Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฟอร์มวิจัย.5 บท(ว-สอศ-3) ระบบป้องกันเด็กติดในรถ

แบบฟอร์มวิจัย.5 บท(ว-สอศ-3) ระบบป้องกันเด็กติดในรถ

Published by nutsport, 2017-06-25 00:30:44

Description: แบบฟอร์มวิจัย.5 บท(ว-สอศ-3) ระบบป้องกันเด็กติดในรถ

Search

Read the Text Version

แบบรายงานการวจิ ัย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการวจิ ยั เร่ือง ระบบปอ้ งกนั เดก็ ติดในรถThe protection of children trapped in the carนายพีระวุธ เมฆวลิ ยันายณภัทร สนธโิ พธิ์นาย จริ ายุ พัดไทยประจาปกี ารศกึ ษา 2559ปีพุทธศักราช 2559 -2560 วิทยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์ อาชวี ศกึ ษาจงั หวัดนครสวรรค์สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

หัวขอ้ วจิ ยั ระบบปอ้ งกนั เดก็ ตดิ ในรถผ้ดู าเนินการวจิ ยั นายพีระวุธ เมฆวิลยั และคณะท่ปี รกึ ษาหนว่ ยงาน นายธณิตพงษ์ สภุ าชาติและคณะปี พ.ศ. วิทยาลยั เทคนิคนครสวรรค์ 2559การวจิ ยั ครง้ั น้มี ีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1 เพอ่ื สร้างและหาประสิทธภิ าพ ของระบบปอ้ งกนั เด็กติดในรถ 2 เพือ่ เปน็ ตน้ แบบเพ่ือการพัฒนาให้เกิดเทคโนโลยใี หม่สาหรับป้องกนั เดก็ ติดในรถประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ในการวิจัยได้เลือกประชากรจากนักศึกษาครู อาจารย์ แผนกช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ สังกัดสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการจานวน 930 คน และกล่มุ ตวั อยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง นกั ศกึ ษาปวส.1 จานวน 100 คนเครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวิจยั ในการวิจยั ครัง้ นี้ได้สร้างเครอื่ งมอื ดังน้ี - แบบสารวจความพึงพอใจของผู้ใชบ้ รกิ าร - แบบประเมนิ ประสิทธิภาพของ ระบบปอ้ งกันเดก็ ตดิ ในรถสถิติทีใ่ ช้ในงานวจิ ยั ในการวิจยั คร้งั นไี้ ด้เลอื กใช้สถิตใิ นงานวจิ ยั ดังน้ี - การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและคานวณหาค่าเฉลี่ยผลการวิจยั มดี งั น้ี “ระบบป้องกนั เด็กติดในรถ” เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ 5 สิ่งประดิษฐ์ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เป็นการแกไ้ ขปญั หาท่ีเกิดจาก จากเหตกุ ารณท์ เ่ี ดก็ ติดในรถต้นู กั เรยี นจนเกดิ เสยี ชวี ติ ข้นึหรอื เหตุการณท์ ่เี ด็กติดในรถยนตโ์ ดยไมส่ ามารถช่วยเหลือตัวเองได้จะมีข่าวตามสื่อบ่อยครั้ง ปัญหาที่เกิดขน้ึ จะเกดิ ขึน้ เพราะตัวเด็กเองและเกิดจากผ้ดู แู ลหรือผปู้ กครอง ซึ่งในบางครงั้ ก็เกิดอันตรายถึงชีวิตน้ันเป็นความเสียหายอันไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น ซึ่งปัญหาเหล่าน้ีถ้าเกิดจากผู้ปกครองหรือเด็กเองจะต้องมีการแกไ้ ขปญั หาดังกลา่ ว โดยการฝึกความรอบคอบ มสี ติอย่เู สมอ แต่ในบางคร้ังภารกิจท่ีมากอาจทาให้เราหลงลืมขึ้นมาได้ จึงมีการนาส่ิงประดิษฐ์มาแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้หมดไป ท้ั งนี้เพ่ือปอ้ งกนั ความสญู เสียอนั ทไ่ี มอ่ ยากใหเ้ กดิ ขึน้ แตช่ วี ติ และทรัพยส์ ินได้ ระบบป้องกนั เดก็ ติดในรถ จึงเป็นแนวความคิดเพ่อื ใช้ป้องกันปัญหาดังกล่าวท่ีจะเกิดข้ึน นอกจากนั้นยังใช้ระบบแจ้งเตือน และ ติดต้ังระบบกลอ้ งวงจรปิดเพอ่ื ติดตามการเคลื่อนไหวในรถยนต์ อีกทั้งระบบยังสามารถเลือกการควบคุมให้ทางานและไมท่ างานได้ ลักษณะโดยภาพรวมของ“ระบบป้องกันเด็กติดในรถ” ได้สร้างให้อยู่บนพ้ืนฐานที่เกิดความคุ้มค่า ประหยดั กะทัดรดั พอเพยี ง ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถใช้งานได้ในหลายสถานที่ เคลอ่ื นยา้ ยได้สะดวก เป็นตน้ เรม่ิ ต้นการดาเนินงานโดย ค้นคว้าข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง เช่นระบบการตรวจจับการเคล่ือนไหว ระบบวงจรกล้องวงจรปิด ระบบไฟแสดงสถานะของการทางาน และหาความเหมาะสมของรูปแบบที่มีใช้ในปัจจุบันซึ่งต้องการความกะทัดรัด และนาสมัย โดยเฉพาะเน้นท่ีราคาและหาวัสดุทีม่ ีขายตามท้องตลาด ขนาดของ“ระบบปอ้ งกันเด็กตดิ ในรถ” จะติดต้ังกับโครงเบาะรถ เม่ือมีเด็กน่ังผู้ขับจะสามารถทราบได้ว่ามีนักเรียน หรือเด็กน่ังอยู่ โดยไฟหน้าคอนโซลรถจะติด

แสดงสถานะว่าขณะนี้มีคนนั่งอยู่ และเม่ือเด็กหรือนักเรียนลุกไปแล้ว ไฟเตือนก็จะดับลง แหล่งพลังงานใชจ้ ากแบตเตอรี่ 12 V 45Ampข้ันไป ซึ่งระบบการทางานจะประกอบด้วยส่วนควบคุมดงั นี้ 1. ระบบควบคมุ การแจง้ เตอื น 2. ระบบควบคมุ ระบบกลอ้ งวงจรปดิ การทดสอบการใช้งาน เร่ิมจากนาเด็กทดลองน่ังลงบนท่ีน่ัง เมื่อเด็กนั่งแล้ว สถานะไฟเตือนจะตดิ บริเวณหน้าคอนโซนแสดงว่ามีเด็กนั่งอยู่ จนเม่ือเด็กลุกข้ึนจากเบาะ ไฟเตือนจะดับลง แสดงว่าเด็กไดล้ กุ ไปแลว้ กรณีท่ไี ฟยงั ตดิ และดับเคร่ืองแล้ว ระบบจะเตือนด้วยสัญญาณเสียงดัง ทาให้คนขับทราบวา่ มีเดก็ ติดในรถ และจะมีอุปกรณก์ ล้องวงจรปิดไร้สาย คอยดวู ่าขณะนย้ี งั มีเดก็ ติดอยู่ จากการทดลองใช้ “ระบบป้องกันเด็กติดในรถ” พบว่าสามารถทางานได้จริงตามวตั ถปุ ระสงคท์ ีไ่ ด้กาหนดขนึ้ และเป็นประโยชนต์ ่อการบาบัดนา้ เสียอยา่ งแทจ้ ริง

Research Title The protection of children trapped in the carResearcher Mr. Peerawut MakwiayResearch Consultants Mr. Tanitpong SuparchartOrganization Nakhonsawan Technical CollegeYear 2016 \"The protection of children trapped in the car,\" an invention that five artifactsof Disaster Prevention and Mitigation. The issue of The incident caught the kids in thevan died up until the students.Or the child in the car without being able to helpthemselves to the news frequently. The problem occurs because the child and theparent or guardian. Which sometimes causes fatal damage that nobody wants tohappen. These problems, if the parents or the children themselves need to resolvesuch issues. By practicing prudence Consciousness is always Other times, the missioncould make us forget them. The invention is implemented to solve the problem togo away. This is to prevent losses that would not happen. But life and property Theprotection of children caught in car The idea is to prevent such problems will occur.In addition, the notification system and install a CCTV system to track the movementof the car. The system can also control the work and do not work. The overall style of \"The protection of children caught in the car\" was createdon the basis of a cost-saving compact enough philosophy of sufficiency economy.Can be used in many places. Portable, and start operating. Related research Systemssuch as motion detectors. Circuit surveillance system The indicator system of work.And to determine the appropriate forms with the current needs of the compact andstylish specifically focus on price and find materials that are commercially available.The size of the \"child protection system installed in the car\" to install the car seatframe. When a child seat, the driver will be able to know that a student. Childrensitting The console is equipped with headlights. Indicators that are now sitting. Andwhen your children or students to rise to it. Warning light will turn off Using batterypower source of 12 V 45Amp stage to which the system is composed of thefollowing controls. 1. Control Alert 2. Control CCTVTesting Applications From the children try to sit down on the seat. When children sitStatus lights will indicate that the zone in front of the house with the kids sitting.When the boy got up from the seat. Fire alarm goes off That's got to be. The eventalso caught fire And then shut The warning signal will sound. Make drivers aware that

a child in the car. And a wireless CCTV equipment. Also see that children aretrapped. The trial \"The protection of children trapped in the car\" that can actuallywork with the objectives that were set up and useful for the treatment ofwastewater, literally.

กิตติกรรมประกาศ ส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่เร่ือง “ระบบป้องกันเด็กติดในรถ” ท่ีได้ประดิษฐ์ข้ึน เป็นส่วนหน่ึงของการเสนอผลงานสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ประจาปีการศึกษา 2559 ประเภทที่ 5สงิ่ ประดษิ ฐป์ ระเภท สง่ิ ประดิษฐ์ส่ิงประดิษฐด์ า้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การคิดประดิษฐ์ในครง้ั นี้ สามารถสาเร็จลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี เน่อื งจากได้รับความอนเุ คราะห์และความร่วมมือจากหลาย ๆ ฝ่าย โดยเฉพาะ นายสุเทพ ศรีศักดิ์วิชัย ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ ทอี่ นุเคราะห์งบประมาณในการดาเนินการศึกษาและวจิ ยั ในคร้ังน้ี ขอขอบคุณคณะครูและนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ ที่ได้ให้คาแนะนาและความรว่ มมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการศึกษาครงั้ นี้ เป็นอยา่ งดี ขอขอบคุณผ้ทู ม่ี สี ว่ นชว่ ยใหก้ ารทางานในคร้งั น้ีเสรจ็ ลุล่วงไปได้ดว้ ยดี โดยเฉพาะผู้ทม่ี ีส่วนร่วมแต่ไม่ประสงคอ์ อกนาม ขอขอบพระคณุ บดิ า มารดา และ ครู อาจารย์ท่ีได้มีส่วนประสิทธิประสาทวิชาการท้ังหลายใหค้ ณะผจู้ ดั ทาสามารถคิดคน้ จนสาเร็จลงได้ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าการที่ได้ศึกษาวิจัยในคร้ังน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาด้านการพัฒนาดา้ นการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อไป และผู้จัดขอน้อมรับข้อคดิ เห็นต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาตอ่ ในอนาคตให้ดยี ่ิงขึ้น คณะผวู้ ิจัย 2559

สารบญับทคดั ย่อภาษาไทย หนา้ กบทคดั ย่อภาษาอังกฤษ คกติ ติกรรมประกาศ จสารบัญ ฉบทที่ 1 บทนา 1 ความเป็นมาและความสาคัญ 1 1 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 1 ขอบเขตการวิจัย 2 2 ข้อจากัด (ถา้ มี) 2 สมมตฐิ านการวิจัย (ถา้ ม)ี 2 คาจากัดความที่ใช้ในงานวิจัย 3. ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ บั 10บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 1. ระบบควบคมุ การแจง้ เตอื น 11 2. ระบบควบคุมระบบกลอ้ งวงจรปิด 11 กรอบแนวคิดในการวิจยั 11 11บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการวจิ ยั 12 ประชากรและการสุ่มกลมุ่ ตัวอย่างบทท่ี 4 เครอื่ งมือในการวจิ ยั และการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือ 13บทที่ 5 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวเิ คราะห์ข้อมูล 15 ผลการวิจัย สรุปผลการวจิ ัยอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผล ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจยั คร้งั ตอ่ ไป

บรรณานกุ รม หน้า บรรณานุกรมภาษาไทย 16ภาคผนวก 17 ภาคผนวก ก รปู ชิ้นงานสิ่งประดษิ ฐ์ 18 ภาคผนวก ข แบบแสดงความพงึ พอใจ 19ประวตั ผิ ูว้ ิจัย

บทท่ี 1 บทนาความเปน็ มาและความสาคญั จากเหตุการณ์ท่ีเด็กติดในรถตู้นักเรียนจนเกิดเสียชีวิตขึ้น หรือเหตุการณ์ท่ีเด็กติดในรถยนต์โดยไมส่ ามารถชว่ ยเหลือตัวเองไดจ้ ะมีข่าวตามสือ่ บอ่ ยคร้ัง ปัญหาที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นเพราะตัวเด็กเองและเกดิ จากผูด้ ูแลหรอื ผูป้ กครอง ซง่ึ ในบางครง้ั กเ็ กดิ อันตรายถึงชีวิตน้ันเป็นความเสียหายอันไม่มีใครอยากให้เกิดข้ึน ซ่ึงปัญหาเหล่านี้ถ้าเกิดจากผู้ปกครองหรือเด็กเองจะต้องมีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยการฝึกความรอบคอบ มสี ตอิ ยูเ่ สมอ แต่ในบางครง้ั ภารกิจท่ีมากอาจทาให้เราหลงลืมขึ้นมาได้ จึงมีการนาส่ิงประดิษฐ์มาแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้หมดไป ทั้งนี้เพื่อป้องกันความสูญเสียอันท่ีไม่อยากให้เกดิ ข้ึน แต่ชีวติ และทรพั ยส์ ินได้ ระบบปอ้ งกนั เด็กตดิ ในรถจึงเปน็ แนวความคิดเพ่ือใชป้ ้องกนั ปัญหาดังกลา่ วทจ่ี ะเกิดข้นึนอกจากนน้ั ยงั ใช้ระบบแจง้ เตือน และ ตดิ ตงั้ ระบบกลอ้ งวงจรปิดเพอ่ื ติดตามการเคลือ่ นไหวในรถยนต์อีกท้ังระบบยงั สามารถเลอื กการควบคุมใหท้ างานและไม่ทางานได้วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 1 เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพ ของระบบป้องกนั เด็กติดในรถ 2 เพือ่ เป็นต้นแบบระบบปอ้ งกันเด็กตดิ ในรถขอบเขตการวจิ ยั ศึกษาข้อมลู ทางด้านเนือ้ หาเรอื่ งระบบวงจรการทางานอเิ ล็กทรอนิกส์ประเภทตา่ งๆศึกษาอุปกรณ์เชื่อมต่อ เชน่ กล้องวงจรปิด ระบบควบคมุ การทางานข้อจากัด(ถ้าม)ี -ไม่มี-สมมติฐานการวิจัย (ถา้ ม)ี ระบบสามารถทางานไดต้ ามเป้าหมายโดยใชว้ งจรควบคมุ การทางานและการแจ้งเตอื นการทางานคาจากัดความท่ใี ชใ้ นงานวิจัย ระบบปอ้ งกันเด็กติดในรถ หมายถงึ ระบบที่ช่วยป้องกนั และแจ้งเตอื นเมือ่ มเี ดก็ ติด อยูใ่ นรถรถยนต์ รถตู้นักเรียน หรอื ยานพาหนะอนื่

ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 1 เปน็ ต้นแบบของระบบป้องกนั เด็กติดในรถ 2 พัฒนาองค์ความรู้ของผูเ้ รียน และ ส่งเสริมแหล่งการเรียนรใู้ นชมุ ชนองคก์ ร 3 ป้องกนั ความสญู เสยี ท่จี ะเกิดขน้ึ กับชวี ิตและทรัพยส์ นิ ภาพท่ี 1.1 ระบบป้องกนั เดก็ ตดิ ในรถ

บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ในการวิจัยคร้งั น้ี ได้ดาเนินการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้องตา่ ง ๆ เพื่อนามาใช้เป็นข้อมูลประกอบการดาเนินงาน มีดังน้ี 1. ระบบควบคมุ การแจง้ เตือน 2. ระบบควบคมุ ระบบกล้องวงจรปิด1. ระบบควบคุมการแจ้งเตือน การควบคุมและอปุ กรณ์เครอื่ งกลไฟฟ้า 1. ชนิดของการควบคมุ เครอ่ื งกลไฟฟ้า การควบคุมเครื่องกลไฟฟา้ หรือการควบคมุ มอเตอร์คือการควบคุมให้มอเตอร์ทางานตามวัตถุประสงค์หรือตามความต้องการของผู้ควบคุม เช่นควบคุมการเร่มิ ทางาน (Starting) ควบคุมความเร็ว (Speed) ควบคุมกาลัง (Power) รวมท้ังการกลับทิศทางหมุน (Reverse) และควบคุมการหยุดทางาน (Stop) เป็นต้น การเลือกใช้อุปกรณ์ควบคุมประกอบวงจรจึงมีความจาเป็นเพ่ือความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์และชนิดของการควบคุมมอเตอร์ ซึ่งสามารถแบ่งวิธขี องการควบคุมมอเตอร์ได้ 3 วิธคี ือ 1.1 การควบคมุ ด้วยมอื (Manual Control) คอื การใชค้ นทาหน้าท่ีควบคุมเครื่องกลไฟฟ้าโดยตรงหรือเรียกว่าโอเปอเรเตอร์ (Operator) โดยใช้วิธีการจ่ายแรงดันไฟฟ้าให้กับมอเตอร์ไฟฟ้าโดยตรง เชน่ การเสียบปล๊ักไฟฟา้ การใชส้ วติ ช์ใบมีด (Cut out) หรือใช้สวิตช์สตาร์ทมอเตอร์ (StarterSwitch) เปน็ ตน้ ทาหนา้ ที่จ่ายแรงดันไฟฟ้าโดยตรงให้กบั มอเตอร์ไฟฟ้า วธิ กี ารควบคุมด้วยมือน้ีมักจะใชก้ บั มอเตอรไ์ ฟฟ้าท่ีมีขนาดเล็ก ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านทั่วไป เพื่อการเริ่มเดินหรือหยุดเคร่ืองเป็นส่วนใหญ่ และมีเคร่ืองประกอบป้องกันอันตราย (Overload Protection)โดยปกติจะเป็นฟวิ ส์ (Standard Fuse) ประกอบติดอยภู่ ายใต้สวติ ช์แตล่ ะขาสบั ภาพที่1.1 รูปแสดงผงั การควบคมุ ดว้ ยมอื (Manual Control)

1.2 การควบคุมแบบก่ึงอัตโนมัติ (Semi Automatic Control) เป็นการนาอุปกรณ์ประกอบเข้ามาช่วยในการควบคุมการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า ได้แก่ แมกเนติกส์คอนแทคเตอร์(Magnetic Contactor) และสวิตช์ปุ่มกด (Push Button Switch) ตั้งแต่ 1 หรือ 2 ชุดขึ้นไป สวิตช์ปุ่มกดนี้จะทาหน้าท่ีเร่ิมการทางานของเคร่ืองหรือปุ่มสตาร์ท (Start) และทาหน้าที่หยุดการทางานของเคร่ืองหรือปุ่มหยุด (Stop) โดยการควบคุมการทางานของแมกเนติกส์คอนแทคเตอร์ให้ต่อหรือเปิดหน้าสัมผัส (Contact) เพื่อควบคุมกระแสไฟฟ้าที่จ่ายให้กับมอเตอร์ไฟฟ้า การควบคุมวิธีนี้จะดีกว่าการควบคุมดว้ ยมือเพราะสามารถออกแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าได้จากหลายท่ีทั้งการเริ่มทางาน (Start) และการหยุดทางาน (Stop)และสามารถจัดวางตู้ควบคุมหา่ งจากเคร่ืองจักรได้เป็นการเพมิ่ ความปลอดภยั ให้กับผู้ควบคมุ ย่ิงขึน้ ภาพที่ 1.2 รูปแสดงผงั การควบคุมแบบกงึ่ อัตโนมัติ (Semi Automatic Control)1.3 การควบคุมแบบอัตโนมัติ ( Automatic Control) การควบคุมวิธีนี้เหมือนกับการควบคุมแบบกงึ่ อัตโนมัติ เพยี งแตห่ ลงั จากกดปมุ่ เร่ิมเดิน (Start) แล้วระบบการทางานเองตลอดทุกระยะ เช่นการหมนุ ตามเขม็ นาฬกิ า, การหมุนทวนเข็มนาฬิกาหรือหยุดทางาน (Stop) ดังนั้นจึงต้องมีการติดตั้งสวิตชอ์ ตั โนมัตไิ ว้ตามจดุ ต่างๆเพือ่ ให้ระบบสามารถทางานได้เองตลอดเวลา เช่น การติดต้ังลิมิตสวิตช์(Limit Switch) เพอื่ ควบคุมระยะทาง ติดตั้งสวติ ช์ลกู ลอย (Float Switch) เพื่อควบคุมระดับน้าในถังหรือการติดตง้ั ทามเมอรร์ เี ลย์ (Timer Relay) เพอ่ื ควบคมุ เวลาเป็นตน้

ภาพท่ี 1.3 รปู แสดงผังการควบคุมแบบอตั โนมัติ ( Automatic Control) 2. อปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นวงจรควบคมุ เครอ่ื งกลไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าสาหรับการควบคุมเคร่ืองกลไฟฟ้าจะประกอบด้วยอุปกรณค์ วบคมุ เครือ่ งกลไฟฟา้ หลายชนดิ นามาใชป้ ระกอบวงจรรว่ มกนั เพ่ือให้สามารถควบคุมการทางานของเครื่องกลไฟฟา้ ใหท้ างานตามความต้องการได้อย่างถูกตอ้ ง มีประสิทธิภาพและมีความปลอดภยั ในการใชง้ าน อุปกรณด์ งั กลา่ วไดแ้ ก่ 2.1 สวติ ช์ปุ่มกด (Push button Switch) เปน็ อุปกรณท์ ี่ทาหนา้ ท่ีตดั ต่อวงจรไฟฟ้าควบคุมการทางานของมอเตอร์ สวติ ชน์ ้จี ะมหี น้าสัมผสั (Contact) แบบปกตเิ ปดิ (Normally Open ;NO)1 ชุดและแบบปกตปิ ดิ (Normally Close ; NC)1 ชุด เม่อื กดปมุ่ แลว้ หนา้ สมั ผัสทัง้ คดู่ งั กล่าวจะเปล่ียนตาแหน่งและเม่ือปลอ่ ยมือหนา้ สัมผัสท้ังคู่จะกลบั คนื ตาแหนง่ เดมิ โดยไม่ค้างตาแหน่งดว้ ยแรงดนั ของสปริง เราเรยี กการทางานของหนา้ สมั ผัสน้วี ่า Momentary Contact ลักษณะรูปแบบของสวิตชป์ ุม่ กดมีหลายลกั ษณะดงั ภาพท่ี 1.4 ภาพที่ 1.4 รูปแสดงสวติ ช์ป่มุ กด (Push button Switch) แบบต่างๆ

โครงสรา้ งของสวิตช์ปมุ่ กดจะประกอบด้วย1. ป่มุ กดทาดว้ ยพลาสติก สีแดง สีเขียวหรือสเี หลือง ขึน้ อยกู่ บั การนาไปใชง้ าน2. แหวนยดึ สาหรับยึดสวิตชป์ มุ่ กดเข้ากบั ตู้ควบคุม3. ชดุ หนา้ สมั ผัส NO และ NC4. ยางรอง ภาพท่ี 1.5 รูปแสดงโครงสรา้ งของสวติ ชป์ ุ่มกดกล้องวงจรปดิ CCTVระบบกลอ้ งวงจรปดิ ( CCTV ) เปน็ การสง่ สัญญาณภาพ จากกลอ้ งวงจรปิด ท่ไี ดต้ ิดตง้ั ตามทตี่ า่ งๆมายังสว่ นรับภาพ/ดภู าพ ซ่ึงเรยี กวา่ จอภาพ ( Monitor ) โดยท่ัวไปจะติดตง้ั อยู่คนละทก่ี ับกลอ้ งเช่นท่ีห้องควบคุม ห้องเซอรเ์ วอร์ ป้อนยาม ฝา่ ยบุลคล ฯลฯชดุ ติดตัง้ กลอ้ งวงจรปดิ +อุปกรณ์ที่ตอ้ งใช้ในระบบกล้องวงจรปิด CCTV มดี ังนี้1. กลอ้ งวงจรปดิ (CCTV Camera)2. เลนสก์ ลอ้ งวงจรปดิ (CCTV Lenses)3. เครอ่ื งบนั ทึกภาพกล้องวงจรปดิ ( Digital Video Recorder หรือ DVR )4. จอภาพ ( TV หรือ LCD Monitor)5. กล่องครอบกลอ้ งวงจรปดิ ทง้ั แบบภายใน และ ภายนอกอาคาร ( Housing Indoor , HousingOutdoor )7. กลอ่ งควบคุมการทางานของกล้องวงจรปดิ (Control System)8. สายสัญญาณภาพ RG6 สาหรบั เดินสายให้กลอ้ งวงจรปิด9. สายไฟ AC-DC สาหรับจา่ ยไฟเลี้ยงให้กลอ้ งวงจรปิด10. และอุปกรณอ์ ่ืน ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ระบบกลอ้ งวงจรปดิก์ ารใช้งาน ในรปู แบบตา่ งของกลอ้ งวงจรปิด• รบั ติดตั้งกล้องวงจรปิด เพื่อใชใ้ นด้านการรักษาความปลอดภยั ของบุคคลและสถานที่ ตา่ งๆ• ติดตั้งกล้องวงจรปิด เพือ่ ใชใ้ นการตรวจสอบการทางาน ของเครือ่ งจกั ร ในโรงงานอตุ สาหะกรรมทงั้ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ หรือใช้ในการดูทางานของพนักงาน ภายในโรงงานต่างๆ• ติดตัง้ กล้องวงจรปิด เพอ่ื ใชง้ านร่วมกับระบบควบคมุ อาคารต่างๆทั้ง เชน่ คอนโดฯ โรงแรม

ติดตั้งกล้องวงจรปดิ เพ่อื ใชใช้งานร่วมกับระบบควบคุมการจราจร เช่น ตรวจดูแลสภาพโดยรวมบนท้องถนน ฯลฯกลอ้ งวงจรปิด ส่วนมากท่ใี ช้งานในปจั จบุ ันน้มี ี 2 แบบ คือ1. กล้องวงจรปดิ แบบตดิ ต้งั ตายตวั (Fix Camera)2. กลอ้ งวงจรปดิ แบบถหมนุ ได้-ซูมได้ ควบคุมได้ (Pan/Tilt/Zoom Camera)1. กลอ้ งวงจรปิดแบบติดตัง้ ตายตวั (Fix Camera)คอื กล้องวงจรปิดทีต่ ดิ ตัง้ ไปแล้วไมส่ ามารถจะขยับตัวกลอ้ ง หรอื หมุนเปลีย่ นทิศทางมุมมองในการดูภาพจากกล้องวงจรปดิ ได้ ถ้าต้องการหมุนหรอื เปลย่ี นทิศทาง ก็จะต้องถอดตวั กลอ้ งแยกออกจากขากลอ้ ง แลว้ ยึดติดกล้องวงจรปิดในต่าแหน่งใหม่แทน2. กล้องวงจรปิดแบบถหมนุ ได้-ซมู ได้ ควบคุมได้ (Pan/Tilt/Zoom Camera)เพอ่ื เปน็ การเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งาน ระบบกล้องวงจรปิด ในปัจจบุ นั ทาง โรงงานผลิตกลอ้ งวงจรปดิ จงึ ได้ผลติ กลอ้ งทีม่ ี ความสามารถ ทาให้กล้องวงจรปดิ หมนุ ปรับทศิ และ ซูมภาพได้ สามารถท่ีจะปรับให้หมนุ ซา้ ย / ขวา ก้ม-เงย ซูม ได้ โดยผ่านทาง เครอ่ื งควมคุม ( Key Board Control ) ซง่ึกลอ้ งวงจรปิดชนดิ นเี้ รยี กวา่ กลอ้ ง Speed Dome สามารถหมุนรอบตวั เองได้ 360 องศา และ ซมูภาพได้ไกล 100-300 เมตร ( แล้วแตร่ นุ่ ของกล้องวงจรปดิ ) สามารถปรบั มุมกม้ เพือ่ จะดวู ัตถุ หรอืคนทอี่ ย่บู นพ้ืนดนิ ซ่งึ มรี ะดับต่ากวา่ ตาแหน่งทตี่ ิดตง้ั กลอ้ ง หรือมมุ เงยเพ่ือมองไปยงั อาคารท่ีสงู กวา่ไม่ว่าจะเปน็ ทิศทางตรงด้านหนา้ หรือจะหมนุ ไป ยงั ทศิ ทางอ่ืนๆ ก็สามารถทาได้ การพจิ ารณาเลือกใช้ กล้องวงจรปิด Speed Dome ควรเลอื กให้เหมาะสมกับงาน เพือ่ เปน็ ประหยัดเงนิ และอ่ืนๆเชน่ ตดิ ตงั้ ภายในอาคารสานกั งาน สภาพแวดลอ้ มปกติ กค็ วรใช้ กลอ้ งวงจรปิด Speed Dome แบบIndoor ธรรมดาสาหรบั ทีใ่ ชภ้ ายในอาคาร แต่ถา้ เป็นการใช้งงานภายนอกอาคาร ก็มีความจาเป็นท่ีตอ้ งใช้ กล้องวงจรปิด Speed Dome แบบ Out door ท่มี ีคุณสมบัตพิ เิ ศษ ให้เหมาะสมกบั สภาพของสถานทน่ี นั้ ๆ ซึง่ อาจจะมีราคาค่อนขา้ งสูงจนถึงสูงมาก :ซึ่งตวั กลอ้ งวงจรปดิ สามารถทนทนต่อแดดและฝนได้ .การเลอื กใช้ Pan & Tilt unit นอกจากเรอ่ื งสถานทีต่ ิดต้ังแลว้ จะตอ้ งพจิ ารณาต่อไปด้วยว่า อุปกรณ์ท่จี ะใชง้ านรว่ มกบั Pan & Tilt unit นอกจากกลอ้ งกบั เลนส์ จะมอี ุปกรณอ์ ื่นเพิม่ เติม เพราะว่าถา้ มีอุปกรณ์ประกอบมาก นา้ หนักก็จะตอ้ งมากตามไปด้วย จาเป็นท่ีต้องใช้ Pan & Tilt unit ทีส่ ามารถจะรับนา้ หนักไดท้ ง้ั หมด จะทาใหม้ ีขนาดใหญ่ และราคาสูง Pan & Tilt unit บางชนดิ สามารถทห่ี มุนได้รอบตวั ได้ โดยทไี่ มต่ ้องหมุนกลบั (เพราะติดสายไฟ) บางชนิดมีวงจรความจาตาแหนง่ (PresetFunction) ควรจะพิจารณาว่าสามารถเสรมิ พิเศษของ Pan & Tilt unit มคี วามจาเป็นเพยี งใดเพราะราคากจ็ ะตอ้ งสูงไปตามคุณสมบตั ิที่เพ่ิมข้นึ นอกจากทีก่ ลา่ วมาข้างตน้ แล้ว Pan & Tilt unitยังมีอกี หลายแบบ เชน่ บางแบบสามารถท่จี ะนาไปตดิ ต้งั ใต้นา้ ได้ เป็นต้นระบบไฟฟา้ ภายในของ Pan & Tilt unit ต้องเป็นระบบไฟฟา้ ชนิดเดียวกนั กับ เคร่อื ง/ตัว ควบคุมการทางาน เช่น 24 V.DC , 24 V.AC , 115 V.AC หรอื 220 V.AC เป็นตน้ ถา้ ใชร้ ะบบไฟฟ้าที่แตกต่างกัน จะทาให้ Pan & Tilt unit ไม่ทางาน หรอื ชารดุ เสียหายได้ ถ้าระบบการส่งสญั ญาณควบคุมของ Pan & Tilt unit เป็นการส่งแบบการผสม หรือฝากไปกับสัญญาณอื่นๆ เช่น ระบบDigital , Microcomputer-Base เป็นตน้ จะต้องมกี ารแปลงหรือแยกสญั ญาณควบคมุ ฯ ออกจากสัญญาณทเี่ ป็นตวั รับฝาก อุปกรณ์นี้เรยี กวา่ Receiver unit หรือ Driver unit หรอื มชี ื่อเปน็ อย่างอื่นตามแตผ่ ู้ผลิตจะเรยี ก

การเปิด-ปดิ ม่านรับแสง (Iris) ของเลนส์กล้องวงจรปดิ มี 2 ชนิด คือ 1. การเปดิ -ปดิ ด้วยมือ (Manual Iris) การปรับขนาดของม่านแสง(Iris) ทาการเปิด หรือ ปิดขนาดของรูรับแสง(Aperture) ด้วยตวั ควบคุมการทางาน ของเลนส์ ตัวควบคุมการทางานของเลนส์กล้องวงจรปิดจะต้องเป็นชนิดท่ีมี ปุ่ม/สวิทส์ เปิด-ปิด หรือปรับขนาดของม่านแสงได้ (Iris ControlFunction) 2. การเปิด-ปิด อัตโนมตั ิ (Auto Iris) การปรบั ขนาดของม่านรับแสง จะทางานรว่ มกบั การทางานของกลอ้ ง ตวั กล้องจะมีวงจรไฟฟ้าเพอื่ จา่ ยไฟให้กบั เลนส์ การจ่ายไฟฟา้ ให้กบั เลนส์ฯ มี ๒แบบคอืแบบสัญญาณภาพ (Video Type) ตวั กล้องจะจา่ ยไฟฟา้ ให้กบั เลนส์ในลักษณะของสญั ญาณภาพโดยจะมคี วามเข้มของสัญญาณภาพท่แี ตกตา่ งกนั ไป ตามการเปล่ียนแปลงของแสง เลนสท์ ่ีจะใชก้ ับกลอ้ งท่จี ่ายไฟฟ้าแบบน้ี จะตอ้ งมแี ผงวงจร (Amplifier) เพอ่ื เปลีย่ นความแตกต่างของสัญญาณภาพให้เป็น การเปลยี่ นแปลงทางไฟฟ้า เพอ่ื ให้อปุ กรณ์ซึง่ คล้ายกบั มอเตอร์ มีขนาดเลก็ มาก เรยี กว่า กัลวานอมิเตอร์ (Galvanometer) หรอื เรียกเป็นอยา่ งอ่ืนแล้วแต่ผผู้ ลิตจะเรยี ก ทางาน เพอ่ื ทาให้ม่านแสงเปดิ หรือ ปิด ตามการเปลย่ี นแปลงของแสงแบบไฟตรง (DC Type) ตวั กล้องจะมีวงจรจ่ายไฟฟา้ จ่ายไฟกระแสตรง (DC) ใหก้ ับเลนส์ เพือ่ ให้กลั วานอมเิ ตอร์ (Galvanometer) ทางานโดยตรง เพอื่ ทาใหม้ ่านแสงเปดิ หรอื ปดิ ไปตามการเปลี่ยนแปลงของแสง การเลอื กใช้เลนส์กล้องวงจรปดิ ทเ่ี ปิด-ปดิ ม่านแสงอัตโนมัติ ว่าเปน็ ชนิดVideo Type หรอื DC Type ตอ้ งดจู ากคู่มือของกล้อง ถา้ ใช้ผดิ ประเภท เลนส์จะไมท่ างาน และอาจจะชารุดได้. นอกจากน้ี เลนสบ์ างร่นุ บางผู้ผลิต สามารถที่จะใชง้ านไดท้ งั้ Maunal-Irsi และAuto-Iris ในเลนส์ตัวเดียวกัน บางรนุ่ จะมีสวิทส์เลือกใช้ อยา่ งใดอย่างหนึ่งจากตัวควบคมุ แตใ่ นบางรุน่ สามารถท่จี ะสง่ั เปิด หรอื ปดิ รูรับแสง ในขณะทีย่ ังคงทางานเป็น Auto-Iris ไดด้ ว้ ย.ในปจั จบุ ันนี้ ไดม้ กี ลอ้ งกล้องวงจรปดิ รุ่นใหม่ ๆ ที่ช่วยพฒั นาเพอื่ ความสะดวกต่อการใชง้ านซงึ่ ทางผลติ จะผลติ และพัฒนากลอ้ งวงจรปิดรนุ่ ใหมๆ่ ออกมา อยเู่ รอื่ ยๆ ต่อไปกรอบแนวคดิ ในการวิจัย วทิ ยาลยั เทคนิคนครปฐม ได้ทาระบบการทางานโดยอัตโนมัตเิ มอื่ พบว่ามีผตู้ ิดอยใู่ นรถ และตรวจวดั ค่ากา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ เกนิ 1,000 ppm ซึง่ เป็นระดบั ท่ีส่งผลให้เด็กที่ติดอยูใ่ นรถรสู้ ึกอึดอดั และจะสง่ เสียงดังแจ้งเตอื นเปน็ คาพดู ว่า “มสี ิ่งมีชวี ติ อยภู่ ายในรถ” หากแจ้งเตือน 3 คร้ังแลว้ ยงั ไม่มีการเปิดรถ พัดลมจะทางานและกระจกรถจะเลื่อนลงอตั โนมัติ เพอ่ื ชว่ ยชวี ิตให้เดก็ ทต่ี ดิ อยู่ในรถมีอากาศหายใจ คุณ เกรยี งไกร อนุจารี อุปกรณ์ป้องกนั เด็กตดิ คา้ งในรถทาขึ้นเพื่อปอ้ งกนั การเกดิ ปญั หาลืมเดก็ ไวใ้ นรถ และเด็กขาดอากาศหายใจและเสยี ชีวติ ในทสี่ ุด เพื่อลดการสูญเสยี จากเหตกุ ารณ์ท่ีเกดิ ขึ้นในปจั จบุ นั และอนาคต จงึ คิดค้นนวตั กรรมน้ขี น้ึ มาและใช้ติดตงั้ กับรถต้ใู นการทดลองเริ่มแรกระบบการทางานทีต่ ดิ ตง้ั อยู่ในตัวรถ แบ่งการทางานออกเป็น2ระบบ คือ1.) ระบบการสตาร์ทรถยนต์ ถ้าคนขับไมน่ าคีย์การ์ดไปแตะ จะไมส่ ามารถเปดิ เครื่องยนตไ์ ด้2.) ระบบตรวจสอบการเคล่ือนไหว จะทางานขณะเปดิ เคร่ืองยนต์ ถ้ามเี ด็กอยู่ในรถ เซน็ เซอร์ตรวจจับการเคล่อื นไหวจะทางานให้มเี สียงสญั ญาณเตือนเพือ่ ใหค้ นขับรถทราบว่าเด็กอยใู่ นรถ อุปกรณ์ปอ้ งกันเดก็ ตดิ ค้างในรถทาข้นึ เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาลืมเด็กไว้ในรถ และเดก็ ขาดอากาศหายใจและเสียชีวิตในทสี่ ุด เพอ่ื ลดการสญู เสยี จากเหตกุ ารณ์ท่ีเกดิ ขน้ึ ในปัจจุบนั และอนาคต จงึ คิดคน้ นวัตกรรมนี้

ข้นึ มาและใชต้ ิดต้ังกับรถตู้ในการทดลองเรม่ิ แรกระบบการทางานท่ีติดตง้ั อยู่ในตัวรถ แบง่ การทางานออกเป็น2ระบบ คือ1.) ระบบการสตาร์ทรถยนต์ ถ้าคนขับไมน่ าคยี ์การ์ดไปแตะ จะไม่สามารถเปิดเครอ่ื งยนตไ์ ด้2.) ระบบตรวจสอบการเคลื่อนไหว จะทางานขณะเปิดเครือ่ งยนต์ ถา้ มเี ดก็ อยู่ในรถ เซน็ เซอร์ตรวจจับการเคลือ่ นไหวจะทางานใหม้ เี สียงสญั ญาณเตอื นเพือ่ ใหค้ นขับรถทราบว่าเด็กอยใู่ นรถ ผลงานวทิ ยาลัยสารพัดช่างอบุ ลราชธานี เครอื่ งทาลายกระจกรถกรณีรถตกนา้ มคี ุณสมบตั ิยิงทาลายกระจกรถยนตแ์ บบเทมเพอเรด ทต่ี ิดต้งั อยูด่ ้านข้างและด้านหลงั ของรถยนตท์ วั่ ไป เม่ือกระจกถกู ทาลายจะแตกตวั แบบเมล็ดข้าวโพด หากตกน้าจะมีอปุ กรณ์เสรมิ เพ่อื ขอความชว่ ยเหลือ และมีสญั ญาณแสดงตาแหนง่ ทจี่ ม

บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การวจิ ัยในการวจิ ัยครงั้ นี้มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ทาการศกึ ษาเร่ือง ระบบป้องกนั เด็กตดิ ในรถ ซงึ่ คณะผวู้ ิจยั ได้ดาเนนิ การศกึ ษา ซึ่งมีดงั นี้ประชากรและการสมุ่ กลุม่ ตวั อยา่ ง ในการวิจัยได้เลือกประชากรจากนักศึกษาครู อาจารย์ แผนกช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ สังกัดสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการจานวน 930 คน และกลุ่มตวั อยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง นักศกึ ษาปวส.1 แผนกช่างยนต์ จานวน 100 คนเครอื่ งมือในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ในการวจิ ัยครั้งน้ีได้สรา้ งเครอื่ งมือดังนี้ 1. แบบสารวจความพึงพอใจของผู้ใชง้ านระบบปอ้ งกันเด็กตดิ ในรถ 2. แบบบันทึกประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบป้องกนั เด็กติดในรถการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1. ให้นกั ศกึ ษาปวส.1 แผนกชา่ งยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ นครสวรรค์ จานวน 100 คน กรอกแบบสอบถามความพงึ พอใจจากการได้ใชง้ านระบบปอ้ งกนั เดก็ ตดิ ในรถ 2. บันทกึ ข้อมลู การทดสอบการทางานของระบบป้องกนั เดก็ ติดในรถโดยเร่มิ จากการใชง้ านจริงการวเิ คราะหข์ ้อมูล ในการวจิ ัยทีไ่ ด้ดาเนินการน้นั ได้วเิ คราะห์และสรปุ ผล โดยการนาข้อมลู แบบสารวจความพึงพอใจของผใู้ ช้งานระบบป้องกันเดก็ ติดในรถและ แบบบันทกึ ประสิทธภิ าพการทางานของระบบป้องกันเด็กติดในรถ มาเก็บรวบรวมข้อมลู ทางสถิติ รอ้ ยละ และนามาสรปุ ผลการวจิ ัย ซ่ึงแบบสารวจทั้งสองสามารถวิเคราะห์วา่ งานวิจยั ในคร้ังนสี้ ามารถนาไปใช้งานไดจ้ รงิ หรอื ไม่และมปี ญั หาดา้ นใดบา้ ง 3.5.1 ดาเนนิ การวิเคราะห์ข้อมูล นาผลท่ีได้จากแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน มาทาการวิเคราะห์ข้อมลู โดยกาหนดระดับคุณภาพดังนี้ ( ธานินทร์,2548:112) 4.50 -5.00 หมายถงึ มรี ะดับคณุ ภาพดมี าก 3.50 -4.49 หมายถงึ มรี ะดับคณุ ภาพดี 2.50 -3.49 หมายถึงมีระดับคุณภาพพอใช้ 1.50 -2.49 หมายถึงมีระดับคุณภาพควรปรับปรงุ 1.00 -1.49 หมายถงึ มรี ะดบั คุณภาพตอ้ งปรับปรงุ 3.5.2 คานวณหาค่าเฉลี่ย ( Mean ) ของผลการประเมินโดยการใช้สตู รเมื่อ ̅ คือคา่ เฉลีย่ ̅= คือ ผลรวมของขอ้ มูลทัง้ หมด หาร จานวนขอ้ มลู ทงั้ หมด

ศึกษาข้อมลูโครงสร้าง อปุ กรณท์ ีเ่ กี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูล วางแผน และปรกึ ษาอาจารย์ ปรับปรงุ แกไ้ ข ออกแบบ ดาเนนิ การสรา้ ง ทดสอบการทางาน รวบรวมข้อมลู เพือ่ วิเคราะห์ เสรจ็ สนิ้ ขน้ั ตอนภาพท่ี 3.1 แสดงแผนภมู ขิ ัน้ ตอนการดาเนินการของโครงการ

บทที่ 4 ผลการวิจยั จากการศึกษาครง้ั น้ี สามารถแสดงผลการวจิ ยั และวเิ คราะห์ข้อมูล ได้ 2 หวั ขอ้ ดงั น้ี 4.1 แบบสารวจความพึงพอใจของผ้ใู ชง้ านระบบป้องกนั เดก็ ติดในรถ 4.2 แบบบนั ทึกประสทิ ธิภาพการทางานของระบบป้องกันเดก็ ติดในรถ4.1แบบสารวจความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบป้องกันเด็กติดในรถเก็บข้อมูลจากนักศึกษาปวส.1ของแผนกช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ นครสวรรค์ จานวน 100 คน ซึ่งออกแบบการประเมิน 3 ด้านคอื 4.1.1 ด้านการออกแบบระบบป้องกนั เด็กติดในรถ 4.1.2 ด้านการสรา้ งระบบป้องกนั เด็กตดิ ในรถ 4.1.3 ด้านการใช้งานระบบป้องกนั เดก็ ติดในรถ จากการตอบแบบสารวจไดค้ ะแนนดังน้ีขอ้ ท่ี รายการประเมินคุณภาพ ระดับความคิดเห็น 5 4321 ด้านการออกแบบ1 การออกแบบถกู ตอ้ งตามหลักการออกแบบทางวศิ วกรรม 80 15 5 - - 81 14 5 - -2 การเลอื กใช้วัสดุมคี วามเหมาะสมถูกต้องตามหลกั การ ของวัสดุ วศิ วกรรม3 ใช้เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกับยุคสมยั ไม่ซบั ซ้อนในการผลติ 80 16 4 -- 80 16 4 --4 โครงสรา้ งมคี วามแข็งแรง มนั่ คง ทนทานตอ่ การใช้งาน 80 15 5 --5 การเลือกอปุ กรณไ์ ฟฟ้าถูกต้องตามมาตรฐานทางไฟฟ้า ด้านการสรา้ ง1 ความแขง็ แรงของโครงสร้าง 82 15 3 - - 82 14 4 - -2 ความเรยี บรอ้ ยในการประกอบ-ตดิ ตง้ั ช้นิ ส่วนอุปกรณ์ 80 15 5 - - 81 15 4 - -3 ความมนั่ คง แขง็ แรงของชิ้นส่วนและอปุ กรณ์ 80 16 4 - -4 ความเรียบรอ้ ยในการเดนิ สายไฟ5 ความเรียบร้อยของงานสีเคลอื บผิว ดา้ นการใช้งาน1 สมรรถนะทีไ่ ดต้ รงตามวัตถุประสงค์ และขอบเขตท่ี กาหนด 80 16 4 - - 80 16 4 - -2 อปุ กรณจ์ งู ใจผู้ใช้ 80 15 5 - - 81 16 3 - -3 นาไปปฏิบัติไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ 80 17 3 - -4 การเคลือ่ นย้ายทาได้สะดวก และปลอดภยั5 การบารุงรักษาทาได้สะดวก และปลอดภัยความหมายของคะแนน ระดับ 5 หมายถึง ระดับดมี าก ระดบั 4 หมายถึง ระดบั ดีระดับ 3 หมายถึง ระดับพอใช้ ระดบั 2 หมายถงึ ว่าควรปรับปรุง ระดบั 1 หมายถงึ ต้องปรับปรุง

ผลการวจิ ัย ด้านการออกแบบระบบป้องกนั เดก็ ติดในรถ 1.การออกแบบถกู ต้องตามหลกั การออกแบบทางวิศวกรรม ได้คะแนน 4.00 อยใู่ นระดบั ดี 2.การเลือกใช้วัสดุมีความเหมาะสมถูกต้องตามหลักการ ของวัสดุวิศวกรรมได้คะแนน4.05อยใู่ นระดบั ดี 3.ใชเ้ ทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั ยุคสมัยไมซ่ ับซอ้ นในการผลิต ไดค้ ะแนน 4.00 อยใู่ นระดบั ดี 4.โครงสร้างมีความแขง็ แรง ม่ันคง ทนทานตอ่ การใชง้ าน ไดค้ ะแนน 4.00 อยู่ในระดับ ดี 5.การเลอื กอุปกรณ์ไฟฟ้าถูกตอ้ งตามมาตรฐานทางไฟฟ้า ไดค้ ะแนน 4.00 อย่ใู นระดับ ดีผลการวิจยั ด้านการสร้างระบบป้องกันเดก็ ติดในรถ 1.ความแขง็ แรงของโครงสร้าง ได้คะแนน 4.10อย่ใู นระดบั ดมี าก 2.ความเรยี บร้อยในการประกอบ-ติดตงั้ ช้นิ สว่ นอุปกรณ์ ได้คะแนน 4.10อยใู่ นระดบั ดี 3.ความมัน่ คง แขง็ แรงของชิ้นสว่ นและอุปกรณ์ ไดค้ ะแนน 4.00อยู่ในระดบั ดี 4.ความเรยี บรอ้ ยในการเดนิ สายไฟ ได้คะแนน 4.10อยู่ในระดบั ดี 5.ความเรียบรอ้ ยของงานสเี คลือบผิว ได้คะแนน 4.00 อยู่ในระดบั ดีผลการวจิ ัย ดา้ นการใชง้ านระบบปอ้ งกันเด็กตดิ ในรถ 1.สมรรถนะที่ไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ และขอบเขตท่กี าหนด ไดค้ ะแนน 4.00 อยู่ในระดบั ดี 2.อุปกรณ์จงู ใจผใู้ ช้ ได้คะแนน 4.00 อยู่ในระดบั ดี 3.นาไปปฏบิ ตั ิไดต้ ามวัตถุประสงค์ ได้คะแนน 4.00 อย่ใู นระดบั ดี 4.การเคลอ่ื นยา้ ยทาได้สะดวก และปลอดภัย ได้คะแนน 4.05 อยใู่ นระดบั ดี 5.การบารุงรกั ษาทาได้สะดวก และปลอดภัย ไดค้ ะแนน 4.00 อยใู่ นระดับ ดี4.2 แบบบนั ทกึ ประสิทธิภาพการทางานของระบบปอ้ งกันเดก็ ตดิ ในรถมีดังนี้ 4.2.1 ตารางครั้งการนั่งของเดก็ ตอ่ น้าหนกั เด็กท่ีนง่ัคร้ังที่ นา้ หนกั (Kg) ผลการทางานวงจร1 10 ทางาน2 15 ทางาน3 20 ทางาน4 25 ทางาน5 30 ทางาน6 35 ทางาน7 40 ทางาน8 45 ทางาน จากตารางดังกลา่ วระบบปอ้ งกันเด็กตดิ ในรถ สามารถใชง้ านได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการสร้างกล่าวคือ สามารถดูน้าจากแหล่งท่ีต้องการใช้และสามารถกรองน้าให้มีคุณภาพดีพอท่ีจะใช้อปุ โภค บริโภค เมอ่ื เทียบกับระบบกรองน้าแบบเดมิ ทม่ี ใี ช้อยู่

บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ยั อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ในการวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ การสร้างระบบป้องกันเด็กติดในรถโดยมีสมมตุ ิฐานในการวิจยั ระบบป้องกนั เดก็ ติดในรถ สามารถทางานได้วตั ถุประสงค์ โดยกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย นักศึกษาปวส.1 แผนกช่างยนต์ของ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์จานวน 100 คน เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัยได้แก่ 1. แบบสารวจความพงึ พอใจของผูใ้ ชง้ านระบบปอ้ งกนั เด็กติดในรถ 2. แบบบนั ทึกประสทิ ธิภาพการทางานของระบบปอ้ งกันเด็กติดในรถค่าสถิติท่ีใช้ในการวิจัยคือ คา่ เฉลี่ยผลการวิจัยมดี งั น้ี5.1 สรปุ ผลการวิจัย จากการศึกษาและการทดลอง ระบบป้องกันเด็กติดในรถจากแบบสารวจความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบป้องกันเด็กติดในรถ พบว่าระดับความพึงพอใจของผู้ใช้งานอยู่ในระดับ ดี เกือบทุกหวั ข้อทีไ่ ดต้ ้งั ประเดน็ ขนึ้ มาและจากการปฏบิ ตั ิงานจริงพบว่า ระบบป้องกันเด็กติดในรถ สามารถช่วยใหผ้ ูข้ ับข่รี ถโรงเรียนจะชว่ ยอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้งานได้อย่างปลอดภัย5.2 อภปิ รายผล จากการวิจัยได้เล็งเห็นถึงส่ิงต่างๆ ที่จะช่วยให้การใช้งาน ระบบป้องกันเด็กติดในรถมีประสิทธิภาพในการใช้งานที่ดีสูงสุด คือมีระบบการควบคุมโดยใช้สวิตช์ ควบคุมผ่านหลอดไฟ LEDระบบควบคุณผา่ นกลอ้ งมือถอื เพอ่ื ให้ผู้ใชง้ านมีความปลอดภัยขึน้ อีกระดับหน่ึง รวมถึงการออกแบบโครงสร้างให้มีความแข็งแรงคงทน ติดต้ังได้สะดวกและมีประสิทธิภาพที่เป็นแนวทางการพัฒนารปู แบบของระบบป้องกนั เด็กติดในรถตู้ตอ่ ไป5.3 ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั 5.3.1 โครงสรา้ งบางจุดยงั ดไู ม่เปน็ มาตรฐาน และยังขาดความสวยงามประณีต 5.3.2 โครงสรา้ งบางชิน้ ยดึ ตดิ กันโดยไม่ได้ใช้วัสดุยึดอย่างแข็งแรงม่ันคง ทาให้ต้องระมัดระวังในการใช้งาน เพราะอาจเกิดการแตกหกั เสียหายไดง้ า่ ย 5.3.3 ระบบกลอ้ งไรส้ าย อาจต้องมีระบบอนิ เทอร์เน็ตรองรบั เพือ่ ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 5.3.4 กล่องควบคุมเป็นพลาสตกิ ใส่ ทาใหต้ ้องระมัดระวงั การกระแทกเสียหาย หากผ้ทู ี่สนใจในการนาผลงานวิจัยไปใช้นนั้ ควรทาการแก้ไขข้อบกพร่องเล็ก ๆ น้อย ๆ บางจุดท่ีผู้ทาการวิจยั ไดเ้ สนอแนะแลว้ ดา้ นบน เพ่อื ให้ไดผ้ ลงานที่มคี วามสมบูรณเ์ พิ่มมากขน้ึ

บรรณานุกรมบรรณานุกรมภาษาไทย“การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้า,” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://www.lpc.rmutl.ac.th/elcen/elearning/motorcontrol/module4/contactor1.html,2009. (21/12/52) “การควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ ,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://edu.e-tech.ac.th/mdec/learning/e-web/sara010.html, 2009. (22/12/52) การควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ผศ.อานาจ ทองผาสุข และผศ.วทิ ยา ประยงคพ์ นั ธ์ การควบคมุ เครอ่ื งกลไฟฟ้า ไวพจน์ ศรีธญั ไวพจน์ศรีธญั ชลชัย ธรรมววิ ฒั นกุ รูhttp://www.greenistasociety.com/news_detail.php?newsid=365http://www.thaiccd.com

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก รปู แสดงผลงานสง่ิ ประดิษฐ์

ภาคผนวก ข แบบแบบสารวจความพงึ พอใจ แบบสารวจความพงึ พอใจของผู้ใช้งานระบบป้องกนั เด็กตดิ ในรถ คาชแี้ จง แบบประเมินชดุ น้ี เป็นแบบสารวจความพึงพอใจของผูใ้ ช้งานระบบปอ้ งกันเดก็ ตดิ ในรถกรณุ าอ่านและตอบคาถามตามสภาพหรือความเห็นท่แี ทจ้ ริงโดยใหท้ ่านทาเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งคะแนนท่ที ่านคดิ วา่ เปน็ จรงิ มากทสี่ ุด ซง่ึ ในแต่ละระดบั ความคิดเห็นมคี วามหมายดังนี้ ระดับ 5 หมายถึง ระดบั ดีมาก ระดับ 4 หมายถึง ระดบั ดี ระดับ 3 หมายถึง ระดบั พอใช้ ระดับ 2 หมายถงึ วา่ ควรปรบั ปรงุ ระดบั 1 หมายถึง ตอ้ งปรบั ปรุงขอ้ ท่ี รายการประเมินคุณภาพ ระดบั ความคิดเห็น 54321 ด้านการออกแบบ1 การออกแบบถูกตอ้ งตามหลักการออกแบบทางวิศวกรรม2 การเลอื กใช้วัสดุมคี วามเหมาะสมถกู ต้องตามหลกั การ ของวัสดุ วิศวกรรม3 ใชเ้ ทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั ยุคสมัยไมซ่ ับซ้อนในการผลติ4 โครงสร้างมคี วามแข็งแรง มน่ั คง ทนทานตอ่ การใช้งาน5 การเลือกอุปกรณ์ไฟฟา้ ถูกตอ้ งตามมาตรฐานทางไฟฟ้า ดา้ นการสรา้ ง1 ความแข็งแรงของโครงสรา้ ง2 ความเรยี บรอ้ ยในการประกอบ-ตดิ ตงั้ ชนิ้ ส่วนอุปกรณ์3 ความม่ันคง แขง็ แรงของชิน้ สว่ นและอุปกรณ์4 ความเรยี บร้อยในการเดนิ สายไฟ5 ความเรียบรอ้ ยของงานสีเคลอื บผิว ด้านการใช้งาน1 สมรรถนะทไ่ี ดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ และขอบเขตที่ กาหนด2 อุปกรณ์จูงใจผู้ใช้3 นาไปปฏิบตั ิไดต้ ามวตั ถุประสงค์4 การเคล่อื นย้ายทาได้สะดวก และปลอดภยั5 การบารุงรกั ษาทาได้สะดวก และปลอดภยั แบบสารวจความพงึ พอใจของผู้ใช้งานระบบป้องกนั เด็กตดิ ในรถ

ประวัตผิ วู้ ิจัย1.ช่อื - นามสกุล (ภาษาไทย) นาย พีระวธุ เมฆวิลยัName – Surname (ภาษาองั กฤษ) Mr.Peerawut Makwilay2. เลขหมายบตั รประจาตัวประชาชน 16001005555203.ระดบั การศกึ ษา  ปวช. ชั้นปีที่............ ปวส. ชั้นปที .ี่ ....1......... ทล.บ. ชั้นปที ่ีสาขาวิชา ชา่ งยนต์ สาขางานเทคนคิ ยานยนต์ระยะเวลาทใ่ี ช้ทาวจิ ยั 3 เดอื น4.ที่อยทู่ ต่ี ิดต่อไดส้ ะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์วิทยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์ ท่ีอยู่ 400 ตาบล นครสวรรค์ตก อาเภอนครสวรรค์ จังหวดันครสวรรค์ (e-mail) [email protected].ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นาย ณภทั ร สนธิโพธ์ิSurname (ภาษาอังกฤษ) Mr, Naphat Sonthipho2.เลขหมายบัตรประจาตัวประชาชน 11899001605653.ระดบั การศกึ ษา  ปวช. ช้ันปที ี่............ ปวส. ชน้ั ปที ี.่ ....1......... ทล.บ. ชั้นปีที่สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางานเทคนคิ ยานยนต์ระยะเวลาทใ่ี ชท้ าวจิ ยั 3 เดือน4.ท่ีอยทู่ ต่ี ดิ ตอ่ ได้สะดวก พรอ้ มหมายเลขโทรศพั ท์ โทรสาร และไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์วทิ ยาลยั เทคนิคนครสวรรค์ ที่อยู่ 400 ตาบล นครสวรรค์ตก อาเภอนครสวรรค์ จังหวดันครสวรรค์ (e-mail) [email protected].ช่ือ - นามสกลุ (ภาษาไทย) นาย จริ ายุ พดั ไทยSurname (ภาษาอังกฤษ) Mr, Jerayat Patthai2.เลขหมายบัตรประจาตวั ประชาชน3.ระดับการศึกษา  ปวช. ชั้นปีท.ี่ ........... ปวส. ชน้ั ปีท.ี่ ....1......... ทล.บ. ช้ันปที ่ีสาขาวชิ า ชา่ งยนต์ สาขางานเทคนิคยานยนต์ระยะเวลาที่ใชท้ าวิจัย 3 เดือน4.ทอ่ี ยูท่ ่ีติดต่อไดส้ ะดวก พร้อมหมายเลขโทรศพั ท์ โทรสาร และไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนกิ ส์วทิ ยาลยั เทคนคิ นครสวรรค์ ที่อยู่ 400 ตาบล นครสวรรค์ตก อาเภอนครสวรรค์ จงั หวดันครสวรรค์ (e-mail) [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook