝกการฟง คือ การทําเคาโครงเรื่องท่ีฟง จดบันทึกความคิดหลักหรือถอยคําสําคัญลงในกระดาษบันทึก ที่เตรยี มไว อาจตั้งคําถามในใจเชน ใคร อะไร ท่ีไหน เมื่อไร เพราะเหตุใด อยางไร เพราะ จะทาํ ใหก ารฟงมคี วามหมายและมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น 5. ทักษะการถาม คือ การถามเร่ืองสําคัญ ๆ การตั้งคําถามส้ัน ๆ เพื่อนําคําตอบมา เชือ่ มตอใหส มั พนั ธก ับสิง่ ทีเ่ รารแู ลวมาเปนหลักฐานสําหรับประเด็นที่กลาวถึง ส่ิงที่ทําใหเราฟง ไดอยางมีประสิทธิภาพ คือ การถามเกี่ยวกับตัวเราเอง การฝกถาม-ตอบ เปนการฝกการใช เหตุผลวิเคราะห สังเคราะห ทําใหเขาใจในเรื่องนั้น ๆ อยางชัดเจน ถาเราฟงโดยไม ถาม-ตอบ ก็จะเขา ใจ ในเร่ืองนน้ั ๆ ไมชดั เจน 6. ทักษะการตงั้ สมมติฐานและต้ังคําถาม คอื การตง้ั สมมติฐาน และต้ังคําถาม ส่ิงที่ เรียนรูไปแลวไดวา คืออะไร มีประโยชนอยางไร ทําอยางไรจึงจะสําเร็จได การฝกต้ังคําถาม ทม่ี คี ุณคา และมีความสาํ คญั ทําใหอ ยากไดค าํ ตอบ 7. ทกั ษะการคน หาคาํ ตอบจากแหลงการเรียนรตู าง ๆ เชน จากหนังสือ อินเทอรเน็ต คยุ กับผูสูงอายุ แลวแตธรรมชาติของคําถาม การคนหาคําตอบตอคําถามที่สําคัญจะสนุก และ ทําใหไดความรมู าก บางคําถามหาคาํ ตอบทุกวิถที างแลว ไมพบ ตองหาคําตอบตอไปดวย การวิจยั 8. ทักษะการทําวิจัยสรางความรู การวิจัยเพื่อหาคําตอบเปนสวนหน่ึงของ กระบวนการเรียนรูทุกระดับ การวิจัยจะทําใหคนพบความรูใหม ทําใหเกิดความภูมิใจ สนกุ และมปี ระโยชนม าก 9. ทกั ษะการเช่ือมโยงบรู ณาการ คือ การเชอื่ มโยงเร่อื งทีเ่ รียนรูมาใหเ ห็นภาพรวม ทัง้ หมด มองเห็นความงดงาม มองใหเหน็ ตวั เอง ไมค วรใหค วามรนู ั้นแยกออกเปน สว น ๆ 10. ทักษะการเขียนเรียบเรียง คือ การเรียบเรียงความคิดใหประณีตข้ึน โดยการ คนควา หาหลักฐานอางอิงความรูใหถ่ีถวน แมนยําขึ้น การเรียบเรียงทางวิชาการจึงเปนการ พัฒนาปญ ญาอยางสําคญั และเปนประโยชนใ นการเรยี นรูข องผูอ่ืนในวงกวางออกไป
14 กลาวโดยสรุป การแสวงหาความรูดวยตนเองจะเกิดขึ้นได ผูแสวงหาความรูจะตอง ฝกฝนทักษะในการสังเกต การบันทึก การนําเสนอ การฟง การถาม การต้ังสมมติฐานและ ตั้งคําถาม การคนหาคําตอบจากแหลงการเรียนรูตางๆ การทําวิจัยสรางความรู การเชื่อมโยงบรู ณาการ และ การเขียนเรยี บเรยี ง
15 บทที่ 2 การประกอบอาชพี อยา งพอเพยี ง เรอ่ื งที่ 1 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกบั การจัดการทรพั ยากรท่มี อี ยู ของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน เศรษฐกิจพอเพียงเปนเศรษฐกิจที่พอเพียงกับตนเองทําใหอยูไดไมตองเดือดรอน มีสิ่งจําเปนท่ีทําไดโดยตัวเองไมตองแขงขันกับใคร และมีเหลือเพ่ือชวยเหลือผูท่ีไมมี อันนําไปสูการแลกเปล่ียนในชุมชน และขยายไปจนสามารถที่จะเปนสินคาสงออก เศรษฐกิจ พอเพยี งเปน เศรษฐกิจระบบเปดที่เริ่มจากตนเองและความรวมมือ วิธีการเชนน้ีจะดึงศักยภาพ ของประชากรออกมาสรา งความเขมแข็งของครอบครัว ซ่ึงมีความผูกพันกับ “จิตวิญญาณ” คือ “คณุ คา” มากกวา “มูลคา” ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงจะจัดลําดับความสําคัญของ “คุณคา” มากกวา “มูลคา” มูลคาน้ันขาดจิตวิญญาณ เพราะเปนเศรษฐกิจภาคการเงินท่ีเนนท่ีจะตอบสนองตอความ ตองการท่ีไมจํากัดซ่ึงไรขอบเขต ถาไมสามารถควบคุมได การใชทรัพยากรอยางทําลายลาง จะรวดเร็วขึ้นและปญหาจะตามมา เปนการบริโภคท่ีกอใหเกดิ ความทุกขห รือพาไปหาความทุกข และจะไมมีโอกาสบรรลุวัตถุประสงคในการบริโภค ท่ีจะกอใหเกิดความพอใจและความสุข (Maximization of Satisfaction) ผูบริโภคตองใชหลักขาดทุนคือกําไร (Our loss is our gain) อยางน้ีจะควบคุมความตองการท่ีไมจํากัดได และสามารถจะลดความตองการลงมาได กอใหเ กิดความพอใจและความสุขเทา กับไดตระหนกั ในเรื่อง “คณุ คา ” จะชวยลดคาใชจ ายลงได ไมตองไปหาวิธีทําลายทรัพยากรเพ่ือใหเกิดรายไดมาจัดสรรส่ิงที่เปน “ความอยากที่ไมมี ท่ีส้ินสุด” และขจัดความสําคัญของ “เงนิ ” ในรปู รายได ทเ่ี ปนตัวกําหนดการบริโภคลงไดระดับ หน่ึง แลวยังเปนตัวแปรท่ีไปลดภาระของกลไกของตลาดและการพ่ึงพิงกลไกของตลาด ซง่ึ บุคคลโดยทัว่ ไปไมสามารถจะควบคุมได รวมทัง้ ไดมีสวนในการปอ งกันการบริโภคเลียนแบบ (Demonstration Effects) จะไมทําใหเกิดการสูญเสีย จะทําใหไมเกิดการบริโภคเกิน (Over Consumption) ซ่ึงกอใหเกดิ สภาพเศรษฐกิจดี สังคมไมม ปี ญ หา การพัฒนายั่งยืน
16 ประเทศไทยอดุ มไปดว ยทรัพยากรและยังมีพอสําหรับประชาชนไทยถามีการจัดสรรท่ีดี โดยยึด\" คุณคา \" มากกวา \" มูลคา \" ยึดความสัมพันธของ “บุคคล” กับ “ระบบ” และปรับ ความตองการทีไ่ มจ ํากดั ลงมาใหไดตามหลกั ขาดทุนเพ่ือกาํ ไร และอาศัยความรวมมือเพื่อใหเกิด ครอบครัวท่เี ขมแข็งอนั เปนรากฐานทส่ี าํ คัญของระบบสงั คม ในการผลิตน้ันจะตองทําดวยความรอบคอบไมเห็นแกได จะตองคิดถึงปจจัยที่มีและ ประโยชนข องผเู ก่ียวของ มฉิ ะนน้ั จะเกดิ ปญ หาอยางเชนบางคนมโี อกาสทาํ โรงงานแตไ มไดคํานึง วา ปจ จัยตา ง ๆ ไมครบ ปจจยั หน่ึงคือขนาดของโรงงาน หรือเคร่ืองจักรท่ีสามารถที่จะปฏิบัติได แตขอ สาํ คัญทสี่ ุด คอื วัตถุดบิ ถาไมส ามารถที่จะใหคาตอบแทนวัตถุดิบแกเกษตรกรที่เหมาะสม เกษตรกรก็จะไมผลิต ยิ่งถาใชวัตถุดิบสําหรับใชในโรงงานนั้น เปนวัตถุดิบท่ีจะตองนํามาจาก ระยะไกล หรือนําเขาก็จะย่ิงยาก เพราะวาวัตถุดิบที่นําเขานั้นราคาย่ิงแพง บางปวัตถุดิบมี บริบูรณ ราคาอาจจะตํ่าลงมา แตเวลาจะขายส่ิงของที่ผลิตจากโรงงานก็ขายยากเหมือนกัน เพราะมีมากจงึ ทาํ ใหราคาตก หรือกรณีใชเทคโนโลยีทางการเกษตร เกษตรกรรูดีวาเทคโนโลยี ทําใหตนทุนเพิ่มขึ้น และผลผลิตท่ีเพ่ิมนั้นจะลนตลาด ขายไดในราคาที่ลดลง ทําใหขาดทุน ตอ งเปนหนสี้ นิ การนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชในการจัดสรรทรัพยากรท่มี ีอยูข องตนเอง ครอบครัว และชุมชนจะชว ยใหด ํารงชีวติ อยางไมเ ดอื ดรอน และเกิดความย่ังยนื โดยคาํ นงึ ถึง 1. รูจักใชและจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางชาญฉลาดและรอบคอบ โดยเร่ิมตนผลิต หรือบริโภคภายใตขอจํากัดของรายไดหรือทรัพยากรท่ีมีอยูไปกอน คือใชหลักพ่ึงพาตนเอง โดยมงุ เนนการผลิตพชื ผลใหเพียงพอกับความตอ งการบริโภคในครัวเรอื นเปนอนั ดับแรก เม่ือเหลือจากการบรโิ ภคแลวจึงคํานงึ ถงึ การผลติ เพอื่ การคาเปนอันดับรองลงมา รูจักประมาณ ตนโดยใชทรพั ยากรอยางประหยัด ไมฟ มุ เฟอ ย ในการลงทุนประกอบอาชีพใหเปนไปตามกําลัง ทรพั ยแ ละศักยภาพของตนเอง เชน 1.1 ปลูกผกั สวนครวั ลดคาใชจ าย 1.2 นาํ นํ้าท่ีผานการใชแ ลวในครวั เรือนมารดพืชผักสวนครัว 1.3 นําพืชผกั สวนครัวท่เี พาะปลูกไดม าบรโิ ภค แบง ปนเพื่อนบาน บางสวนนําไปขาย ท่ตี ลาด สวนท่เี หลือนําไปเล้ยี งหมู 1.4 นําเงินจากการขายพืชผักสวนครัวและหมูไปซื้อสินคาและบริการที่สมาชิกใน ครัวเรือนตองการและมีความจาํ เปนในการอปุ โภคบริโภค
17 1.5 เก็บออมเงนิ สว นทีเ่ หลือจากการบรโิ ภคไวใ ชจา ยในอนาคต 1.6 นําเงนิ สวนหน่งึ มาลงทุนซือ้ เมลด็ พืช เพอื่ เพาะปลกู ตอ ไป 2. เลือกใชทรัพยากรท่ีมีอยูใหเกิดความยั่งยืนสูงสุด โดยการนําทรัพยากรหรือวัสดุ ตางๆ ท่สี ามารถหาไดงายในชมุ ชนมาใชประโยชน ใชทรัพยากรท่ีมีอยูในชุมชนอยางคุมคาดวย การหมุนเวียนทุนธรรมชาติในพ้ืนท่ี เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตไดดวย ตนเอง ชวยลดภาระการเสี่ยงดานราคาจากการไมสามารถควบคุมระบบตลาด ไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ และใชท รพั ยากร โดยคํานงึ ถึงสิง่ ทไี่ มเ ปน ภัยกับส่ิงแวดลอม เชน 2.1 การทําไรนาสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพ่ือใหมีการหมุนเวียน มีสินคา หลากหลาย ลดภาวะเสย่ี งดา นราคา 2.2 การจางแรงงานภายในชุมชน เพ่ือสงเสริมใหตนเอง ครอบครัว และชุมชนมี รายได 2.3 การทําปุยหมักปุยคอกและใชวัสดุเหลือใชเปนปจจัยการผลิต (ปุย) เพื่อลด คา ใชจ า ยและบํารงุ ดนิ 2.4 การเพาะเหด็ ฟางจากวสั ดุเหลือใชใ นไรนา 2.5 การปลูกไมผลสวนหลงั บา น และไมใชสอยในครวั เรอื น 2.6 การปลกู พืชสมนุ ไพร ชว ยสง เสรมิ สุขภาพอนามัย 2.7 การเลี้ยงปลาในรองสวน ในนาขาวและแหลงนํ้า เพ่ือเปนอาหารโปรตีนและ รายไดเสรมิ 2.8 การเล้ียงไกพนื้ เมอื ง และไกไ ข ประมาณ 10 – 15 ตัวตอครัวเรอื นเพ่อื เปน อาหารใน ครัวเรือน โดยใชเศษอาหาร รํา และปลายขาวจากผลผลิตการทํานา การเล้ียงสัตวจากการปลูก พชื ไร เปน ตน 2.9 การทาํ กาซชีวภาพจากมลู สัตว เร่ืองที่ 2 หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การประกอบอาชพี จากพระราชดาํ รัส : เศรษฐกิจพอเพียง มิไดจํากัดเฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไรชาวนา เพยี งเทานน้ั แตเ ปน เศรษฐกจิ ของทุกคนทุกอาชพี ทง้ั ท่อี ยใู นเมอื งและอยูในชนบท เชน ผูท่ีไดเปน เจา ของโรงงานอุตสาหกรรมและบริษัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถาจะตองขยายกิจการเพราะ
18 ความเจริญเติบโตจากเน้ือของงาน โดยอาศัยการขยายตัวอยางคอยเปนคอยไป หรือหากจะกูยืม กก็ ระทําตามความเหมาะสม ไมใชกูมาลงทุนจนเกินตัวจนไมเหลือท่ีม่ันใหยืนอยูได เม่ือภาวะของ เงินผนั ผวน ประชาชนก็จะตองไมใชจายฟุมเฟอยเกินตัว และ (จากการศึกษารายงานการวิจัย ศึกษาการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนบานโงกนํ้า) นําหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในกระบวนการประกอบอาชีพของชุมชนบานโงกนํ้า ตําบลนาขยาด อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ไดรับการคัดเลือกใหเปนหมูบานเศรษฐกิจ ชมุ ชนพงึ่ ตนเอง ของจงั หวัดพัทลุง ในป 2544 และเปน หมูบานตน แบบในการสงเสริมเศรษฐกิจ พอเพียงทงั้ ในระดบั ครวั เรือน กลุมองคก ร และระดบั หมบู า น ไดย ดึ หลักทางสายกลาง อนั ไดแก 3 หวงยดึ เหนี่ยว และ 2 หวงเง่อื นไขการปฏิบตั ิ โดยเสนอผลการวิเคราะหในแตละดานดังน้ี 3 หวงยึดเหนย่ี ว 1. ดานความพอประมาณ ชุมชนรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยูอยางพอเพียง เหมาะสมแบบคอยเปน คอยไป ใชเทคโนโลยเี ทา ท่ีจาํ เปน มีรายไดเ สรมิ จากการปลกู ผัก เล้ยี งสกุ ร เลย้ี งโค เล้ยี งปลาดุก ไวจนุ เจอื ครอบครัวอกี ทางหนง่ึ สภาพเศรษฐกจิ ของครอบครวั เหมาะสมตามอตั ภาพของตน 2. ดา นความมีเหตุผล ใชทรัพยากรทกุ ชนดิ อยา งประหยดั และมีประสิทธภิ าพสงู สุด เนนการใชว ัตถุดบิ ภายในทองถ่นิ และตอบสนองตลาดในทอ งถนิ่ เนน การจา งงานเปน หลกั โดยไมนาํ เทคโนโลยีมา ทดแทนแรงงาน มีขนาดการผลิตทส่ี อดคลองกับความสามารถในการบรหิ ารจดั การ เชน ใชพ น้ื ที่ ทางการเกษตรท่ีวา งอยอู ยา งคุมคา โดยการปลกู พชื ผกั สวนครัวขางบา น พนื้ ที่สวนขางบา น รั้วบาน บางครอบครวั ก็ปลกู พืชผกั และผลไมครบวงจรเพอื่ ลดคา ใชจ าย บางครอบครวั ก็เลยี้ ง โค เลยี้ งสกุ ร เล้ยี งปลาดุก กลมุ อาชพี ทําขนมเพอื่ เพ่ิมรายไดใ หแกค รวั เรือนจากอาชพี เสริม 3. ดา นความมภี มู คิ มุ กันในตวั ที่ดี เนน การกระจายความเสยี่ งจากการมผี ลผลติ หลากหลาย ไมกอหนจ้ี นเกิน ความสามารถในการบริหารจัดการ ถา ยทอดความรูและประสบการณใหก ับคนในชมุ ชน และ กลมุ อาชีพตางๆ ทง้ั ทเ่ี ปนทางการและไมเปนทางการอยางตอเน่อื ง มีการทาํ กลุม ปยุ ชีวภาพ อดั เม็ด ซ่งึ ทําใหลดคาใชจ า ยในการซ้ือปยุ เคมไี ดคอ นขางมาก การรวมกลมุ ทําปลารา เพื่อเพ่ิม
19 มลู คา ของปลาดุก และถนอมอาหารเกบ็ ไวร ับประทานไดนานขึ้น นอกจากชวยในดา นการ ประกอบอาชีพหลกั แลว ยงั มกี ลมุ ทําสบเู หลว ยาสระผม ซึ่งก็ใหก ารสนับสนุนและมสี ว นรวมอยู เสมอ ในสว นของขอเสนอแนะนั้นยังบอกวา อยากใหหนวยงานทางราชการเขา มาสง เสรมิ และ ใหค วามรูกบั กลุมตา งๆ อยางสม่าํ เสมอและตอเน่ือง และอยากใหมกี ลมุ อาชีพเสรมิ การให ความรูด า นอาชพี บางอยา ง เชน การซอมรถจักยานยนต การเย็บผา การเชอ่ื มโลหะ ชา งตดั ผม เปนตน เพราะหลายคนอยากใหหนว ยงานทางราชการเขามาอบรมใหบ า ง เพือ่ ใหส ามารถ ซอมแซมของตนเองไดแ ละประกอบอาชพี เปน ธรุ กจิ หรือกลุมของตนเอง เพ่อื ใหม รี ายไดเ สรมิ ของครอบครวั ดว ย 2 หว งเงอ่ื นไขการปฏิบัติ 1. เงอ่ื นไขความรู ในการประกอบอาชีพของคนในชุมชนบานโงกนํา้ มีความรอบคอบ มีความรู และ มีความระมัดระวัง มีการทําแผนแมบท การแบงงานความรับผิดชอบในแตละกลุม รูจักการ อนุรักษทั้งส่ิงแวดลอมและประเพณี รูจักการฟนฟูส่ิงที่มีคุณคาท่ีหายไปแลวใหกลับมาเปน ประโยชนอีกครั้งหน่ึงตลอดจนมีการประยุกตภูมิปญญาของการประกอบอาชีพแบบดั้งเดิม นํามาบูรณาการกับเทคนิคและวิธีการของการประกอบอาชีพในสมัยปจจุบัน แตทั้งนี้การ สงเสรมิ การใหความรกู ็ตอ งทําอยางเปนระบบและตอเน่ือง ตลอดจนใหเกิดความท่ัวถึงเพื่อให บรรลเุ ปา หมายสว นบุคคลและของแตล ะกลุมอาชีพตางๆ ตลอดจนใหสอดคลองกับกระแสโลก ท่มี กี ารเปลี่ยนแปลง และความตอ งการของผูร บั สนิ คาและผรู ับบริการใหมากขึ้น ทายท่ีสุดคือ การสง เสริมใหเ ยาวชนคนรุน ใหมไดร ับการศึกษาสูงสุดเทา ทจ่ี ะทําได เพื่อใหเขาเหลานั้นกลับมา พัฒนาบานเกิดภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หัวหนาครอบครัวสวนใหญไดอธิบายให ทราบวา การประกอบอาชพี ซึ่งสว นใหญเ ปนอาชพี เกษตรกรรมนั้น มีการถายทอดความรูจาก คนรุนปู รุนพอ รุนแม มายังรุนลูกและหลานไปตลอด สวนใหญแลวเปนการใหความรูจาก การไดลงมือปฏบิ ัตริ วมกนั เชน เมอ่ื ไปปลกู ยางก็จะพาลกู หลานไปดว ย ในขณะทีไ่ ปชวยเปนการ ใหเ ขาไดมีสว นรว ม โดยการสอน แนะนํา ใหลูกหลานไดเห็น การเล้ียงสุกรก็เชนกัน และอื่นๆ ก็เปนลักษณะนี้ ถามมาใหทางราชการนําความรูมาใหก็นานๆ มาคร้ัง แตก็ตองเปนหมูบาน แตก็ถือวาเปนหมูบานท่ีโชคดีท่ีมีประชากร ชาวบาน ท่ีเปนแหลงใหความรูไดคอนขางมาก
20 ถงึ แมว าคนรุนใหมจะไปเรยี นนอกบานมากขน้ึ แตท า นก็รวบรวมความรู และวัสดุอุปกรณในการ ทํามาหากนิ หรือประกอบอาชีพใหเหน็ 2. เงื่อนไขคุณธรรม มคี วามซ่อื สัตยในการประกอบการ ไมเอารัดเอาเปรียบผูบริโภคและไมเอารัดเอา เปรียบลกู คา มคี วามขยันอดทน การประกอบอาชีพของชุมชนบานโงกน้ําสวนใหญแลว เปนคน ท่ีมีความซื่อสัตยในการประกอบอาชีพของตนเอง มีความขยัน อดทน มีการแบงปนระหวาง ครวั เรอื น หวั หนา ครอบครวั ทีม่ อี าชพี การทาํ สวนยางพารา มีความซื่อสัตยตอตนเองในการขาย ผลผลติ จากยางพาราทเ่ี ปนนาํ้ ยางมีคณุ ภาพ ไมม กี ารใสนา้ํ และส่ิงแปลกปลอม มีความตระหนัก ในการเพาะปลูก โดยพยายามหลกี เลยี่ งในการใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช หันมาใชสารกําจัด แมลงในธรรมชาติแทน ปุยท่ีใชสวนใหญก็ใชปุยนํ้าชีวภาพ ที่ผลิตข้ึนมาเอง ใชมูลปุยคอก หรือ ปุยชีวภาพอัดเม็ด เพื่อความปลอดภัยของสมาชิกในครัวเรือนเอง และยังผลไปถึงผูที่ซื้อไป บริโภค สวนการเล้ียงสัตวกใ็ ชอ าหารสตั วจ ากธรรมชาติทม่ี ีหรือเพาะปลูกเอง เชน หญาที่ใช เลี้ยงโค อาหารสุกรที่เหลือจากเศษอาหาร และอาหารจากพืชผัก พืชธรรมชาติท่ีหาไดเอง หลีกเลี่ยงการใชส ารเรงเน้อื แดง เวลาสวนใหญใชไปในการทํามาหาเลี้ยงครอบครัว ใหสมาชิก ไดมีสวนรวมหางไกลยาเสพติด ถึงแมวาหมูบานโงกน้ําจะเปนชุมชนปลอดยาเสพติดก็ตาม ซึ่งในขณะนไี้ ดทาํ งานรวมกนั และมกี ารสอนคุณธรรมกับครอบครวั ดว ย
21 บทที่ 3 การวางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพียง เรื่องที่ 1 การวางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพยี ง การประกอบอาชพี คอื การทํามาหากนิ ของมนษุ ย เปนการแบงหนาที่ การทํางานของ คนในสังคม และทําใหดํารงชีวิตในสังคมได บุคคลที่ประกอบอาชีพจะไดคาตอบแทน หรือ รายไดท่ีจะนําไปใชจายในการดํารงชีวิต และสรางมาตรฐานที่ดีใหแกครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาติ ความจาํ เปนของการประกอบอาชพี มดี ังน้ี 1. เพ่อื ตนเอง การประกอบอาชพี ทําใหม ีรายไดม าจับจายใชสอยในชวี ติ 2. เพ่ือครอบครัว ทําใหสมาชิกของครอบครัวไดรับการเล้ียงดูทําใหมีคุณภาพชีวิต ทีด่ ขี นึ้ 3. เพ่ือชุมชน ถาสมาชิกในชุมชนมีอาชีพและมีรายไดดีจะสงผลใหสมาชิกมีความ เปนอยดู ขี น้ึ อยดู ีกินดี สงผลใหช ุมชนเขมแขง็ ทางเศรษฐกจิ และพัฒนาตนเองได 4. เพื่อประเทศชาติ เม่ือประชากรของประเทศมีการประกอบอาชีพท่ีดี มีรายไดดี ทาํ ใหม ีรายไดที่เสียภาษีใหกบั รัฐบาลมรี ายไดไ ปใชบรหิ ารประเทศตอไป มนุษยไมส ามารถผลิตส่งิ ตา งๆ มาสนองความตอ งการของตนเองไดท ุกอยางจาํ เปนตองมี การแบง กันทําและเกดิ ความชํานาญ จึงทําใหเ กดิ การแบงงานและแบงอาชีพตาง ๆ ข้ึน สาเหตุ ทตี่ องมีการแบง อาชีพ คอื การท่มี นษุ ยม ีความรคู วามสามารถของแตละคนแตกตางกนั มตี าํ แหนง ทางภมู ศิ าสตรแ ละภูมิประเทศทแ่ี ตกตา งกันและไดรบั มอบหมายใหทาํ หนา ทที่ ่ี แตกตางกนั การประกอบอาชพี เปน เรื่องสําคัญในชวี ิตเรอ่ื งหนง่ึ เน่อื งจากทุกคนตอ งมอี าชพี ถงึ จะดาํ รงชีวิตอยูได แตจะเปนอาชีพแบบใด ทาํ อะไร ทําอยา งไรใหมีชวี ติ อยไู ด หรือทาํ อยา งไร ถึงจะประสบความสาํ เรจ็ ในอาชพี ที่ทําอยู กข็ ้ึนอยกู ับการวางแผนการประกอบอาชพี น้ัน ๆ การประกอบอาชพี ใหประสบความสาํ เร็จตามความตอ งการ จาํ เปนตองมกี ารวางแผนการ ประกอบอาชีพทชี่ ดั เจน เปน ระบบ การวางแผน เปน เรือ่ งของการกําหนดความตองการ วิธกี ารดําเนินการ และคาดหมาย ผลการดําเนินการในอนาคต โดยใชหลักวิชาการ เหตุผล มีขอมูลตัวเลขประกอบ มีการเสนอ
22 ปญหาเพอ่ื ขจัดอุปสรรคท่จี ะมาถงึ เปาหมายขางหนาได ทําใหผูปฏิบัติรูไดวาจะทําอะไร ท่ีไหน เม่ือใด กับใครทําอยางไร และทําเพื่ออะไรไดอยางชัดเจน ซ่ึงนําไปสูแนวทางการปฏิบัติงาน ทถี่ กู ตอ งและไดผล ดงั นน้ั การวางแผนการประกอบอาชีพ จึงเปนการกําหนดทิศทาง ขอบเขต วตั ถปุ ระสงค เปา หมายและวธิ กี ารประกอบอาชีพ โดยมีกระบวนการท่ีชัดเจนอยางเปนระบบ เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย และความตองการดานอาชีพของตนเอง การประกอบอาชีพมีหลาย รูปแบบ หลายวิธีการ หลากหลายแนวทางทจ่ี ะทําใหป ระสบความสําเร็จในอาชพี นนั้ ๆ การวางแผนการประกอบอาชีพ ก็เหมือนกบั เสาไฟท่ีใหแสงสวา งตามทองถนนท่ีผานไป มา เพ่อื ใหเกดิ ความปลอดภยั ในการเดินทางตลอดเสนทางนั้น การวางแผนการประกอบอาชีพ จงึ เปน เรอื่ งทส่ี ําคญั ยงิ่ การจะประสบความสาํ เรจ็ ในการประกอบอาชีพได ก็ขึ้นอยูกับการวาง แผนการประกอบอาชีพท่ีถูกตอง และการท่ีจะวางแผนการประกอบอาชีพ ควรจะตองศึกษา ดงั นี้ 1. การรจู กั ตนเอง การเลือกอาชีพดเู หมือนจะเปนการตดั สนิ ใจคร้ังย่ิงใหญในชีวิตของ คนเรา เพราะนนั่ คือตัวกําหนดรายไดท่ีจะเกิดข้ึน จากความสามารถของเราเอง และไมนาเชื่อวา หลายคนยอมทนอยูก บั อาชพี ทตี่ นเองเกลียดได หรอื ไมไ ดใชค วามสามารถที่แทจริงในการทํางาน เลย เพราะพวกเขาไมเคยเกิดความสงสัยวา จริงๆแลวตนเองตองการอะไร “การขาดความ เชื่อม่ันในตนเอง คือสาเหตุหน่ึงที่ทําใหคนบางคนเลือกทํางานท่ีหางไกลจากความสามารถท่ี แทจริงของตนเอง และเปนสาเหตุใหคนยายตําแหนงงานของตนเอง หรือเปนสาเหตุที่ทําให คนเราเลือกเปล่ยี นอาชพี ทงั้ ท่กี า วไปไดเ พียงครึ่งทางเทานั้น” การสรางความเชื่อมั่นใหต นเอง ควรเรม่ิ ตน จากการคน หาตนเองวา “เราเปนใคร” “เรา อยากทาํ อะไร” “เราทําอะไรไดดี” “เราทําอะไรบอยท่ีสุด” และคําตอบที่ไดกลับมาจะชวยให เราทราบวาตนเองมีทักษะความสามารถ ความสนใจ คานิยม ความชอบสวนตัว และรูปแบบ การทํางานในดานใดและในชวงท่ีกําลังสํารวจตัวตนของตนเองน้ันอยาลืมบอกเรื่องนี้ใหคนใน ครอบครัวเพือ่ นสนทิ ของเราทราบ เพราะพวกเขาอาจชว ยใหคณุ คนพบตวั ตนของตนเองไดเร็วขึ้น ซ่งึ คนเหลานัน้ ตองเปนคนทรี่ ูจักคณุ มาเปน เวลาหลายป จึงจะสามารถบอกไดวาคุณมีจุดออน-จุด
23 แข็งในดานใดบาง หรือทําแบบทดสอบบุคลิกภาพหรือความถนัด แลวใชประโยชนจาก คาํ แนะนําทไี่ ดจากการทําแบบสํารวจ “การตอบคําถามที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพอาจทําให ทราบขอมูลของตนเอง ซึ่งเราไมเคยทราบมากอน แตผูเช่ียวชาญดานการประกอบอาชีพ สามารถชว ยใหมองเหน็ ความสามารถในสวนน้นั ๆได” 2. การศึกษาการประกอบอาชีพ ปจจุบันน้ีมีอาชีพตางๆเกิดข้ึนหลายพันอาชีพ หาก ขาดแผนการทาํ งาน อาจกอใหเ กิดการเลือกอาชพี ที่ไมเหมาะสมกับตนเองได หากรูจักประเมิน ความสามารถของตนเองอยางซื่อสัตย โอกาสท่ีจะเลือกอาชีพไดอยางเหมาะสมยอมสูงตามไป ดวย ควรเลือกประกอบอาชีพโดยยึดจากความรูสึกภายในเปนหลัก เลือกงานที่เหมาะสมกับ ตนเองเทานัน้ วธิ ที จี่ ะชวยใหเ ก็บขอ มลู เก่ียวกับอาชพี ท่เี หมาะสมกับตนเองไดมี 2-3 วิธี นั่นก็คือ อานรายละเอียดอาชีพตางๆในประกาศรับสมัครงาน หาขอมูลในอินเตอรเน็ต เพราะ อินเตอรเน็ตเปนแหลงขอมูลท่ีสามารถใหขอมูลทุกเร่ืองไดอยางนาอัศจรรย นอกจากน้ียัง สามารถหาขอ มูลจากประสบการณของผอู นื่ ไดด ว ย เชน บทสัมภาษณข องผูอื่นทปี่ ระกอบอาชีพ ท่ีคุณสนใจ หรือสอบถามขอมลู การทํางานจากผูอื่น ซึ่งขอมูลการสัมภาษณ เหลาน้ีอาจจะชวย ใหค ณุ ทราบสภาพความเปน จริงเกีย่ วกับการทาํ งานนั้น ๆ อกี ดวย 3. การตัดสินใจ เปนขั้นตอนสําคัญหลังจากไดจับมือกับตนเอง เพ่ือมองหางานที่ เหมาะสมกบั ตนเองแลว กม็ าถึงขั้นตอนสาํ คัญ กลยุทธห น่ึงท่จี ะทําใหสามารถตัดสินใจได นั่นก็ คอื การรา งความตองการของตนเองภายใน ระยะเวลาหน่งึ ปล งในกระดาษ จากนนั้ กเ็ พิ่มเปน 5 ป หรอื 10 ป ตอไป อีกวธิ ี คอื เปรยี บเทยี บ ขอ ดีและขอเสียของการทํางาน สําหรับสองหรือ สามอาชีพทีต่ นเองสนใจมากทีส่ ุด และเลือกอาชพี ทตี่ นเองคดิ วาเหมาะสมท่สี ดุ เมือ่ ตัดสินใจเลอื กแลว ก็ถงึ เวลาทดสอบส่ิงท่ีเลือกเอาไว ตองคนหาโอกาสใหตนเองอีก คร้ัง ยอมรับการฝกงาน เพื่อโอกาสที่จะไดงานในอนาคต หรือเลือกเรียนเกี่ยวกับการทํางาน นั้นๆ เพิ่มเตมิ รวมท้ังหาทางอบรมหรอื ฝก ปฏิบตั งิ านเกีย่ วกับอาชีพทตี่ นเองสนใจนัน้ ดว ย การเตรียมตัวอยางดี ยอมดีกวาการสละสิทธิ์โดยไมไดลองทําอะไรเลย การทํางาน ชว่ั คราว หรอื งานอาสาสมัครเปน การสั่งสมประสบการณในงานทํางานอยางชาๆ เปนส่ิงจําเปน สําหรับการทํางานที่มีคุณภาพ ซ่ึงจะกลายเปนที่พอใจของนายจางตอไป นอกจากนี้ควรเปน
24 สมาชิกชุมชุมท่ีมีกิจกรรมเก่ียวกับการทํางาน เพราะจะชวยใหสามารถหาคําแนะนําไดจาก สมาชิกทานอ่ืนๆ ในการคนหางาน คําแนะนํา รวมท้ังเปนบุคคลอางอิงใหเราไดอีกดวย ก็เหมือนกับคุณใชนิ้วจุมลงไปในน้ําเพ่ือทดสอบ คุณจะพบวาตนเองไดประสบการณตางๆ มากมายโดยไมมีขอผูกมัดท้ังดานเวลา และความมุงมั่น หากคุณคนพบวา อาชีพที่คุณเลือก ไมไดเปนไปตามท่ีตนเองคาดหวังไว ก็สามารถหาตัวเลือกใหมได จนกวาจะพบสิ่งที่ตนเอง ตอ งการ แตการวางแผนการประกอบอาชีพก็ยังไมใชจุดสิ้นสุดสําหรับเรื่องนี้ กิจกรรมตาง ๆ จะเปลี่ยนไปเร่อื ย ๆ ตามความเปลยี่ นแปลงในตัวคณุ “คุณตอ งรูจกั การยืดหยุน และพรอมที่จะ พัฒนาแผนการของตนเอง เพ่ือคนหาส่ิงใหมๆ ใหกับตนเอง รวมทั้งมองหาโอกาสสราง ความกา วหนา ใหตนเองอยเู สมอ” ในเรื่องของการทํางาน การวางแผนยอมทําใหการทํางานมี ประสทิ ธภิ าพมากกวาการนงิ่ เฉย การประกอบอาชพี สามารถแบง ออกเปน 2 ประเภท คอื 1. การประกอบอาชีพอิสระ มีลักษณะเปนเจาของกิจการ ดําเนินการบริหารจัดการ ดวยตนเองในรูปของกลุมอาชีพ หางหุนสวน บริษัท ฯลฯ การประกอบการหรือเจาของตองมี ความต้ังใจ อดทน ทุมเท ไมยอทอตออุปสรรค เพื่อใหกิจการดําเนินไปจนเกิดความม่ันคง ประสบความสําเรจ็ การประกอบอาชพี อสิ ระยังสามารถแบงเปน 1.1 อาชพี อสิ ระดา นการผลิต ผูประกอบอาชีพตองมีกระบวนการ หรือข้ันตอนการ ผลิตหรือการแปรรูปสินคาออกไปจําหนายในทองตลาด ในลักษณะขายสงหรือขายปลีก เชน การทาํ อาหาร การทาํ สวนผลไม การเลย้ี งปลา ฯลฯ 1.2 อาชีพอิสระดานการใหบริการ เปนอาชีพที่นิยมกันอยางแพรหลายตาม สภาพแวดลอมและวิถีชีวิต ทําใหคนท่ีมีเวลาวางนอยหันมาพ่ึงเทคโนโลยีประกอบกับการ ประกอบอาชีพงานการใหบริการมีความเส่ียงนอย การลงทุนตํ่า การประกอบอาชีพดานน้ี ปจจบุ นั จงึ แพรห ลาย เชน บริการทาํ ความสะอาด บริการซักรีดเสื้อผา บริการลางรถยนต ซอม อปุ กรณไฟฟา การทํานายโชคชะตา เปน ตน 2. การประกอบอาชีพรับจาง เปนการประกอบอาชีพโดยไมไดเปนผูประกอบการ แตตองทํางานตามที่เจานายมอบหมาย ไดรับคาตอบแทนเปนเงิน อาหาร ที่พักอาศัย และ สง่ิ จาํ เปน อื่น ๆ ปจจุบนั สงั คมไทยสว นใหญน ยิ มเปน ลูกจา ง เน่อื งจากความรับผิดชอบมีจํากัดไม
25 เสีย่ งกับผลกําไรขาดทุน ซึ่งอาจทํางานในสถานประกอบการขนาดใหญ หรือขนาดเล็ก หรือเปน ธรุ กจิ การผลติ หรือ การบรกิ าร เชน โรงงาน พนักงานขาย พนักงานบริษัท พนักงานธนาคาร พนักงานบญั ชี เปน ตน เศรษฐกจิ พอเพยี งกับอาชพี เกษตรกรรม อาชีพเกษตรกรรม ถือวาเปนอาชีพหลักและเปนอาชีพสําคัญของประเทศ ประชากร ของไทยไมนอ ยกวารอ ยละ 60 ยงั ประกอบอาชีพน้ีอยู อาชีพเกษตรกรรมเก่ียวของกับการผลิต และการจดั จาํ หนา ยสินคา และบรกิ ารทางดานการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรนอกจากใชใน การบรโิ ภคแลวยงั ใชเปน วตั ถุดิบในการผลิตทางอุตสาหกรรมอีกดวย ไดแ ก การทํานา การทํา ไร การทาํ สวน การเลีย้ งสัตว ฯลฯ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ไดพระราชทานพระราชดําริฯ ใหเกษตรกรซ่ึงเปนคนสวนใหญของประเทศมีความแข็งแรงพอกอนที่จะไปผลิตเพ่ือการคาหรือเชิง พาณิชย โดยยึดหลักการ “ทฤษฎใี หม” 3 ขน้ั คือ ขั้นที่ 1 มีความพอเพียง เลี้ยงตัวเองไดบนพ้ืนฐานของความประหยัดและขจัดการ ใชจา ย ขั้นท่ี 2 รวมพลังกันในรูปกลุม เพ่ือการผลิต การตลาด การจัดการ รวมท้ังดาน สวสั ดกิ าร การศกึ ษา การพัฒนาสังคม ขั้นที่ 3 สรางเครือขาย กลุมอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หลากหลาย โดยประสานความรวมมือกับภาคธุรกิจ ภาคองคกรพัฒนาเอกชน และภาคราชการในดาน เงนิ ทุน การตลาด การผลิต การจดั การและขา วสารขอมลู ทฤษฎีใหมเปนแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช เกย่ี วกับการจัดพ้ืนที่ดินเพ่ือการอยูอาศัยและมีชีวิตอยางย่ังยืน โดยมีการแบงพื้นท่ีเปนสวน ๆ ไดแก พ้ืนที่น้ํา พ้ืนท่ีดินเพื่อเปนที่นาปลูกขาว พื้นท่ีดินสําหรับปลูกพืชไรนานาพันธุ และท่ี สําหรับอยูอาศัย/เล้ียงสัตว ในอัตราสวน 3 : 3 : 3 : 1 เปนหลักการในการบริหารการจัดการ ทดี่ นิ และนา้ํ เพื่อการเกษตรในทด่ี นิ ขนาดเล็กใหเกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ ดังนี้ 1. มีการบริหารและจัดแบงที่ดินแปลงเล็ก ออกเปนสัดสวนที่ชัดเจน เพื่อประโยชน สงู สุดของเกษตรกร ซ่งึ ไมเคยมีใครคิดมากอ น 2. มีการคํานวณโดยหลักวิชาการ เก่ียวกับปริมาณนํ้าท่ีจะกักเก็บใหพอเพียง ตอการ เพาะปลูกไดตลอดป
26 3. มีการวางแผนที่สมบูรณแบบ สําหรับเกษตรกรรายยอย 3 ขั้นตอน เพ่ือใหพอเพียง สําหรบั เล้ยี งตนเองและเพ่ือเปนรายได ขนั้ ที่ 1 ทฤษฎใี หมขน้ั ตน สถานะพน้ื ฐานของเกษตรกร คือ มีพ้ืนที่นอย คอนขางยากจน อยใู นเขตเกษตรนํา้ ฝนเปน หลัก โดยในข้ันที่ 1 นี้มวี ัตถุประสงคเพือ่ สรางเสถยี รภาพของการผลิต เสถียรภาพดานอาหารประจําวัน ความมั่นคงของรายได ความม่ันคงของชีวิต และความมั่นคง ของชุมชนชนบท เปนเศรษฐกิจพึ่งตนเองมากข้ึน มีการจัดสรรพื้นที่ทํากินและที่อยูอาศัย ใหแบงพ้ืนท่ี ออกเปน 4 สวน ตามอัตราสวน 30 : 30 : 30 : 10 ซ่ึงหมายถึง พ้ืนท่ีสวนที่หน่ึง ประมาณ 30% ใหขุดสระเก็บกักน้ํา เพ่ือใชเก็บกักน้ําฝนในฤดูฝนและใชเสริมการปลูกพืช ในฤดูแลง ตลอดจนการเลีย้ งสตั วน าํ้ และพืชน้ําตา ง ๆ (สามารถเลยี้ งปลา ปลกู พืชน้ํา เชน ผักบุง ผักกะเฉดฯ ไดดวย) พื้นที่สวนท่ีสองประมาณ 30% ใหปลูกขาวในฤดูฝน เพ่ือใชเปนอาหาร ประจําวันในครวั เรือนใหเพยี งพอตลอดป เพื่อตดั คาใชจ ายและสามารถพึง่ ตนเองได พื้นที่สวนที่ สามประมาณ 30% ใหปลูกไมผล ไมยืนตน พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใชเปนอาหาร ประจาํ วนั หากเหลือบรโิ ภคกน็ าํ ไปจาํ หนา ย และพื้นท่สี ว นที่สีป่ ระมาณ 10% ใชเปนที่อยูอาศัย เล้ยี งสตั ว และโรงเรือนอ่ืน ๆ (ถนน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุยหมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว ไมด อกไมป ระดบั พืชผักสวนครัวหลงั บา น เปน ตน ) ทฤษฎีใหมขั้นกาวหนา เมื่อเกษตรกรเขาใจในหลักการและไดลงมือปฏิบัติตามข้ันที่ หน่งึ ในที่ดินของตนเปนระยะเวลาพอสมควรจนไดผลแลว เกษตรกรก็จะพัฒนาตนเองจากข้ัน “พออยพู อกนิ ” ไปสขู ั้น “พอมีอนั จะกิน” เพอื่ ใหม ีผลสมบูรณยิ่งขึน้ จงึ ควรท่ีจะตองดําเนินการ ตามขั้นท่ีสองและขั้นทสี่ ามตอไปตามลําดับ (มลู นธิ ชิ ัยพัฒนา, 2542) ข้ันท่ี 2 ทฤษฎีใหมข้นั กลาง เมอ่ื เกษตรกรเขาใจในหลักการและไดปฏิบัติในท่ีดินของ ตนจนไดผลแลว ก็ตองเร่ิมข้ันท่ีสอง คือ ใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุม หรือ สหกรณ รวมแรง รว มใจกันดาํ เนินการในดาน (1) การผลิต เกษตรกรจะตองรวมมือในการผลิตโดยเร่ิมต้ังแต ข้ันเตรียมดิน การหา พันธพุ ชื ปยุ การหานํา้ และอน่ื ๆ เพ่ือการเพาะปลูก (2) การตลาด เมื่อมีผลผลิตแลว จะตองเตรียมการตาง ๆ เพื่อการขายผลผลิตใหได ประโยชนส งู สดุ เชน การเตรยี มลานตากขาวรวมกนั การจัดหายุงรวบรวมขาว เตรียมหาเคร่ือง สีขาว ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลติ ใหไดราคาดี และลดคา ใชจ ายลงดว ย
27 (3) ความเปนอยู ในขณะเดียวกันเกษตรกรตองมีความเปนอยูที่ดีพอสมควร โดยมี ปจ จัยพ้นื ฐานในการดาํ รงชีวติ เชน อาหารการกินตา ง ๆ กะป น้าํ ปลา เสือ้ ผา ทพี่ อเพยี ง (4) สวสั ดกิ าร แตละชุมชนควรมสี วัสดกิ ารและบริการทจ่ี าํ เปน เชน มสี ถานีอนามัย เม่ือยามปวยไข หรือมกี องทุนไวใ หก ยู ืมเพื่อประโยชนใ นกิจกรรมตา ง ๆ (5) การศึกษา มีโรงเรียนและชุมชนมีบทบาทในการสงเสริมการศึกษา เชน มีกองทุน เพื่อการศกึ ษาเลาเรียนใหแ กเ ยาวชนของชมุ ชนเอง (6) สังคมและศาสนา ชุมชนควรเปนศูนยกลางในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมี ศาสนาเปน ท่ยี ดึ เหน่ียว กิจกรรมท้งั หมดดังกลา วขางตน จะตอ งไดรับความรวมมือจากทุกฝายท่ีเก่ียวของ ไมวา สว นราชการ องคกรเอกชน ตลอดจนสมาชกิ ในชมุ ชนนนั้ เปนสําคญั ขัน้ ท่ี 3 ทฤษฎใี หมขั้นกาวหนา เม่อื ดําเนินการผานพนขั้นท่ีสองแลว เกษตรกรจะมี รายไดดีข้ึน ฐานะมั่นคงขึ้น เกษตรกรหรือกลุมเกษตรกรก็ควรพัฒนากาวหนาไปสูข้ันท่ีสาม ตอไป คือ ติดตอประสานงานเพ่ือจัดหาทุน หรือแหลงเงิน เชน ธนาคาร หรือบริษัทหางราน เอกชน มาชวยในการทําธุรกิจ การลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้ังนี้ ท้ังฝายเกษตรกรและ ฝายธนาคารกบั บริษัท จะไดร บั ประโยชนรว มกัน กลา วคอื (1) เกษตรกรขายขา วไดใ นราคาสงู (ไมถูกกดราคา) (2) ธนาคารกับบริษัทสามารถซ้ือขาวบริโภคในราคาต่ํา (ซ้ือขาวเปลือกจากเกษตรกร มาสีเอง) (3) เกษตรกรซ้ือเคร่ืองอุปโภคบริโภคไดในราคาตํ่า เพราะรวมกันซื้อเปนจํานวนมาก (เปน รา นสหกรณซ ื้อในราคาขายสง) (4) ธนาคารกับบริษทั จะสามารถกระจายบคุ ลากร (เพอ่ื ไปดําเนนิ การในกจิ กรรมตาง ๆ ใหเ กดิ ผลดยี ง่ิ ข้ึน) ในปจจุบันนี้ไดมีการนําเอาเกษตรทฤษฎีใหมไปทําการทดลองขยายผล ณ ศูนยศึกษา การพัฒนาและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ รวมท้ังกรมวิชาการเกษตรไดดําเนินการ จัดทําแปลงสาธิต จํานวน 25 แหง กระจายอยูท่ัวประเทศ นอกจากน้ี กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพภาค กระทรวงกลาโหม และกระทรวงศึกษาธกิ าร ไดมีการดําเนินงานใหมีการนําเอาทฤษฎีใหมนี้ไป ใช อยางกวา งขวางข้ึน
28 แผนภาพ จําลองการจัดสดั สวนพน้ื ทีต่ ามแนวทฤษฎีใหมระบบการจัดการพืน้ ท่ี 1. สระนาํ้ ขนาดประมาณ 3 ไร ไวเ ก็บกกั นํ้าและเล้ียงปลาไวบรโิ ภค 2. นาขาว ประมาณ 3 ไร ปลกู ขาวไวบริโภค และปลูกพชื ผกั หมนุ เวียนตามฤดูกาล 3. ไมผ ลทีเ่ หมาะกบั สภาพดินฟาอากาศ ประมาณ 3 ไร ควรเปนแบบผสมผสาน และ พึง่ พาอาศัยกันเปนชนั้ ๆ เชน - ไมผ ลหรอื ไมใชสอยขนาดใหญ ตน สงู เชน สะตอ, มงั คดุ ฯลฯ - ไมผ ลพมุ ขนาดกลาง เชน มะมว ง ลําไย ขนุน ชมพู สม โอ ฯลฯ - ไมผ ลพมุ เตีย้ เชน มะนาว สมเขยี วหวาน สมจ๊ีด ฯลฯ - ไมผ ลและพชื ผักขนาดเล็ก เชน มะเขือ พรกิ กระเพรา ผกั หวาน ฯลฯ - ผกั สวนครัว เชน ตะไคร และพืชผัก ฯลฯ - ผกั ประเภทเถา เกาะตนไมใหญ เชน ตําลึง, ฟก, บวบ, ถั่วชนิดตางๆ, พริกไทย ฯลฯ - ผักเลอ้ื ยกินหัว เชน มัน ขงิ ขา ฯลฯ 4. ทอ่ี ยูอ าศยั ตามสภาพ คอกปศสุ ตั ว และพชื ผักสวนครวั ทต่ี องการแสงแดด และแปลง ปุยหมัก (หากไมใชมสุ ลมิ แนะนําใหเ ล้ียงหมูหลมุ ) ใชเนือ้ ที่ประมาณ 1 ไร จัดระบบ ภูมศิ าสตร และส่ิงแวดลอมท่ดี ี 5. แนวรั้วควรเปนพืชสวนครัวรั้วกินได เชน หากมีเสาร้ัวควรปลูกแกวมังกร ระหวาง เสารัว้ ควรเปนผักหวาน, ชะอม, ตนแค, มะละกอ ฯลฯ 6. รอบ ๆ ขอบสระนํ้า ปลูกพืชผักไดตามสภาพ เชน กลวย, ออย, มะรุม, แค สวนของ สระดา นในควรปลกู หญาแฝกกนั การพงั ทลายของดินลงสระ หมายเหตุ การออกแบบวางผงั ควรคาํ นงึ ถงึ สภาพพ้นื ทขี่ องแตล ะรายตามสภาพจริง
29 เรือ่ งท่ี 2 โครงการและแผนงานประกอบอาชีพ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การประกอบอาชพี ของคนเรามีมากมายหลากหลายอาชีพ เชน เกษตรกรรม การปศุสัตว การปาไม การขนสง อุตสาหกรรม การคาขาย การแกะสลักไม การเจียระไนพลอย การทอผา ฯลฯ อยางไรก็ตามการท่ีจะคิดประกอบอาชีพใด ๆ น้ัน จะตองผานการศึกษาและวิเคราะห ความเปนไปได โดยมีขอมูลตาง ๆ อยูมาก เพียงพอท่ีจะมาใชในการตัดสินใจประกอบอาชีพ น้ันได เมอื่ คดิ แลว ก็ควรกําหนด ใหเ ปน ลายลกั ษณอักษร เพ่ือใหเห็นเปนข้ันตอน แสดงถึงความ ตอเน่ือง มองเห็นขอบกพรองหรือขอมูลท่ีขาดไปได เพ่ือความสมบูรณของโครงการและ แผนงานการดําเนนิ งาน การจัดทําโครงการและแผนงานประกอบอาชีพ หรือโครงงานการประกอบอาชีพ มคี วามสาํ คัญ และจําเปน ตอการประกอบอาชพี เพราะถอื วา ไดม กี ารคดิ ไตรต รองไวล วงหนาแลว จงึ ลงมือปฏบิ ัติ ความผิดพลาดทง้ั หลายยอ มนอ ยลงโดยเฉพาะการวางแผนการดําเนินงานนั้นจะ มีความชดั เจนเก่ียวกับแผนการผลิต แผนการลงทนุ และแผนการตลาด ประโยชนของโครงงานการประกอบอาชีพ 1. ทาํ ใหก ารประกอบอาชีพบรรลุผลสาํ เรจ็ ตามเปาหมายที่กําหนดไว มรี ะบบการทํางาน และลดการทาํ งานทซ่ี ้ําซอนกนั 2. ชวยใหการใชป ระโยชนจ ากการใชท รัพยากรเปน ไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ 3. ชว ยใหเ จา ของกจิ การมีความเชื่อม่นั ในการบรหิ ารงาน และเม่อื เกดิ ปญหาข้ึนเพราะมี การวางแผน และคดิ อยา งรอบคอบมาแลว 4. ชว ยใหเ จาของกจิ การสามารถตรวจสอบข้ันตอนการดําเนนิ งาน และความสําเร็จของ เปา หมาย องคป ระกอบของโครงการการประกอบอาชีพ เมอื่ ตัดสินใจเลอื กอาชพี และมีการวิเคราะหความพรอ ม และความเปนไปไดข องอาชีพ ท่ีตัดสินใจเลือกแลว ขั้นตอนตอไปคือ การเขียนโครงการการประกอบอาชีพที่ตัดสินใจเลือก การเขียนโครงการการประกอบอาชีพ มอี งคป ระกอบหรือหัวขอ ที่ตองเขียนดังนี้
30 1. ช่ือโครงการ ควรต้ังช่ือโครงการท่ีสื่อความหมายไดชัดเจน เชน โครงการเล้ียงไก กระทงโครงการขายผักปลอดสารพิษ โครงการจําหนายอาหารสาํ เรจ็ รูป เปนตน 2. เหตผุ ล/แรงจูงใจในการทาํ โครงการ ใหเขียนถึงเหตุผลท่ีเลือกทําโครงการน้ัน เชน เปนอาชีพท่ีเปนความตองการของตลาด/ชุมชน หรือตัวผูประกอบอาชีพมีความถนัด ความสนใจ ในอาชีพนั้นๆ อยา งไร เปน ตน 3. วัตถุประสงค ใหเขียนวัตถปุ ระสงคใ นการทําโครงการน้ัน ๆ ใหชัดเจน เชน เพือ่ ใหม ี ประสบการณในการทําอาชีพน้ัน ๆ หรือเพ่ือศึกษาความเปนไปไดของตนเองในการประกอบ อาชีพนน้ั ๆ 4. เปาหมาย ควรกาํ หนดเปา หมายในเชิงปริมาณและคุณภาพใหชัดเจน เชน การเลี้ยง ไกก ระทงจะเลยี้ ง 5 รนุ รนุ ละกตี่ วั 5. ระยะเวลาดําเนินโครงการ ตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดโครงการใชเวลาดําเนินการนาน แคไหนเริ่มตน โครงการเมอื่ ใด จะส้ินสุดโครงการหรือขยายกิจการชวงใด 6. สถานทปี่ ระกอบการ ตองระบุทตี่ ง้ั ของสถานท่ที ี่จะประกอบอาชีพน้นั 7. การดาํ เนนิ งาน ใหเ ขยี นแสดงขั้นตอนการดาํ เนนิ งานอยางละเอียดต้ังแตขั้นวางแผน ปฏิบัติการการปฏิบัติการตามแผน และประเมินปรับปรุง การเขียนแผนการดําเนินงานการ ประกอบอาชีพ ควรมีองคประกอบหรือหวั ขอ ดังน้ี 7.1 แผนการผลติ ใหเสนอรายละเอียดวาในการผลติ หรือขายสินคา หรอื บรกิ าร ตาม โครงการที่กาํ หนดน้ัน มีข้ันตอนการผลิตอยางไร และกําหนดเวลาตามข้ันตอนนั้น ไวอยางไร 7.2 แผนการลงทุน ใหระบุวาที่มาของเงินทุนท่ีใชในโครงการประกอบอาชีพ นนั้ ไดมาอยา งไร เงินทุนออกเอง หรอื กูย มื มาจากแหลงเงินทุนตา ง ๆ 7.3 แผนการตลาด ใหเ สนอรายละเอยี ดวา สนิ คา หรือบรกิ ารในโครงการ ประกอบ อาชีพนนั้ ๆ มลี กู คา ที่คาดหวังจาํ นวนเทาใด และจะวางแผนเพ่ือขยายตลาด ให กวา งขวางขนึ้ อยางไร ในระยะเวลาใด 8. ปญหาและแนวทางแกไข ใหระบุปญหาที่คาดวาจะเกิดขึ้นกับการประกอบอาชีพ นนั้ ๆ 9. ผลทค่ี าดวา จะไดร บั แสดงใหเ ห็นถงึ ผลของการดําเนินงานในการประกอบอาชีพใน ดา นตา ง ๆ เชน ดานความรูแ ละประสบการณท่ีไดร ับ ดานกาํ ไร และความพึงพอใจตาง ๆ
31 10. ผรู ับผิดชอบดําเนินการ ระบุช่ือผทู ีเ่ ปน เจาของกิจการ หรือรับผิดชอบโครงการใน กรณีท่ีมีผูรว มโครงการหลาย ๆ คน ก็ใหชื่อผูรว มโครงการทง้ั หมดดว ย การกําหนดโครงการการประกอบอาชีพทตี่ ัดสนิ ใจเลอื ก กอ นการเรม่ิ ตนเขยี นโครงการ การประกอบอาชพี ทีต่ ดั สนิ ใจเลอื ก มคี วามจาํ เปน ตอ งศกึ ษา รวบรวมขอ มลู ดานตาง ๆ ในอาชพี นนั้ ๆ ดงั นี้ 1. ศึกษาสาํ รวจความตองการของตลาด โดยการสํารวจสภาพ และความตองการ ของ ชุมชน ท่ีจะเปนแหลงประกอบอาชีพเก่ียวกับ จํานวนประชากร ลักษณะเฉพาะของประชากร ซ่งึ ประกอบดวย เพศ อายุ รายได อาชีพ ระดับการศึกษาความตองการสินคาและบริการใน อาชีพน้ัน ๆ จํานวนและอุปนิสัยในการซ้ือของประชากรในพ้ืนท่ี สภาพปญหาและอุปสรรค ตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้น เชน มีคูแขงขันขายสินคาหรือบริการประเภทเดียวกันในพ้ืนท่ีน้ัน เปน ตน 2. ทาํ เลท่ตี งั้ กจิ การ จะตอ งพจิ ารณาวา ทําเลที่ตง้ั กิจการท่ีจะประกอบอาชีพท่ีตัดสินใจ เลือกนั้นมีลักษณะท่ีจําเปนในส่ิงตอไปน้ีหรือไมเพียงใด การคมนาคม ขนสงสะดวก หรอื ไม สภาพแวดลอ มเหมาะสมหรอื ไม มคี ูแขงขนั ทข่ี ายสินคาบริการ ประเภทเดียวกันหรือไม ถา มีจะแกป ญ หาอยางไร 3. สํารวจความพรอมของตนเองในทุกดาน เชน ดานความรู ความสามารถในอาชีพ ดานปจจยั การผลิตตา ง ๆ วา มคี วามพรอมหรือไม อยางไร ถา ไมพรอ มจะแกป ญ หาอยา งไร 4. ศึกษาความเปนไปไดของอาชีพ จะตองพิจารณาวาอาชีพที่เลือกน้ันจะทําใหรายได มากนอยเพยี งใด คุม กบั ทนุ ท่ีลงไปหรอื ไม จะใชเ วลาเทา ใดจงึ จะคุม ทนุ รายไดหรอื กําไรเพียงพอ จะเลี้ยงชีพหรือไม หากรายไดไมเพียงพอจะแกปญหาอยางไร เมื่อไดศึกษารวบรวมขอมูล ดงั กลา วแลว และเห็นวา มแี นวทางจะดาํ เนินโครงการได กเ็ รม่ิ ลงมอื เขียนโครงการการประกอบ อาชพี ตามหัวขอ ทก่ี าํ หนด ตัวอยา ง การเขยี นโครงงานการประกอบอาชพี 1. ชื่อโครงการ โครงการจาํ หนายอาหารสําเรจ็ รูป 2. ชอ่ื ผดู าํ เนินโครงการ....................................... 3. ชอื่ อาจารยท ีป่ รกึ ษาโครงการ...........................
32 4. หลกั การและเหตุผล อาหารเปนสิ่งจาํ เปนสาํ หรบั ทกุ คน เราตองรับประทานอาหาร ทุกวัน คนในหมูบานของกลุมผูดําเนินโครงการสวนใหญประกอบอาชีพนอกบาน มักไมมีเวลา ประกอบอาหารเอง ใกลหมูบานยังมีสํานักงานของเอกชนซ่ึงมีพนักงานจํานวนมาก แตใน บริเวณน้ีมีรานจําหนายอาหารสําเร็จรูปนอยคุณภาพอาหารและการบริการไมคอยดี ไมมีราน จําหนายอาหารสําเรจ็ รูปทมี่ คี ณุ ภาพดี และราคาปานกลาง สมาชิกของกลุมมีความสามารถใน การประกอบอาหารไดดี และบริเวณบานของสมาชิกมีสถานที่กวางเหมาะท่ีจะจัดเปนราน จําหนา ยอาหาร จึงไดจัดทาํ โครงการจําหนายอาหารสําเร็จรปู 5. วตั ถปุ ระสงค 1. เพอ่ื ใหม ีประสบการณในการประกอบอาชพี จาํ หนายอาหารสําเรจ็ รปู 2. เหน็ ชอ งทางและมีความรคู วามสามารถในการประกอบอาชพี จาํ หนา ยอาหาร สาํ เร็จรูป 3. สามารถนําความรูท่ีไดจากการเรียนและประสบการณการปฏิบัติโครงงาน อาชีพไปใชป ระโยชนในการประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม 6. เปา หมาย ดานปริมาณ ปรงุ และจาํ หนายอาหารสําเรจ็ รูปในวันเสารและวันอาทติ ย ดานคุณภาพ นักเรียนทุกคนในกลุมเห็นชองทางในการประกอบอาชีพและ พัฒนาการประกอบอาชพี ไดอยางเหมาะสม 7. ระยะเวลาดําเนนิ โครงการตลอดโครงการตงั้ แตเ ปดภาคเรยี นจนถงึ ปด ภาคเรียน (20 พฤษภาคม - 30 กนั ยายน และ 1 พฤศจกิ ายน – 15 มนี าคม ) 8. สถานท่ีประกอบอาชีพ บานเลขที่.....หมูท่ี.....ตําบล.........อําเภอ.......... จังหวัด................ 9. งบประมาณ 9.1 แหลง เงินทนุ เงินสะสมของสมาชิกกลมุ คนละ 1,000 บาท 9.2 จํานวนเงนิ ทุนเริ่มโครงการ 15,000 บาท 9.3 ทรัพยส ินถาวร โตะ เกาอี้ ถวย ชาม และเครื่องครัว สวนหนึ่งยืมใชช่ัวคราว / จัดซ้ือ 9.4 ทรพั ยส ินสน้ิ เปลือง อาหารสด ซอ้ื เปน รายวนั
33 9.5 เงินทุนขยายกิจการ หากกิจกรรมประสบความสําเร็จก็จะนํากําไรมาขยาย กจิ การ 9.6 กําไร (คาดการณ) ในระยะเรม่ิ แรกมกี าํ ไรประมาณวันละ 300-500 บาท 10. ข้นั ตอนการดาํ เนนิ งาน 1. การเตรยี มการ - ศึกษาสาํ รวจขอมูล - เขยี นโครงการ - ขออนุมตั โิ ครงการ - เตรียมหาทนุ - กําหนดรายการอาหารทจี่ ะปรุงจําหนา ย - ประชาสมั พันธใ หล ูกคาเปา หมายทราบ 2. การเตรยี มสถานท่ี - จัดตกแตง สถานที่ - เตรียมวสั ดุอุปกรณ 3. ข้ันตอนการดําเนนิ งานอยางละเอียด - ศึกษาหาความรูเบอ้ื งตนเกี่ยวกับการปฏิบัติงานอาชพี - ศึกษาสํารวจขอมลู ตา ง ๆ เพื่อสํารวจความสนใจประกอบการเลอื กอาชพี - วิเคราะหขอมลู - ตัดสินใจเลือกอาชีพ - ศกึ ษาวิธเี ขยี นโครงงานอาชพี - ขออนุมตั โิ ครงงานอาชพี - ศึกษาคน ควาหาความรูเพมิ่ เตมิ - กําหนดรายการอาหารทจี่ ะจาํ หนาย - ประชาสัมพันธบอกกลมุ ลกู คา เปา หมาย - เตรยี มอปุ กรณการปรงุ อาหาร ภาชนะตาง ๆ - ตกแตง สถานท่ี - ลงมอื ปรงุ อาหารจาํ หนาย โดยสับเปล่ียนหมุนเวียนการปฏบิ ัตหิ นาท่ีดังนี้ ซ้ืออาหารสด ตกแตง / ทาํ ความสะอาดรา น / ลางภาชนะ บริการลกู คา เกบ็ เงิน
34 – ทําบัญชี - ประเมนิ การปฏิบตั ิงานเปนรายวัน / รายสปั ดาห - ประเมนิ สรปุ เมือ่ ปฏบิ ัตงิ านเสรจ็ สน้ิ - เสนอแนะแนวทางการพฒั นาอาชีพ 11. ปญหาและแนวทางแกไข 1. ปญ หา ทค่ี าดวาจะเกิดข้นึ ระหวา งปฏบิ ัติงาน - ลกู คา มไี มเปนไปตามเปา หมาย - ประสบการณในการจาํ หนายสินคาไมเ พียงพอ 2. แนวทางแกไ ข - นาํ อาหารสาํ เรจ็ รปู ใสถ ุงไปจาํ หนา ยตามบา น / ชมุ ชน - ขอคําแนะนําจากอาจารยทป่ี รึกษาเปน ระยะ 12. ผลทค่ี าดวาจะไดร ับ 1. ดานความรูแ ละประสบการณ นักเรียนทุกคนมีประสบการณในการประกอบ อาชีพ เห็นชอ งทางในการประกอบอาชพี ในอนาคต 2. ดานผลผลิต ทรัพยสิน กําไร นักเรียนมีรายไดระหวางเรียน ทําใหเห็น คณุ คา ของการประกอบอาชพี แบงเบาภาระผูปกครอง ลงช่อื ผูเสนอโครงการ………………………………….. โครงการการประกอบอาชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การจัดทําโครงการการประกอบอาชีพ มีความสําคัญ และจําเปนตอการประกอบอาชีพ เพราะถอื วา ไดมีการวางแผน กอนลงมือปฏิบัติ ความผิดพลาดทั้งหลายยอมนอยลงโดยเฉพาะ การวางแผนการดําเนินงานนั้นจะมีความชัดเจนเกี่ยวกับ แผนการผลิต แผนการลงทุน และ แผนการตลาด การจัดทําโครงการการประกอบอาชพี ทด่ี ี ยอมทําใหก ารประกอบอาชพี บรรลุผล สาํ เรจ็ ตามเปาหมายทก่ี ําหนดไว มีระบบการทํางาน และลดการทํางานท่ีซํ้าซอนกัน ทําใหการใชทรัพยากรเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ ชวยใหเจาของกิจการมีความเช่ือม่ันในการบริหารงาน และเม่ือเกิดปญหาข้ึนก็
35 สามารถแกไขปญหาไดอยางดี เพราะมีการวางแผน และคิดอยางรอบคอบมาแลวชวยให เจาของกิจการสามารถตรวจสอบขั้นตอนการดําเนินงาน และความสําเร็จ ของเปาหมายได อยา งตอเนอื่ ง การจัดทําโครงการการประกอบอาชพี สามารถนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกตใ ชใ นการวางแผน การดําเนนิ งานไดโดยจะเหน็ ไดวา “เศรษฐกิจพอเพียงจรงิ ๆ คือ หลกั การดาํ เนินชีวิตทีจ่ ริงแทท ่ีสุด กรอบแนวคดิ ของหลักปรชั ญามงุ เนนความม่นั คงและความ ย่งั ยืนของการพัฒนา อันมีคณุ ลักษณะทสี่ าํ คญั คอื สามารถประยุกตใชใ นทกุ ระดบั ตลอดจนให ความสาํ คญั กบั คําวา ความพอเพียง ทป่ี ระกอบดวย ความพอประมาณ ความมเี หตุมผี ล มภี มู คิ ุมกนั ทด่ี ีในตวั ภายใตเงือ่ นไขของการตดั สินใจและการดําเนนิ กิจกรรมทตี่ องอาศัยเงอื่ นไข ความรูและเงื่อนไขคณุ ธรรม” เรือ่ งท่ี 3 การนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปนฐานในการประกอบอาชพี เศรษฐกจิ พอเพียงกบั อาชีพธุรกิจ ธุรกิจทุกประเภทไมวาจะเปนธุรกิจประเภทการผลิต การคา หรือบริการ ลวนแตมี ความสําคญั อยางยงิ่ ตอระบบเศรษฐกจิ และสังคม เน่ืองจากผลประกอบการทางธุรกิจมีอิทธิพล ตอมูลคาทางเศรษฐกิจและความเจริญเติบโตของประเทศ การดําเนินธุรกิจในประเทศไทย ที่ผานมามีเปาหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดวยระบบทุนนิยมที่กระตุนใหคนบริโภค ตลอดเวลาและมากยิ่งขึ้น เพื่อผลตอบแทนสูงสุดโดยไมคํานึงถึงวิธีการอันชอบธรรม การขยายตัวของผลผลิตมุงการพึ่งพาอุปสงค เทคโนโลยีและทุนจากตางประเทศ ทําให ความสามารถในการพ่ึงพาตนเองตํ่าลง องคกรธุรกิจถูกครอบงําความคิดจากกระแสโลกา ภิวัตนดานลบ สงผลกระทบตอคานิยมและทัศนคติท่ีเนนความรํ่ารวยและความสะดวกสบาย เปนเปาหมาย เหน็ ประโยชนส วนตนมากกวาสวนรวม และขาดจิตสํานึกตอสาธารณะ องคกร ธรุ กจิ ตองเผชญิ กับความเสย่ี งภายใตเงื่อนไขในระบบเศรษฐกิจโลกที่มีความสลับซับซอนและมี การเปล่ยี นแปลงรอบดา น
36 ดงั นั้น การปรับตวั ตอ กระแสโลกาภิวัตน จึงจําเปนตอ งอาศยั การเรยี นรแู ละการยืนหยัด อยูบนพ้ืนฐานของการพ่ึงพาตนเองตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสราง ศักยภาพการดําเนินธุรกิจเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขัน และสรางภูมิคุมกันตอผลกระทบ จากสภาพแวดลอมภายนอก ในบริบทของความเชื่อมั่นตอการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใชในองคกรจากประเด็นตางๆ ไดแก เศรษฐกิจพอเพียงใชไดผลดีเฉพาะในภาคเกษตร เศรษฐกจิ พอเพยี งคือการประหยัดและไมเปนหน้ี การแสวงหากําไรขัดกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไมเหมาะสมกับธุรกิจในยุคโลกาภิวัตน เม่ือพิจารณา จากแนวคิด หลักการ และองคประกอบตางๆ ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถ อธบิ ายในประเดน็ ดังกลาว ดงั นี้ เนือ่ งจากปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดนําไปประยุกตใชกับภาคเกษตรในระยะแรก เพราะมีความขัดสนสูงกวาภาคอ่ืนๆ ทําใหเกิดความเขาใจผิดวา เศรษฐกิจพอเพียงใชไดผลดี เฉพาะภาคเกษตรเทานั้น ซึ่ง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล (2549: 286) ไดอธิบายวา “เศรษฐกิจ พอเพียงมิไดจํากัดเฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไรชาวนาเพียงเทานั้น แตเปนเศรษฐกิจของ ทุกคนทกุ อาชพี ทั้งท่อี ยูใ นเมอื งและอยูในชนบท เชน ผูที่เปนเจาของโรงงานอุตสาหกรรมและ บรษิ ัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถาจะตองขยายกิจการเพราะความเจริญเติบโตของเนื้องาน โดยอาศยั การขยายตวั อยา งคอ ยเปนคอ ยไป หรือหากจะกยู มื ก็กระทําตามความเหมาะสม ไมใช กมู าลงทนุ จนเกนิ ตัวจนไมเหลือท่มี ่ันใหยืนอยไู ด ตอ งรูจักใชจ าย ไมฟมุ เฟอ ยเกนิ ตัว” อยา งไร ก็ตาม เม่อื พิจารณาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในดานองคประกอบและเงื่อนไข จะเห็นไดวา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปใชไดในทุกระดับและประกอบ อาชพี ไดในทกุ สาขาไมจ าํ กัดเฉพาะภาคเกษตร การประยุกตใชกับภาคธุรกิจและภาคเศรษฐกิจ อนื่ ๆ มีความสาํ คัญมาก เนอ่ื งจากแนวโนม สังคมไทยเปน สังคมเมืองมากขึ้น และการผลิตของภาค ธุรกจิ มสี ัดสว นสูงมาก หากภาคธุรกิจไมใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางแลว ยากท่ี จะเกดิ ความพอเพยี ง (ณัฏฐพงศ ทองภักด,ี 2550: 18) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําทางการบริหารธุรกิจ โดยไมปฏิเสธระบบ การตลาด แตเปนเคร่ืองช้ีนําการทํางานของกลไกตลาดใหมีเสถียรภาพดีข้ึน และไมขัดกับ
37 หลักการแสวงหากําไร จึงไมจําเปนตองลดกําไรหรือลดกําลังการผลิตลง แตการไดมาซึ่งกําไร ของธรุ กจิ ตอ งอยบู นพื้นฐานของการไมเอารัดเอาเปรยี บผูอ น่ื หรอื แสวงหาผลกําไรเกินควรจาก การเบียดเบียนประโยชนของสังคม ตลอดจนตองคํานึงถึงการใชทรัพยากรในธุรกิจอยาง ประหยัดและมีคุณภาพ ดังพระราชดํารัสเน่ืองในวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันท่ี 4 ธันวาคม 2550 ความวา (พิพัฒน ยอดพฤตกิ าร, 2551ก: 2) “ในเรอ่ื งเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ไมใชเพียงพอ ไมไดหมายความวา ใหทํากําไร เล็กๆ นอยๆเทาน้ันเอง ทํากําไรก็ทํา ถาเราทํากําไรไดดี มันก็ดี แตวาขอใหมันพอเพียง ถาทา นเอากําไรหนาเลือดมากเกินไป มนั ไมใชพอเพยี ง นกั เศรษฐกิจเขาวาพระเจาอยหู ัว นีค่ ิดอะไรแปลกๆ ก็แปลกสิ ขายไมใหไดก ําไร ซอ้ื อะไรไมขาดทุน เปนเศรษฐกิจพอเพียง คอื ไมตอ งหนาเลอื ด แลวไมใชจะมีกําไรมากเกินไป หรอื นอยเกนิ ไป ใหพอเพียง ไมใชเรื่องของ การคา เทาน้นั เอง เปนเรื่องของการพอเหมาะพอด”ี นอกจากนี้ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไมปฏิเสธการเปน หน้หี รือการกูยืมเงินเพ่ือการ ลงทนุ ในภาคธุรกิจ โดยยงั คงมุงสรา งประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสูงสดุ ในการผลิต เพือ่ ความกาวหนา ขององคกร แตเ นนการบรหิ ารความเสยี่ งตํ่า กลาวคือ การกูยืมเงินเพื่อลงทุน ทางธรุ กจิ จะตอ งมีการวเิ คราะหและประเมินความเสี่ยงที่จะกระทบตอธุรกิจ โดยคํานึงถึงหลัก ความคุมคาและกําหนดมาตรการรองรับความเสี่ยงที่ จะเกิดขึ้น (พิพัฒน ยอดพฤติการ, 2551: 1) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสงเสริมใหธุรกิจสามารถแขงขันไดอยางยั่งยืนใน ระยะยาวและสรางความพรอมสําหรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ธุรกิจที่ใชหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงจะแขงขันอยางพอประมาณตามศักยภาพของตนเอง โดยทําธุรกิจที่มีความ ชาํ นาญหรือสรางความรู เพือ่ พัฒนาตนเองใหม ีความสามารถในการแขง ขันท่ี ดีขึน้ ดังน้ัน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงไมสนับสนุนระบบเศรษฐกิจปดที่ไม เก่ียวของกับใครไมคาขาย ไมสงออก หรือหันหลังใหกับกระแสโลกาภิวัตน แตเปนปรัชญาที่ เนนการพัฒนาอยางเปนขั้นตอนบนรากฐานที่เขมแข็ง โดยองคกรธุรกิจตองรูเทาทัน ความสามารถของตนเอง ใชหลักตนเปนที่พึ่งของตนเองใหไดกอน จากน้ันจึงพัฒนาตนเอง
38 เพื่อใหธุรกิจมีคุณภาพและเขมแข็งข้ึน สามารถเปนท่ีพ่ึงแกผูอื่นได และนําไปสูสังคมที่มีการ เก้ือกูลซึ่งกันและกันไดในท่ีสุด (สุทิน ลี้ปยะชาติ, นริสา พิชัยวรุตมะและอาทิสุดา ณ นคร, 2550: 9) จากการรายงานของโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติประจําประเทศไทย เรื่อง “เศรษฐกจิ พอเพียงกับการพฒั นาคน” ในป 2550 ไดสนับสนุน การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใชในภาคธุรกิจวา เศรษฐกิจพอเพียงชวยยกระดับความรับผิดชอบตอสังคมของ บริษัท ดวยการสรางขอปฏิบัติในการทําธุรกิจที่เนนผลกําไรระยะยาวในบริบทที่มีการแขงขัน การบริหารธุรกิจใหเกิดกําไรในโลกทุกวันน้ี มีความซับซอนมากกวาการคิดถึงตนทุนและ ผลตอบแทน ธรุ กิจตอ งคํานงึ ถงึ ผมู ีสว นไดส วนเสียจากทกุ กลมุ ตงั้ แตน ายจางไปจนถึงลูกคาและ สังคมโดยรวม อยา งไรก็ตาม ธุรกจิ ยังตอ งตระหนักถึงความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดข้ึนไดตลอดเวลา ในสภาพแวดลอมที่มีการแขงขันสูงและมีการเปลี่ยนแปลงอยางผูนําธุรกิจกับการขับเคลื่อน เศรษฐกิจพอเพียงในองคกรรวดเร็ว (สุทิน ลี้ปยะชาติ, นริสา พิชัยวรุตมะ และอาทิสุดาณ นคร, 2550 : 8) จะเห็นไดวา แทจริงแลวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักการเก่ียวกับการ พัฒนาตนเอง เพ่ือเพิ่มความสามารถในการตอบสนองกิจการตางๆ รอบดาน โดยไม จํากัด เฉพาะภาคเกษตร องคกรท่ีตองการเติบโตไดอยา งยงั่ ยนื ทา มกลางกระแสโลกาภวิ ตั นจําเปนตอง นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช ซึ่งไมขัดกับหลักการแสวงหากําไร โดยอยูบน พ้นื ฐานของการไมเ อารัดเอาเปรยี บผอู ่นื และคาํ นงึ ถึงความเสีย่ งทจี่ ะกระทบตอธรุ กจิ เรื่องท่ี 4 คณุ ธรรมในการประกอบอาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การประกอบอาชีพของบุคคลทกุ คน ยอ มมุง หวังใหตนเองประสบความสําเร็จในอาชีพ หนาท่ีการงานท้ังน้ัน และแนวทาง วิธีการที่จะนําไปสูความสําเร็จ สามารถยึดเปนหลักการ แนวทางในการประกอบอาชีพไดท ุกอาชพี คือหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การประกอบอาชีพตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ควรยดึ หลกั ในการ ปฏิบัตติ น ดังนี้
39 1. ยดึ ความประหยัด ตัดทอนคา ใชจ ายในทุกดาน ลดละความฟมุ เฟอ ยในการดํารงชีวิต อยางจริงจัง ดังพระราชดํารัสวา “ความเปนอยูที่ตองไมฟุงเฟอ ตองประหยัดไปในทางท่ี ถูกตอ ง” ปฏิบตั ิไดดวยวิธจี ดบนั ทึกหรือทาํ บญั ชคี รวั เรือน 2. ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดวยความถูกตอง สุจรติ แมจะตกอยูในภาวะขาดแคลนใน การดํารงชีพก็ตาม ดังพระราชดํารัสท่ีวา “ความเจริญของคนท้ังหลายยอมเกิดมาจากการ ประพฤติชอบและการหาเล้ียงชีพของตนเปนหลักสาํ คญั ” 3. ละเลกิ การแกง แยงประโยชน และแขงขันกันในทางการคาขายประกอบอาชีพแบบ ตอสูกันอยางรุนแรงดังอดีต ซึ่งมีพระราชดํารัสเร่ืองน้ีวา “ความสุขความเจริญอันแทจริงน้ัน หมายถงึ ความสุข ความเจริญท่ีบุคคลแสวงหามาไดดวยความเปนธรรมท้ังในเจตนา และการ กระทํา ไมใชไดม าดวยความบงั เอิญ หรอื ดวยการแกง แยง เบียดบงั มาจากผอู ่ืน” 4. ใฝหาความรู ไมหยุดน่ิงท่ีจะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกขยากครั้งน้ี โดยตองขวนขวายใฝหาความรูใหเกิดมีรายไดเพิ่มพูนข้ึนจนถึงขั้นพอเพียงเปนเปาหมายสําคัญ พระราชดํารัสตอนหนึ่งที่ใหความชัดเจนวา “การที่ตองการใหทุกคนพยายามที่ จะหาความรู และสรางตนเองใหมั่นคงนี้เพื่อตนเอง เพ่ือที่จะใหตัวเองมีความเปนอยูที่กาวหนาท่ีมีความสุข พอมีพอกินเปนขัน้ หนึ่ง และข้นั ตอไป กค็ อื ใหมีเกยี รตวิ า ยนื ไดด ว ยตวั เอง” 5. ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลดละสิ่งยั่วกิเลสใหหมดสิ้นไป ท้ังนี้ดวยสังคมไทยท่ีลม สลายลงในครั้งนี้ เพราะยงั มบี ุคคลจํานวนมใิ ชนอยท่ีดําเนินการโดยปราศจากละอายตอแผนดิน พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวไดพระราชทานพระบรมราโชวาทวา “พยายามไมกอความช่ัวให เปนเครื่องทําลายตัวทําลายผูอื่น พยายามลด พยายามละความช่ัวท่ีตัวเองมีอยู พยายามกอ ความดีใหแกตัวอยูเสมอ พยายามรักษา และเพ่ิมพูนความดีท่ีมีอยูนั้นใหงอกงามสมบูรณขึ้น” ทรงยาํ้ เนนวาคําสําคัญท่ีสุด คือ คําวา “พอ” ตองสรางความพอที่สมเหตุสมผลใหกับตัวเองให ไดแ ละเราก็จะพบกับความสุข หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนาํ มาเปน แนวทางในการประกอบอาชีพได ทกุ อาชพี เชน อาชีพเกษตรกรรม อาชีพธุรกิจ ฯลฯ “เศรษฐกิจพอเพียงจริงๆ คือหลักการ ดําเนินชีวิตท่ีจริงแทที่สุด กรอบแนวคิดของหลักปรัชญามุงเนนความม่ันคงและความย่ังยืน ของการพัฒนา อันมีคุณลักษณะที่สําคัญ คือ สามารถประยุกตใชในทุกระดับ ตลอดจนให ความสําคัญกับคําวา ความพอเพียง ท่ีประกอบดวย ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล
40 มีภมู ิคมุ กนั ท่ดี ีในตัว ภายใตเ งื่อนไขของการตดั สินใจและการดําเนินกิจกรรมท่ีตองอาศัยเงื่อนไข ความรแู ละเงอ่ื นไขคุณธรรม” หรือทเี่ รยี กวา 3 หวง และ 2 เงื่อนไข ดงั นี้ ความพอประมาณ ไดแ ก เรยี บงา ย ประหยัด การทําอะไรท่ีพอเหมาะพอควร สมดุล กบั อัตภาพ ศักยภาพของตนและสภาวะแวดลอม ตามความสามารถของแตละคน พอประมาณ กับภมู ิสงั คม สง่ิ แวดลอม สถานการณ การทํางานทุกอยางตองเรียบงาย ประหยัด อยาทํางาน ใหย ุง ทาํ ใหงายตอการเขาใจ มีกําหนดการทํางานตามลําดับข้ันตอน และมีการปฏิบัติชัดเจน เชน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตองรูวานักศึกษาตองการอะไร ผูใชบัณฑิตตองการอะไร เพราะทุกกิจกรรม ทุกงานที่ทํามีตนทุนอยาทํางานทิ้งๆ ขวาง ๆ การทํางานตองมีประโยชน มผี ลผลิตที่เกดิ ขน้ึ ความมีเหตุผล คือ การคิด ฟง ปฏิบัติ การทํางานตองใชหลักความรูในการทํางาน วางแผนงานตองระมัดระวัง ตอ งใชห ลกั วิชาการชวยสนับสนุน อยาใชความรูสึกและอารมณใน การทํางาน ทุกคนมศี กั ยภาพในการทํางาน การพัฒนาตัวเองตองเกิดขึ้นจากภายในตัวเองของ แตละคน จงึ ตอ งแสดงศักยภาพออกมาใหได มรี ะบบภมู คิ ุมกนั ในตวั ท่ดี ี คอื ตอ งมีแผนกลยุทธ เชน เปนอาจารยตองมีแผนการสอน องคกรตองมีแผนกลยุทธ เปนตน การทํางานตองใหเกิดประโยชนสูงสุด ตองมองภาพรวม ทุกคนมสี ว นรวม คอื การประสานงาน และการบูรณาการปรับวิธีการทํางาน หนวยงานองคกร ตองมีธรรมาภิบาลเพอ่ื เปนการสรา งภูมคิ นุ กันภายในตวั มีความรู การเรียนรูเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทุกคนมักจะมองขามไป เม่ือคิดวาตนเองมี ความรูเพียงพอแลว แตในความเปนจริงแลว ทุกอาชีพยอมตองมีการเรียนรูอยางตอเนื่อง เพอ่ื เพมิ่ พนู ทักษะ เพ่อื แสวงหาความรูใหม ความรอบรเู ก่ียวกับวิชาการตาง ๆ ที่เก่ียวของอยาง รอบดา น ความรอบคอบทจ่ี ะนาํ ความรูเ หลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขน้ั ปฏิบตั ิ หรือแมแ ตใหตนเองมคี วามตระหนักที่จะลับความรู ของตนใหแ หลมคมอยูเสมอ เพื่อความกาวหนา ในหนาท่กี ารงาน มีคุณธรรม การประกอบอาชีพตองสัมพันธเกี่ยวของกับบุคคล สังคมและสิ่งแวดลอม อยางหลีกเล่ียงไมได เพื่อใหการประกอบอาชีพประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย ไดรับการ สนับสนนุ จากผูเกี่ยวขอ ง ผรู วมงาน และลกู คา ผปู ระกอบอาชีพตอ งมคี ณุ ธรรม ดงั นี้
41 - ความขยัน อดทน คือความต้ังใจเพียรพยายามทําหนาท่ีการงาน การประกอบอาชีพอยางตอเนื่อง สมํ่าเสมอ ความขยันตองปฏิบัติควบคูกับการใชสติปญญา แกปญ หาจนงานเกิดผลสาํ เรจ็ ผทู ่มี คี วามขยัน คอื ผทู ีต่ ้ังใจประกอบอาชีพอยางจริงจังตอเน่ือง ในเรอ่ื งที่ถูกท่คี วร มีความพยายามเปนคนสูงาน ไมทอถอย กลาเผชิญอุปสรรค รักงานท่ีทํา ตงั้ ใจทําหนาท่ีอยา งจรงิ จัง - ซือ่ สัตย คือการประพฤติตรง ไมเอนเอียง จริงใจไมมีเลหเหลี่ยมผูที่มีความ ซื่อสัตย คือผูท่ีประกอบอาชีพตรงไปตรงมา ไมคดโกง ไมเอาเปรียบผูบริโภค ไมใชวัตถุที่เปน อันตราย และคาํ นงึ ถงึ ผลกระทบกบั สภาพแวดลอ ม - ความอดทน คือ การรักษาสภาวะปกติของตนไวไมวาจะกระทบกระท่ัง ปญ หาอุปสรรคใด ผมู ีความอดทน ในการประกอบอาชีพ นอกจากจะอาศัยปญญาแลว ลว นตอง อาศยั ขันติ หรือความอดทนในการตอ สแู กไ ขปญหาตา งใหงานอาชีพบรรลุความสําเร็จดวยกัน ทงั้ ส้ิน - การแบงปน / การให คือการแบงปนส่ิงที่เรามี หรือส่ิงท่ีเราสามารถใหแก ผูอน่ื ไดแ ละเปน ประโยชนแ กผ ทู รี่ บั การใหผ ูอื่นทบี่ รสิ ทุ ธ์ิใจไมห วังสง่ิ ตอบแทนจะทําใหผูใหไดรับ ความสขุ ทีเ่ ปนความทรงจาํ ท่ียาวนาน การประกอบอาชีพโดยรูจ กั การแบง ปน หรือใหส ิ่งตาง ๆ ที่สามารถใหไดแกลูกคาและชุมชนของเรายอมไดรับการตอบสนองจากลูกคาในดานความ เชอื่ ถอื โครงการการประกอบอาชีพ สามารถนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการบริหาร จดั การไดจ ริง ดังจะเห็นไดวา เศรษฐกจิ พอเพียงไมไ ดท ําใหเราอยูรอดไปวันๆ เทานั้น แตจะทํา ใหเรามีความสุขอยางยั่งยืน และยังพัฒนาตนเองใหรํ่ารวยขึ้นไดดวย ซ่ึงเปนการร่ํารวยอยาง ยั่งยืนแบบพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง คือ การมีความพอประมาณ มีเหตุมีผล และมี ภูมิคุม กัน ในดานการบริหารธรุ กิจ เราก็ตอ งดูกอนวา เปาหมายธุรกิจของเราคืออะไร มีแผนการ อยางไร ในการดาํ เนนิ ตามแผน โดยทไี่ มใชจายมากเกินความจําเปน แตอะไรที่จําเปนเราก็ควร จะจาย อะไรที่ไมจําเปนเราตองลดรายจายสวนน้ันลง นี่ก็เปนการใชจายเงินดวยความ พอประมาณ นอกจากน้ัน เราก็ตองมีเหตุผลดวย บริหารธุรกิจอยางมีเหตุผลอะไรที่จําเปนหรือไม จําเปน ก็ตอ งพิจารณาใหดี ไมใ ชวาเห็นคนอนื่ ทําอะไรก็ทําตาม คนอ่ืนโปรโมชั่นพิเศษอ่ืนๆ ก็ทํา
42 ตามคนอื่นโฆษณาก็ทําตาม ซึ่งน่ีเปนการใชความรูสึกนึกคิดตัดสินปญหา ไมไดใชเหตุผลเลย ดังนั้นเราตองมีเหตุผลดวย ในการทําอะไรสักอยางก็ตองพิจารณาใหละเอียดถี่ถวนดูวา เหมาะสมกับธรุ กจิ ของเราหรอื ไม สมควรทําหรือไม และถา ทําเชน น้ันแลวจะเปนอยางไร เม่ือเรามีความพอประมาณ มีเหตุผลแลวก็ตองมีภูมิคุมกันดวย ธุรกิจของเราจะมี ภูมคิ ุมกันท่ีแข็งแรง จึงจะอยูรอดไดอยางย่ังยืนเพราะถาเราไมมีภูมิคุมกันในดานตางๆ เวลา เกิดปญหาอะไรขึ้นธุรกิจของเราก็จะออนแอลง กําไรลดลง กระแสเงินสดลดลง ถาถึงขั้น รายแรงอาจจะทําใหธุรกิจ จบลงไปเลยก็เปนได ตัวอยางเชน เรามีแผนธุรกิจและทุกอยาง เปน ไปตามแผน แตเรากย็ ังเตรยี มแผนสํารองไวด วย เผอ่ื เกดิ ความผิดพลาดหรือบางทีเราเห็นวา ธุรกิจของเรามีกระแสเงินสดที่ไหลเวียนดี แตเราก็ยังกันเงินบางสวนไว เผื่อเกิดปญหาดาน การเงินซ่ึงเราไมไ ดคาดคดิ ...ดังทก่ี ลาวมากเ็ ปนการสรางภูมิคุมกันใหกับธุรกิจของเราไดเชนกัน เศรษฐกิจพอเพียงจึงไมใชเพียงแคการปลูกพืช เลี้ยงสัตว หรือการใชชีวิตตามชนบทเทานั้น แตเ ราสามารถนําหลักเศรษฐกิจพอเพยี งมาบริหารธุรกจิ เพอื่ ใหธรุ กิจของเราอยูรอดและเติบโต อยา งย่งั ยนื ตลอดไป การทาํ งาน จึงตองยึดความพอเพียง ประกอบดวย ความมีเหตุผล ความพอประมาณ และระบบภูมิคุมกันในตัวท่ีดี มีกระบวนการพัฒนาที่ยึดคุณธรรม ความเพียร ความรอบรู ความซื่อสัตยสุจริตใหเขาจิตใตสํานึก การทํางานกับมนุษยตองใชหลักการ หลักวิชาการให สอดคลองกับภูมิสังคม คือภูมิประเทศและสิ่งแวดลอม ตองปรับกระบวนการทํางาน การบริหารจัดการ ตองคํานึงถึงผูมีสวนไดสวนเสีย การยอมรับจากเพื่อนรวมงานในองคกร เพื่อขับเคล่อื นการทาํ งานใหไปสูความสําเรจ็ เพอื่ ใหบ รรลวุ ัตถปุ ระสงคท ก่ี าํ หนดไว
43 บทท่ี 4 สรางเครอื ขา ยดําเนินชวี ติ แบบพอเพียง เร่อื งที่ 1 การสง เสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏบิ ัตติ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของบคุ คล ชมุ ชน ทป่ี ระสบผลสาํ เรจ็ การสงเสรมิ เผยแพร ขยายผลงานการปฏบิ ัติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของบุคคล ชุมชน ท่ีประสบผลสําเร็จนั้น มีหลายองคกร หลายหนวยงาน ท้ังภาครัฐ และ เอกชน ทดี่ าํ เนินการสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติของบุคคล ชุมชนที่นอมนําหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ไปเปนแนวทางในการ ดาํ เนินชีวิต และการแกไขปญ หาของชมุ ชน อาทิ เชน 1. สํานักงานทรพั ยสินสวนพระมหากษตั รยิ 2. สาํ นักงานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ 3. สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาํ ริ 4. มลู นิธชิ ยั พฒั นา 5. มลู นธิ ปิ ระเทศไทยใสสะอาด 6. มูลนธิ สิ ยามกัมมาจล (ธนาคารไทยพาณิชย) 7. กระทรวงศึกษาธกิ าร 8. สาํ นักนายกรฐั มนตรี (ชมุ ชนพอเพยี ง) ศนู ยเครือขายศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนฯลฯ นอกจากนี้ยังมีองคกรอิสระท่ีดําเนินการสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบุคคล ชุมชน ที่ประสบผลสําเร็จ ไดแก สถาบัน เศรษฐกิจพอเพียง ที่ไดระดมความรวมมือจากทุกฝายในการขับเคลื่อน การแกวิกฤตชาติ โดยการนอมนําศาสตรของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มาสูการปฏิบัติ จัดต้ังขึ้นจากการ ประชุมหารือกัน ณ โครงการสวนพระองคสวนจิตรลดาของ 4 องคกร ไดแก โครงการสวน พระองคสวนจิตรลดา โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จ
44 พระเทพรัตนราชสดุ า สยามบรมราชกุมารี โครงการสง เสริมกสกิ รรมไรสารพษิ และมูลนิธิกสิกร รมธรรมชาติ เมอ่ื วันที่ 23 ธนั วาคม 2545 การดําเนินงานทีผ่ านมา สถาบนั ฯ ไดเปนศนู ยก ลางในการสรางเครือขายขยายผลใหมี การเรียนรู การฝกอบรม ไปสูการปฏิบัติและการดํารงชีวิตของประชาชนบนพ้ืนฐานเศรษฐกิจ พอเพยี ง โดยมีผลงานดา นตา งๆทผี่ านมาดังน้ี • งานจัดตัง้ และพฒั นาศูนยฝ ก อบรม โดยสามารถจัดตั้งศูนยฝกอบรมภายใตเครือขาย เศรษฐกจิ พอเพียงไดกวา 120 ศูนยฝก อบรมทว่ั ประเทศ • งานฝก อบรม ณ ศูนยฝกอบรมเครือขายเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดทีมวิทยากร เพ่ือฝก อบรมนอกสถานที่ใหกบั หนวยงานตา งๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถงึ ประชาชนทว่ั ไป • งานเผยแพร ประชาสัมพันธ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตรอ่ืนๆของ พระราชาในการแกวิกฤตของประเทศ ผานสื่อตางๆ อาทิเชน ส่ือโทรทัศน รายการคนหวง แผนดิน รายการจารึกไวในแผนดิน รายการเวทีชาวบาน รายการคนละไมคนละมือ รายการ 108 มหัศจรรยพ อเพียง รายการทําดีใหพอดู รายการคนพอเพียง รายการคลินิกเถาแก ละคร เรอ่ื งหัวใจแผนดิน และอ่ืนๆอีกมากมายส่ือสิ่งพิมพ บทความหนังสือพิมพคมชัดลึก “พอแลว รวย” ทุกวนั เสาร หนงั สือ/แผนพับ เผยแพรองคความรูและการดําเนินงานของเครือขายอยาง ตอเน่ือง ส่ืออ่ืนๆ เส้ือ สติกเกอร วีซีดี กระเปา และผลิตภัณฑตางๆ ท่ีผลิตข้ึนเองภายใน เครือขาย • กิจกรรมเพื่อเผยแพรหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและดึงแนวรวมการ ขับเคลอ่ื นสรู ูปธรรมการปฏิบัติจริงในรูปแบบเบญจภาคี - งานมหกรรมคนื ชีวิตใหแ ผน ดินในเดอื น มีนาคม ของทุกป - งานมหกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในการอนุรักษทรัพยากรที่รวมกับโครงการอนุรักษ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทุกๆ 2 ป - งานกิจกรรมฟนฟูลุมนํ้าและทะเลไทย เพื่อฟนฟูปาตนนํ้า กลางนํ้า ปลายน้ํา และ ทองทะเลตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว ฟนฟูสัมมาชีพใหเต็มแผนดิน ตงั้ แตภูผาสมู หานที ใหค รอบคลุม 25 ลุมนํ้าทั่วประเทศ โดยไดดําเนินงานไปแลวในลุมน้ําภาคใต ภาคตะวนั ออก และภาคกลาง
45 • การสถาปนามหาวิชชาลัยเพื่อพอ ในการฟนฟูปฐพีไทยดวยศาสตรของพระราชา ดว ยความรว มมอื ของเบญจภาคี โดยมีการจดั ต้ัง โพธิวิชชาลัย ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ. สระแกว ในป 2550 และมีเปาหมายในการจัดต้ัง โพธิวิชชาลัย ณ สถานที่อื่นๆทั่วประเทศ เพื่อเปน ที่รวมและถา ยทอด องคความรูศาสตรข องพระราชา ใหเ ต็มแผนดิน และนอกจากนี้ยังมีเว็บไซต ท่ีสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เชน 1. http://www.chaipat.or.th/ 2. http://www.rdpb.go.th/RDPB/front/king.aspx 3. http://longlivetheking.kpmax.com/ 4. http://www.sufficiencyeconomy.org/ 5. http://www.nesdb.go.th/ ตัวอยางบุคคล ชุมชน ท่ปี ระสบผลสําเร็จและไดรับการเผยแพร ผลงานการปฏิบัติตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. บคุ คลทปี่ ระสบผลสาํ เร็จและไดร ับการเผยแพร ผลงานการปฏิบตั ติ ามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คณุ สมบูรณ ศรีสบุ ตั ิ เจา ของ“สวนลงุ นิล”ซึ่งเปน “ศูนยก สกิ รรมธรรมชาตพิ ืชคอนโด 9 ชน้ั ” ชาวบา นแหง บานทอนอม หมทู ี่ 6 ตาํ บลชอ งไมแ กว อาํ เภอทุง ตะโก จังหวัดชุมพร และ เกษตรกรสวนใหญใ นจงั หวัดชุมพรคงเคยไดยินช่ือบุคคลผนู ท้ี ไ่ี ดรบั การยอมรับจากหลาย หนวยงานวา เปนเกษตรกรตัวอยาง ทมี่ ีชวี ิตนา สนใจเปน อยา งมาก เพราะบคุ คลผูน ม้ี คี วามรูแคชั้น ประถมปท ่ี 4 เคยมอี าชพี เปนชางตดั เสอื้ เปนเจา ของรานอาหาร 9 แหง และเคยเปนเจาของ สวนทเุ รยี นที่ประสบปญ หาจนมีหนสี้ ินกวา 2 ลา นบาท แตสามารถเปลีย่ นชีวิตของตนดวยการ ยดึ หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง และการทาํ เกษตรทฤษฎใี หม ตามแนวพระราชดําริพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั จนสามารถปลดหน้ี และกลายเปนผทู ีม่ ีรายไดปล ะนับลานบาท เกษตรกรตวั อยา งที่ไมย อมแพตอโชคชะตาชีวิต โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดาํ ริพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัวจนสามารถปลดหน้ปี ลดสิน และยืนอยูไดดวยลําแขง ตนเอง และยงั พรอ มแบงปน สิง่ ทตี่ นไดร บั จาก\"การเดนิ ตามรอยพอ \" ใหหลายคนที่อาจจะยังมอง หาหนทางไมเ จออยใู นขณะนด้ี ว ย
Search