Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sarlib2565 (1)_merged

sarlib2565 (1)_merged

Published by Chalermkiat Deesom, 2023-08-07 01:42:03

Description: sarlib2565 (1)_merged

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเอง SELF-ASSESSMENT REPORT(SAR) ประจำปีการศึกษา 2565 สำนักหอสมุด LIBRARY มหาวิทยาลัยบูรพา|BURPAHA UNIVERSITY (1 สิงหาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566) Academic year 2022 (1 August 2022 - 31 July 2023)

รายงานการประเมนิ ตนเอง ตามเกณฑค ณุ ภาพการศกึ ษาเพอื่ การดําเนนิ งานที่เปน เลศิ ประจาํ ปการศึกษา 2565 EdPEx Self-Assessment Report Academic Year of 2022 สํานักหอสมดุ BURAPHA UNIVERSITY LIBRARY มหาวทิ ยาลัยบูรพา Burapha University

คํานํา รายงานการประเมินตนเอง สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา สาํ หรบั ผลการดาํ เนนิ งานในรอบปก ารศึกษา 2565 จัดทําข้นึ โดยมวี ัตถุประสงคเ พ่ือแสดงผลการประเมนิ ตนเอง ในการดาํ เนินกจิ กรรมการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ภายในของสาํ นักหอสมุด ตามเกณฑค ุณภาพการศกึ ษาเพ่ือการดาํ เนนิ การท่ีเปน เลศิ (Education Criteria for Performance Excellence: EdPEx) เพ่อื รับการตรวจประเมิน จากคณะกรรมการตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ภายใน ระดบั สวนงาน เนอ้ื หาสาระสาํ คญั ของรายงานฉบบั นป้ี ระกอบไปดว ย สว นท่ี 1 โครงรางองคกร และสว นที่ 2 หมวด กระบวนการและหมวดผลลพั ธ สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยบูรพา หวังวา รายงานการประเมนิ ตนเองฉบบั น้ี จะสะทอนใหเหน็ ถึงคุณภาพ ในการดําเนนิ งานตามพันธกิจทกุ ดานของสาํ นักหอสมุด และเปนสารสนเทศท่ีสาํ คัญสําหรับรายงานตอคณะกรรมการ การอุดมศกึ ษา กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวตั กรรม ซ่งึ เปนหนวยงานตนสงั กัดของมหาวทิ ยาลัย บรู พา รวมถึงเปนสารสนเทศสาํ หรับการพัฒนาการดาํ เนินงานของสาํ นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั บรู พาตอไป นายเหมรศั ม์ิ วชิรหัตถพงศ ผอู าํ นวยการสํานกั หอสมุด ก

สารบญั หนา ก คํานํา ข สารบัญ ง สารบัญตาราง ฉ สารบัญภาพ ช อภธิ านศัพทและคํายอ 1 สว นที่ 1 โครงรางองคก ร 1 8 P.1 ลกั ษณะองคกร 11 P.2 สถานการณขององคก ร 11 สวนที่ 2 หมวดกระบวนการและหมวดผลลัพธ 11 หมวด 1. การนําองคกร 18 1.1 การนาํ องคก รโดยผูนําระดับสูง 25 1.2 การกํากับดูแลองคกรและการสรา งประโยชนใ หสงั คม 25 หมวด 2. กลยุทธ 31 2.1 การจัดทาํ กลยุทธ 39 2.2 การนํากลยุทธไ ปปฏิบัติ 39 หมวด 3. ลกู คา 47 3.1 ความคาดหวังของลูกคา 55 3.2 ความผูกพันของลูกคา 55 หมวด 4. การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู 65 4.1 การวัด การวิเคราะห และปรบั ปรุงผลการดําเนนิ การขององคก ร 71 4.2 การจดั การสารสนเทศและการจดั การความรู 71 หมวด 5. บุคลากร 84 5.1 สภาวะแวดลอ มดานบุคลากร 88 5.2 ความผูกพนั ของบคุ ลากร 88 หมวด 6. การปฏิบตั ิการ 6.1 กระบวนการทํางาน 103 6.2 ประสทิ ธผิ ลของการปฏิบัตกิ าร ข

สารบัญ (ตอ ) 108 108 หมวด 7. ผลลัพธ 7.1 ผลลพั ธดา นการเรียนรขู องผูเรยี น การตอบสนองตอลูกคากลุมอนื่ 117 และดานกระบวนการ 120 7.2 ผลลัพธดา นผูเรยี นและลกู คากลุมอ่ืน 123 7.3 ผลลพั ธดา นบุคลากร 125 7.4 ผลลพั ธด า นการนําองคก ร และการกํากบั ดูแลองคก ร 7.5 ผลลพั ธดานงบประมาณ การเงนิ ตลาด และกลยทุ ธ ค

สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา ตารางท่ี OP1-1 บรกิ ารท่สี าํ คัญและวธิ กี ารใหบ รกิ าร 1 ตารางท่ี OP1-2 พนั ธกจิ วิสยั ทัศน คา นิยม สมรรถนะหลัก และวัฒนธรรมองคกร 2 ตารางที่ OP1-3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 2 ตารางท่ี OP1-4 ปจจัยความผูกพันของบุคลากร 3 ตารางที่ OP1-5 ขอกาํ หนดพิเศษดานสขุ ภาพและความปลอดภยั 3 ตารางท่ี OP1-6 สินทรัพยทส่ี ําคญั 3 ตารางท่ี OP1-7 กฎระเบียบ ขอบังคับดา นตา ง ๆ 4 ตารางท่ี OP1-8 กลมุ ผูใชบ ริการ ลกู คา กลมุ อ่นื และผมู สี วนไดส วนเสยี ความตองการและความคาดหวัง 5 ตารางท่ี OP1-9 สวนตลาดที่สาํ คัญจําแนกตามพันธกิจ และความตองการความคาดหวัง 6 ตารางท่ี OP1-10 ผสู ง มอบ และคคู วามรว มมือ 6 ตารางที่ OP2-1 ประเดน็ การเทยี บเคียงกบั คูเทยี บ 8 ตารางที่ OP2-2 โอกาสเชงิ กลยทุ ธ ความทา ทายเชงิ กลยุทธ ความไดเปรยี บเชิงกลยทุ ธ 9 ตารางที่ 1.1-1 ขน้ั ตอนของระบบการนําองคก ร 12 ตารางที่ 1.1-2 การปฏบิ ตั ติ นของบุคลากร และการนําคานิยมไปปฏบิ ตั ิ 12 ตารางท่ี 1.1-3 วิธถี า ยทอดวิสัยทศั น พนั ธกิจ แผนยทุ ธศาสตรข องสํานกั หอสมุด 13 ตารางที่ 1.1-4 วธิ ีการสือ่ สารของผูนาํ ระดบั สูง 15 ตารางท่ี 1.1-5 การสอ่ื สารเพ่ือสรา งความผกู พันกบั บคุ ลากร ผูใชบ รกิ าร และลกู คา กลมุ อื่น 16 ตารางที่ 1.1-6 วธิ กี ารสรา งสภาวะแวดลอ มเพื่อความสําเร็จ 17 ตารางท่ี 1.2-1 การกํากับดแู ลองคก รของสํานกั หอสมุด 19 ตารางที่ 1.2-2 วธิ ีการประเมินผลการดาํ เนินงานของผนู ําระดับสงู 21 ตารางท่ี 1.2-3 แนวทางปฏิบัติตามกฎหมายและการมจี ริยธรรม 22 ตารางที่ 1.2-4 การสรางพฤติกรรมที่ถกู กฎหมายและมีจริยธรรมในการปฏบิ ัติงาน 22 ตารางที่ 1.2-5 กจิ กรรมการสรา งความผาสกุ ของสงั คม 23 ตารางท่ี 1.2-6 การสนบั สนนุ ชมุ ชนและสรางความเขมแข็งใหแกช ุมชน 24 ตารางท่ี 2.1-1 กระบวนการจัดทําแผนกลยทุ ธ และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําป พ.ศ. 2566 26 ตารางท่ี 2.1-2 กลยุทธแ ละการสรางนวตั กรรม 27 ตารางท่ี 2.1-3 การรวบรวมและวิเคราะหขอ มูลทม่ี ีความสําคัญและจัดทาํ สารสนเทศ 28 ตารางท่ี 2.1-4 ยุทธศาสตร กลยุทธ วตั ถปุ ระสงคเ ชิงกลยุทธ ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 30 ตารางที่ 2.2-1 ยุทธศาสตร กลยุทธ และโครงการ/กจิ กรรม ตวั ช้ีวดั เปา หมาย (ป พ.ศ. 2565-2566) 31 ตารางที่ 2.2-2 กลยุทธ และโครงการ/กจิ กรรม ตามแผนระยะสั้น 1 ป (พ.ศ. 2566) 33 ตารางท่ี 2.2-3 แผนพฒั นาบุคลากรท่สี นบั สนุนวตั ถปุ ระสงคเชิงกลยทุ ธ 38 ง

ตารางท่ี หนา ตารางที่ 3.1-1 วธิ ีการรับฟง เสยี ง ปฏิสัมพนั ธ สังเกต และรวบรวมสารสนเทศจากกลมุ ผูใชบริการ ในปจจุบนั และลูกคากลมุ อืน่ ท่ีพงึ มี 40 ตารางท่ี 3.1-2 การจาํ แนกลกู คา ตามพันธกจิ และบรกิ ารของสํานกั หอสมดุ 42 ตารางที่ 3.1-3 บริการและลักษณะของการบรกิ ารท่ใี หบ ริการตามกลมุ ลูกคา 43 ตารางที่ 3.2-1 การจัดการความสมั พันธกับผูใชบริการ 47 ตารางที่ 3.2-2 ส่งิ สนบั สนุนและชอ งทางการเขา ถงึ สารสนเทศ 49 ตารางท่ี 3.2-3 ประเภทของขอ รองเรียนและเวลาในการแกไข 51 ตารางที่ 3.2-4 การคนหาความพงึ พอใจ ความไมพึงพอใจ และความผูกพันและการนาํ สารสนเทศไปใช 52 ตารางท่ี 4.1-1 ตัวช้ีวดั ระดบั สวนงานจากแผนยทุ ธศาสตรและแผนกลยทุ ธของสํานักหอสมุด 57 ตารางที่ 4.1-2 ตวั ช้วี ดั รายบุคคลท่กี ําหนดรวมกันระหวางหัวหนาฝายและบุคลากร (KPIs) 62 ตารางที่ 4.1-3 ระบบสารสนเทศเพื่อใชใ นการพฒั นาสํานักหอสมุด 62 ตารางท่ี 4.2-1 กระบวนการจัดการคณุ ภาพขอมูลและสารสนเทศ 65 ตารางที่ 4.2-2 การจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศ 66 ตารางที่ 4.2-3 ข้ันตอนการดําเนินการดานจัดการความรู 68 ตารางท่ี 4.2-4 กระบวนการจัดการความรู 69 ตารางที่ 5.1-1 ขั้นตอนการบรหิ ารงานบคุ คลของสาํ นักหอสมุด 72 ตารางท่ี 5.1-2 กระบวนการสรรหา คดั เลอื ก บรรจุ และรักษาไวซ ่งึ บุคลากรใหม 74 ตารางท่ี 5.1-3 การเตรียมความพรอมรบั การเปล่ยี นแปลงบุคลากร 75 ตารางที่ 5.1-4 ตัวอยา งคณะกรรมการชุดตาง ๆ ในสํานักหอสมดุ 77 ตารางที่ 5.1-5 การจดั การและปรับปรงุ สภาพแวดลอมในท่ีทาํ งานใหม สี ุขภาวะ ความปลอดภยั และ 78 ความสะดวกในการเขา ทาํ งานของบุคลากรสาํ นักหอสมุด ตารางท่ี 5.1-6 เกณฑ/มาตรการของระบบคุณภาพ เพ่ือจัดสภาพแวดลอมในการทาํ งาน 80 ตารางท่ี 5.1-7 สิทธิประโยชนและสวสั ดิการของบคุ ลากรสํานักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยบูรพา 81 ตารางที่ 5.2-1 ระดับความสขุ ความพึงพอใจ และปจจัยทส่ี งผลตอ ความผกู พันของบุคลากร 85 ตารางที่ 6.1-1 กระบวนการทาํ งานท่สี าํ คัญและขอ กาํ หนดทสี่ าํ คัญของสํานักหอสมดุ 89 ตารางท่ี 6.1-2 การออกแบบกระบวนการหลกั ของสาํ นกั หอสมดุ ตามแนวทางของ SIPOC Model 93 ตารางที่ 6.1-3 กระบวนการสนับสนนุ ของสาํ นักหอสมดุ 97 ตารางที่ 6.1-4 การจดั การเครือขายอุปทานดา นการจดั ซ้ือจัดจา งตามระเบยี บพสั ดุ 99 ตาราง 6.1-5 การจดั การเครือขา ยอปุ ทานดานผูสง มอบ คคู วามรวมมอื 100 ตารางท่ี 6.1-6 วธิ กี ารสนบั สนุนการสรา งนวตั กรรมของสาํ นักหอสมดุ 102 ตารางที่ 6.2-1 การควบคุมกระบวนการในกระบวนการทํางานทีส่ าํ คัญ 103 ตารางที่ 6.2-2 ความพรอมและวธิ แี กไขในภาวะฉุกเฉิน 106 จ

สารบัญภาพ หนา 5 ภาพท่ี 10 ภาพท่ี OP1-1 โครงสรางองคกรและโครงสรา งการบรหิ ารงานสํานักหอสมดุ 12 ภาพที่ OP2-2 BUULib Improvement Model 18 ภาพท่ี 1.1-1 ระบบการนําองคก ร (Leadership System) 19 ภาพที่ 1.1-2 แนวทางการบรหิ ารผลการปฏิบตั งิ าน 26 ภาพท่ี 1.2-1 ระบบการกํากับองคก ร 28 ภาพท่ี 2.1-1 กระบวนการวางแผนกลยทุ ธ (Strategic Planning Process: SPP) 29 ภาพท่ี 2.1-2 ระบบงานหลกั และระบบงานสนบั สนุนของสาํ นักหอสมุด 39 ภาพที่ 2.1-3 ความสอดคลองของยุทธศาสตรม หาวิทยาลัยและยทุ ธศาสตรส ํานักหอสมุด 51 ภาพที่ 3.1-1 กระบวนการรบั ฟง เสียงลูกคา และลูกคากลุมอ่ืน (voice of customer) 55 ภาพที่ 3.2-2 กระบวนการจัดการขอรอ งเรยี นของสํานักหอสมดุ 56 ภาพท่ี 4.1-1 ระบบการกําหนดและตดิ ตามตัววัดผลการดําเนนิ งานของสาํ นกั หอสมุด 64 ภาพที่ 4.1-2 การวัด วิเคราะห ผลการดาํ เนินงานของสํานักหอสมดุ 68 ภาพที่ 4.1-3 การวิเคราะหแ ละการทบทวนผลการดาํ เนนิ งาน 72 ภาพที่ 4.2-1 ระบบและกลไกการจดั การความรขู องสํานกั หอสมดุ (BUU Library KM) 81 ภาพท่ี 5.1-1 ระบบการบรหิ ารงานบุคคลของสาํ นักหอสมุด 81 ภาพที่ 5.1-2 สื่อประชาสมั พันธก ิจกรรม 7ส 89 ภาพที่ 5.1-3 นโยบายหองสมุดสเี ขยี ว 92 ภาพที่ 6.1-1 การจัดทําขอกําหนดทสี่ ําคัญ ภาพท่ี 6.1-2 โครงสรา งกระบวนการหลกั ของหองสมุดตามกรอบกระบวนการ SIPOC ฉ

อภธิ านศพั ทแ ละคํายอ คําศัพท คําอธิบาย/ความหมาย คูค วามรวมมือ หนว ยงาน/องคก รที่มคี วามรวมมอื กับสาํ นักหอสมุดในการสนบั สนุนกิจกรรมตาง ๆ โดยมี PULINET วัตถปุ ระสงคและเปา หมายรว มกนั ประกอบดวย 1. ขายงาน/เครือขายหองสมุด/สมาคมหอ งสมุด 2. ฝา ยบริการความรูทางวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาํ นกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.) 3. สาํ นักงานสงเสรมิ เศรษฐกจิ สรางสรรค (องคการมหาชน) (CEA) 4. ARSA Productions 5. สํานกั งานปลดั กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม (สปอว.) Provincial University Library Network (PULINET) คือ ขา ยงานหองสมดุ มหาวทิ ยาลัย สวนภมู ิภาค ทม่ี บี ทบาทสาํ คัญในการสรางความรวมมือเครือขา ยระหวางหองสมุดในสวนภูมิภาค และสนบั สนุนพันธกิจของมหาวทิ ยาลัยในขายงานฯใหมีคณุ ภาพสูงสุด โดยผูท่ที าํ งานใน สายอาชีพท่เี ก่ยี วขอ งกับงานหองสมดุ นนั้ ๆ ปจจุบนั มจี าํ นวน 20 แหง ดงั น้ี 1. สํานักงานบรหิ ารจดั การทรพั ยากรการเรยี นรู มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วทิ ยาเขตกําแพงแสน 2. สํานักวิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วทิ ยาเขตศรรี าชา 3. สํานกั หอสมุด มหาวิทยาลยั ขอนแกน 4. สาํ นกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม 5. สํานักหอสมดุ มหาวิทยาลัยทักษณิ 6. ศนู ยบรรณสารและส่อื การศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี 7. สํานักวิทยบรกิ าร มหาวิทยาลยั นครพนม 8. สาํ นักหอสมดุ มหาวิทยาลยั นเรศวร 9. สาํ นักหอสมุด มหาวทิ ยาลยั บรู พา 10. ศูนยบรรณสารและการเรยี นรู มหาวิทยาลัยพะเยา 11. สํานกั วิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม 12. สาํ นักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยแมโจ 13. ศูนยบรรณสารและส่ือการศึกษา มหาวทิ ยาลัยแมฟ าหลวง 14. ศนู ยบรรณสารและสอื่ การศกึ ษา มหาวิทยาลัยวลยั ลกั ษณ 15. สาํ นกั บรรณสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช 16. หอสมดุ พระราชวงั สนามจันทร สาํ นักหอสมดุ กลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร 17. สํานักทรพั ยากรการเรียนรูคุณหญงิ หลง อรรถกระวสี ุนทร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร วิทยาเขตหาดใหญ 18. สาํ นักวิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร วิทยาเขตปตตานี 19. สาํ นกั วิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี 20. หองสมุด มหาวทิ ยาลัยนราธวิ าสราชนครนิ ทร ช

คําศพั ท คาํ อธิบาย/ความหมาย PULINET PLUS หอ งสมุดมหาวทิ ยาลยั สวนภมู ิภาค รว มกับหองสมุดมหาวทิ ยาลยั สว นกลาง จํานวน 9 แหง 1. สาํ นกั งานวิทยทรพั ยากร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั THAILIS 2. สํานักหอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร 3. สาํ นักหอสมดุ กลาง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา พระนครเหนือ AUNILO 4. หอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เครอ่ื งมือสบื คน 5. หอสมดุ และคลงั ความรู มหาวทิ ยาลัยมหิดล สารสนเทศ 6. สํานกั หอสมดุ กลาง มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง ฐานขอมูล 7. สาํ นักหอสมุดกลาง มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ทรัพยากร 8. สาํ นักหอสมุดกลาง สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาเจา คณุ ทหารลาดกระบงั สารสนเทศ 9. สํานักบรรณสารการพัฒนา สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร Thai Library Integrated System (ThaiLIS) เปนโครงการพฒั นาระบบเครอื ขายหอ งสมดุ ทรพั ยากร อดุ มศกึ ษาในประเทศไทย โดยมวี ตั ถุประสงคในการใชทรพั ยากรสารสนเทศรวมกันในรูปแบบ สารสนเทศ ตาง ๆ เชน ฐานขอมลู หนงั สอื อิเล็กทรอนิกสก ารจัดทําสหบรรณานกุ รมเพ่ือการสืบคน ซึง่ สามารถ คกบ. สืบคน สารสนเทศในรปู ของเอกสารฉบบั เตม็ รปู อิเล็กทรอนิกสแ ละให Download เอกสารฉบับเต็ม ของบทความ วทิ ยานพิ นธ เปน ตน ASEAN University Inter-Library Online (AUNILO) เครือขายความรว มมอื ระหวา งหองสมุด มหาวทิ ยาลัยอาเซียน ซงึ่ มหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทยทเ่ี ปน สมาชกิ ไดแก มหาวทิ ยาลยั บรู พา จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหิดล และมหาวทิ ยาลัยเชียงใหม เคร่อื งมือในการสืบคนสารสนเทศทสี่ าํ นักหอสมุดจดั เตรียมไวใหก บั ผใู ชบริการ ประกอบดว ย 1. One Search การสืบคน ขอ มลู จากหลายฐานขอมลู ดวยการสืบคนเพียงคร้งั เดยี ว 2. OpenAthen ระบบการยนื ยนั ตวั ตนและเขาถงึ ฐานขอ มูลจากภายนอกและภายในเครอื ขาย โดยการยืนยนั ตัวตนเพยี งครงั้ เดียว ฐานขอ มลู ทรี่ วบรวมทรพั ยากรสารสนเทศของสาํ นักหอสมุด ท่ีจดั เตรยี มไวใ หก บั ผใู ชบริการ ประกอบดว ย 1. Online Public Access Catalog (OPAC) เคร่อื งมือในการชว ยสบื คนรายการทรัพยากร สารสนเทศของหองสมุด และแสดงรายละเอียดใหท ราบวา ทรพั ยากรสารสนเทศท่ีตอ งการนนั้ จัดเกบ็ อยทู ี่ใด นอกจากนัน้ ระบบ OPAC สามารถแจง ใหผใู ชบรกิ ารรบั ทราบขอ มูลขาวสารตา ง ๆ 2. Online Database ฐานขอ มูลภาษาไทยและภาษาตา งประเทศ ทส่ี ามารถสบื คน ไดผ านเว็บไซต ของสํานกั หอสมุด สามารถเขา ไป Download บทคัดยอและเอกสารฉบับเตม็ ประกอบดวยสือ่ สง่ิ พิมพ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ส่ือโสตทัศน ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสทสี่ ํานกั หอสมดุ ใหบ ริการ คณะกรรมการบรหิ ารสาํ นกั หอสมุด ประกอบดว ย ผูอาํ นวยการ รองผอู ํานวยการ ผูชว ย ผูอํานวยการ หวั หนาฝา ย โดยมีหัวหนาสาํ นกั งานผอู ํานวยการเปนเลขานกุ าร ทําหนา ทก่ี ําหนด นโยบาย และติดตามผลการดําเนินงานของสาํ นักหอสมดุ เพ่อื นําเสนอตอ คณะกรรมการประจาํ สํานักหอสมดุ ซ

คําศพั ท คาํ อธิบาย/ความหมาย คกป. คณะกรรมการประจําสาํ นักหอสมดุ ประกอบดว ย รองอธิการบดีฝา ยวชิ าการ จํานวน 1 คน สํานักหอสมดุ ผทู รงคุณวฒุ ภิ ายนอกสถาบัน จํานวน 3 คน ผูอํานวยการ จํานวน 1 คน รองผอู ํานวยการ จํานวน 2 คน ผูชว ยผูอ าํ นวยการ จาํ นวน 1 คน หวั หนาฝา ย จาํ นวน 2 คน พนักงานสนับสนุนวชิ าการ จาํ นวน 3 คน ทาํ หนา ทกี่ าํ หนดนโยบาย ใหคําปรึกษา แนะนาํ และพิจารณาผลการดําเนนิ งานของ สํานักหอสมุด สาํ นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ฌ

1 สวนที่ 1 โครงรา งองคก ร (Organization Profile) P.1 ลกั ษณะองคกร สํานักหอสมดุ เปนหนวยงานบริการสารสนเทศดานการเรียนรู เพื่อสนับสนุนภารกิจของมหาวิทยาลัยในการ พฒั นาการเรยี นการสอน การคนควาวิจัยและการบริการวิชาการแกส งั คม เปดใหบ รกิ ารเมือ่ วนั ท่ี 14 สงิ หาคม พ.ศ. 2516 ก. สภาพแวดลอ มขององคก ร (1) บริการของสาํ นักหอสมุด การจัดบรกิ ารเพอ่ื สนับสนนุ การเรยี นการสอน การคน ควาวิจยั และการบริการวิชาการแกช มุ ชน ประกอบดวย 1. บริการสารสนเทศ 2. บรกิ ารสนับสนนุ การเรียนการสอนและการวิจัย 3. บริการวิชาการแกชมุ ชน ดงั ตารางท่ี OP1-1 ตารางท่ี OP1-1 บรกิ ารทส่ี าํ คัญและวิธกี ารใหบริการ บรกิ ารที่สําคญั แนวทางและวธิ กี ารใหบ รกิ าร 1. บริการสารสนเทศ เปนการจดั การและสงเสรมิ การใชท รพั ยากรสารสนเทศหลากหลาย ทั้งในรปู ของสอ่ื ส่ิงพิมพแ ละสื่อ อเิ ล็กทรอนิกส ไดแก 1. บรกิ ารยมื -คนื ทรัพยากรสารสนเทศ 1.1 ยมื -คนื ดว ยตนเองทเ่ี คานเ ตอรบรกิ าร 1.2 บริการสงหนงั สอื ผานลอ็ กเกอรนอกเวลาทาํ การ (Books in Boxes) 1.3 สําเนาบทความวารสารผานระบบ RD (Resource Delivery) 1.4 บริการนาํ สงเอกสาร (Document Delivery Services : DDS) 2. บริการยืมระหวางหอ งสมดุ (Interlibrary Loan) 3. บริการฐานขอมูลอเิ ลก็ ทรอนิกส 2. บริการสนับสนนุ การเรียน บรกิ ารที่สนบั สนุนการเรยี นการสอนและการทําวิจยั ของคณาจารย นิสติ และบคุ ลากร ไดแ ก การสอนและการวิจยั 1. บริการตอบคาํ ถาม ชวยคนควา และวิจัย 2. BUU Research Support เปน การบรกิ ารเชงิ รุกเกยี่ วกบั การสนบั สนนุ การวจิ ัย และ ประชาสมั พันธบ ริการของสํานักหอสมดุ 3. Club Researcher การใหบ ริการเฉพาะกลุมนักวจิ ัยที่อยรู ะหวางการทาํ วจิ ัย 4. บรกิ ารผลติ สื่อการเรยี นการสอนออนไลน (BUU Library Mini Studio) 5. บริการฝก อบรมทกั ษะการรูสารสนเทศ และเคร่ืองมือในการจัดการสารสนเทศ 3. บรกิ ารวิชาการแกชุมชน บริการที่นาํ ความรคู วามเชี่ยวชาญของบุคลากร เพอื่ สรางประโยชนและความเขม แข็งแกชุมชน โดย การจดั กิจกรรมรว มกันชุมชน เพอ่ื สงเสรมิ การรักการอาน การเรยี นรตู ลอดชีวิต อนรุ ักษวฒั นธรรม ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่ิน

2 (2) พันธกจิ วิสัยทัศน คา นยิ ม สมรรถนะหลัก และวัฒนธรรมองคกร ตารางท่ี OP1-2 พนั ธกิจ วสิ ัยทศั น คานิยม สมรรถนะหลกั และวฒั นธรรมองคกร พนั ธกจิ M1 สนับสนุนดานการจดั การศึกษา การวจิ ัย และใหบรกิ ารวชิ าการ เพอื่ เปน แหลงเรยี นรตู ลอดชีวิต M2 การจดั การทรพั ยากรสารสนเทศทุกรูปแบบ เพ่ือใหผูใชบ ริการเขาถึงได และตรงตามความตอ งการ วิสยั ทัศน หอ งสมดุ ดจิ ทิ ลั เพอ่ื สรา งสงั คมแหงการเรยี นรตู ลอดชีวติ คา นิยม SMART S - Services การใหบรกิ ารที่เปน เลศิ และมจี ติ บริการ M - Modernization การเปนองคกรทที่ นั สมัย A - Achievement การมุง สคู วามสําเรจ็ R - Reinvent การทาํ ใหม พรอมรบั การเปลย่ี นแปลง T - Technology การใชเ ทคโนโลยเี พื่อการเปลยี่ นแปลง สมรรถนะหลกั ขององคก ร CC การบริการสารสนเทศและเปน ศนู ยก ารเรยี นรเู พ่ือการศกึ ษาและวจิ ัย (สนบั สนุนพนั ธกิจ M1 และ M2) วฒั นธรรมองคกร การทํางานเปน ทมี (3) ลกั ษณะโดยรวมของบุคลากร สํานักหอสมดุ มผี ูบ ริหารและบุคลากร รวมทั้งสนิ้ 49 คน (รวมผูอาํ นวยการ 1 คน) โดยแบง บุคลากร ออกเปน 3 กลมุ ประกอบดวย กลมุ วชิ าชพี หองสมดุ จาํ นวน 18 คน กลุม สนับสนุนงานบรกิ าร จาํ นวน 22 คน และ กลมุ สนบั สนุนงานบรหิ าร จาํ นวน 8 คน ดังตารางท่ี OP1-3 ตารางที่ OP1-3 ลกั ษณะโดยรวมของบุคลากร จาํ แนก จาํ แนกตามวุฒิ ตําแหนง ความกาวหนา จําแนกตาม จาํ แนกตาม จําแนกตาม ตามกลุม การศึกษา ทางวชิ าชพี อายงุ าน อายคุ น สถานภาพ ตา่ํ ป. ป. ลกู จาง ระดบั ระดบั ระดบั นอ ย 10- 21- มาก นอ ย 30- 41- มาก ขรก. พ. พ. ลกู จา ง กวา ตรี โท ต่าํ กวา ปฏบิ ตั ิ ชนก. ชนก. กวา 20 30 กวา กวา 40 50 กวา เงิน เงนิ ประจํา ป.ตรี ป.ตรี การ พเิ ศษ 10 ป ป 30 ป 30 ป ป ป 50 ป แผน ราย ป ดนิ ได กลมุ - 10 8 - 4 10 4 2 7 9 - 1 1 9 7 3 13 2 - วิชาชีพ หอ งสมดุ กลมุ 22 - - 22 - - - - 11 9 2 - 4 8 10 - 3 17 2 สนบั สนุน งานบรกิ าร กลมุ 2 2 4 2 2 4 - 2 4 1 1 - 2 4 2 - 6 2 - สนับสนุน งานบริหาร รวม 24 12 12 24 6 14 4 4 22 19 3 1 7 21 19 3 22 21 2 หมายเหตุ ขอมูล ณ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2565 กลุมวชิ าชีพหองสมุด : ประกอบดว ย บรรณารักษ นักวชิ าการโสตทศั นศกึ ษา นกั วิชาการคอมพวิ เตอร นกั เอกสารสนเทศ กลมุ สนับสนุนงานบรกิ าร : ประกอบดว ย ผปู ฏิบตั งิ านโสตทศั นศกึ ษา ผปู ฏบิ ัตงิ านหองสมดุ พนกั งานเขาและเยบ็ เลม ผูชวยปฏบิ ตั งิ านบริหาร แมบ า น พนกั งานบริการเอกสารทัว่ ไป กลุมสนับสนนุ งานบริหาร : ประกอบดว ยเจา หนาที่บรหิ ารงานทว่ั ไป นกั วชิ าการเงนิ และบญั ชี นกั วิชาการพสั ดุ นกั วชิ าการศกึ ษา พนักงานขับรถยนต ผูปฏิบตั ิงานชา ง บคุ ลากร ชนก. : ชาํ นาญการ, ป. : ปรญิ ญา, ขรก. : ขาราชการ, พ. : พนกั งาน บุคลากรสํานักหอสมุดมีอายุคนเฉลี่ย 47.20 ป อายุงานเฉล่ีย 20.93 ป จากการสํารวจปจ จัยทท่ี ําใหบ คุ ลากรมี ความผกู พนั ตอสํานักหอสมุด พบวา ปจ จัยท่สี งผลตอ ความผกู พันของบุคลากรท้ัง 3 กลมุ ดังตารางท่ี OP1-4

3 ตารางท่ี OP1-4 ปจจัยความผูกพันของบุคลากร กลุมวชิ าชีพ กลมุ สนับสนนุ กลมุ สนบั สนนุ หอ งสมุด งานบริการ งานบริหาร ปจจัยความผูกพัน (ลําดบั ) (ลําดบั ) (ลาํ ดบั ) 1 (4.76) ความภาคภูมิใจและยินดีทจ่ี ะบอกกับผูอ ่นื วาขา พเจา ปฏบิ ัตงิ านทส่ี ํานักหอสมุด 4 (4.53) 1 (4.37) 1 (4.71) รสู กึ อยากแนะนาํ ใหบคุ คลอ่ืนเขามาปฏิบัตงิ านทส่ี ํานกั หอสมดุ 3 (4.65) ไมค ดิ จะไปปฏิบัตงิ านท่อี งคกรอ่นื แมวา จะไดรับตาํ แหนงคา ตอบแทน หรอื 4 (3.94) 2 (4.43) สวัสดิการท่ีดกี วา 2 (4.71) มคี วามยนิ ดที ่ีจะทมุ เทปฏิบตั ิหนา ท่ี เพ่ือประโยชนสว นรวมของสาํ นกั หอสมดุ 3 (4.65) 3 (4.13) 4 (4.14) ตง้ั ใจที่จะปฏิบตั งิ านอยูในสาํ นกั หอสมดุ จนกวา จะเกษียณอายุการปฏิบตั ิงาน 2 (4.19) 2 (4.43) 1 (4.37) 3 (4.29) นอกจากนี้สํานกั หอสมุดไดใ หความสําคญั ดานการดแู ลสขุ ภาพและความปลอดภัยของบุคลากร ดงั ตารางที่ OP1-5 ตารางท่ี OP1-5 ขอกําหนดพิเศษดา นสขุ ภาพและความปลอดภยั ขอ กําหนด รายละเอียด ดา นสุขภาพ สํานกั หอสมุดมอบสทิ ธแิ ละสวัสดกิ ารใหแกบุคลากรทุกกลุม ตามทีม่ หาวิทยาลัยกําหนด ไดแก คารกั ษาพยาบาล สวัสดิการทอ่ี ยูอาศัย ตรวจสุขภาพประจาํ ป การทําประกนั สุขภาพกลมุ ประกันอบุ ตั เิ หตุ คาทาํ ฟน คาเลา เรยี นบตุ ร โดยบุคลากรสํานกั หอสมุดจาํ นวน 1 คน ไดร ว มเปนสมาชิกสภาพนกั งานมหาวิทยาลัยบรู พา ทาํ ใหไดรว มในการ รกั ษาสทิ ธแิ ละสวสั ดกิ ารของบุคลากร สําหรบั สวสั ดกิ ารท่ีสํานักหอสมุดจดั สรรใหน อกเหนือจากทม่ี หาวทิ ยาลัย กําหนด ไดแก การใหส วนลดคาอาหารของรา นคา café@library ดานความ สํานกั หอสมุดทาํ ประกันภัยพิบตั ิอาคารเปนประจําทุกป มคี ณะกรรมการโครงการหองสมดุ สเี ขยี ว ทําหนาที่ ปลอดภยั ควบคุมดูแลการอนุรกั ษพลงั งานและสงิ่ แวดลอมของสํานกั หอสมดุ พรอมทั้งตรวจสอบ/ดแู ลสถานที่และอปุ กรณ ตา ง ๆ เปนประจําทุกเดือน มกี ารติดต้งั กลองวงจรปด ดแู ลทัง้ ภายในและภายนอก และมพี นกั งานรกั ษาความ ปลอดภัยตลอด 24 ช่วั โมง (4) สินทรัพยท ี่สาํ คัญ ตารางท่ี OP1-6 สนิ ทรัพยท ี่สําคัญ ประเภท รายละเอียด จาํ นวน หนวยนบั 2 หลัง อาคารสถานที่ สํานกั หอสมุดประกอบดวยอาคาร 2 หลัง พื้นที่รวม 13,900 ตารางเมตร ไดแก 1 ระบบ อาคารเทพรัตนราชสุดาฯ ขนาด 7 ชั้น และอาคารขนาด 3 ชน้ั เช่ือมกับอาคาร 427,957 เลม 228,455 ชือ่ เทพรตั นราชสุดาฯ มีพื้นทน่ี ่งั อา น 2,000 ท่นี งั่ รวมถึงรา นอาหารและราน café@Library ฐาน 26 ฐาน ระบบสารสนเทศและ 1. ระบบบริหารจดั การทรพั ยากรสารสนเทศหองสมุด Walai AutoLib 3 ระบบ 1 ระบบ ทรัพยากรสารสนเทศ 2. หนงั สอื /วารสาร(สอ่ื สงิ่ พิมพ) 1 ระบบ 1 เครือ่ ง 3. หนงั สือ/วารสาร(สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส) 115/44 หอง 2 4. ฐานขอมูลอิเลก็ ทรอนกิ ส (จดั ซ้อื ) 5. ฐานขอมูลสารสนเทศดจิ ิทลั (พัฒนาขึน้ เอง) อุปกรณเทคโนโลยี 1. ระบบเครือขา ย เครือขายไรสาย และเครื่องแมข าย สารสนเทศ 2. ระบบกําเนดิ กระแสไฟฟา เครือ่ งสํารองกระแสไฟฟาขนาด 30 K 3. ระบบกลองวงจรปด 4. เครอ่ื งคอมพวิ เตอร / Tablet / Surface 5. หองผลิตสื่อการเรยี นการสอนออนไลน (BUU Library Mini Studio)

(5) สภาพแวดลอมดานกฎระเบียบขอบงั คบั 4 ตารางที่ OP1-7 กฎระเบียบ ขอ บงั คบั ดา นตา ง ๆ ผลลัพธ 7.4ก(3)-2.1 ดาน กฎระเบยี บ ขอ บงั คบั 7.4ก(3)-2.2 1. ดานการบริหารจัดการ 1. พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั บรู พา พ.ศ. 2550 7.4ก(3)-2.3 2. พระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ 7.4ก(3)-2.4 7.4ก(3)-2.5 3. พระราชบญั ญตั วิ า ดว ยการกระทําความผดิ เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร 7.4ก(3)-2.6 7.4ก(3)-2.7 4. พระราชบญั ญัติคมุ ครองขอ มูลสว นบคุ คล 5. พระราชบญั ญตั กิ ารรักษาความม่นั คงปลอดภัยไซเบอร 2. ดา นบริหารบคุ ลากร 1. ขอ บังคับมหาวิทยาลยั บูรพา วา ดวยการบริหารงานบคุ คลของมหาวิทยาลัย 2. ขอ บังคับมหาวทิ ยาลยั บรู พา วา ดวยจรรยาบรรณและการดาํ เนินการทางจรรยาบรรณของ ขา ราชการ พลเรือนในสถาบันอุดมศกึ ษา สงั กดั มหาวิทยาลัยบรู พา 3. ขอ บังคับมหาวทิ ยาลยั บรู พา วา ดวยจรรยาบรรณและการดาํ เนินการทางจรรยาบรรณของพนักงานและ ลูกจางในมหาวทิ ยาลยั บรู พา 4. จรรยาบรรณบรรณารกั ษ ของสมาคมหอ งสมุดแหง ประเทศไทย ในพระราชปู ถัมภส มเดจ็ พระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3. ดานการจัดการหองสมุด 1. ระเบียบมหาวทิ ยาลัยบูรพา วา ดว ยการใชบรกิ ารสํานกั หอสมดุ 2. ขอ ตกลงวา ดว ยการบริการระหวา งหองสมดุ สถาบนั อดุ มศกึ ษา 3. ระเบียบมหาวิทยาลยั บรู พา วาดว ยอตั ราคา ธรรมเนยี มสมาชิกหอ งสมุดขายงานหองสมุด มหาวิทยาลยั สว นภมู ภิ าค (PULINET) 4. ดานการเงิน บัญชแี ละพสั ดุ 1. มาตรฐานการบัญชภี าครฐั และนโยบายการบัญชภี าครฐั 2. ระเบยี บกระทรวงการคลัง พระราชบญั ญัติการจัดซอ้ื จัดจา งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั 3. ขอ บังคบั วา ดวยการบรหิ ารการเงนิ และทรพั ยส ินของม.บรู พา 5. ดา นการวจิ ัย 1. ประกาศมหาวทิ ยาลัยบูรพา เร่ืองหลกั เกณฑและแนวปฏิบตั ิในการบริหารจดั การงานวจิ ยั และนวตั กรรม 2. ระเบียบมหาวิทยาลยั บรู พาวา ดว ยขอ กําหนดและแนวทางการดาํ เนินการดานจริยธรรมการวิจยั ในมนุษย 6. ดานอาชีวอนามยั ความ 1. พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทํางาน ปลอดภยั และสิ่งแวดลอ ม 2. มาตรฐานหอ งสมดุ สเี ขียว 7. ดา นบริการวชิ าการ ระเบียบมหาวทิ ยาลยั บูรพา วาดว ยการบริหารเงนิ รายไดโ ครงการบริการวชิ าการ ข. ความสัมพันธร ะดับองคกร (1) โครงสรางองคก ร โครงสรางองคก รของสํานักหอสมุด แบงออกเปน 4 ฝาย ไดแก 1. สาํ นักงานผูอาํ นวยการ 2. ฝายเทคโนโลยี สารสนเทศและนวัตกรรมการเรยี นรู 3. ฝา ยบริหารจดั การทรพั ยากรสารสนเทศและคลังปญ ญา 4. ฝายบรกิ ารสารสนเทศ และนวตั กรรมการเรยี นรู ดําเนนิ การภายใต พรบ. มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550 โดยสภามหาวทิ ยาลยั และอธิการบดี กํากบั ดูแลการปฏบิ ัติหนาท่ีของผูอาํ นวยการ ซึ่งผูอํานวยการมีวาระการดํารงตาํ แหนง 4 ป โดยมี คกป. ทาํ หนา ทว่ี างนโยบาย ใหค ําปรกึ ษาแนะนําและพิจารณาผลการดําเนนิ งานของสาํ นกั หอสมุด และ คกบ. ทาํ หนาทก่ี ําหนดนโยบายและติดตามผล การดาํ เนินงานของสาํ นักหอสมุด ดงั ภาพท่ี OP1-1 ซ่ึงกําหนดใหมกี ารประชุม คกบ. ทุกเดือน และประชุม คกป. ทกุ 2 เดอื น หรือตามวาระท่จี ําเปนตองพิจารณา และมีการประเมนิ สว นงานและหวั หนา สวนงาน ปละ 1 ครงั้

5 1. โครงสรา งองคกร สํานักหอสมดุ ฝายบรหิ ารจัดการทรพั ยากร ฝา ยบริการสารสนเทศและ ฝา ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาํ นักงาน สารสนเทศและคลงั ปญญา นวัตกรรมการเรียนรู และนวัตกรรมดจิ ิทัล ผอู าํ นวยการ 2. โครงสรา งการบรหิ ารงาน นายกสภามหาวทิ ยาลยั อธกิ ารบดี ผูอ าํ นวยการ - คณะกรรมการประจําสํานกั หอสมดุ - คณะกรรมการบริหารสํานกั หอสมุด รองผอู าํ นวยการ รองผอู ํานวยการ ผชู ว ยผูอํานวยการ ผชู วยผูอาํ นวยการ ผูช ว ยผูอาํ นวยการ ฝา ยวิชาการและวจิ ัย ฝายบริหารและ ฝา ยบรกิ าร ฝา ยสื่อสารองคก ร ฝา ยประกันคณุ ภาพ วางแผนพฒั นา สารสนเทศ หัวหนา ฝา ยบรหิ ารจดั การทรพั ยากร หวั หนาฝา ยบรกิ ารสารสนเทศ หัวหนาฝา ยเทคโนโลยี หัวหนาสาํ นกั งาน สารสนเทศและคลงั ปญญา และนวตั กรรมการเรยี นรู สารสนเทศและนวัตกรรมดจิ ิทลั ผูอ าํ นวยการ ภาพท่ี OP1-1 โครงสรา งองคก รและโครงสรา งการบรหิ ารงานสาํ นักหอสมุด (2) ผูเรยี น ลูกคากลุมอื่น และผูม ีสวนไดส วนเสยี สํานกั หอสมดุ กําหนดกลมุ ผูใชบ รกิ าร ลูกคา กลุมอน่ื กลุมผูมีสว นไดส ว นเสยี และสว นตลาด โดยคาํ นึงถงึ ความครอบคลมุ ตามพันธกิจของสํานกั หอสมดุ โดยสาํ นักหอสมุดไดดาํ เนินการสาํ รวจความตองการและความคาดหวงั ของแตละกลุม โดยมีผลการเรียงลําดับความตองการและความคาดหวงั จากมากไปนอย ดังตารางที่ OP1-8 ตารางที่ OP1-8 กลุม ผูใชบ รกิ าร ลูกคา กลมุ อื่น และผมู สี วนไดส ว นเสีย ความตอ งการและความคาดหวัง กลุม ผใู ชบรกิ าร ความตอ งการและความคาดหวงั ผลลัพธ 1. กลมุ บคุ ลากร 7.2ก(1)-3 1. การบรกิ ารมคี วามชดั เจน เหมาะสม สะดวก 1.1 อาจารย/ นักวจิ ยั 2. ควรมีทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัย หลากหลาย 7.2ก(1)-4 3. การประชาสมั พันธมหี ลากหลายชอ งทาง รวดเรว็ 1.2 บคุ ลากรสายสนับสนุน 1. สถานทสี่ ะดวก สะอาด มแี สงสวา งเพียงพอ 2. การประชาสมั พันธม ีหลากหลายชอ งทาง รวดเรว็ 3. บุคลากรสภุ าพ มจี ติ บรกิ าร

6 กลมุ ผูใชบ ริการ ความตองการและความคาดหวงั ผลลพั ธ 2. กลุม นสิ ิต 1. ตอ งการใหเพ่มิ เวลา และพนื้ ที่ในการเปดบริการ โดยเฉพาะชว งสอบ 7.2ก(1)-5 2.1 ปริญญาตรี เพ่มิ หองศกึ ษากลุม 7.2ก(1)-6 2. ตองการใหเ พม่ื พื้นที่เปดเคร่อื งปรบั อากาศ 2.2 บณั ฑิตศกึ ษา 1. การประชาสัมพันธม ีหลากหลายชอ งทาง รวดเรว็ 2. บคุ ลากรสภุ าพ มีจติ บริการ 3. ควรมที รัพยากรสารสนเทศทที่ ันสมัย หลากหลาย ลูกคา กลุมอน่ื ความตอ งการและความคาดหวงั ผลลพั ธ 1. บคุ คลทว่ั ไป 1. สถานทสี่ ะดวก สะอาด มีแสงสวา งเพียงพอ 7.2ก(1)-7 (นักเรยี น/ นกั ศึกษาจากสถาบนั อื่น/ 2. บคุ ลากรสภุ าพ มจี ิตบรกิ าร ประชาชนทั่วไป) 3. ควรขยายชองทางการประชาสมั พันธใหบ คุ คลภายนอก 7.2ก(1)-13 2. สมาชิกสมทบ ควรประชาสัมพันธใ หทราบถึงสทิ ธิท่สี มาชกิ จะไดร บั 7.4ก(5)-1 ถึง 7.4ก(5)-9 3. ผูรบั บรกิ ารวชิ าการ ตองการใหมีการจัดกจิ กรรมบริการวิชาการอยา งตอเนือ่ งทกุ ป ผลลพั ธ 7.1ข(1)-1 ผูมสี ว นไดส ว นเสีย ความตองการและความคาดหวงั หนวยงานภายในมหาวทิ ยาลัยบูรพา ไดทรัพยากรสารสนเทศทตี่ รงกับหลักสตู รการเรยี นการสอนและการวจิ ยั (คณะ/ วทิ ยาลยั / สถาบัน/ สาํ นกั ) ตองการใหแ นะนําการใชบ ริการทรพั ยากรสารสนเทศตา ง ๆ เชน การ อบรมการใชฐานขอมลู ตารางท่ี OP1-9 สว นตลาดท่ีสาํ คญั จําแนกตามพนั ธกจิ และความตองการความคาดหวัง พนั ธกจิ สวนตลาด ความตองการความคาดหวัง สนับสนนุ ดานการจดั การศกึ ษา และ บคุ คลทว่ั ไปท่ีสนใจเขารบั บรกิ าร 1. บคุ ลากรมจี ิตบรกิ าร ใหค าํ แนะนาํ ในการใชบ รกิ าร การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ สารสนเทศของสาํ นักหอสมดุ 2. สถานทีส่ ะดวก สะอาด มีแสงสวา งเพียงพอ 3. ไดร บั ทรพั ยากรสารสนเทศเพียงพอและตรงความตองการ สนับสนนุ ดานการวจิ ัย บุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจรบั บรกิ ารดานการ 1. การบริการมคี วามชัดเจน เหมาะสม สะดวก รวดเรว็ วิจัย 2. การชว ยเหลือในการทาํ วจิ ัย 3. ไดร ับทรพั ยากรสารสนเทศท่หี ลากหลายและเพยี งพอ ดานบรกิ ารวิชาการ 1. กลมุ นักเรยี น ผูสูงอายุ ผูด อ ยโอกาส 1. ไดร บั การสง เสริมการเรยี นรู ในชุมชนภาคตะวันออก 2. ไดร ับแรงบันดาลใจในการประกอบอาชีพ และทาํ กจิ กรรมท่ีเปน 2. กลมุ บคุ ลากรในเขตพัฒนาพิเศษภาค ประโยชนตอ สังคม ตะวันออก (EEC) 3. ไดร บั ทรพั ยากรสารสนเทศดาน EEC (3) ผสู งมอบ และคคู วามรวมมือทส่ี ําคัญ สํานักหอสมุดมีกลไกการคัดเลือกผูสงมอบหรือคูความรวมมือที่สําคัญ เพื่อใหม่ันใจวาไดผูสงมอบหรือคูความ รว มมอื สามารถสงมอบบรกิ ารไดอยา งมคี ุณภาพ ดังตารางท่ี OP1-10 ตารางที่ OP1-10 ผสู ง มอบ และคคู วามรวมมือ ผสู งมอบ และคคู วามรว มมอื บทบาทท่ีเกยี่ วขอ ง ขอกาํ หนดในการปฏิบตั งิ าน กลไกการส่อื สาร รวมกนั ผสู งมอบ (ระดับกลยทุ ธ) 1. บริษทั / หา งราน/ตัวแทน/ จําหนาย 1. จดั ซอ้ื /จัดจาง/ เสนอผลิตภณั ฑ/ บริการ การสง มอบตรงเวลา ผลิตภัณฑ 1. หนงั สือราชการ หนังสอื และสอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส/จําหนา ยวสั ด/ุ ใหมๆ ในวงการเทคโนโลยีสารสนเทศให มีคุณภาพ และบรกิ ารหลังการ 2. การประชุม ครุภณั ฑ หอ งสมุดไดร ับทราบ ทนั ตอ ความกา วหนา ขายที่ดี 3. จดหมาย 2. จดั ฝกอบรมการใชบรกิ าร/ฐานขอมลู / อเิ ล็กทรอนกิ ส เทคโนโลยใี หมๆ ใหก ับผปู ฏบิ ัตงิ านและ 4. โทรศพั ท ผูใชบรกิ าร 5. การสอ่ื สารออนไลน

7 ผูสงมอบ และคคู วามรวมมือ บทบาททเี่ กีย่ วของ ขอ กาํ หนดในการปฏิบตั งิ าน กลไกการส่ือสาร รวมกัน 2. ศูนยค วามเปน เลิศดานนวตั กรรม สารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ ดูแลระบบหองสมดุ อัตโนมัติ Walai Autolib ดูแลและแกไขขอ ผดิ พลาดการ 6. เวบ็ ไซตของ (ระบบบริหารจดั การทรพั ยากรสารสนเทศใน ทาํ งานของระบบหอ งสมุด ใหมี สํานกั หอสมดุ ผูส ง มอบ (ระดบั ปฏบิ ตั ิการ) หอ งสมุด) เพ่อื ใหผใู ชบรกิ ารเขาถงึ ไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ บรษิ ทั รบั เหมาจา งชวงไดแ ก บรษิ ัททําความ ประสิทธิภาพ การประชุมสมั มนา / สะอาด/รักษาความปลอดภัย/บาํ รงุ รักษา การใหคําปรกึ ษา/ ลิฟต/เครื่องปรบั อากาศ เปนตน การบํารุงรักษาระบบ คคู วามรว มมือ 1. ขา ยงาน/เครอื ขายหองสมุด/สมาคม ดูแลความปลอดภยั และสุขอนามยั ของ การบริการเปน ไปตามสญั ญา สญั ญาจางและขอ ตกลง หองสมุด บุคลากรและผูใ ชบ ริการ จา งและขอตกลง 1.1 PULINET 1.2 PULINET PLUS 1. ความรว มมือกันในการศึกษาหานวัตกรรม มกี ารใชท รพั ยากรสารสนเทศ ประชุมสัมมนา/ 1.3 ThaiLIS การใหบ รกิ ารแกผใู ช เชน ฐานขอ มูล/ และสถานทร่ี วมกนั ภายใต การประชุมทางวิชาการ/ 1.4 AUNILO ซอฟทแวร/บริการใหมๆ ขอตกลงความรว มมอื ทาง บันทกึ ขอ ตกลง 2. การเปรยี บเทยี บขอ มลู ดาํ เนินงาน วิชาการ 2. ฝายบริการความรูทางวทิ ยาศาสตรแ ละ (Benchmark) ประชุมสมั มนา/ เทคโนโลยี สํานกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร 3. ภาคคี วามรวมมอื ในการจดั ซอ้ื ฐานขอมลู 1. มกี ารใชท รพั ยากร การประชมุ ทางวิชาการ/ และเทคโนโลยแี หงชาติ (สวทช.) 4. สนับสนนุ การใชท รพั ยากรสารสนเทศ สารสนเทศและสถานท่รี วมกัน บนั ทกึ ขอ ตกลง รวมกนั โดยการยมื ระหวา งหองสมุดทงั้ ใน ภายใตข อ ตกลงความรว มมอื 3. สาํ นกั งานสงเสริมเศรษฐกิจสรา งสรรค ประเทศและตางประเทศ ทางวชิ าการ ประชมุ สมั มนา/ (องคก ารมหาชน) (CEA) ความรวมมอื ทางดา นเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การพัฒนาขีดความสามารถ การประชมุ ทางวิชาการ/ 4. ARSA Productions เพอ่ื พัฒนาขดี ความสามารถของบคุ ลากร ของบคุ ลากรของสํานักหอสมดุ บันทึกขอ ตกลง ดา นเทคโนโลยี และสง เสรมิ การใชท รพั ยากร ดานเทคโนโลยี ประชมุ สัมมนา/ 5. สํานกั งานปลดั กระทรวงการอุดมศกึ ษา สารสนเทศรว มกัน 3. ใหการสนับสนุนการ การประชุมทางวชิ าการ/ วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม (สปอว.) ดําเนนิ การดา นบรกิ ารวชิ าการ บนั ทึกขอ ตกลง ไดรับการสนับสนนุ ทรพั ยากรสารสนเทศ แกชมุ ชนรว มกัน การดําเนินโครงการ ดา นการออกแบบ สนบั สนุนทรัพยากรสารสนเทศ ภายใตข อ กําหนด โครงการ เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพของบุคลากรใหมีทกั ษะ พฒั นาขีดความสามารถดาน ทางดานดิจทิ ัลและมคี วามรเู กยี่ วกับความ เทคโนโลยดี ิจิทัลใหก บั บุคลากร กา วหนาทางเทคโนโลยใี นยคุ Disruptive และนิสิต - สนับสนุนฐานขอมูลอิเลก็ ทรอนกิ สภายใต 1. ใหการสนับสนนุ ฐานขอมลู การดําเนนิ งานของ สปอว. ท่ีใชประโยชน อิเล็กทรอนิกส รว มกันของหองสมดุ สถาบนั อุดมศกึ ษา 2. ใหการสนบั สนุนการ - สนับสนุนงบประมาณในโครงการตาง ๆ ดําเนนิ งานของโครงการตา ง ๆ เชน โครงการ 1 ตําบล 1 มหาวิทยาลยั , โครงการพลกิ โฉมระบบอดุ มศกึ ษาของ ประเทศไทย (Reinventing University)

8 P.2 สถานการณข ององคก ร ก. สภาพแวดลอมดานการแขง ขัน (1) ลําดับในการแขงขัน สาํ นกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั บูรพา เปน หองสมุดของมหาวิทยาลัยในกํากบั ของรัฐและมีขนาดใหญท่ีสุดในภาค ตะวนั ออก มีความเปนเอกเทศและไดรบั การสนบั สนุนจากมหาวทิ ยาลยั ในการบริหารจัดการเพ่ือใหบ รรลุผลสําเรจ็ ตาม พนั ธกิจท้งั ของสาํ นักหอสมุดและตามแผนยทุ ธศาสตรข องมหาวทิ ยาลยั ในปการศึกษา 2565 สํานกั หอสมุดไดด ําเนนิ การ เทียบเคยี งผลการดําเนินงานตามตวั ชีว้ ดั กบั สาํ นักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม สาํ นกั หอสมุด มหาวิทยาลยั นเรศวร และ สาํ นกั หอสมุดกลาง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนอื จํานวน 2 ดา น คือ ดา นการใหบ รกิ ารสารสนเทศ และดา นจาํ นวนทรัพยากรสารสนเทศ (2) การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแขงขนั การเปลี่ยนแปลงทส่ี าํ คญั ที่มีผลกระทบตอสถานการณการแขงขนั ของสํานักหอสมดุ คอื 1. การเปล่ียนแปลงอยา งรวดเร็วของ เทคโนโลยี การแขงขัน เศรษฐกิจ ท้ังภายในและภายนอกองคกร ทําใหเกดิ ความผนั ผวน (Volatility) ความไมแนน อน (Uncertainty) ความสลับซับซอ น (Complexity) ความคลุมเครือ (Ambiguity) หรือทีเ่ รียกวา VUCA World ทําใหพ ฤติกรรมของผใู ชบ รกิ ารเปลย่ี นแปลงไปอยางมาก สาํ นกั หอสมุดจะตองปรบั ตวั ใหส ามารถ รองรับการใชบ รกิ ารในรูปแบบใหมเพ่ิมมากข้นึ 2. รปู แบบและชอ งทางการติดตอ สื่อสารมีรูปแบบทเ่ี ปล่ียนแปลงไป ผูใชบริการใชสอื่ สังคมออนไลนเพ่มิ มากขึ้น ทําใหสาํ นกั หอสมดุ ตองปรับรูปแบบของการสื่อสารใหสามารถเขา ถึงผูใ ชบรกิ ารไดสะดวกและรวดเรว็ มากขึน้ 3. ผูใชบรกิ ารสามารถเขาถงึ ทรพั ยากรสารสนเทศแบบ Open Access ไดส ะดวกมากย่ิงขึ้น สงผลใหผ ูใชบริการมี ทางเลือกในการใชทรัพยากรสารสนเทศเพ่ิมข้นึ สํานกั หอสมุดตอ งปรบั ตัวในเรื่องของการสงเสรมิ การใชท รัพยากรสารสนเทศ เพิม่ มากข้ึน และแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศแบบ Open Access มาใหบ ริการเพิ่มมากขึ้นดว ย (3) แหลงขอ มลู เชิงเปรยี บเทียบ ขอ มลู เชิงเปรียบเทยี บ ไดแ ก ดานทรัพยากรสารสนเทศ และดานการบริการสารสนเทศ ซึ่งขอ มลู เหลานไี้ ด รว มแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ในการเทียบเคียงขอมูลการใหบริการกับสาํ นกั หอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม และ สาํ นักหอสมุด มหาวทิ ยาลยั นเรศวร และสํานกั หอสมดุ กลาง มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา พระนครเหนอื เพื่อหา ตวั วดั ทเี่ หมาะสมรว มกัน ดังตารางท่ี OP2-1 ตารางท่ี OP2-1 ประเด็นการเทยี บเคียงกับคูเทียบ ประเภทการ ประเด็นการเทียบ คูเ ทยี บ เทียบ สํานกั หอสมุด สํานักหอสมุด สาํ นกั หอสมดุ กลาง ตามพันธกจิ ม.เชยี งใหม ม.นเรศวร มจพ. ดา นทรพั ยากร 1. จํานวน e-Journals ทบ่ี อกรับ   สารสนเทศ ดา นการบรกิ าร 2. รอ ยละของการใชหนังสืออิเล็กทรอนกิ สท ี่เพ่ิมข้ึน  - สารสนเทศ 3. รอ ยละของการใชฐ านขอมูลท่เี พิม่ ขึ้น   4. รอ ยละของการใช e-Journals ทเ่ี พม่ิ ข้ึน   5. จาํ นวนคร้งั การยมื หนงั สือโดยเฉลยี่ เทียบกับจํานวนนสิ ติ 1 คน -  6. รอ ยละจํานวนนิสิตท่ยี มื หนงั สอื เทยี บกบั จํานวนนิสติ ทั้งหมด - -

9 ประเภทการ ประเดน็ การเทียบ คเู ทียบ เทียบ 7. รอ ยละจํานวนหนังสอื ที่ถกู ยืมโดยนิสติ เทียบกบั จาํ นวนหนงั สือทัง้ หมด สาํ นักหอสมดุ สาํ นกั หอสมุด สํานกั หอสมดุ กลาง ตามพันธกจิ ม.เชียงใหม ม.นเรศวร มจพ. - - 8. จํานวนนวัตกรรม    9. จาํ นวนครง้ั การเขาใชบรกิ ารหองสมดุ (Walk in) โดยเฉลย่ี เทียบกับจาํ นวนนสิ ิต  -  1 คน 10. จํานวนคร้งั การเขา ใชบ รกิ ารหอ งสมุด (Walk in) โดยเฉลย่ี เทียบกับผใู ชบ ริการ -  - 1 คน 11. จํานวนการเขาใชบรกิ ารเวบ็ ไซต  -  12. รอ ยละของจํานวนผเู ขา อบรมการรสู ารสนเทศ (Information literacy)    เทียบกบั จํานวนนสิ ติ /นกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี และบณั ฑติ ศกึ ษา 13. ผลการประเมินความพึงพอใจของผใู ชบ ริการ    14. ความผูกพันผูใ ชบ ริการ - -     15. จํานวนการสมัครสมาชกิ หองสมุด หรือการตออายุสมาชกิ ประเภทสมทบ (บคุ คลท่วั ไป) - -  16. สถิตจิ ํานวนการยมื ระหวา งหอ งสมุด ข. บริบทเชิงกลยุทธ สํานกั หอสมดุ ไดส รุปความทาทายเชิงกลยทุ ธ ความไดเ ปรยี บเชงิ กลยุทธ และโอกาสเชิงกลยทุ ธ ในดา นตาง ๆ ดงั ตารางที่ OP2-2 ตารางท่ี OP2-2 โอกาสเชงิ กลยุทธ ความทา ทายเชิงกลยุทธ ความไดเ ปรียบเชิงกลยทุ ธ โอกาสเชงิ กลยุทธ ความทาทายเชงิ กลยทุ ธ ความไดเปรียบเชิงกลยทุ ธ (Strategic Opportunity) (Strategic Challenges) (Strategic Advantages) ดานบรกิ าร SC1: การปรับเปล่ียนการใหบริการ SA1: การมเี ครือขายความรว มมือกับหอ งสมดุ SO1 : การพัฒนาบริการรว มกนั ระหวา งเครือขาย สารสนเทศ ใหรองรับพฤติกรรมของ สถาบนั อุดมศกึ ษา ทัง้ สว นกลางและสว นภูมิภาค ความรวมมือของหอ งสมุดในสถาบันอุดมศกึ ษาท่ี ผใู ชทเี่ ปลีย่ นแปลงไป รวมถึงหนวยงานอื่นท่เี กยี่ วของ ทําใหม กี ารใช ชว ยสง เสรมิ ใหมกี ารใชบ ริการเพ่ิมมากข้ึน ทรพั ยากรรว มกนั (SC1+SA1) SC2: การบริหารจัดการระบบเครือขาย SA2: มีการพัฒนาบริการสารสนเทศ และการเขาถึง SO2 : การพฒั นาระบบการใหค ําปรึกษาดานการ และเครือ่ งแมข ายใหม สี ภาพพรอมใช แบบเปด (Open Access) ทาํ ใหผใู ชบรกิ ารสามารถ วิจัยเชิงรกุ ทาํ ใหส ามารถสรา งนวตั กรรมการ งานและการดูแลรักษาความมัน่ คง เขา ถึงผลงานไดสะดวกรวดเรว็ และลดคาใชจ า ย ใหบรกิ ารใหม ๆ ได (SC1+SA3) ปลอดภยั ทางไซเบอร SA3: บุคลากรมีความรู ความสามารถในการให SO3 : พัฒนาบรกิ ารใหบรกิ ารทรพั ยากรสารสนเทศ คําปรกึ ษาในดานการสืบคน สารสนเทศเพอ่ื การวิจยั Open Access ใหเ ปนแหลง เรยี นรูตลอดชีวติ สอดคลอ งกับนโยบายของประเทศ SA4 : การไดร ับการจัดสรรงบประมาณเครอื่ ง SO4 : สนับสนุนการจดั ทําสือ่ การเรียนการสอน แมข า ยเพ่อื ใชใ นการใหบ รกิ าร ออนไลนใหกับคณาจารย ทําใหการเรียนการสอน มีความสะดวกมากยิ่งข้ึน ดา นปฏิบัติการ SO5 : สามารถพัฒนาบรกิ ารดานดิจทิ ัลไดอ ยา ง รวดเรว็ และประหยัดงบประมาณในการดําเนินการ

10 โอกาสเชิงกลยทุ ธ ความทาทายเชิงกลยุทธ ความไดเปรยี บเชิงกลยุทธ (Strategic Opportunity) (Strategic Challenges) (Strategic Advantages) แตต องคงไวซ่ึงนโยบายรักษาความม่ันคงปลอดภยั ทางไซเบอรด วย ดา นบุคลากร SC3: ทกั ษะดจิ ิทลั ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป SA5: มีบุคลากรท่ีมีทักษะภาษาองั กฤษในระบบดี SO6 : แนวโนมของประเทศใหค วามสาํ คัญกับการ อยา งรวดเร็ว ทําใหต องเตรยี มความ เปนนักเอกสารสนเทศ สามารถจัดการเรียนการสอน เรยี นรตู ลอดชวี ติ ทาํ ใหสํานักหอสมดุ สามารถใช พรอมของบุคลากรใหม ีความพรอ มดาน ภาษาอังกฤษใหก ับบุคลากรได ความสามารถของบคุ ลากรในการพัฒนาหลักสูตร ทกั ษะดา นดิจิทัล เพอ่ื ตอบสนองตอ การเรียนรูต ลอดชวี ิต SC4: นโยบายมหาวิทยาลยั สง เสริมใหมี SO7 : บุคลากรสํานกั หอสมุดมสี ว นรวมในการ หลกั สตู รนานาชาติ หรือมีนิสิตตางชาติ พฒั นาโครงการเพอื่ สนบั สนุนการจดั อันดับ มาเรียนเพิ่มมากขนึ้ มหาวิทยาลยั โลกในระบบ THE Impact Ranking (SC4+SA5) ดานความรับผิดชอบตอสงั คม SC5: ความตองการแหลง เรียนรูของ SA6: บุคลากรมีความรูและทักษะดานวชิ าชีพ ใน SO8 : การทาํ งานรว มกับชุมชนเพิม่ มากขึ้นและ ชมุ ชนเพ่มิ มากขึ้น ดานการสง เสริมการอา น และการบรกิ ารหอ งสมุด สามารถพัฒนาตอยอดเปนงานวจิ ยั และการบริการ วิชาการ หรอื หลักสตู รระยะสน้ั ท่ีตอบสนองตอความ ตอ งการของชมุ ชนได ค. ระบบการปรับปรุงผลการดําเนินการ สํานักหอสมุดมีการปรับปรุงผลการดําเนินการ โดยใช BUULib Improvement Model โดยใชหลักการวงจร PDCA และเกณฑ EdPEx เปนพ้ืนฐานในการดําเนินงานขององคกร รวมกับการใหความสาํ คัญตอเสียงของผใู ชบรกิ ารซึ่งได พัฒนาขึ้นจากการเรียนรูในระดับองคกรของปที่ผานมาทําใหเกิดนวัตกรรมที่เรียกวา Voice for Change ท่ีมุงเนน ผูใชบริการเปนสําคัญ (Customer Focus) เพ่ือที่จะนําผลการวิเคราะหความตองการ ความคาดหวัง ของผูใชบริการ มา ปรบั ปรุงกระบวนการใหบริการแบบทนั ทวงที และใชระบบการจัดการความรู (KM) ในการแลกเปล่ียนเรียนรูและปรับปรุง กระบวนการทาํ งานภายในของสํานักหอสมุดเพ่ือใหเกิดประสทิ ธิภาพสงู สุด ดังภาพตอ ไปนี้ ภาพท่ี OP2-1 BUULib Improvement Model

11 สว นท่ี 2 หมวดกระบวนการและหมวดผลลัพธ หมวด 1 การนาํ องคกร 1.1 การนาํ องคก รโดยผูนาํ ระดับสงู ก. กําหนดวิสัยทัศนแ ละคานยิ ม (1) กาํ หนดวสิ ัยทัศนแ ละคา นยิ ม ผูนาํ ระดับสูงของสํานักหอสมุด ประกอบดวย ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ ผูชวยผูอํานวยการ และ หัวหนาฝาย มีแนวทางการนําองคก รโดยใชระบบการนําองคก ร Leadership System ดังภาพที่ 1.1-1 และมี ขั้นตอนการดําเนินงานดังตารางท่ี 1.1-1 ในสวนของวิสัยทัศนของสํานักหอสมุด คือ “หองสมุดดิจิทัลเพ่ือ สรางสังคมแหง การเรยี นรูตลอดชวี ิต” และคานยิ มคอื “SMART” ซึ่งเปนวสิ ัยทัศนและคานิยมท่ีผอู ํานวยการ สํานักหอสมุดไดกําหนดขึ้นในคราวแสดงวิสยั ทัศนตอคณะกรรมการสรรหาหัวหนาสวนงานของมหาวิทยาลัย เมื่อป พ.ศ. 2563 และบุคลากรสํานักหอสมุดไดรับรูและปฏิบัติตามวิสัยทัศนและคานิยมดังกลาว มีการนํา คา นิยมไปปฏบิ ตั ิเพอื่ ใหส อดคลองกับวสิ ยั ทศั นของสํานักหอสมุด ดังตารางที่ 1.1-2 โดยผูนาํ ระดบั สูงไดร วมกับ บุคลากรทบทวนวิสัยทัศนและคานิยมเปนประจําทุกป เพื่อนําไปจัดทําแผนยุทธศาสตรตามภารกิจ ซึ่งจะ ดําเนนิ การทบทวนในคราวประชมุ อบรมสัมมนาบคุ ลากรประจําป (เดือนพฤษภาคมหรือมิถุนายน) โดยนําการ เปล่ียนแปลงของปจจัยภายนอก ความทาทาย และความไดเปรียบเชิงกลยุทธ คํานึงถึงความคาดหวัง และ ผลประโยชนข องผูใชบริการ ลูกคากลุมอ่ืน และผูม ีสวนไดสว นเสีย เปน สาํ คญั มาประกอบการพิจารณารวมกนั เพื่อจัดทําแผนยุทธศาสตรของสํานักหอสมุด มีการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอกของ สํานักหอสมุด (SWOT Analysis) เพื่อกําหนดประเด็นแผนยุทธศาสตร แผนกลยุทธ ตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ และคา เปาหมาย ไวเปนกรอบการดําเนนิ งานอยางชัดเจน มกี ารประชมุ คกบ. มอบหมายใหดาํ เนนิ การทําแผนกลยทุ ธ และแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ตามยทุ ธศาสตรของสํานกั หอสมดุ และนาํ เสนอ คกป. เพ่อื พจิ ารณาและให ขอเสนอแนะ หลังจากนั้นสื่อสารและสรางความเขาใจใหกับบุคลากรโดยการประชุมบุคลากรเพ่ือถายทอด แผนยุทธศาสตร แผนกลยุทธ วิสัยทัศน และคานิยม เพ่ือนําไปจัดทําแผนปฏิบัตกิ าร มีการประเมิน ติดตามผล และสรปุ ผลการดาํ เนนิ งานทกุ ไตรมาส โดยรองผอู าํ นวยการฝายบริหารและวางแผนพัฒนา ป พ.ศ. 2565 ผูอํานวยการไดประชุมรวมกับบุคลากรในการทบทวนพันธกิจของสํานักหอสมุด และมี การปรับพันธกิจ จากเดิม 5 ขอ เหลือเพียง 2 ขอ เน่ืองจากในการทบทวนพบวาพันธกิจที่กําหนดไวเดิม เปล่ียนแปลงไปตามบริบทของมหาวิทยาลัยและการดําเนินการของสํานักหอสมุด และเพื่อใหมีความชัดเจน สอดคลองกับวิสัยทัศนและคานิยมของสํานักหอสมุด คือ 1. สนับสนุนดานการจัดการศึกษา การวิจัย และ ใหบริการวิชาการ เพ่ือเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต 2. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศทุกรูปแบบ เพ่ือให ผูใชบริการเขาถึงได และตรงตามความตองการ ดังตารางท่ี OP1-2 โดยผูนําระดับสูงใชวิธีการส่ือสารและ ถา ยทอดวสิ ัยทศั น พนั ธกจิ คา นิยม ไปยังบุคลากร ผใู ชบริการ ลกู คากลุม อนื่ และผูมสี ว นไดสวนเสีย ผานชอ งทาง ตาง ๆ ไดแ ก เว็บไซตของสํานักหอสมุด จดหมายขาวออนไลน ปายประชาสัมพันธ ตลอดจนส่ือสังคมออนไลน อ่นื ๆ ดงั ตารางที่ 1.1-3

12 ภาพท่ี 1.1-1 ระบบการนําองคก ร (Leadership System) ตารางท่ี 1.1-1 ขั้นตอนของระบบการนําองคก ร ขน้ั ตอน ตัวชว้ี ดั ระยะเวลา ผรู บั ผดิ ชอบ พฤษภาคม-มิถนุ ายน ผอู ํานวยการ/ 1. กระบวนการทบทวนวิสยั ทัศน รอ ยละของบคุ ลากรท่รี บั รวู ิสยั ทศั น คานิยม รอง ผอ.ฝา ยบริหารฯ สิงหาคม-กันยายน คานิยม พันธกจิ และแผนกลยุทธ พันธกิจ และแผนกลยทุ ธ ผูอ ํานวยการ/ ทกุ ไตรมาส รอง ผอ.ฝา ยบริหารฯ 2. กระบวนการจดั ทําแผนกลยุทธ รอยละของบุคลากรท่มี ีความรคู วามเขาใจและ รอง ผอ.ฝายบรหิ ารฯ 3. กระบวนการสือ่ สารและนําไปปฏิบัติ มีสวนรวมในการจัดทําแผนปฏบิ ตั กิ าร และผูท่เี กี่ยวขอ ง 4. กระบวนการตดิ ตามและประเมินผล รอ ยละของจํานวนโครงการ/กิจกรรมท่ีบรรลุ 5. กระบวนการดําเนินการปรับปรุง เปา หมาย ตารางท่ี 1.1-2 การปฏิบัตติ นของบุคลากร และการนาํ คานยิ มไปปฏิบตั ิ คา นิยมหลัก SMART พฤติกรรมท่ีพึงประสงค การปฏบิ ัตติ นของบคุ ลากร ตัวชวี้ ดั ผลลพั ธ 7.2ก(1)-2 S : Service การใหบริการทเี่ ปนเลศิ และ - ย้ิมแยม แจม ใส สภุ าพ ออนโยน ความพึงพอใจในการ ใหบริการ มีจติ บริการ - ตง้ั รับปญ หาจากการใหบริการและแกไขปญหา ไดอ ยา งรวดเรว็ - มคี วามพรอ มในการใหบ ริการทุกเวลา M : Modernization เปนองคกรท่ที ันสมยั ผปู ฏิบัติงานมีทักษะทางดานเทคโนโลยใี หม ๆ - การไดร ับการอบรม 7.3ก(4)-1 พัฒนา 7.3ก(4)-4 เพอื่ ประยกุ ตใ ชในการปฏบิ ัติงาน การใหบริการ - เทคโนโลยที ่นี าํ มา ปรับใชใ นการ 7.5ข-1 และปรบั ตัวใหเ ปนไปตามบริบทของผใู ชบ ริการ ปฏบิ ัติงาน 7.5ก(1)-1 ที่เปล่ยี นแปลงไป ความสาํ เร็จของ A: Achievement การมุงสคู วามสาํ เรจ็ การทาํ แผนยุทธศาสตรใหบรรลผุ ลตามเปา หมาย โครงการ/ กิจกรรมที่ ที่ตง้ั ไว บรรลุเปาหมาย R : Reinvent การทาํ ใหม พรอ มรบั การ การปรับเปลี่ยนการใหบริการ เพอื่ ใหท นั ตอ รายงานการเงิน เปลีย่ นแปลง สถานการณท ่ีเปลี่ยนแปลง

13 คา นิยมหลกั SMART พฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค การปฏบิ ตั ติ นของบคุ ลากร ตัวชวี้ ดั ผลลพั ธ 7.1ก-2 T : Technology การใชเทคโนโลยเี พอื่ การ การสง เสรมิ ใหบคุ ลากรไดเรียนรเู ทคโนโลยีใหม ๆ จาํ นวนนวตั กรรม เปลีย่ นแปลง เพือ่ พัฒนาตนเอง และประยกุ ตใชเ ทคโนโลยี สนบั สนนุ การบรกิ าร ในการสรางนวตั กรรม ตารางท่ี 1.1-3 วิธถี า ยทอดวิสัยทัศน พันธกิจ และคานยิ ม ของสํานักหอสมดุ วธิ กี ารถา ยทอด กลมุ เปา หมาย ผูส งมอบและ ผมู สี วน ผูรบั ผดิ ชอบ ความถ่ี คูความ ไดสว น บุคลากร ผูใชบ รกิ าร รว มมือ เสยี สาํ นกั หอสมดุ 1. การประชุมบคุ ลากร √ ผอู าํ นวยการ 2 คร้งั /ป 2. การบรรยายในกิจกรรมของ √ ผรู ับผดิ ชอบในกิจกรรม 2 คร้งั /ป หอ งสมุด และผูนาํ ระดับสงู 3. การจัดทาํ สื่อประชาสมั พนั ธ √√ √ √ คณะกรรมการสง เสรมิ ภาพลกั ษณ ตลอดป 4. การประชาสัมพันธบ นจอ LED √ √ √ √ คณะกรรมการสง เสรมิ ภาพลกั ษณ ตลอดป 5. การประชาสัมพันธหนาลฟิ ต √ √ √ √ คณะกรรมการสง เสริมภาพลกั ษณ ตลอดป 6. การเผยแพรผา นเวบ็ ไซตและ √ √ √ √ ผชู ว ยผูอํานวยการฝา ยสอื่ สาร ตลอดป Facebook ของสํานกั หอสมุด องคก ร และฝา ยเทคโนโลยี สารสนเทศและนวตั กรรมดจิ ทิ ัล (2) การสงเสริมการประพฤตปิ ฏบิ ัตติ ามกฎหมายและอยา งมีจรยิ ธรรม ผูนําระดับสูงไดสงเสริมการประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและอยางมีจริยธรรม โดยมีแนวทางการ ดาํ เนนิ งาน ดงั นี้ 1. การบริหารจัดการภายใน ใหเปนไปตามกฎระเบียบ ขอบังคับดา นตาง ๆ ดังตารางท่ี OP1-7 เชน ดานการวจิ ยั มคี ณะกรรมการวิจัยประจาํ สํานักหอสมดุ เปน ผูรับผดิ ชอบหลัก มีรอบการประชุมทุก 3 เดือน มี หนา ทีพ่ ิจารณาจัดสรรทนุ อดุ หนนุ การวิจยั มกี ารกาํ กบั ติดตามขอเสนอโครงการวจิ ัยของบุคลากรสํานักหอสมุด โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ดานบริการวิชาการ มีคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการบริการวิชาการ มีหนาท่ีกํากับติดตามและประเมินผลโครงการบริการ วิชาการที่สํานักหอสมุดจัดขึ้น และปฏิบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพา วาดวยการบริหารเงินรายได โครงการบริการวิชาการ ดา นการเงิน กําหนดใหมีการรายงานผลงบประมาณการเงินและบัญชีเปนประจําทกุ เดอื น โดยฝา ยการเงนิ และบญั ชรี ายงานแกผูอ ํานวยการ และรายงานผลตอ คกบ. และคกป. เปน รายไตรมาส 2. ผูอํานวยการประกาศการแสดงเจตจํานงสุจริต ดานคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงาน รวมกับมหาวทิ ยาลัย โดยปฏบิ ตั ติ ามนโยบายงดรับและงดใหข องขวัญ ของกาํ นัลและผลประโยชนตางตอบแทน ทั้งกอนและหลังการปฏิบัติหนาท่ีตามมาตรการสงเสริมคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของ หนว ยงานภาครฐั ของสาํ นักงานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ 3. ผูอํานวยการไดรับการประเมินตามระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของหัวหนาสวนงานจาก สภามหาวิทยาลัยปละ 1 ครั้ง นอกจากนี้เปดโอกาสใหบุคลากรไดประเมินสมรรถนะทางการบริหารของผูนํา ระดับสูง (7.4ก(2)-3) ทุกป โดยผลการประเมินท่ีไดนํามาเปนสวนหนึ่งของการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประจําป และเพือ่ นาํ มาเปนแนวทางในการปรบั ปรงุ การบรหิ ารงานตอ ไป

14 4. ผูนําระดับสูงถายทอดความรูดานกฎระเบียบและขอบังคับท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน เชน ขอบังคับมหาวทิ ยาลัยบูรพาวาดว ยจรรยาบรรณและการดําเนินการทางจรรยาบรรณของพนักงานและลูกจาง ในมหาวิทยาลัยบรู พา พระราชบัญญตั คิ ุมครองขอมลู สว นบุคคล (PDPA) พระราชบญั ญัตกิ ารรักษาความมน่ั คง ปลอดภัยไซเบอร เปนตน โดยทงั้ ดําเนนิ การถายทอดความรดู ว ยตนเอง และเชิญวิทยากรผทู รงคณุ วฒุ ิภายนอก มาใหความรูกับบคุ ลากรและผสู นใจท่วั ไป 5. การพิจารณาแผนบริหารความเส่ียงของสํานักหอสมุดในแตละปงบประมาณ คกบ. จะให ความสาํ คัญกับความเส่ยี งท่อี าจเกิดขน้ึ ดา นกฎหมายและธรรมาภบิ าล การดําเนินงานดังกลาวสงผลใหผลลัพธดานการประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรมท่ีผานมาไมเกิดการ ประพฤตผิ ิดกฎระเบยี บ ขอบงั คับ (7.4ก(3)-2.1 ถงึ 7.4ก(3)-2.7) ข. การสอ่ื สาร ผูนําระดับสูงใหความสําคัญตอการสื่อสาร และสรางความผูกพันกับบุคลากร คูความรวมมือ ผูรับบริการ และลูกคากลุมอ่ืน ตามขั้นตอนดังนี้ 1) กําหนดประเด็นในการส่ือสารและสรางความผูกพัน 2) กาํ หนดกลุมทีต่ องการสื่อสารและสรา งความผกู พัน 3) กาํ หนดวธิ กี ารสือ่ สารขอมลู 4) กําหนดระยะเวลาในการ ดําเนินการ 5) กําหนดผูรบั ผิดชอบ ดังตารางที่ 1.1-4 โดยมีการสื่อสารผานชองทางทห่ี ลากหลาย โดยเนนชอง ทางการสื่อสารแบบสองทิศทางเพ่อื กระตุนใหเ กิดการสอื่ สารท่ีตรงไปตรงมา รวมทงั้ การใชส่ือสังคมออนไลน ใน รูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการในการสื่อสาร นอกจากนี้มีการสรางความผูกพันกับบุคลากร ผูใ ชบ ริการ และลูกคากลุม อน่ื ผา นกจิ กรรมตาง ๆ ดงั ตารางที่ 1.1-5 ในปการศึกษา 2565 ผูนําระดับสูงไดสรางขวัญและกําลังใจใหกับบุคลากรสํานักหอสมุด จํานวน 4 คน ในการเสนอผลงานการประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 13 และไดรับรางวัลระดับ \"ดีเดน\" จากผลงานประเภทบรรยาย กลุมบริหารการจัดการองคกร (OM) เรื่อง \"บทบาทของสํานักหอสมุดกับการ พัฒนาความยั่งยืนทางการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม (BCG Tourism): กรณีศกึ ษาพิพิธภัณฑชุมชนวัดแกวนอย และพิพิธภัณฑอ ุทกมรดกทองถ่ิน อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุร\"ี ดวยการยกยองชมเชย และมอบรางวลั แสดง ความยนิ ดี พรอมประชาสัมพนั ธใ หบ ุคลากรและผูใชบรกิ ารรบั ทราบ ผานสอ่ื สังคมออนไลนข องสํานักหอสมุด

ตารางที่ 1.1-4 วธิ กี ารสื่อสารของผนู าํ ระดบั สงู 15 กลมุ ผรู บั สาร ประเดน็ การส่ือสาร รปู แบบการส่ือสาร ความถ่ี ผูรับผิดชอบ ผลลัพธ วิ ัสย ัทศน พันธกิจ คานิยม นโยบาย แผนกลยุทธ แผนป ิฏบั ิตงาน ผลการ ํดาเนินงาน กฎ ขอบัง ัคบ แนวป ิฏบัติ จริยธรรม จรรยาบรรณ การ ุมงเนน ูผรับบ ิรการ สรางความ ูผกพัน ัสงคม ชุมชน ิ่สงแวด ลอม บคุ ลากรสาํ นักหอสมดุ √ √ √ √ √ √ ประชุม, กิจกรรมสมั พันธ, ตลอดเวลา ผูอํานวยการ 7.4ก(1)-1 บันทึกขอความ, โปสเตอร 7.4ก(1)-2 , จดหมายขา ว, e-Doc, Line, email กลุมบคุ ลากร ไดแ ก √ - √ √ √ - บันทึกขอความ, โปสเตอร ตลอดเวลา ผชู ว ยผอู าํ นวยการ 7.2ก(1)- อาจารย/นักวิจยั / - ฝายบริการ บุคลากรสายสนับสนุน - , จดหมายขา ว, e-Doc, สารสนเทศและ 13 Line, email, YouTube, ผูชว ยผอู ํานวยการ เว็บไซต, Facebook ฝา ยสื่อสารองคก ร กลุมนิสิต ไดแก √ √ √ √ - โปสเตอร, จดหมายขาว, ตลอดเวลา ผชู วยผูอาํ นวยการ นิสติ ปริญญาตรี/ ฝายบรกิ าร นสิ ิตบัณฑิตศกึ ษา Line, email, YouTube, สารสนเทศและ เว็บไซต, Facebook ผชู ว ยผอู ํานวยการ ฝา ยสอ่ื สารองคก ร ลกู คากลมุ อ่นื ไดแก √ √ √ √ √ โปสเตอร, จดหมายขาว, ตลอดเวลา ผูช ว ยผูอาํ นวยการ บคุ คลท่วั ไป/ สมาชกิ ฝายบริการ สมทบ/ ผรู บั บรกิ าร e-Doc, Line, email, สารสนเทศ/ผชู ว ย วิชาการ YouTube, เวบ็ ไซต, ผูอํานวยการฝาย Facebook, รายการวิทยุ สอื่ สารองคกร/ (สวท.ชลบรุ )ี เจาหนา ที่ บริหารงานท่วั ไป ผมู สี วนไดสว นเสีย √ - - √ √ √ บันทกึ ขอความ, โปสเตอร ตลอดเวลา ผชู ว ยผอู ํานวยการ ฝายสอ่ื สารองคก ร/ , จดหมายขาว, e-Doc, เจา หนา ท่ี Line, email, YouTube, บรหิ ารงานทว่ั ไป/ เวบ็ ไซต, Facebook, นกั วชิ าการ คอมพวิ เตอร รายการวทิ ยุ (สวท.ชลบุรี) ผสู งมอบ และคูค วาม √ - √ √ √ √ บันทกึ ขอความ, โปสเตอร ตลอดเวลา ผชู ว ยผูอาํ นวยการ รวมมือ ฝา ยสื่อสารองคก ร/ , จดหมายขาว, Line, เจา หนา ท่ี email, YouTube, บรหิ ารงานทวั่ ไป/ เว็บไซต, Facebook, นกั วชิ าการ รายการวทิ ยุ (สวท.ชลบรุ ี) คอมพิวเตอร

16 ตารางท่ี 1.1-5 การส่อื สารเพอื่ สรา งความผกู พนั กับบคุ ลากร ผูใ ชบรกิ าร และลูกคากลุมอ่ืน กลมุ เปา หมาย ชอ งทาง/วธิ ีการส่ือสาร วตั ถุประสงค ความถี่ ลกั ษณะการสือ่ สาร สรา งความ สราง ผูกพนั แรงจูงใจ สนับสนุนดา นการจดั การศกึ ษา และการจดั การทรพั ยากรสารสนเทศ นสิ ิตทกุ ช้ันป กิจกรรมสงเสริมความสัมพันธกับผูใชบริการ 1. เพ่ือสรางกําลังใจและสงเสริมการ ชว งสอบ  -   (Exam party) เรยี นรูใ หกบั นิสิตมหาวิทยาลยั บูรพา 1 คร้งั /ป   และ   ผูรับผดิ ชอบ : ฝายบรกิ ารสารสนเทศและ 2. เพื่อประชาสัมพนั ธการบริการของ  - 2 ครัง้ /ป นวตั กรรมการเรยี นรู สํานักหอสมุด มหาวิทยาลยั บูรพา 1 ครั้ง/ป อาจารย บุคลากร โครงการบูรพาบุค แฟร และโครงการอา น เพื่อใหอาจารย บคุ ลากร และนสิ ิต 1 คร้งั /ป และนสิ ิต หนงั สอื ใหโ ดนใจตอ งไปเลอื กเอง มหาวิทยาลัยบรู พา ไดคัดเลือก ตามกําหนด ผรู ับผดิ ชอบ : ฝายบรหิ ารจัดการทรพั ยากร หนังสอื ไดต รงตามความตองการ และ ระยะเวลา การจัด สารสนเทศและคลงั ปญ ญา สอดคลอ งกบั การเรยี นการสอน โครงการ สนับสนุนดานการวจิ ัย บคุ ลากร จัดสรรทุนอุดหนุนการวิจัยและทุนพัฒนา สง เสรมิ ใหบ ุคลากรสาํ นกั หอสมุด นวตั กรรม พฒั นางานวิจัยและนวตั กรรม เพือ่ ผูร ับผดิ ชอบ : คณะกรรมการวจิ ยั ประจํา พฒั นางานบรกิ าร สํานกั หอสมดุ สนบั สนนุ ดา นบริการวชิ าการ บุคลากร การกําหนดตัวชีว้ ดั พเิ ศษสาํ หรบั บุคลากรท่ี เพื่อเปนขวัญและกําลังใจในการ ปฏิบตั ิงานดานบริการวชิ าการเกินคา ปฏิบัติงาน เปาหมาย ผูรบั ผดิ ชอบ : คณะกรรมการประเมินผล การปฏบิ ตั งิ านประจําป ของสํานกั หอสมดุ ผใู ชบ ริการ กิจกรรมสงเสรมิ ความสัมพันธก ับผใู ชบ รกิ าร เพ่อื เปนการนําสมรรถนะหลกั ของ ผูรับผดิ ชอบ : ผูจดั โครงการบรกิ ารวิชาการ สํานกั หอสมดุ สง เสรมิ การเรยี นรู ใหแกชุมชน ค. พันธกิจและผลการดําเนนิ การของสถาบัน (1) การสรางสภาวะแวดลอ มเพือ่ ความสาํ เร็จ ผูนําระดับสูงมีการสรางสภาวะแวดลอมในการทํางานเพ่ือความสําเร็จ โดยใชระบบการนําองคก ร ดังภาพที่ 1.1-1 และมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของสํานักหอสมุด ประเมินและ จดั การความเสี่ยงในดานตา ง ๆ มีการนาํ วัฒนธรรมองคก ร คอื “การทาํ งานเปนทมี ” มาดาํ เนินงานเพ่ือใหการ ปฏิบัตงิ านสําเร็จ รวมถึงสงเสรมิ ใหบุคลากรไดมีการสรางกระบวนการเรียนรูและพัฒนาอยางตอเน่ือง มีการ กระจายอํานาจจากผูนาํ ระดับสูงลงสูระดับฝาย กําหนดแนวทางการดําเนนิ งานแบบมีสวนรวม ทงั้ ในรูปแบบ คณะกรรมการ และทีมงาน เพ่ือใหแผนการดําเนนิ งานบรรลุตามเปาหมาย วิธกี ารในการสรางสภาวะแวดลอ ม เพอ่ื ทาํ ใหสาํ นกั หอสมดุ ประสบความสาํ เรจ็ ดงั ตารางที่ 1.1-6

17 ตารางท่ี 1.1-6 วธิ ีการสรา งสภาวะแวดลอมเพ่อื ความสําเร็จ ความสําเร็จ วิธกี าร รอบระยะเวลา ผรู ับผดิ ชอบ 1. สรา งสภาวะแวดลอ มให 1. กาํ หนด Performance KPI และ 1. ไตรมาสที่ 2,4 ผอู าํ นวยการ บรรลุวสิ ยั ทศั น และพันธกจิ Competency ในระดับตา ง ๆ โดยถายทอด KPI ใหก บั บคุ ลากร และมีการติดตาม ประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานตามระยะเวลาที่ กาํ หนด 2. มีการจัดทาํ แผนบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ 2. รายไตรมาส ผูชวยผอู าํ นวยการ ภายในสาํ นักหอสมดุ ฝายประกนั คณุ ภาพ 2. เสริมสรางวัฒนธรรม 1. สงเสรมิ วัฒนธรรมองคก ร คือ การทาํ งานเปน 1. ปล ะ 1 ครง้ั / - รองผูอาํ นวยการ องคก ร และวฒั นธรรมท่ี ทีม ใหก บั บคุ ลากร โดยมกี ารจัดกจิ กรรมรว มกัน ตลอดป ฝายบรหิ ารและ สงเสรมิ ความผูกพันของ ไดแก กิจกรรม Big Cleaning Day, กจิ กรรม วางแผนพฒั นา ผูใชบรกิ ารและลกู คากลมุ 7ส, กจิ กรรม “การใชถงุ ผา แทนถงุ พลาสตกิ ” - หัวหนา ฝายบริการ อ่ืน และกิจกรรม “กระดาษปนนํ้าใจ” ในโครงการ สารสนเทศและ หอ งสมุดสีเขียว มีการรณรงคและประชาสมั พันธ นวัตกรรมการ ใหก บั ผูใชบ ริการในเรอ่ื งการอนุรักษพลงั งานและ เรียนรู ส่งิ แวดลอ มดว ย 2. สงเสรมิ ความผูกพนั กับผูใชบริการ โดยจดั 2. ปล ะ 2 ครั้ง กิจกรรมใหผ ใู ชบ รกิ ารมีสวนรวม ในสวนของ อาจารย บุคลากร และนสิ ติ เชน กิจกรรมบรู พา บคุ แฟร, สปั ดาหหองสมดุ , กจิ กรรมอา นหนงั สอื โดนใจตอ งไปเลือกเอง, กจิ กรรม Exam party 3. ความคลอ งตัวในการ 1. นาํ ระบบการเงิน บญั ชี และพสั ดุ แบบ ตลอดป - ผอู ํานวยการ บรหิ ารจดั การ อเิ ลก็ ทรอนิกส ในการเสนอขออนมุ ัติ และขอ - นักวิชาการ ความเหน็ ชอบจากผอู ํานวยการ เพอ่ื ใหเกดิ ความ การเงนิ และบญั ชี สะดวก รวดเร็ว และลดการใชกระดาษ - นกั วชิ าการพัสดุ 2. มีการนาํ ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส - เจา หนาที่ (e-document) เพื่อใชใ นการสือ่ สารขาวสาร บรหิ ารงานทัว่ ไป ภายในสํานกั หอสมุด 3. มกี ารนําระบบลงนามอิเล็กทรอนิกส (e-signature) เพอ่ื ใชใ นการเสนอผบู ริหาร ลงนามในเอกสารราชการ

18 (2) การทําใหเกิดการปฏิบัติการอยางจริงจงั ภาพท่ี 1.1-2 แนวทางการบรหิ ารผลการปฏบิ ัติงาน ผูน ําระดับสงู กาํ หนดขนั้ ตอนและแนวทางการบรหิ ารผลการปฏิบตั งิ านของสาํ นกั หอสมดุ เพอ่ื มงุ เนน การปฏิบัติงานทท่ี ําใหบรรลพุ ันธกิจ และวิสัยทศั นของสํานักหอสมุด โดยการบริหารผลการปฏิบตั ิงาน 2 ระดบั คือ ระดบั สวนงาน และระดบั บคุ คล รวมถึงการบรหิ ารสมรรถนะในการจดั การ การเสริมสรางนวตั กรรม และ มอบขวัญและกําลังใจใหกับบุคลากร มีการดําเนินงานตามแผนกลยทุ ธและแผนปฏิบัติการ ดังภาพท่ี 2.1-1 มี การติดตามและทบทวนผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัดเปนรายไตรมาส เพ่ือใหทราบความกาวหนาของการ ดําเนินงาน มีการจดั ตั้งกลมุ Line คณะกรรมการชุดตาง ๆ เพื่อการสื่อสาร ประสานงาน ติดตามความกา วหนา ปญ หา อุปสรรค และใหข อเสนอแนะ เพือ่ ใหการปฏิบัติงานสามารถบรรลุเปาหมายตามทก่ี ําหนดไว นอกจากนี้ ยังมีการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู (KM) เพ่ือแลกเปล่ียนและถายทอดประสบการณของการปฏิบัติงาน กรณีพบปญหา อุปสรรคของการดําเนินงาน ผูนําระดับสูงและ คกบ. จะรวมกันพิจารณาหาแนวทางในการ แกไ ข ใหข อ เสนอแนะ เพื่อปรบั ปรุงการดาํ เนนิ งานใหสําเร็จไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ ในปงบประมาณ 2565 สํานกั หอสมุดไดน ําสรปุ ผลการดําเนินการตามแผนปฏิบตั ิการประจําป มาเปน ขอ มูลประกอบการจดั ทาํ แผนกลยทุ ธเ พ่ือมุงสกู ารเปน หอ งสมดุ ดจิ ิทัล ไดม ีการทบทวนวิสัยทัศนของ สาํ นักหอสมดุ โดยใหบุคลากรมีสวนรว มเพือ่ เสนอแนวคดิ เพ่ือมุงสกู ารเปนหองสมดุ ดิจทิ ัล และในปง บประมาณ 2566 ไดน าํ เปา หมายของการบรรลุวสิ ยั ทศั น มากาํ หนดแผนกลยทุ ธและกิจกรรมท่ีจะสงผลใหบ รรลวุ ิสยั ทัศนได 1.2 การกํากับดูแลองคกรและการสรางประโยชนใหสงั คม ก. การกาํ กับดแู ลองคก ร (1) ระบบการกาํ กบั ดแู ลองคกร ผูนําระดับสูง มีการกํากับดูแลองคก รใหดาํ เนินงานอยางเปนระบบภายใตกฎ ระเบียบ ขอบังคับ และ ประกาศตาง ๆ ดังตารางที่ OP1-7 และตามโครงสรางการบริหารงานของสํานักหอสมุด ดังภาพที่ OP1-1 ประกอบดวยรองผูอํานวยการ 2 คน ผูชวยผูอํานวยการ 3 คน และหัวหนาฝาย 4 คน แบงงานออกเปน

19 5 ดาน คือ 1) ดานการบริหาร 2) บริการวิชาการและการวจิ ัย 3) ดานการประกันคณุ ภาพการศึกษา 4) ดาน บริการสารสนเทศ 5) ดา นการส่อื สาร ซ่ึงแตล ะคนไดรับมอบหมายใหทําหนา ทว่ี างแผน กํากบั ดแู ล และบริหาร จดั การงานในแตละดาน และมีหวั หนาฝา ยดาํ เนนิ งานในแตล ะฝาย โดยแบงออกเปน 4 ฝา ย ไดแ ก ฝา ยบรหิ าร จัดการทรพั ยากรสารสนเทศและคลงั ปญญา ฝายบริการสารสนเทศและนวตั กรรมการเรียนรู ฝายเทคโนโลยี สารสนเทศและนวัตกรรมดิจิทัล และสํานักงานผูอํานวยการ มีการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติ การประจําปทุกไตรมาส โดยกําหนดใหมีการประชุมคกบ. ทุกเดอื น และคกป. ทุก 2 เดือน หรือตามวาระท่ี จําเปน ตอ งพจิ ารณาและนาํ เสนอตอมหาวทิ ยาลยั นอกจากน้กี ารกํากับดแู ลการบรหิ ารงานภายในสํานักหอสมุด ผูอํานวยการใชหลักธรรมาภิบาลเปนหลักในการบริหารจัดการ ดังภาพท่ี 1.2-1 โดยไดกําหนดภาระหนาท่ี ความรับผดิ ชอบเพอื่ ใหป ระสบความสําเรจ็ ในการกํากับดแู ลองคกร ดังตารางท่ี 1.2-1 หลักธรรมาภบิ าลในการบริหารจัดการ การกาํ กบั ดูแลของผนู ํา หลกั ประสิทธิผล (Effectiveness) 1. ความรับผดิ ชอบในการกระทําของผนู ําระดบั สูง หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) 2. ความรบั ผดิ ชอบตอแผนยุทธศาสตรแ ละแผนปฏิบัติ หลักการตอบสนอง (Responsiveness) การประจําป หลกั ภาระรบั ผดิ ชอบ (Accountability) 3. ความรับผิดชอบดานการเงนิ หลกั ความโปรงใส (Transparency) 4. ความโปรงใสในการดาํ เนนิ การ หลกั การมีสว นรวม (Participation) 5. การคดั เลอื กคณะกรรมการกาํ กบั ดแู ลองคกร (คกป.) หลักการกระจายอ านาจ (Decentralization) 6. ความเปน อิสระและมีประสิทธิผลของ การตรวจสอบ หลกั นติ ิธรรม (Rule of Law) ภายในและภายนอก หลกั ความเสมอภาค (Equity) 7. การปกปองผลประโยชนของผมู สี วนไดสว นเสีย หลกั มุง เนน ฉนั ทามติ (Consensus Oriented) 8. การวางแผนสบื ทอดตาํ แหนงสําหรบั ผนู ําระดบั สงู ภาพที่ 1.2-1 ระบบการกํากับองคกร ตารางท่ี 1.2-1 การกํากับดูแลองคก รของสาํ นักหอสมดุ ประเดน็ การกํากับดแู ล การดาํ เนนิ งาน ระยะเวลา ผรู บั ผดิ ชอบ 1. ความรับผิดชอบในการกระทําของ 1. รายงานผลการดําเนินงานของสาํ นักหอสมดุ ทุก 2 เดือน ผูอํานวยการ ผนู ําระดบั สงู ตอคกป. ทกุ เดอื น รองผอู ํานวยการ ฝายบริหารและวางแผน 2. ประชมุ คกบ. เพ่ือกํากบั ตดิ ตาม ใหค วามคดิ เหน็ รายไตรมาส พัฒนา ผอู าํ นวยการ และ และขอเสนอแนะในเรอื่ งตา ง ๆ 1. ทกุ 2 เดอื น ฝา ยการเงนิ 2. ตามรอบ 2. ความรับผิดชอบตอแผนยุทธศาสตร ติดตามผลการดาํ เนินการตามตวั ชวี้ ัดของแผน ระยะเวลา และแผนปฏิบัติการประจําป ยทุ ธศาสตรและแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ป และรายงาน ผลการดาํ เนินงานทรี่ บั เปา หมายตอมหาวิทยาลยั 3. ความรับผดิ ชอบดา นการเงิน 1. รายงานการใชเงินหมวดตาง ๆ ตอ คกบ. และคกป. 2. มีการตรวจสอบการใชจา ยเงนิ งบประมาณโดย หนว ยตรวจสอบภายในของมหาวิทยาลัย

20 ประเดน็ การกาํ กับดแู ล การดาํ เนนิ งาน ระยะเวลา ผรู ับผดิ ชอบ 4. ความโปรงใสในการดาํ เนินการ มีระบบการตรวจสอบเพอื่ ปอ งกันและปราบปรามการ ตามรอบระยะเวลา ผูอาํ นวยการ ทุจริต และไดร บั การตรวจสอบจากหนว ยตรวจสอบ ภายในของมหาวทิ ยาลยั 5. การคดั เลือกคณะกรรมการกาํ กบั สํานักหอสมดุ เสนอรายชอื่ ผดู าํ รงตาํ แหนงคกป. ตามวาระการดํารง ผูอ าํ นวยการ ดแู ลองคก ร (คกป.) ตอมหาวทิ ยาลยั ตามคุณสมบัตทิ กี่ าํ หนดไว ตําแหนงที่กําหนดไว 6. ความเปนอิสระและมปี ระสิทธผิ ลของ สํานักหอสมุดไดรับการตรวจสอบภายในจาก ตามรอบระยะเวลา ผูอาํ นวยการ การตรวจสอบภายในและภายนอก มหาวทิ ยาลัย และการตรวจสอบภายนอกจาก สํานกั งานการตรวจเงนิ แผน ดิน 7. การปกปองผลประโยชนของผูมีสวน 1. มีการบรหิ ารความเสี่ยงและการจัดการ ตลอดเวลา ผชู ว ยผูอาํ นวยการ ไดสวนเสยี ขอรองเรยี น ฝายประกันคณุ ภาพและ 2. นาํ เสนอขอมลู เกย่ี วกับระเบยี บ ประกาศ ผชู ว ยผูอาํ นวยการ บนเวบ็ ไซตของสาํ นักหอสมุด ฝา ยบริการสารสนเทศ 8. การวางแผนสืบทอดตําแหนงสําหรับ มีการพิจารณา/ทบทวน ประเมินคุณสมบัติทักษะ ตามระยะเวลาที่มี ผอู ํานวยการ ผูนําระดับสูง สมรรถนะของบุคลากรที่มีความสามารถเชิงบริหาร การฝกอบรม และสง ฝก อบรมตามความจําเปนของแตล ะบุคคล (2) การประเมนิ ผลการดําเนนิ งาน ในการบรหิ ารงานของผูน ําระดับสูง ตลอดจนการสนบั สนนุ การทาํ งานดานบริหารของสาํ นกั หอสมุด ผูอํานวยการไดรับการประเมินผลการปฏิบัติงานตามขอบังคับมหาวิทยาลัยบูรพาวาดวยการติดตามและ ประเมนิ ผลการดําเนินงานของสว นงาน และการปฏิบัติงานของหัวหนาสว นงาน พ.ศ. 2561 และแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563 กําหนดใหมกี ารติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของสว นงาน และประเมินผลการ ปฏิบัตงิ านของหัวหนา สว นงานในทุกปงบประมาณจากสภามหาวิทยาลัย การประเมินผลการปฏบิ ัติงานของ รองผูอํานวยการ ผูชวยผูอํานวยการ หัวหนาฝาย และบุคลากร ไดรับการประเมินจากคณะกรรมการ ประเมินผลการปฏิบัตงิ านระดับสวนงาน โดยมีผูอาํ นวยการเปนประธาน ประเมินปละ 1 คร้ัง โดยประเมินจาก ผลการปฏิบัติงานตามงานที่ไดรับมอบหมายและตามตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicator : KPI) ตามคูมือการปฏิบัติงานสํานักหอสมุด ซึ่งไดกําหนดองคประกอบการประเมินผลการ ปฏิบัติงานไว 2 องคประกอบหลัก ไดแก องคประกอบผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน และองคประกอบ พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ผานระบบ KPI ออนไลน สําหรับคกป. ประเมินผลการดําเนินงานของตนเองแบบ ออนไลน และการรายงานผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรของสํานักหอสมุด รองผูอํานวยการฝาย บริหารฯ จะดําเนนิ การรวบรวมและรายงานผลตอ คกบ. รายไตรมาส และผอู ํานวยการ รายงานผลตอ คกป. ทกุ 6 เดือน เพื่อใหท่ีประชุมรวมกันทบทวนผลการดําเนินการ และมีขอเสนอแนะในการปรับปรุงผลการ ดําเนนิ งานใหม ปี ระสิทธิภาพมากข้ึน ดงั ตารางท่ี 1.2-2

21 ตารางท่ี 1.2-2 วธิ กี ารประเมนิ ผลการดําเนนิ งานของผนู ําระดับสูง ผรู บั การประเมิน ผปู ระเมิน รอบการ วธิ ปี ระเมิน การนาํ ผลประเมิน ผลลัพธ ประเมิน ไปใชป ระโยชน ผอู ํานวยการ สภามหาวทิ ยาลยั ปล ะ 1 ครั้ง ประเมินแบบ 360 - ปรับปรงุ การบริหารงาน 7.4ก(2)-1 องศาตามรูปแบบของ - การกาํ หนดคา ตอบแทน โดยการเลอ่ื น มหาวทิ ยาลยั ข้นั เงนิ เดอื น คกป. ตนเอง ปล ะ 2 ครง้ั แบบสอบถาม มอบหมายงานกํากบั ดูแลทเ่ี หมาะสม และ 7.4ก(2)-2 พิจารณาสว นทยี่ งั ไมไ ดด าํ เนนิ การ คกบ. บุคลากร ปล ะ 2 คร้ัง แบบสอบถาม - ปรับปรงุ การบริหารงาน/การปฏิบัตงิ าน 7.4ก(2)-3 สํานกั หอสมดุ ประเมนิ แบบ 360 - การกาํ หนดคา ตอบแทน โดยการเล่อื น องศา ข้ันเงินเดือน ข. การประพฤตปิ ฏิบัตติ ามกฎหมายและอยางมจี รยิ ธรรม (1) การปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย กฎระเบียบ และการรับรองคณุ ภาพ ผูนาํ ระดบั สูงมงุ มั่นตอ การสง เสรมิ การประพฤตปิ ฏิบัติตามกฎหมาย และจริยธรรม โดยการประพฤติ ตนเปนแบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตามกฎหมาย และจริยธรรม และเนน ยาํ้ วา ในการดาํ เนนิ การใด ๆ ใหยดึ ตาม หลักกฎหมาย ขอบังคับ ประกาศและนโยบายของมหาวิทยาลัยอยางเครงครดั ตามกฎระเบียบ ขอบังคับดาน ตาง ๆ ทั้ง 7 ดาน ดังตารางท่ี OP1-7 โดย 1) สํานักหอสมุดส่ือสารและสนับสนุนใหบุคลากรปฏิบัติตาม ประกาศ ขอบังคับและระเบียบตาง ๆ เพื่อสรางความเขาใจถึงแนวปฏิบัติท่ีถูกตอง 2) กําหนดแนวปฏิบัติที่ ชัดเจนแลวประกาศใหทราบท่วั กัน เชน การจัดการขอรองเรยี น 3) สํานักหอสมุดมีแผนงานสนับสนุนการจัด กิจกรรมพัฒนาบุคลากรดานคุณธรรมจริยธรรม เผยแพรแนวปฏิบัติที่เกี่ยวของใหบุคลากร ผูรับบริการ พันธมิตร ผูสงมอบ และผูมีสวนไดสวนเสียทราบผานชองทางเว็บไซตของสํานักหอสมุด 4) สํานักหอสมุด จัดสรรงบประมาณสําหรับการซ้ือโปรแกรมที่ถูกลิขสิทธ์ิเพ่ือใชในองคกรและการใหบริการ สนับสนุนการ เพ่ิมพูนทักษะการแสวงหาสารสนเทศตามหลักสูตร (Information Literacy Programs) ไดแก การใช โปรแกรมตรวจการคดั ลอก Turnitin และ CopyLeak เปนตน โดยในปที่ผา นมาไมพ บขอ รอ งเรยี นและรายงาน การประพฤติปฏิบัติท่ีผิดจริยธรรม (7.4ก(3)-2.1) และในเร่ืองของพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. 2562 มกี ารกําหนดนโยบายและแนวปฏิบัตกิ ารคุมครองขอมูลสว นบุคคลเพ่ือใหสอดคลองกับกฎหมาย ดิจิทัล ท้ังนี้สํานักหอสมุดมีนโยบายในการใชซอฟตแวรท่ีถูกตองตามกฎหมาย รวมทั้งมีความตระหนักถึงการ คาดการณลวงหนาตอความกังวลของสาธารณะท่ีมีตอบริการและการปฏิบัตกิ ารในอนาคต ประเด็นเร่ืองการ ละเมิดลขิ สิทธ์ิดา นการใชข อมูลจากฐานขอ มูล รูปภาพ หรือการใชซอฟตแวร การใชฐานขอมูลออนไลนตาง ๆ การเบิกจายงบประมาณไดมีการตรวจสอบความถูกตองของเอกสารการเบิกจาย อํานาจการ เบิกจายใหเปนไปตามระเบียบการเงนิ มีการนําการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนนิ งานของ หนว ยงานภาครัฐมาใช อกี ท้งั สํานกั หอสมุดไดร บั การตรวจสอบทางดานการเงินจากหนว ยตรวจสอบภายในของ มหาวทิ ยาลัย และใหค วามสาํ คัญกับขอเสนอแนะของหนวยตรวจสอบภายในของมหาวทิ ยาลยั ประจําป ในการ พัฒนาระบบการเงิน การคลังและพัสดุ โดยมกี ารถายทอดและเรียนรูรวมกันกับผูท่ีเก่ียวของเพ่ือการปรับปรุง ใหด ยี ่ิงข้นึ ตอ ไป ดังตารางที่ 1.2-3

22 ตารางที่ 1.2-3 แนวทางปฏิบัตติ ามกฎหมายและการมีจริยธรรม รายการ การปฏิบัติ ผูร ับผดิ ชอบ ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ การดาํ เนินการทางดา นการเงิน ดําเนินการตามระเบียบของมหาวิทยาลัย - นกั วิชาการการเงนิ และ จํานวนขอ รอ งเรยี น 7.4ก(3)-2.4 และพัสดุ บรู พา ดา นการเงิน คลงั และพัสดุ บญั ชี เกย่ี วกบั การปฏบิ ัติ - นกั วิชาการพัสดุ ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ บังคบั (ดา นการเงิน บัญชี และพัสดุ) การจดั ซ้อื ทรัพยากรสารสนเทศ จัดซือ้ ทรพั ยากรสารสนเทศ และซอฟตแ วร - ฝา ยบริหารจัดการ จํานวนขอ รองเรียน 7.4ก(3)-2.1 และซอฟตแวร ท่ถี ูกตอ งตามลขิ สทิ ธ์ิ โดยจัดซ้อื จากรา น/ ทรัพยากรสารสนเทศฯ เกย่ี วกบั การปฏิบตั ิ บรษิ ทั ตวั แทนจาํ หนา ยทจ่ี ดทะเบยี นถูกตอ ง - เจาหนา ท่ีพัสดุ ตามกฎหมาย ตามกฏหมาย ระเบียบ ขอ บังคบั (ดา นการบริหาร จัดการ) การใหบ รกิ ารทรพั ยากร มแี นวปฏิบัตทิ ีช่ ดั เจนตามระเบียบ ประกาศ - ผูชวยผูอ าํ นวยการ จํานวนขอ รอ งเรียน 7.4ก(3)-2.3 สารสนเทศ ของมหาวิทยาลัย และของสํานักหอสมุด ฝายบริการสารสนเทศ เก่ียวกบั การปฏิบตั ิ ดา นการบริการสํานักหอสมดุ - หวั หนาฝา ยบริการ ตามกฎหมาย สารสนเทศและนวตั กรรม ระเบียบ ขอ บังคบั การเรียนรู (ดานการจัดการ หอ งสมุด) (2) การประพฤตปิ ฏบิ ัติอยา งมีจรยิ ธรรม ผูนําระดับสูง สงเสริมและสรางความมั่นใจวาปฏิสัมพันธทุกดานของสํานักหอสมุด เปนไปอยางมี จรยิ ธรรม ดังตารางที่ 1.2-4 โดยดําเนินการ ดังนี้ 1) การส่ือสารและสนับสนนุ ใหบุคลากรปฏิบัตติ ามประกาศ มหาวิทยาลัย และระเบียบตาง ๆ ผานการประชมุ /สัมมนา เพ่อื สรา งความเขา ใจถงึ แนวปฏบิ ตั ทิ ีถ่ ูกตอ ง 2) ผูนํา ระดับสูงสื่อสารในเร่ืองพฤตกิ รรมทม่ี ีจริยธรรมผานการประชุมในวาระตาง ๆ เพื่อเนนยา้ํ ความสําคัญของการ ยึดม่ันในจริยธรรมและจรรยาบรรณ 3) มีการสื่อสารในเร่ืองจริยธรรมท่ีเก่ียวของใหบุคลากร ผูรับบริการ พันธมิตร ผูสงมอบ และผูมีสวนไดสวนเสีย ผานชองทางเวบ็ ไซตของสํานักหอสมุด 4) การจัดสรรงบประมาณ สําหรบั การซื้อโปรแกรมท่ถี ูกลขิ สทิ ธเิ์ พื่อใชใ นองคก ร โดยในปที่ผานมาไมพบรายงานการประพฤติปฏบิ ัติท่ผี ดิ จริยธรรม (7.4ก(3)-2.1) ตารางที่ 1.2-4 การสรางพฤตกิ รรมทถี่ ูกกฎหมายและมีจรยิ ธรรมในการปฏบิ ตั งิ าน ดา น ปฏิสมั พนั ธ กจิ กรรม ตัวชว้ี ดั ผลลัพธ การประพฤตอิ ยา งมี บุคลากร สอ่ื สารเร่ืองขอ บงั คบั มหาวิทยาลัยบูรพาวา ดวย -จํานวนกจิ กรรม 7.4ก(3)-1 จริยธรรม จรรยาบรรณ สง เสริมการปฏบิ ัติ ผใู ชบ รกิ าร ลูกคา กลมุ อนื่ 1. แจงใหท ราบและทาํ ความเขาใจเกี่ยวกบั จรรยาบรรณ ตามกฎหมาย 7.4ก(4)-3 คคู วามรว มมอื ผูส งมอบ 2. จดั อบรมและใหค าํ แนะนาํ การใชข อ มลู และการอา งอิง -จํานวนขอ การรับฟงขอรอ งเรยี น และ ผูมสี วนไดสว นเสีย ที่มาของขอ มูลอยางเปนสากลใหก บั ผใู ชบ รกิ าร รอ งเรยี นดาน การประพฤติผดิ จรยิ ธรรมของ ผใู ชบ ริการ ลูกคา กลุมอนื่ ตามชอ งทางการแจงขอ รอ งเรยี น ไดแก บคุ ลากร คคู วามรวมมือ ผูสงมอบ โทรศัพท, Facebook, Line, E-mail จริยธรรม และ ผูมีสวนไดสวนเสยี

23 ค. การสรางประโยชนใหสงั คม (1) ความผาสุกของสังคม การคาํ นงึ ถงึ ความผาสกุ และผลประโยชนของสังคม เปนสวนหน่งึ ของกระบวนการจัดทาํ แผนกลยุทธ ดังตารางที่ 2.1-1 ในข้ันตอนที่ 1 การรวบรวมขอมูล และข้ันตอนที่ 4 กําหนดแผนกลยุทธ ในดานความ รับผิดชอบตอสังคมและสง่ิ แวดลอ ม นอกจากการจัดหาทรพั ยากรสารสนเทศที่สอดคลองกับเน้อื หาหลักสูตรที่มีตอ การเรียนการสอน การศึกษาคนควา และสนับสนุนการวิจัยของมหาวิทยาลัยแลว ยังคาํ นึงถึงเรอ่ื งความผาสุกของ ชุมชนและประโยชนของสังคมใน 3 ดานหลัก ๆ คือดานสิ่งแวดลอม ดานบริการวิชาการแกชุมชน และดาน ศิลปวัฒนธรรม โดยกําหนดใหอยูในแผนยุทธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการใหบริการสู มาตรฐานสากล เพ่ือสงเสริมการเปนมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) โดยสํานักหอสมดุ ไดบริหารจัดการ สํานักหอสมุดสูการเปนหองสมุดสีเขียว (Green Library) และไดรับการรับรองตามเกณฑหองสมุดสีเขียวจาก สมาคมหองสมุดแหงประเทศไทยฯ และยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาบรกิ ารวิชาการและการพัฒนาอัตลักษณภาค ตะวันออก เพื่อการบริการวิชาการแกชุมชนและสงเสริมการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยมีการติดตามผลการ ดาํ เนินงาน ดงั ตารางท่ี 1.2-5 ตารางที่ 1.2-5 กจิ กรรมการสรา งความผาสุกของสังคม กจิ กรรม การดําเนนิ งาน ความผาสกุ ผูรับผดิ ชอบ ผลลพั ธ ดา นสิ่งแวดลอม ไดรบั การตรวจประเมินหองสมดุ - ความยงั่ ยืนดาน SDGs คณะกรรมการ 7.4ก(5)-11 สีเขยี ว มกี ารจัดกิจกรรมการดา น - การเปนหอ งสมดุ สเี ขยี ว โครงการหอ งสมดุ พลงั งาน และสงิ่ แวดลอม รณรงคก าร สเี ขยี ว ใชถ งุ ผาแทนถุงพลาสติก มกี าร จัดการขยะโดยวิธกี ารคัดแยกขยะ รไี ซเคลิ และขยะทวั่ ไป และมีการ ติดตั้งโซลาเซลล ดานบริการวิชาการแก จดั โครงการบริการวชิ าการแกชุมชน - สงเสรมิ การรักการอา นและ ผรู ับผดิ ชอบ 7.4ก(5)-1 ถงึ 7.4ก(5)-9 ชมุ ชน และเปด โอกาสใหบุคคลภายนอก การเรียนรตู ลอดชวี ิต โครงการ/ เขา รว มโครงการ/กิจกรรมตา ง ๆ ของ - มเี ครือขายความรว มมอื กับ กิจกรรม สาํ นกั หอสมุด หนวยงานอืน่ ๆ เปน แหลง ฝก ประสบการณว ชิ าชีพ การแลกเปลี่ยนเรียนรกู าร ผช. ผอ. 7.4ก(5)-10 บริหาร จัดการและการจัด ฝา ยบรกิ าร ใหบ ริการสาํ หรับหองสมุดอืน่ ๆ สารสนเทศ ดา นการทาํ นบุ าํ รงุ จัดโครงการลานรมณีย สง เสรมิ การเรยี นรตู ลอดชวี ิต ผช. ผอ. บันทึกการแสดงทกุ ครั้ง ศลิ ปวฒั นธรรม ฝายประกนั และเผยแพรด ว ยสอ่ื ดิจิทลั ดนตรีไทย และการเขา รว มกิจกรรม และการเรียนรูตามอธั ยาศัย ทางศาสนาและวัฒนธรรม คุณภาพ และ สาํ นกั งาน ผูอ าํ นวยการ ดานเศรษฐกิจ การสนบั สนุนการจัดทาํ ผลิตภัณฑ สง เสรมิ ใหช ุมชนมรี ายไดเ พิ่มข้ึน รอง ผอ. 7.4ก(5)-6 ชมุ ชน โดยจัดหาตลาดและจัด ฝายวชิ าการฯ กจิ กรรมสงเสรมิ การขายผลิตภณั ฑ

24 (2) การสนบั สนนุ ชุมชน ผูนําระดับสูงใหความสําคัญกับเร่ืองการสนับสนุนชุมชน โดยมอบหมายคณะกรรมการบริหาร โครงการบริการวชิ าการของสาํ นักหอสมุดเปนผรู ับผิดชอบดาํ เนินการ และกําหนดใหระบอุ ยูในแผนยทุ ธศาสตร ท่ี 4 การพัฒนาบริการวิชาการและการพัฒนาอัตลกั ษณภาคตะวันออก เพื่อมุงเนนการสรางพื้นที่ การเรียนรูที่ ไรขอบเขต เพ่อื สนับสนุนการคน ควา และการรวมมือกับชมุ ชน มกี ระบวนการสนบั สนุนชมุ ชน คอื 1) กาํ หนด กลุมเปาหมาย 2) กําหนดวัตถุประสงค ใหสอดคลองกับสมรรถนะหลัก 3) กําหนดกิจกรรม/โครงการท่ี เกี่ยวของกับความเชีย่ วชาญของสาํ นกั หอสมุด และ 4) กําหนดผรู ับผิดชอบเพ่ือสรางความเขมแข็งหรือส่ือสาร ขอมูลทองถ่ินออกไปใหเปนวงกวา ง โดยมีกลุมผบู ริหาร บุคลากร ผูมสี วนไดสวนเสีย เปนการดําเนินการโดย ไมหวังกําไร ในขณะเดียวกันถือเปนโอกาสในการขยายฐานการตลาดไปยังกลุมลูกคาในอนาคต ดังตารางท่ี 1.2-6 ตารางท่ี 1.2-6 การสนบั สนนุ ชุมชนและสรา งความเขมแข็งใหแกช มุ ชน ชมุ ชน วิธกี ารกาํ หนดชมุ ชน กิจกรรม การประเมินผล ผลลพั ธ 1.ตําบลวดั หลวง อําเภอ กาํ หนดพื้นท่ีตาม จดั กิจกรรมการออกแบบการดาํ เนนิ การ จาํ นวนผลติ ภณั ฑจ ากการ 7.4ก(5)-6 พนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี โครงการ 1 ตาํ บล 1 เพ่อื การพัฒนาสัมมาชพี และสรางอาชพี พฒั นาสัมมาชีพกบั ชมุ ชน 2.ตาํ บลวดั โบสถ อาํ เภอ มหาวทิ ยาลัย ใหม การยกระดับสนิ คา ชมุ ชน พนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี โรงเรยี นคนตาบอด กําหนดพื้นท่ีตาม 1. ดาํ เนินการจดั กจิ กรรมกระดาษปนนา้ํ ใจ จาํ นวนหนงั สอื ทอี่ านใน 7.4ก(5)-2 พระมหาไถ พัทยา ภูมศิ าสตร โดยรวบรวมกระดาษ A4 ที่ใชแ ลว ท้งั สอง โครงการสง ตอ ความรูสผู ู อาํ เภอบางละมุง ดา นท่ีปราศจากขอมูลสวนบคุ คล ไปมอบ พกิ ารทางสายตา จงั หวัดชลบรุ ี ใหก ับโรงเรยี นสอนคนตาบอดพระมหาไถ พัทยา จังหวัดชลบรุ ี เพอื่ นาํ ไปใชเ ปนอกั ษร สําหรับผูพิการทางสายตา 2. ดําเนนิ การจดั ทาํ หนงั สือเสยี ง จาํ นวน 2. จํานวนหนังสอื เสียง 30 เรือ่ ง และหนงั สอื อักษรเบลล จาํ นวน หนงั สืออักษรเบลล 30 เรื่อง ชมุ ชนจงั หวดั ชลบุรี กําหนดพื้นท่ตี ามการ 1. ดาํ เนินการจดั ทําฐานขอ มูลเอกสาร จํานวนชมุ ชนที่จดั ทาํ 7.4ก(5)-7 จดั เก็บขอมลู และพืน้ ที่ ฉบับเตม็ ทางพระพทุ ธศาสนา ฐานขอ มูล ชุมชนใกลเ คียง วัดเขาบางทราย จังหวัดชลบรุ ี 2. ดําเนนิ การพัฒนาฐานขอมลู ดจิ ทิ ัล พพิ ิธภัณฑช ุมชนวัดอทุ กเขปสมี าราม ประกอบดว ยฐานขอ มลู 2.1 พพิ ิธภัณฑอุทกมรดกทองถน่ิ เปน การ พัฒนาฐานขอ มูลพพิ ธิ ภณั ฑช มุ ชนในรปู แบบ ดิจิทัล 2.2 ฐานขอ มลู ธนบตั รและเหรยี ญ กษาปณ รวบรวมจดั เกบ็ ธนบตั รและเหรยี ญ กษาปณท ง้ั หมดทมี่ ใี นรชั กาลท่ี 9 2.3 ฐานขอ มูลสลากกินแบง รฐั บาล ตง้ั แต ป พ.ศ. 2476-2489 โดยสามารถเขาศกึ ษา

25 ชมุ ชน วธิ กี ารกาํ หนดชุมชน กิจกรรม การประเมนิ ผล ผลลัพธ จาํ นวนหนว ยงานหรอื 7.4ก(5)-8 การพัฒนาหองสมดุ กําหนดพ้ืนทต่ี าม ไดท เี่ ว็บไซต โรงเรียนทีเ่ ขารว มโครงการ ทณั ฑสถานภายใต ภมู ศิ าสตร http://watnum.buu.in.th/collections/ 7.4ก(5)-12 โครงการ MOU ของ 3. พัฒนาหองสมุดวัดและโรงเรยี นในชุมชน จํานวนกิจกรรมท่ี มหาวิทยาลัย จํานวน 4 แหง ทัณฑสถานไดรับ 3.1 พฒั นาหอ งสมุดวดั อุทกเขปสมี า 3.2 พฒั นาหองสมุดโรงเรยี นวดั หลวง พรหมาวาส 3.3 พัฒนาหอ งสมุดโรงเรยี นแหลมแทน 3.4 พัฒนาหองสมุดศนู ยผ สู ูงอายุของ เทศบาลแสนสขุ ดาํ เนินการจัดโครงการเปดโลกใบใหมดว ย การเรียนรใู นศตวรรษที่ 21 โดยมีโครงการ ยอ ยทง้ั หมด 4 โครงการ ดงั นี้ 1. อบรมการเสรมิ ปกหนงั สอื และการสรา ง หนังสอื ทํามือ 2. อบรมการสรา งเวบ็ ไซตเพือ่ สรา งอาชพี 3. อบรมการทาํ ส่ือสารสนเทศ 4. เปดโลกการเรียนรูสูอนาคต หมวด 2 กลยุทธ 2.1 การจดั ทํากลยุทธ ก. กระบวนการจดั ทาํ กลยทุ ธ (1) กระบวนการวางแผนเชงิ กลยุทธ สาํ นักหอสมุดมกี ระบวนการจัดทําแผนกลยทุ ธเพอื่ ดําเนนิ งานใหบ รรลุวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกิจของ สาํ นกั หอสมดุ ตามแผนยทุ ธศาสตรร ะยะยาวสนั้ 1 ป และระยะยาว 4 ป (พ.ศ. 2563-2566) ตามกระบวนการ วางแผนกลยุทธ (Strategic Planning Process: SPP) ดงั ภาพที่ 2.1-1 และในแตล ะปไ ดจัดทําแผนปฏิบัตกิ าร ประจาํ ป (Action Plan) ซึง่ เปน การนาํ แผนฯ ลงสกู ารปฏิบัติ โดยใชก ระบวนการวงจรคุณภาพ PDCA ในการ ปรับปรุงกระบวนการและผลการดาํ เนินงาน โดยการมสี วนรวมของบุคลากรและ คกบ. มีผูอาํ นวยการและรอง ผอู าํ นวยการฝา ยบริหารฯ เปนผรู ับผดิ ชอบ และรวมกนั จัดทาํ แผนกลยทุ ธ ซึ่งกระบวนการวางแผนกลยุทธของ สาํ นกั หอสมดุ มีข้นั ตอน ดงั ภาพท่ี 2.1-1

26 ภาพท่ี 2.1-1 กระบวนการวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning Process: SPP) ในกระบวนการจัดทําแผนกลยุทธข องสํานักหอสมดุ เพื่อใหม่ันใจวาทศิ ทางของการวางแผนกลยทุ ธ มีความเหมาะสม และดําเนินงานไดบรรลุตามเปาหมาย ผูนําระดับสูงมกี ารรประชุมถายทอดยุทธศาสตรและ แผนกลยุทธของสํานักหอสมุด และเปดโอกาสนใหบุคลากรมีสวนรวมในการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป พ.ศ. 2566 มีการมอบหมายผูรับผิดชอบดําเนินการและมีการติดตามผลการดําเนินงานเปนรายไตรมาส ดังตารางที่ 2.1-1 ตารางท่ี 2.1-1 กระบวนการจดั ทําแผนกลยทุ ธ และแผนปฏบิ ัติการประจาํ ป พ.ศ. 2566 กระบวนการ วิธีการ ผูรบั ผิดชอบ ชว งเวลา 1. การรวบรวมขอมูลแผน รองผูอํานวยการฝา ยบรหิ ารฯ รวบรวมขอ มลู ผลการดาํ เนนิ งานที่ รองผอู ํานวยการฝา ยบรหิ ารฯ และ สงิ หาคม ยุทธศาสตร แผนกลยทุ ธ ผา นมา ผูช ว ยผอู าํ นวยการฝา ยบรกิ ารฯ รวบรวมความตอ งการ ผชู ว ยผอู ํานวยการฝายบรกิ ารฯ และแผนปฏบิ ัติการประจาํ ป ของผูใชบรกิ าร และนาํ เขาประชมุ คกบ. เพ่อื สรปุ ผลการ ดําเนินงานของแผนปฏิบัติการประจาํ ป พ.ศ. 2565 โครงการ/ กจิ กรรม เปาหมาย ตวั ชว้ี ดั 2. การทบทวนวิสยั ทศั นและ ผอู ํานวยการประชมุ บุคลากร เพอื่ ทบทวนวิสัยทศั นและคา นยิ ม ผูอ าํ นวยการ สงิ หาคม- คา นยิ ม เพ่ือใหส อดคลองและเชอ่ื มโยงกับ กนั ยายน 3. วเิ คราะหป จ จยั แผนกลยทุ ธ ของสํานกั หอสมดุ ผอู ํานวยการ/ รองผอู ํานวยการฝา ย ผูอาํ นวยการและบคุ ลากร รว มกันวิเคราะหปจจัย บรหิ ารฯ สิงหาคม- 4. กําหนดแผนกลยทุ ธ ภายนอก/ปจ จัยภายใน และทาํ SWOT ผอู าํ นวยการ/ รองผูอํานวยการฝาย กันยายน บริหารฯ สงิ หาคม- 5. จัดทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารและ ผูอาํ นวยการประชุม คกบ. เพอื่ นําแผนยทุ ธศาสตร แผนกลยุทธ ผอู าํ นวยการ/ รองผูอํานวยการฝาย กนั ยายน ถายทอดสกู ารปฏบิ ตั ิ จดั ทําวัตถปุ ระสงคและเปา หมาย บรหิ ารฯ สงิ หาคม- กันยายน 6. ตดิ ตามและประเมินผล ผูอ าํ นวยการประชมุ บุคลากรเพื่อถา ยทอด รองผูอ ํานวยการฝา ยบรหิ ารฯ แผนกลยุทธ และรว มกันระดมความคิดในการจดั ทาํ โครงการ/ รายไตรมาส กิจกรรม ตวั ชีว้ ดั คา เปาหมาย และมอบหมายใหบ ุคลากรนํา แผนปฏิบัตกิ ารไปปฏิบตั ิ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏบิ ัตกิ ารของ โครงการ/กิจกรรม พรอ มวิเคราะหผลการดําเนินงานของโครงการ ใหบ รรลตุ ามเปาหมายท่ีกาํ หนดไว

27 (2) นวัตกรรม กระบวนการจัดทําแผนกลยทุ ธของสํานักหอสมุด ดังตารางที่ 2.1-1 สํานักหอสมดุ ใหความสําคัญกับ การมุงใหบุคลากรเกิดการสรางนวัตกรรม ในข้ันตอนท่ี 4 กําหนดแผนกลยุทธ และในขั้นตอนที่ 5 การจัดทํา แผนปฏิบัติการและถายทอดสูการปฏิบัติ โดยเช่ือมโยงกับโอกาสเชิงกลยุทธ SO2 : การพัฒนาระบบการให คําปรึกษาดานการวจิ ัยเชงิ รุก ทําใหสามารถสรางนวัตกรรมการใหบริการใหม ๆ ได สิ่งที่สงผลตอการพัฒนา นวัตกรรมของสํานักหอสมุด คือ การท่ีบุคลากรมีประสบการณ มีความพรอมในการสรางงานวิจัยและ นวัตกรรม รวมทั้งมีความรวมมือกับหนวยงานอ่ืนที่เกี่ยวของ โดยการนําระบบเทคโนโลยีมาพัฒนาการ ปฏิบัติงานเพ่ือใหเกิดนวัตกรรมการใหบริการ และนวัตกรรมในการบริหารงาน จํานวน 6 นวัตกรรม ไดแก 1) การทําตู Books in Boxes และระบบ RD (Resource Delivery) มาประยกุ ตใชเพือ่ อาํ นวยความสะดวกใน การยืมหนังสือแกผูใชบริการ ซ่ึงเปนบริการสงหนงั สือนอกเวลาทําการของสํานักหอสมุด เปนการปรับเปลี่ยน กระบวนการทํางานใหสอดคลองกับ Digital Disruption 2) ระบบการจองหองกลุมทุกประเภท ซ่ึง สํานักหอสมุดนําระบบการจองหองกลุมแตละประเภท ซ่งึ เคยอยูแ ยกสว นกัน นํามาไวที่ระบบเดียวกัน ทําให ผูใชบ ริการไดรบั ความสะดวกในการจองหอ งกลุมมากข้ึน 3. Metaverse BUU Library เปน โปรแกรมที่แนะนํา การเยี่ยมชมหองสมุด 4) ระบบการจัดการการปฏิบัติงานนอกเวลา ซ่ึงเปนระบบที่ใชในการบริหารจัดการ ผูปฏิบัติหนาท่ีใหบริการนอกเวลาราชการของสํานักหอสมุด 5) ระบบปฏิทินกิจกรรมของสํานักหอสมุด ไดพัฒนาเพ่ือเปนปฏิทินกิจกรรมสวนกลางของสํานักหอสมุด และ 6) ระบบการขอสงเผยแพรผลงานวิชาการ และวจิ ยั ซึ่งเปน ระบบท่ีสนับสนุนการเผยแพรผ ลงานวิจยั ของอาจารยแ ละนกั วิจัย ตารางท่ี 2.1-2 กลยทุ ธและการสรา งนวัตกรรม ประเด็น SO SC SA นวัตกรรม ผรู ับผิดชอบ 1. แผนกลยทุ ธส าํ นักหอสมดุ SO2 SC1 SA3 Books in Boxes ระบบ RD ฝา ยบรกิ ารสารสนเทศและนวตั กรรม การเรียนร/ู 2. ความตองการของลูกคา (Resource Delivery) ฝา ยเทคโนโลยีสารสนเทศและนวตั กรรม ดจิ ทิ ลั และผูมีสวนไดส ว นเสีย ระบบการจองหองกลุมทุกประเภท Metaverse BUU Library ระบบการขอสงเผยแพรผ ลงานวิชาการและวจิ ยั การบรหิ ารงานบุคลากร - SC3 - ระบบการจัดการการปฏบิ ัติงานนอกเวลา ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ระบบปฏิทนิ กจิ กรรมของสาํ นกั หอสมดุ ดิจิทัล (3) การวเิ คราะหแ ละกาํ หนดกลยทุ ธ ผูอํานวยการและคกบ. รวมกันวิเคราะหและกําหนดกลยุทธ ในขั้นตอนท่ี 4 โดยรองผูอํานวยการ ฝายบริหารฯ รวบรวมและวิเคราะหขอมูลท่ีสําคัญ เร่ิมจากการนําขอมูลผลการดําเนินงานของโครงการและ กิจกรรมของปท ผี่ านมานาํ มาประชุมรว มกัน นาํ ความทาทายเชิงกลยุทธ ความไดเ ปรยี บเชงิ กลยทุ ธท างดา นตาง ๆ ของสํานักหอสมดุ และพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีโอกาสจะเกิดข้ึนในสภาพแวดลอมดานกฎระเบียบ ขอบังคับเก่ียวกับกฎหมายตาง ๆ โดยนําเขาพิจารณาในการประชุมของคกบ. และระดมความคิดเห็นของ

28 บุคลากรเพ่ือทบทวนและเปนกรอบแนวทางในการจัดทําแผนกลยทุ ธไปสูแผนปฏิบัติการประจําป ดังตารางท่ี 2.1-3 และตารางที่ OP2-2 ตารางที่ 2.1-3 การรวบรวมและวิเคราะหข อ มูลท่ีมีความสาํ คญั และจัดทําสารสนเทศ ขอ มูล วธิ ีการรวบรวมและ วเิ คราะห ระยะเวลา ผูรับผดิ ชอบ ขอมูล 1. การเปลย่ี นแปลงของปจ จัยภายนอก SWOT Analysis สงิ หาคม ผูอํานวยการ/รองผูอํานวยการ ความทาทายเชงิ กลยทุ ธแ ละความไดเ ปรียบเชิงกลยุทธ ฝายบรหิ ารฯ 2. ความตอ งการและความความหวงั ของลกู คาและ VOC ตลอดป ผชู วยผอู าํ นวยการฝา ยบรกิ าร ผมู ีสว นไดส ว นเสีย สารสนเทศ 3. ขอ มูลของสาํ นักหอสมดุ และการดาํ เนนิ การของ Competitor Analysis, เมษายน ผชู วยผอู าํ นวยการฝายประกัน คเู ทยี บ สอบถาม ขอ มลู คเู ทียบ คุณภาพ 4. ความสามารถในการนาํ แผนกลยทุ ธไปปฏบิ ตั ิ ผลการดําเนินการโครงการ รายไตรมาส รองผอู ํานวยการฝา ยบรหิ ารฯ ท่ผี า นมา (4) ระบบงานและสมรรถนะหลกั ระบบงานและสมรรถนะหลักของสํานักหอสมุดมีความสอดคลองกับพันธกิจ โดยการพิจารณารวมกัน ของบุคลากร และหัวหนาฝาย มีกระบวนการสําคัญท่ดี าํ เนินการโดยบุคลากรของสาํ นักหอสมุด และกระบวนการที่ ดําเนินการโดยผูสงมอบ และคูความรวมมือ ตามภารกิจหลักของสํานักหอสมุดในการบริหารจัดการทรัพยากร สารสนเทศ และการใหบริการสารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนพันธกิจของมหาวิทยาลัยบูรพา ดานการศึกษา การวิจัย และการบริการวิชาการ สํานักหอสมุดจึงกําหนดระบบงานสําคัญ 2 ระบบ ไดแก ระบบงานหลัก (Core Work System) ประกอบดวยกระบวนการจํานวน 3 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ 2) กระบวนการใหบริการของหองสมดุ และ 3) กระบวนการบรกิ ารสนับสนุนการเรียนการสอนและการวจิ ัย และ ระบบงานสนับสนุน (Support Work System) ประกอบดวยกระบวนการจํานวน 5 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2) กระบวนการบริหารการเงินและพัสดุ 3) กระบวนการบริหารงานบุคคล 4) กระบวนการบริหารงานอาคารสถานท่ีความปลอดภยั และยานพาหนะ และ 5) กระบวนการจางเหมาบริการ โดยใช SIPOC Model เปน แนวทางในการออกแบบ ดงั ภาพที่ 2.1-2 ระบบงานหลกั 1. กระบวนการจดั การทรพั ยากรสารสนเทศ วสิ ยั ทศั น (Core Work System) 2. กระบวนการใหบริการของหองสมุด สํานักหอสมดุ : 3. กระบวนการบริการสนบั สนุนการเรยี นการสอนและการวิจัย ระบบงานสนบั สนนุ หอ งสมุดดิจทิ ลั (Support Work 1. กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื สรางสงั คม 2. กระบวนการบริหารการเงินและพัสดุ แหงการเรยี นรู System) 3. กระบวนการบริหารงานบุคคล 4. กระบวนการบรหิ ารงานอาคารสถานท่ี ความปลอดภยั และยานพาหนะ 5. กระบวนการจา งเหมาบริการ ภาพท่ี 2.1-2 ระบบงานหลักและระบบงานสนบั สนุนของสาํ นกั หอสมดุ

29 ระบบงานหลักและระบบงานสนบั สนนุ มีความสอดคลองกระบวนการทํางานท่ีสาํ คัญ (Core Process) ของสํานักหอสมุด ประกอบดวย 3 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ 2) กระบวนการใหบ ริการของหองสมดุ เพ่ือสง เสรมิ การใชท รพั ยากรสารสนเทศทีส่ ํานกั หอสมุดใหบ ริการ และ 3) กระบวนการบริการสนับสนุนการเรียนการสอนและการวจิ ัยแกผ ูใชบรกิ าร โดยมหี ัวหนาฝายรบั ผิดชอบดูแล การดาํ เนนิ งานกระบวนการยอ ยของกระบวนการหลัก ดงั ตารางท่ี 6.1-1 ท้งั น้ี สมรรถนะหลกั ของสํานักหอสมุด คอื “การบรกิ ารสารสนเทศและเปน ศนู ยก ารเรยี นรเู พื่อการศกึ ษาและวิจยั ” ซง่ึ การบริการสารสนเทศแก ผใู ชบริการดาํ เนินการโดยฝายบรหิ ารจัดการทรัพยากรสารสนเทศและคลังปญญา และฝา ยบริการสารสนเทศ และนวัตกรรมการเรยี นรู สาํ หรับฝา ยเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการเรียนรู และสาํ นักงาน ผอู าํ นวยการ ทําหนาที่สนบั สนนุ ดา นการบรกิ ารสารสนเทศ สว นกระบวนการท่นี อกเหนือจากพันธกิจหลัก สมรรถนะหลักและความตองการและความคาดหวงั จากผูใชบ ริการนนั้ สาํ นกั หอสมดุ พิจารณาดําเนนิ การโดย ผสู งมอบ และคูค วามรว มมือตามวิธีการจดั การเครือขายอปุ ทาน ดงั ตารางที่ 6.1-5 ข. วตั ถุประสงคเชงิ กลยุทธ (1) วัตถปุ ระสงคเชิงกลยุทธท่ีสําคญั สํานักหอสมุดไดจัดทําแผนยุทธศาสตรและแผนกลยุทธระยะยาว 4 ป (พ.ศ. 2563-2566) เพ่ือให สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยบูรพา ดังภาพท่ี 2.1-3 โดยในป พ.ศ. 2564 ไดมีการปรับ ยุทธศาสตรจาก 5 ยุทธศาสตร เปน 4 ยุทธศาสตร และปรับแผนในชวงป พ.ศ. 2565-2566 โดยคกบ. รวมกัน วิเคราะหและกําหนดวัตถุประสงคเชิงกลยุทธระยะยาว 2 ป (พ.ศ. 2565-2566) และแผนระยะส้ัน 1 ป (พ.ศ. 2566) ดังตารางท่ี 2.1-4 และเนื่องจากผูอํานวยการมีกําหนดครบวาระการดํารงตําแหนง 4 ป จึงไดมีการประชุม เชิงปฏิบัติการรวมกับบุคลากรเพื่อทบทวนและจัดทําแผนกลยุทธระยะสั้น 1 ป ของป พ.ศ. 2567 และแผนระยะ ยาวของป พ.ศ. 2567-2570 ในชว งปลายเดอื นมิถนุ ายน พ.ศ. 2566 ยทุ ธศาสตร ยุทธศาสตรที่ 1 ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 ยุทธศาสตรที่ 3 มหาวทิ ยาลัย การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาสมู าตรฐานสากลและ การเปน กลไกหลกั ในการขบั เคล่อื น การพัฒนาสูองคกรประสิทธภิ าพ การสรา งบคุ ลากรคณุ ภาพสนองตอ ความตอ งการของ อุตสาหกรรมเปา หมายและเปนทพี่ ่งึ ในการพฒั นาพืน้ ทภี่ าคตะวันออก สูงเพื่อการเตบิ โตอยา งย่งั ยืน พน้ื ทีภ่ าคตะวนั ออก อยา งย่งั ยืน ยุทธศาสตร ยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรท่ี 4 ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาคุณภาพมาตรฐาน สาํ นักหอสมดุ การพัฒนาทรพั ยากร การพัฒนาหองสมดุ ดจิ ิทลั การบริการวชิ าการและการพัฒนา การใหบริการสูมาตรฐานสากล สารสนเทศและพ้นื ท่ี (Digital Library) อัตลักษณภาคตะวนั ออก เพือ่ สนบั สนนุ สังคม เพ่อื สนับสนนุ การเรยี นรู แหงการเรยี นรแู ละ ตลอดชวี ิต การวจิ ยั ภาพท่ี 2.1-3 ความสอดคลอ งของยุทธศาสตรม หาวิทยาลยั และยทุ ธศาสตรส าํ นักหอสมดุ

30 ตารางที่ 2.1-4 ยทุ ธศาสตร กลยทุ ธ วตั ถปุ ระสงคเ ชิงกลยทุ ธ ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ยทุ ธศาสตร /กลยทุ ธ วัตถุประสงคเ ชงิ กลยุทธ รอบเวลาที่จะบรรลุ วัตถปุ ระสงค ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการใหบริการ สู ภายในป 2566 มาตรฐานสากล กลยทุ ธด า นการพฒั นาหอ งสมดุ กลยุทธท่ี 1.1 กระบวนการบรหิ ารจัดการของสาํ นักหอสมดุ SO1 : พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของสํานักหอสมุด เพือ่ ใหมปี ระสทิ ธภิ าพ ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ กลยทุ ธท่ี 1.2 การพัฒนาบุคลากรใหมคี วามรคู วามสามารถและ SO2 : พฒั นาการบรหิ ารจัดการหอ งสมุดสีเขยี ว ทกั ษะในการปฏิบตั ิงาน กลยุทธท ี่ 1.3 การบริหารจัดการงบประมาณเพอื่ ใหสอดคลอ ง กบั การดําเนนิ งานของสํานกั หอสมดุ กลยทุ ธที่ 1.4 การบริหารจดั การหอ งสมุดสเี ขยี ว ยทุ ธศาสตรท่ี 2 การพฒั นาทรพั ยากรสารสนเทศและพื้นท่เี พือ่ สนบั สนุนสังคมแหงการเรยี นรแู ละการวจิ ยั กลยทุ ธดา นลูกคา และบุคลากร กลยุทธที่ 2.1 จัดหาและสง เสรมิ การใชทรพั ยากรสารสนเทศ SO3 : จัดหาทรัพยากรสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการเรียน เพื่อสนับสนนุ การเรียนรูแ ละการวจิ ยั การสอนและการทําวิจัย กลยุทธท่ี 2.2 สนบั สนนุ และสงเสริมบคุ ลากรพัฒนางานวจิ ยั SO4 : สง เสริมใหบคุ ลากรพัฒนางานวจิ ยั และนวตั กรรม และนวัตกรรม ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การพัฒนาหอ งสมุดดจิ ทิ ลั (Digital Library) เพอื่ สนับสนุนการเรียนรูต ลอดชีวติ กลยทุ ธดา นการพัฒนาระบบสารสนเทศ กลยทุ ธที่ 3.1 การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การภายในโดยใช SO5 : พัฒนาระบบสารสนเทศโดยใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ SO6 : พฒั นาระบบสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การเรียนรู กลยุทธที่ 3.2 การพฒั นาหองสมุดดจิ ิทลั ตลอดชวี ติ ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การพัฒนาบริการวชิ าการและการพฒั นา อัต ลักษณภ าคตะวนั ออก กลยุทธดา นการบรกิ ารวชิ าการ กลยุทธท ี่ 4.1 พฒั นาระบบสารสนเทศและฐานขอมลู ท่เี ปน SO7 : สรา งความรว มมอื กบั ชุมชนในการใหบริการวิชาการ อัตลักษณข องมหาวทิ ยาลยั และภาคตะวันออก แบบแสวงหารายไดแ ละแบบใหเปลา กลยุทธที่ 4.2 การบริการวชิ าการแกสังคมและชุมชน SO8 : พัฒนาอตั ลักษณของมหาวทิ ยาลยั และภาคตะวนั ออกและ กลยุทธที่ 4.3 การสง เสรมิ การทาํ นุบาํ รงุ ศลิ ปวัฒนธรรมและ สง เสริมการทาํ นบุ ํารุงศลิ ปวฒั นธรรมและศาสนา ศาสนา (2) การพจิ ารณาวตั ถุประสงคเชิงกลยทุ ธ สาํ นักหอสมุดกําหนดวัตถุประสงคเชงิ กลยุทธท ่ีสาํ คัญในแผนกลยุทธ โดยยึดความสอดคลองกับประเดน็ ยุทธศาสตรเปนหลักสําคัญ รวมถึงจากการวเิ คราะหความตองการและความคาดหวังของผใู ชบริการและผูมสี ว นได สวนเสียจากผลการดําเนนิ งานท่ีผา นมา ตามสมรรถนะหลกั พนั ธกจิ ของสาํ นักหอสมุด

31 2.2 การนํากลยทุ ธไ ปปฏบิ ัติ ก. การจดั ทําแผนปฏิบัติการและการถา ยทอดสูก ารปฏบิ ัติ (1) แผนปฏบิ ัตกิ าร ในปการศกึ ษา 2565 สํานักหอสมุดไดปรับปรุงการจัดทํากลยุทธ ดังตารางที่ 2.1-1 โดยมีการปรับ แผนยุทธศาสตรระยะยาว 4 ป (พ.ศ. 2563-2566) เปนแผนระยะยาว 2 ป (พ.ศ. 2565-2566) ดังตารางที่ 2.2-1 และแผนปฏิบัติการระยะส้ัน 1 ป (พ.ศ. 2566) ดังตารางท่ี 2.2-2 โดยมีกรอบเวลาและกระบวนการใน การดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรและแผนกลยุทธ มีการดําเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA อยางตอเนื่อง มีการกําหนดผูรับผิดชอบโครงการ/ กิจกรรม และระบุตัวช้ีวัด เปาหมาย เพื่อใหบรรลุตามที่กําหนดในแผน ยุทธศาสตรของสํานักหอสมุด โดยมีการประชุมถายทอดแผนยุทธศาสตร แผนกลยุทธของสํานักหอสมุด และ ใหบ ุคลากรมสี วนรว มในการจัดทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ป พ.ศ. 2566 และมีการตดิ ตามผลการดําเนนิ งานของ โครงการ/ กจิ กรรม กบั ผูร บั ผดิ ชอบโดยรองผอู ํานวยการฝา ยบริหารฯ เปนรายไตรมาส ตารางท่ี 2.2-1 ยุทธศาสตร กลยทุ ธ และโครงการ/กิจกรรม ตวั ช้วี ัด เปาหมาย (ป พ.ศ. 2565-2566) วัตถปุ ระสงค กลยทุ ธ ตัวช้ีวดั เปา หมาย ผรู บั ผดิ ชอบ เชงิ ยทุ ธศาสตร 2565 2566 ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการใหบรกิ ารสมู าตรฐานสากล มกี ระบวนการบรหิ าร 1.1 กระบวนการ 1. ผลการประเมินตาม คะแนน คะแนน ผช.ผอ. ฝา ยประกัน จัดการในการพฒั นา บรหิ ารจดั การของ เกณฑประกันคุณภาพการศกึ ษาเพอื่ การ ≥ 180 ≥ 200 คณุ ภาพฯ คณุ ภาพมาตรฐานการ สาํ นักหอสมดุ เพื่อให ดาํ เนินการทเี่ ปน เลิศ ใหบริการ เพือ่ ให มปี ระสิทธิภาพ สํานักหอสมดุ มี 2. จาํ นวนหนว ยงานที่ดาํ เนนิ การ 1. จาํ นวน 1. จาํ นวน ผช.ผอ. ฝา ยบรกิ าร ประสทิ ธิภาพมากขน้ึ ประชาสมั พันธเ ชงิ รุก 5 หนวยงาน 8 หนว ยงาน และฝา ยบรกิ ารฯ 3. ระดบั ความพึงพอใจของผเู ขา รวมกจิ กรรม 2. ≥3.50 2. ≥4.00 1.2 การบรหิ าร 4. จาํ นวนคร้ังในการนําเสนอตราสัญลกั ษณ 2. จํานวน 2. จํานวน ผช.ผอ. ฝา ยบรกิ าร จัดการงบประมาณ มหาวทิ ยาลยั ในกจิ กรรมระดับสากล 1 คร้งั 1 คร้งั เพื่อใหส อดคลอ ง ผอู ํานวยการและ กบั การดําเนนิ การ 1. มแี ผนกลยุทธทางการเงนิ 1. 1 ฉบับ 1. 1 ฉบับ งานการเงินและ ตามแผน 1. ความยง่ั ยนื ทางการเงนิ (รอ ยละ 2. รอ ยละ 3 2. รอยละ 3 บัญชี ยทุ ธศาสตรของ การเติบโตของรายไดข องมหาวิทยาลัย สํานักหอสมุด จากแหลงเงินรายได)

32 วตั ถุประสงค กลยทุ ธ ตัวชีว้ ดั เปาหมาย ผูรับผิดชอบ เชิงยทุ ธศาสตร 2565 2566 คณะกรรมการ หอ งสมดุ สีเขยี ว/ 1.3 การบรหิ าร 1. รอยละการเพ่มิ 1. รอยละ 10 1. รอยละ 10 สาํ นกั งาน จัดการ เพือ่ พัฒนา ขนึ้ ของพน้ื ทส่ี เี ขยี ว 2. 3 กิจกรรม 2. 5 กิจกรรม ผอู าํ นวยการและ 2. กิจกรรมประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการใช 3. รอ ยละ 5 3. รอ ยละ 5 ผูท่ีเก่ยี วขอ ง พน้ื ท่ใี หเปน พลังงานไฟฟาท่เี หมาะสม 4. รอยละ 5 4. รอ ยละ 5 หองสมดุ สีเขยี วและ การจัดการนาํ้ และ 5. รอยละ 5 5. รอ ยละ 5 ฝา ยบริหาร การสรา งองคก ร การจัดการขยะ 6. ≥3.50 6. ≥4.00 จัดการฯ อยางมีความสุข 3. การลดลงของปรมิ าณ รอง ผอ. ฝาย การใชพ ลงั งานไฟฟา วชิ าการฯ 4. การลดลงของปรมิ าณ ผูอํานวยการ/ฝาย การเกิดขยะ ในพืน้ ท่ี เทคโนโลยีฯ 5. การลดลงของปรมิ าณ รอง ผอ. ฝา ย การใชนํา้ ประปา วชิ าการฯ 6. ระดบั ความสขุ และความผูกพันในการ ทํางานของบคุ ลากร ยุทธศาสตรท ่ี 2 การพฒั นาทรพั ยากรสารสนเทศและพืน้ ทเ่ี พื่อสนับสนนุ สังคมแหง การเรียนรูและการวิจยั จัดหาทรัพยากร 2.1 พฒั นาและ 1. รอ ยละของทรพั ยากรสารสนเทศดา น EEC 1. รอยละ 5 1. รอยละ 10 สารสนเทศทคี่ รอบคลุม จดั หาทรพั ยากร รปู แบบสอื่ ส่งิ พมิ พท ี่เพม่ิ ขนึ้ 2. รอ ยละ 5 2. รอ ยละ 10 ในทกุ หลกั สตู รของ สารสนเทศ 2. รอ ยละของทรัพยากรสารสนเทศดา น SDGs, 3. รอยละ 10 3. รอยละ 20 มหาวิทยาลยั รวมทงั้ เพ่ือสนบั สนุนการ BCG รูปแบบสอ่ื สิ่งพมิ พท เ่ี พิม่ ขึน้ 1. 1 เรอื่ ง 1. 2 เรอ่ื ง ดาน SDGs, BCG และ เรยี นการสอนและ 3. รอ ยละของทรัพยากรสารสนเทศดา น EEC, 2. 1 ชนิ้ งาน 2. 1 ชิน้ งาน เขตพฒั นาพิเศษภาค การทําวจิ ัย SDGs, BCG รปู แบบส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ สท เี่ พม่ิ ขึ้น ตะวันออก (EEC) และ 2.2 สนบั สนุนและ การสงเสริมใหบุคลากร สงเสรมิ ใหบ คุ ลากร 1. จาํ นวนงานวจิ ัยทเ่ี พ่ิมขึ้น ไดพฒั นางานวิจยั และ พัฒนางานวจิ ยั และ 2. จํานวนนวตั กรรมเพื่อการใหบริการ นวตั กรรม นวัตกรรม ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาหองสมุดดจิ ทิ ลั (Digital Library) เพือ่ สนบั สนุนการเรยี นรตู ลอดชีวิต พัฒนาหองสมุดและเพม่ิ 3.1 การพัฒนระบบ 1. รอ ยละของความสมบูรณของเครือ่ งแม 1. รอ ยละ 1. รอยละ ทักษะดจิ ิทลั ในการ และโครงสรา ง ขาย 100 100 รองรบั การเปล่ียนแปลง พน้ื ฐานเครื่อง 2. จํานวนช้นิ งาน 2. 2 ชน้ิ งาน 2. 2 ชิ้นงาน ของเทคโนโลยแี ละ แมข ายโดยใช สนับสนนุ การเรียนรู เทคโนโลยี ตลอดชวี ติ สารสนเทศ 3.2 ปรับปรุงระบบ 1. นโยบายและแนวปฏบิ ตั ิการคมุ ครอง 1. 1 ฉบับ 1. 1 ฉบับ สารสนเทศเพื่อ ขอมูลสว นบุคคล 2. ≥200 2. ≥300 สนับสนนุ 2. จาํ นวนทรพั ยากรทบี่ นั ทึกเขา ระบบ รายการ รายการ การแบง ปนขอมูล 3. จํานวนประเภททรพั ยากรทเ่ี พิม่ ขน้ึ 3. 2 ประเภท 3. 3 ประเภท (Sharing) และการ ใหบรกิ ารขอมลู แบบเปด (Open Data)

33 วัตถปุ ระสงค กลยุทธ ตัวชี้วดั เปาหมาย ผูรบั ผิดชอบ เชิงยทุ ธศาสตร 2565 2566 ผอู าํ นวยการ 1. >= 2 1. >= 2 รอง ผอ. ฝาย 3.3 พฒั นาแพต 1. จํานวนหนว ยงานท่ีเขา รว มโครงการ หนว ยงาน หนว ยงาน วชิ าการฯ ฟอรมเพ่อื สนบั สนุน 2. จาํ นวนรายวิชา 2. 1 รายวิชา 2. 1 รายวิชา รอง ผอ. ฝาย การเรียนรู วิชาการฯ ตลอดชวี ติ ≥ 3 เรื่อง ≥ 5 เรื่อง รอง ผอ. ฝา ย วชิ าการฯ 3.4 การพัฒนา จาํ นวนองคค วามรทู ี่ไดร ับ ระบบและ รอง ผอ. ฝา ย กลไกการจดั การ วชิ าการฯ ความรู ยทุ ธศาสตรที่ 4 การพฒั นาบรกิ ารวิชาการและการพฒั นาอตั ลกั ษณภ าคตะวันออก การใหบ รกิ ารวิชาการ 4.1 การบรกิ าร 1. ยกระดบั ผลติ ภณั ฑท ี่เปนเอกลกั ษณส นิ คา 1. 1 1. 2 รว มกับชมุ ชนและการ วชิ าการทีแ่ สวงหา ชมุ ชน ผลติ ภัณฑ ผลติ ภัณฑ พฒั นาอัตลกั ษณของ รายได 2. จํานวนชอ งทางการตลาดออนไลนข อง 2. 2 ชองทาง 2. 2 ชอ งทาง มหาวิทยาลัยและภาค ชุมชน ตะวนั ออก 4.2 พัฒนาระบบ จํานวนรายการขอมูลจดหมายเหตใุ นรูปแบบ ≥ 200 ≥ 300 สารสนเทศและ ดิจทิ ัล รายการ รายการ ฐานขอมลู ทเี่ ปน อัต ลักษณข อง มหาวทิ ยาลัยและ ภาคตะวนั ออก 4.3 การบริการ จํานวนโครงการ 5 โครงการ 6 โครงการ วิชาการรว มกบั ชมุ ชนและสงเสรมิ การทาํ นุบาํ รุงศลิ ป วฒั นธรรมและ ศาสนา ตารางที่ 2.2-2 กลยทุ ธ และโครงการ/กิจกรรม ตามแผนระยะส้ัน 1 ป (พ.ศ. 2566) กลยทุ ธท ี่ วตั ถุประสงค โครงการ ตัวชี้วดั ความสาํ เร็จ คาเปา หมาย ผูรบั ผดิ ชอบ ของโครงการ เชงิ กลยุทธ (SO) 1. ≥รอยละ 80 ผช.ผอ.ฝา ย 1. รอยละของความรูความ 2. คะแนน ≥ ประกันคณุ ภาพ ยุทธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาคุณภาพมาตรฐานการใหบ ริการสมู าตรฐานสากล เขาใจของบุคลากร 200 2. ผลการประเมินตาม 1. คณะกรรมการ กลยุทธด า นการพฒั นาหองสมุด เกณฑป ระกันคุณภาพ 1. กาํ หนด 2 สงเสริม การศกึ ษาเพอ่ื การ เดอื น/ฉบับ และบรหิ าร กลยทุ ธ 1.1 SO1 : พฒั นาคณุ ภาพ 1. โครงการปรบั ปรุงกระบวนการ ดําเนนิ การท่เี ปนเลิศ 2. จํานวน 1 การบริหารจัดการของ ครงั้ กระบวนการบริหาร สาํ นกั หอสมดุ ใหมี ทาํ งานเพ่อื การดาํ เนนิ การทเี่ ปนเลศิ จดั การของ ประสทิ ธภิ าพ (EdPEx) สาํ นกั หอสมดุ เพ่ือใหมี ประสิทธภิ าพ กลยุทธที่ 1.2 การ 2. โครงการสง เสริมและบริหาร 1. จดหมายขา ว พัฒนาบุคลากรใหม ี ภาพลกั ษณอ งคก ร BUU Library News ความรคู วามสามารถ 2. จาํ นวนครั้งในการ นําเสนอตราสญั ลกั ษณ

34 กลยทุ ธท ่ี วตั ถุประสงค โครงการ ตัวช้วี ดั ความสาํ เรจ็ คาเปาหมาย ผูรับผดิ ชอบ เชิงกลยุทธ (SO) ของโครงการ 3. ≥4.00 ภาพลกั ษณ และทกั ษะในการ 4. 1 นวัตกรรม องคกร ปฏิบตั งิ าน มหาวทิ ยาลยั ในกจิ กรรม 2. ผช.ผอ. ฝาย ระดบั สากล 1. ≥รอ ยละ 70 บรกิ ารสารสนเทศ กลยทุ ธท ่ี 1.3 การ 3. โครงการเสริมสรางบคุ ลกิ ภาพและ (รับเปา มหาวิทยาลยั ) 2. หลงั การ 3. ผช.ผอ.ฝา ย บรหิ ารจดั การ ทกั ษะการสื่อสารของบคุ ลากร 3. การประเมนิ อบรม ≥4.00 สอื่ สารฯ งบประมาณเพ่อื ให สํานักหอสมุด ความตอ งการและ 1. ไมนอ ยกวา สอดคลอ งกบั การ ความคาดหวัง รอยละ 12 ผช.ผอ.ฝา ย 4. การบริหารจัดการงบประมาณ ความพึงพอใจของ 2. รอ ยละ 3 ส่อื สารฯ ดาํ เนินงานของ เพื่อความมัน่ คงทางการเงิน ผใู ชบ ริการ ผูอํานวยการและ สํานักหอสมุด 4. จํานวนนวัตกรรมการ 1. จํานวน 5 ฝายการเงนิ บรกิ ารเพ่ิมขึน้ กิจกรรม กลยทุ ธท ่ี 1.4 การ SO2 : พัฒนาการ 5. โครงการหองสมดุ สีเขียว 2. จาํ นวน คณะกรรมการ บรหิ ารจดั การหองสมดุ บริหารจัดการหอ งสมุด 1. จํานวนผูเ ขา อบรม 3 ชิ้นงาน หอ งสมุดสีเขียว สีเขียว สเี ขียว 2. ระดับความรทู ไ่ี ด 3. ≥2 ช้นิ งาน รบั กอนและหลงั การอบรม ผรู บั ผดิ ชอบ คา เปา หมาย ฝายบรหิ าร 1. รอยละของรายไดที่ 1. รอยละ 5 จัดการฯ ผา นเกณฑ NI-12 2. รอยละ 10 (Net Income 12%) (รับเปามหาวิทยาลยั ) 2. การเติบโตของเงนิ รายได (รอยละการเติบโตของเงนิ รายไดมหาวิทยาลยั จาก แหลงเงนิ รายได) (รบั เปามหาวทิ ยาลยั ) 1. จํานวนกิจกรรม 2. จํานวนชนิ้ งาน 3. จาํ นวนการผลติ ส่อื ประชาสัมพนั ธด า นพลังงาน และสงิ่ แวดลอ ม ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 การพัฒนาทรพั ยากรสารสนเทศและสนบั สนุนสงั คมแหง การเรียนรแู ละการวิจยั กลยทุ ธดา นลูกคา และบุคลากร กลยทุ ธท ี่ วตั ถุประสงค โครงการ ตัวชว้ี ดั ความสาํ เร็จ เชิงกลยุทธ (SO) ของโครงการ กลยทุ ธท่ี 2.1 SO3 จัดหาทรัพยากร 6. จดั หาทรัพยากรสารสนเทศที่ 1. รอยละของจาํ นวน จดั หาและสง เสรมิ การ สารสนเทศเพือ่ ครอบคลุมกลมุ อตุ สาหกรรมในเขต ทรพั ยากรสารสนเทศดาน ใชท รพั ยากร สนับสนุนการเรียน พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC), EEC, SDGs และ BCG สารสนเทศเพื่อ การสอนและการทํา ดาน SDGs และดา น BCG รปู แบบส่อื ส่ิงพมิ พทเ่ี พมิ่ ขึน้ สนบั สนนุ การเรยี นรู วจิ ัย 2. รอ ยละของจาํ นวน และการวจิ ัย ทรัพยากรสารสนเทศดา น ECC, SDGs และ BCG รูปแบบส่ืออิเล็กทรอนกิ สท ่ี เพ่มิ ข้นึ

35 กลยุทธท ี่ วตั ถปุ ระสงค โครงการ ตัวชว้ี ดั ความสาํ เรจ็ คา เปา หมาย ผูร บั ผดิ ชอบ 1. ≥ 5 ผช.ผอ. ฝา ย เชงิ กลยุทธ (SO) ของโครงการ หนว ยงาน บรกิ าร 2. จาํ นวน สารสนเทศ 7. โครงการ BUU Research 1. จาํ นวนหนว ยงานที่ 5 คน 3. ≥4.00 ผช.ผอ.ฝา ย Support ดําเนนิ การประชาสมั พันธ ส่ือสารฯ 1. จํานวน รอง ผอ. ฝาย เชิงรกุ (BUU Research 5 คน วชิ าการฯ 2. ≥4.00 Support) 1. ไมนอ ยกวา คณุ เฉลิมเกยี รติ 4 ครงั้ ผอู ํานวยการ 2. จํานวนผเู ขา รว มโครงการ 2. ≥ 1 เรอื่ ง ผูอํานวยการ/ 3. ระดับความพึงพอใจของ ≥ 2 กิจกรรม คณุ สชุ าภา/ คณุ เฉลมิ เกยี รติ ผูเขา รวมกจิ กรรม ≥4.00 1 ฉบับ 8. Library C2 : Club Researcher 1. อาจารยห รอื นักวจิ ยั ที่เขา 1 ระบบ & Consulting Research Project รวมเปน สมาชิก VIP 2. ระดบั ความพึงพอใจใน การใหบรกิ าร กลยุทธท่ี 2.2 SO4 สง เสริมให 9. โครงการถายทอดและการ 1. จํานวนครงั้ ของ สนบั สนนุ และ บุคลากรพฒั นา แลกเปล่ียนเรียนรู (BUULib Learn & การจัดกิจกรรม สงเสรมิ ใหบุคลากร งานวจิ ยั และ Share) แลกเปลย่ี นเรียนรู พฒั นางานวจิ ยั และ นวตั กรรม 2. จํานวนองคค วามรู นวตั กรรม ทีถ่ า ยทอด 10. โครงการ Research Coaching จาํ นวนกจิ กรรม ยุทธศาสตรท่ี 3 การพฒั นาหองสมุดดจิ ิทลั (Digital Library) เพอื่ สนบั สนุนการเรียนรตู ลอดชวี ติ กลยทุ ธด า นการพฒั นาระบบสารสนเทศ กลยทุ ธท ่ี 3.1 SO5 : พฒั นาระบบ 11. การพฒั นาระบบการแจงเตอื น ระดบั ความพึงพอใจของการ การพฒั นาระบบบริหาร สารสนเทศโดยใช การใหบริการดว ย Line Application ใชง านระบบ จดั การภายใน โดยใช เทคโนโลยสี ารสนเทศ 12. การปรับปรุงกระบวนการ 1. จํานวนคมู อื การปฏบิ ตั ิ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ปฏบิ ตั ิงานใหส อดคลองกบั กฎหมาย งานท่ีสอดคลองกับ พ.ร.บ. ดจิ ิทัล การคมุ ครองขอมูลสวน บคุ คล 2. จํานวนคมู ือการ ปฏิบตั ิงานทสี่ อดคลอ งกับ พ.ร.บ. ความม่ันคงปลอดภัย ทางไซเบอร กลยทุ ธที่ 3.2 การ SO6 : พัฒนาระบบ 14. การพฒั นาระบบสารสนเทศ 1. ความครบถว นระบบ พัฒนาหอ งสมุดดจิ ทิ ัล สารสนเทศเพื่อ บรหิ ารจดั การภายใน สารสนเทศวิเคราะหขอมูล การจัดซื้อทรพั ยากร เพ่ือสนบั สนนุ การ สนบั สนนุ การเรยี นรู เรยี นรตู ลอดชวี ติ ตลอดชวี ิต สารสนเทศ 2. ความครบถวนของระบบ สารสนเทศ Single Sign-on 3. ความครบถวนของระบบ สารสนเทศปฏทิ นิ เพอื่ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหาร จัดการ

36 กลยุทธท ี่ วัตถุประสงค โครงการ ตัวชี้วดั ความสาํ เรจ็ คา เปา หมาย ผรู ับผดิ ชอบ เชิงกลยุทธ (SO) ของโครงการ รอยละ 50 ของ 15. การพัฒนาคลังปญญา ท้งั 3 ประเภท ผอู าํ นวยการ/ มหาวิทยาลัยบูรพา รอยละของรายการขอ มูล 1. 1 ระบบ รองผอู าํ นวยการ สารสนเทศที่นาํ เขา ระบบ 2. 2 หนวยงาน ฝายวชิ าการฯ 16. การพัฒนาแพลตฟอรม เพ่อื การ 1 รายวชิ า ผอู าํ นวยการ เรียนรูตลอดชีวติ 1. จํานวนระบบ 2. จาํ นวนหนว ยงานท่ใี ชง าน 1. 300 ภาพ ผูชวย ผอ. 17. โครงการพฒั นาบทเรยี นออนไลน แพลตฟอรม 2. 3 เรอ่ื ง ฝา ยบรกิ ารฯ BUU MOOC จํานวนรายวิชา BUU-MOOCs 1. รอ ยละ 5 รอง ผอ. 18. การพัฒนาคลงั ทรัพยากร (รับเปา มหาวิทยาลยั ) 2. ไมนอยกวา ฝา ยวิชาการฯ การศกึ ษาแบบเปด ภายใตโ ครงการส่ือ 1. จาํ นวนสือ่ ขึน้ เผยแพรทาง 5 แหง สาระออนไลนเฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ เวบ็ ไซตคลงั ทรพั ยากร รอง ผอ. พระเทพฯ การศกึ ษาแบบเปดทเ่ี พิม่ ข้ึน 1. 5 หลักสูตร ฝายวิชาการ 2. จํานวนส่อื การเรียนรู 2. ≥ 200 คน ยุทธศาสตรท่ี 4 การพฒั นาบรกิ ารวชิ าการและการพัฒนาอัตลกั ษณภาคตะวนั ออก ภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ คณะกรรมการ 8 โครงการ ขับเคล่ือน กลยุทธด า นการบรกิ ารวิชาการ 1. รอ ยละของรายการขอ มูล โครงการ สารสนเทศในรูปแบบดิจิทัล ≥ 3 แหง กลยทุ ธท ี่ 4.1 พัฒนา SO7 : สรางความ 19. โครงการพัฒนาฐานขอมูล ทเ่ี พิม่ ขึ้น คณะกรรมการ 2. จาํ นวนวดั หรอื พพิ ิธภัณฑ บรกิ ารวิชาการแก ระบบสารสนเทศและ รว มมอื กบั ชมุ ชนในการ มหาวทิ ยาลยั บรู พาและภาคตะวันออก ชมุ ชนหรือวดั ท่ีเขารว ม สงั คมและชมุ ชน โครงการ รอง ผอ. ฐานขอมูลทเี่ ปน อัต ใหบรกิ ารวิชาการแบบ 1. จาํ นวนหลกั สตู ร ฝายวชิ าการฯ 2. จํานวนผเู ขารับการอบรม ลักษณข อง แสวงหารายไดและ จาํ นวนโครงการบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั และภาค แบบใหเปลา วิชาการทรี่ วมกับชุมชน ภาคตะวนั ออก ตะวันออก จํานวนหนว ยงานหรือ โรงเรยี นทเ่ี ขา รวมโครงการ 20. โครงการพฒั นาหลกั สูตรระยะสนั้ ทกั ษะการรสู ารสนเทศและทกั ษะ ดิจทิ ัลเพอื่ การเปน พลเมอื งในศตวรรษ ที่ 21 กลยทุ ธท ี่ 4.2 การ 21. โครงการบริการวิชาการสชู มุ ชน บรกิ ารวชิ าการแก สังคมและชุมชน 22. โครงการสนับสนุนการพัฒนา หอ งสมดุ ชมุ ชน และโรงเรียน กลยทุ ธท ่ี 4.3 สงเสรมิ SO8 : พฒั นา 23. โครงการสงเสริมการทํานบุ ํารงุ 1. บนั ทกึ การแสดงดว ยส่อื 1. ไมนอยกวา 1. ผชู วย ผอ. การทาํ นบุ ํารุง อัตลักษณของ ศิลปะวฒั นธรรมและศาสนา ดจิ ิทลั รอ ยละ 80 ของ ฝายประกนั ศิลปวฒั นธรรมและ มหาวทิ ยาลยั และ 2. จํานวนกิจกรรมดา น การแสดงจริง คณุ ภาพ ศาสนา ภาคตะวนั ออกและ ศิลปวัฒนธรรมและศาสนา 2. ≥4 กิจกรรม 2. สาํ นกั งาน สง เสริมการทาํ นุบาํ รุง ผอู ํานวยการ ศลิ ปะ วฒั นธรรมและ ศาสนา

37 (2) การนําแผนปฏบิ ตั ิการไปใช สํานกั หอสมุดนําแผนกลยทุ ธไปสูแผนปฏิบัติการประจําปที่ไดจ ากการทบทวนรว มกับบุคลากร โดย รองผูอํานวยการฝายบริหารฯ นําไปสรุปแผนปฏิบัติการและนําเขาประชุมรวมกับ คกบ. อีกครั้งเม่ือได แผนปฏิบัติการประจําป ผูอํานวยการนําเสนอ คกป. เพื่อใหความเห็นชอบ หลังจากน้ันผูอํานวยการนํามา ถายทอดใหบุคลากรของสํานักหอสมุดเขาใจในการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป โดยกําหนดโครงการ/ กจิ กรรม เปาหมาย ตัวช้ีวดั ความสาํ เร็จ ระยะเวลาดําเนินการ งบประมาณและผูรับผดิ ชอบ ซ่ึงเปน ตัววดั ระดับ องคกรและระดบั บุคคล และนําเผยแพรผานระบบสารสนเทศของสํานักหอสมุด (Docshare) เพื่อใหบ ุคลากร เขาใจเปาหมายเชิงยุทธศาสตรกลยุทธ รวมทั้งตัวช้ีวัดผลการดําเนินงานอันจะสงผลตอการเขียนโครงการ/ กิจกรรมรองรับไดตรงตามแผนฯ มีการติดตามผลการดําเนินงานเปนรายไตรมาส โดยใชการบริหารจัดการ ผานทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส (e-mail) และทางไลน ในกรณีที่แผนปฏิบัติการเกี่ยวของกับผูสงมอบ พันธมิตร และคูความรวมมือ ผูรับผิดชอบแผนปฏิบัติการจะถายทอดแผนฯ ไปสูการปฏิบัติผานการกําหนด ตัวชีว้ ัดและการจัดสรรทรัพยากร (3) การจัดสรรทรัพยากร สาํ นกั หอสมดุ จัดสรรงบประมาณเพ่ือการจัดสรรทรพั ยากรในการสนบั สนนุ แผนปฏบิ ตั ิการใหสําเรจ็ ตามเปาหมาย โดยสํานักหอสมุดไดรับงบประมาณเงินรายได และงบประมาณเงินแผนดนิ เพื่อสนับสนุนตาม พันธกิจใหครอบคลุมกลยุทธ โดยผูรับผิดชอบโครงการดําเนินการจัดทํางบประมาณท่ีใชในการดําเนินงานของ โครงการ/กิจกรรม และเสนอตอ คกบ. ไดรวมกันพิจารณากลั่นกรอง โดยผานความเห็นชอบของ คกป. และ ดําเนินการจัดทําแผนปฏบิ ตั ิงานตามขน้ั ตอนใหบรรลเุ ปา หมายตามท่กี ําหนดไว (4) แผนดา นบคุ ลากร สํานักหอสมดุ ไดแบงกลมุ บุคลากรออกเปน 3 กลมุ คอื 1. กลุมวิชาชีพหองสมุด : ประกอบดวย บรรณารักษ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา นักวิชาการ คอมพิวเตอร นกั เอกสารสนเทศ 2. กลุมสนับสนุนงานบริการ : ประกอบดวย ผูปฏิบัติงานโสตทัศนศึกษา ผูปฏิบัติงานหองสมุด พนกั งานเขาและเย็บเลม ผูชว ยปฏิบตั ิงานบริหาร แมบ าน พนักงานบรกิ ารเอกสารทัว่ ไป 3. กลุมสนับสนุนงานบริหาร : ประกอบดวยเจาหนาท่ีบริหารงานทั่วไป นักวิชาการเงินและบัญชี นักวชิ าการพัสดุ นกั วชิ าการศกึ ษา พนกั งานขบั รถยนต ผปู ฏบิ ตั งิ านชาง บคุ ลากร ผนู ําระดับสูงไดใหความสําคัญกับการพฒั นาบุคลากรทกุ กลมุ ทกุ ระดบั โดยรบั การพัฒนาท้ังความรู ความสามารถทางวิชาชีพ ประสิทธิภาพในการใหบริการท่ีดี ความเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรม รวมท้ังทักษะ ความรูจาํ เปน เพ่อื การปฏิบัติงาน เชน การบรกิ าร ภาษาตางประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบคุณภาพ ตาง ๆ เพ่ือความกาวหนาทางวิชาชีพ และเพื่อตอบสนองตอวัตถุประสงคเชิงกลยุทธ และแผนปฏิบัติการท้ัง ระยะสั้นและระยะยาว โดยมีรูปแบบการพัฒนาบคุ ลากร ดังตารางที่ 2.2-3

38 ตารางที่ 2.2-3 แผนพัฒนาบุคลากรทส่ี นบั สนุนวัตถปุ ระสงคเ ชิงกลยทุ ธ แผนพัฒนาบุคลากร ผลกระทบท่อี าจเกดิ ขน้ึ ตอบคุ ลากรและการเปล่ียนแปลง 1. แผนพัฒนาบคุ ลากร สงเสรมิ ใหบ คุ ลากรเขา รับการ สง เสริมใหบ คุ ลากรมีความรู ความชํานาญ มที กั ษะดา นวชิ าชพี พัฒนาสมรรถนะหลกั และ ฝกอบรมทางวชิ าชพี อบรมเก่ยี วกบั ภารกจิ ท่ัวไปของ สมรรถนะประจาํ สวนงาน ใหม ีความ พรอ มในการปฏบิ ัติงานดา นหอ งสมดุ มีความรูดาน หอ งสมดุ สงเสริมการทาํ วจิ ยั และนวัตกรรม รวมถึง การบรหิ ารจัดการเพอ่ื การทาํ งานเปนทมี เพม่ิ ทกั ษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศทม่ี กี าร การเขารว มประชมุ สัมมนา การแลกเปลยี่ นเรยี นรู เปลีย่ นแปลงอยตู ลอดเวลา เปนการเพม่ิ ศกั ยภาพการทาํ งานของบคุ ลากร และเพิม่ คณุ ภาพ และการศกึ ษาดูงาน รวมถงึ การสรางความผกู พันของ ในการปฏบิ ตั ิงานมากขึ้น โดยการเสรมิ สรางบรรยากาศที่เออื้ ตอ การทํางาน สรา งแรงจูงใจ บคุ ลากร ขวัญและ กําลังใจในการปฏบิ ัตงิ าน จดั ระบบสวสั ดกิ ารที่เหมาะสม สงเสรมิ ใหป ฏบิ ตั ิงาน อยางมีความสุข 2. แผนดา นอัตรากําลงั มีการกําหนดภาระงาน และถายทอดความรูสูเพ่อื นรวมงาน เพ่อื ใหผ จู ะเกษียณ และผูท่ี ปฏบิ ตั งิ านไดถายทอดความรูรวมกัน บคุ ลากรสามารถปฏิบัตงิ านแทนกันได เปน การสรา ง ศกั ยภาพการปฏิบตั ิงานของบคุ ลากรเพมิ่ ขึน้ (5) ตัววดั ผลการดําเนินการ ตัววัดผลการดาํ เนนิ การของสํานักหอสมุดตามแผนกลยทุ ธและตวั ชี้วัดความสาํ เร็จของแผน กลยุทธ คกบ. และบุคลากร รวมกันพิจารณาตัวชว้ี ดั ผลการดาํ เนินงาน ดังตารางท่ี 2.2-1 ประกอบดวยตวั ช้วี ัด 2 ระดับ 1) ตวั ช้ีวัดระดบั สว นงาน จากแผนยทุ ธศาสตรแ ละแผนกลยทุ ธข องสํานกั หอสมดุ และการรับเปาหมาย จากมหาวิทยาลยั ดงั ตารางที่ 4.1-1 และ 2) ตัวช้วี ดั รายบุคคล ทก่ี าํ หนดรว มกนั ระหวา งหัวหนา ฝายและ บุคลากรตามงานท่ีไดรบั ผิดชอบในและฝาย ดังตารางท่ี 4.1-2 มกี ารติดตามและประเมนิ ผลการดําเนินงาน ตามตัวชว้ี ดั เปน รายไตรมาส หากผลการดาํ เนินงานไมเปนไปตามเปาหมาย กจ็ ะมีการวเิ คราะหถ ึงสาเหตเุ พ่ือทาํ การแกไข หรือปรบั เปล่ียนแผนงานเพื่อปรบั ปรงุ ผลการดาํ เนนิ งาน และมกี ารทบทวนตัวชี้วัดเพอ่ื ใหผ ลการ ปฏบิ ตั งิ านมีประสิทธภิ าพตอ เน่ืองทุกป (7.5ข-1) (6) การคาดการณผลการดาํ เนนิ การ สํานกั หอสมุดมีการคาดการณผลการดําเนินงานตามกรอบเวลาทัง้ ระยะส้ัน และระยะยาว เพ่ือวาง แผนการจัดทําแผนปฏบิ ัติการประจําป ใหมีกระบวนการขับเคลื่อนการดําเนนิ งานใหบรรลุตามเปาหมายและ ตัวชวี้ ัดท่ีกาํ หนดไว มีการกําหนดปจจัยนําเขาทีส่ าํ คัญทน่ี าํ มาใชไปตามแผนดําเนนิ งาน ประกอบดว ย ขอ มลู ผล การดําเนนิ งานในปที่ผานมา ขอมูลผลการดําเนินงานของคเู ทียบ การจัดสรรงบประมาณ ความกาวหนาของ เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการสารสนเทศเกี่ยวกับผูใชบริการ เพ่ือขับเคล่ือนใหการดําเนนิ งานของ สํานกั หอสมุดบรรลุเปาหมาย จากการวเิ คราะหแ นวโนม การใชฐานขอ มลู ในปท่ผี า นมาไมเ ปนไปตามที่คาดการณไว สํานกั หอสมุด จงึ ปรบั กิจกรรมและแผนการประชาสัมพันธเ พ่ือสง เสริมการเขาใชฐานขอมลู ใหเกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสดุ โดยผา น กิจกรรมตาง ๆ เชน การใหร างวัลผา นกิจกรรมอบรมการใชฐ านขอ มูล การประชาสัมพนั ธการใชฐ านขอมูลผาน โครงการ Research support เปนตน สงผลใหผลลัพธดานรอยละของการใชฐานขอมูลมีคาเพิ่มข้ึน (7.1ข(1)-6)

39 ข. การปรบั เปล่ียนแผนปฏบิ ตั กิ าร การติดตามผลการดําเนินงานของแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป มีการสรปุ ผลการ ดําเนินงานเปนรายไตรมาส หากมีการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ หรือโครงการ/กิจกรรมใดจําเปนตองเล่ือน การดําเนนิ การ ทางผรู บั ผดิ ชอบโครงการ/กิจกรรมนน้ั ๆ จะรายงานตอ คกบ. เพ่อื รับทราบ ท้ังในเรอ่ื งของการ จัดสรรงบประมาณและระยะเวลาดําเนินการ ท้ังนี้ ตองอยูในกรอบของทรัพยากรท่ีไดกําหนดไว และหากมี การปรับปรงุ แลวจะสามารถดาํ เนินการไดตามคาเปา หมายท่ีกาํ หนดไว และบรรลุตามคาคาดการณท ี่กาํ หนดไว หมวด 3 ลูกคา 3.1 ความคาดหวงั ของลกู คา ก. การรับฟง ผูเ รยี นและลูกคากลมุ อน่ื (1) ผเู รยี นและลกู คา กลุมอืน่ ทีม่ ีอยใู นปจจุบัน (2) ผเู รียนและลกู คา กลุมอืน่ ที่พงึ มี สํานักหอสมุดมีกระบวนการรับฟงเสียงของลูกคา และผูมีสวนไดส วนเสยี ทเ่ี ปนผใู ชบรกิ าร ดังภาพท่ี 3.1-1 เพ่ือใหไดขอมูลสารสนเทศนําไปใชในการปรับปรงุ บริการของสํานักหอสมุดท่ีสามารถตอบสนองความ ตอ งการและความคาดหวงั ของลกู คากลุม ตาง ๆ โดยแบงกระบวนการออกเปน 6 ข้ันตอน คอื 1. สํานกั หอสมดุ จาํ แนกกลุมผใู ชบรกิ ารตามพนั ธกิจของสาํ นักหอสมุด ทสี่ นบั สนนุ ดานการจัด การศกึ ษา การวิจัย และใหบริการวิชาการ รวมถึงการสาํ รวจความตอ งการและความคาดหวงั โดยจําแนกกลมุ ผูใ ชบริการออกเปน 2 กลุม ไดแ ก 1. กลมุ บุคลากร ประกอบดว ย 1) อาจารย/ นกั วจิ ัย 2) บคุ ลากรสาย สนบั สนนุ 2. กลมุ นิสิต ประกอบดวย 1) ปรญิ ญาตรี 2) บณั ฑิตศกึ ษา 2. กาํ หนดชองทางการรบั ฟงเสียงลูกคา โดยแบง ชองทางการสอ่ื สารออกเปน 4 ชองทางหลัก ไดแ ก 1) เอกสาร/ บันทกึ ขอ ความ/ แบบประเมิน 2) ติดตอ ดว ยตนเอง/ โทรศัพท 3) กิจกรรมทสี่ าํ นักหอสมุดจัดขึน้ และ 4) ผานทางชอ งทางออนไลน/ อีเมล/ โซเชียลมเี ดยี เพ่ือรบั ฟงเสยี งของลูกคา 3. รบั ฟง เสียงลูกคา โดยกําหนดวธิ ีการรบั ฟงเสยี งลกู คา ในปจ จบุ นั และลกู คากลมุ อน่ื ที่พึงมี ดังตารางที่ 3.1-1 4. รวบรวมและวเิ คราะหค วามตองการของลูกคา ไดแก ความตอ งการและความคาดหวงั ความพงึ พอใจ ไมพึงพอใจ ความผกู พนั และขอรอ งเรียน 5. วางแผนพฒั นาปรบั ปรุงกระบวนการดําเนนิ งาน ไดแก ปรบั ปรุงการบริการและสารสนเทศที่ ใหบริการ จดั การความสัมพนั ธ จัดการขอรองเรยี น 6. ทบทวนประสทิ ธภิ าพของกระบวนการและปรับปรุงกระบวนการ ภาพที่ 3.1-1 กระบวนการรับฟงเสียงลูกคา และ ลกู คากลุมอื่น (voice of customer)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook