มีด ตัดขั้ว ทุเรียน ตำ บ ล บ้ า น ใ น ว ง เ ห นื อ อำ เ ภ อ ล ะ อุ่ น อำ เ ภ อ เ มื อ ง ร ะ น อ ง จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง
นายบุญกอง ทัดทาน ผู้ ทำ มี ด ตั ด ขั้ ว ทุ เ รี ย น บ้ า น ใ น ว ง เ ห นื อ อำ เ ภ อ ล ะ อุ่ น อำ เ ภ อ เ มื อ ง ร ะ น อ ง จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง ๑๖/๑ หมู่ที่ ๓ ตำบลบ้านในวง อำเภอละอุ่น เดิมชาวบ้าน ตำบลบ้านในวงเหนือ จะมีอาชีพทำสวน ปลูกยางพารา ปลูกปาล์ม อำเภอละอุ่น ปลูกผลไม้ รวมไปถึงปลูกทุเรียน สมัยนั้นมี จังหวัดระนอง เพื่อนบ้านชวนไปตัดทุเรียนในสวน จึงได้ไปซื้อ ๘๔๐๐๐ มีด (เพื่อนำไปใช้ตัดขั้วทุเรียน) แต่พอนำมีดไปใช้ ปรากฎว่าใช้ได้ไม่นานมีดก็หัก ด้วยความที่ ติดต่อ สั่งซื้อได้ที่... ตนเองไม่มีเงิน เลยคิดว่า “จะทำยังงัยดีเพื่อมี โทร.๐๘๒๘๖๔๙๓๑๖ มีดใช้ในการตัดขั้วทุเรียน) จึงเอาตะขอเกี่ยว กระเบื้องมาทำเป็นมีดตัดขั้วทุเรียนแทนชั่วคราว ระหว่างนั้นก็ได้ทำการซ่อมมีด แต่เนื่องจากสมัย นั้นยังไม่มีไฟฟ้าใช้ เลยใช้เครื่องตัดหญ้าจับ หงายท้องขึ้นแล้วเจียร เจียรมีดอยู่หลายวันมีด ถึงจะซ่อมสำเร็จ แต่ใช้ได้ไม่นานมีดก็ชำรุดอีก จนผ่านปีกว่าๆ ไฟฟ้าก็เข้ามายังหมู่บ้าน จากนั้นเริ่มทำมีดตัดขั้วทุเรียนโดยใช้สว่านมือ ชาวบ้านเริ่มมีการรวมตัวกันเพื่ อทำมีดไว้ใช้เอง (ทำมีดคนละ ๑ เล่ม)
\"ถึงร่างกายผมจะพิ การ แต่จิตใจผมไม่เคยย่อท้อ เพราะผมมี สถาบันครอบครัวที่อยู่เคียงข้าง และผมได้ดำเนินชีวิตโดยยึดหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยงทำให้ผมมีความสุขทุกๆวัน\" แต่เนื่องจากไม่มีต้นแบบชัดเจน ทำให้มีดที่ทำ ออกมาไม่มีมาตรฐาน ทำให้การทำมีดหยุดชะงัด ลง อุปกรณ์ที่จะใช้ทำมีดก็ไม่มี ผมเลยใช้ใบ เลื่อยตัดเหล็กขนาดนิ้วกว่าๆ มาใช้ แต่ผล ปรากฎว่าทำเสร็จแล้วมีดไม่มีความหนืด ทำให้ เวลาตัดขั้วทุเรียนมันไม่ไหล พอไม่ไหลก็ต้องใช้ ผ้าเช็ดอยู่เรื่อยๆ จากนั้นผมเริ่มศึกษาการทำมีด ตัดขั้วทุเรียนจากที่อื่น โดยทำจากงานมือ ไม่มี มาตรฐานเท่าไหร่ แต่คุณภาพก็พอใช้ได้ ก็เริ่ม แบ่งมีดให้เพื่อนบ้านได้ใช้ จนมีคนสนใจที่อยาก จะซื้อมีดตัดขั้วทุเรียน มีการบอกต่อเรื่อยๆ จากหลังสวน นครศรีธรรมราช จากนั้นผม พยายามสร้างแบบขึ้นมาเพื่ อให้ได้มาตรฐาน มาก ยิ่งขึ้น จากวันนั้นถึงวันนี้กลายเป็นอาชีพ เสริม ๑๕ ปี ซึ่งมีดตัดขั้วทุเรียนผมจะทำ ตามใจลูกค้า เช่น ลูกค้าชอบด้านทำจากเขา สัตว์ หรือด้ามทำจากไม้ หรือชอบลักษณะ แบบไหน ผมจะทำให้ตรงความต้องการมาก ที่สุด และถ้ามีดมีปัญหาผมรับผิดชอบทุก ชิ้นงาน สามารถนำมาแก้ได้ตลอด โดยไม่มี ค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด
วั ส ดุ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ สำ ห รั บ ทำ มี ด ตั ด ขั้ ว ทุ เ รี ย น ๑. มีด ๒. คีมเหล็ก ๓. สว่างแท่น ๔. ปากกาจับเหล็ก ๕. เครื่องเจียร ๖. หินเจียรแท่น ๗. เครื่องเจียรสายอ่อน ๘. คีมปากจระเข้ ๙. ค้อน ๑๐. เลื่อยเหล็กมือ ๑๑. ตะไบ ๑๒. แท่นเหล็ก ๑๓. แล็คเกอร์ ๑๔. กระดาษทราย ๑๕. ด้ามเขาสัตว์/ไม้ ๑๖. ตาไก่
ผู้ให้ข้อมูล นายบุญกอง ทัดทาน ลงพื้ นที่เก็บข้อมูล สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดระนอง เรียบเรียงข้อมูล นางสาวปิยะธิดา เขียวไข่กา บันทึกภาพ นายอิทธิรักษ์ ราชรักษ์ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๔
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: