Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

Published by ปวีณ์กร คําเสียง, 2019-06-14 06:41:04

Description: คู่มือนิทรรศการฐานเรียนรู้

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศชมุ ชน ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษาสระแกว้ สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ฐานการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอื่ ง เทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศชมุ ชน

แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอื่ ง เทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศชนุ ชน เวลา 15 นาที แนวคิด เทคโนโลยภี ูมิสารสนเทศชุนชน เป็นฐานการเรยี นรู้ผา่ นนิทรรศการก่ียวกับดาวเทียมสารวจทรัพยากร การสารวจขอ้ มูลระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบนาทางด้วยดาวเทียม วงโคจรดาวเทียมไทยโชต แผนท่ีแสดงช้ันความสูง และข้อมูลเก่ียวกับจิสด้า (Gistda) ในการจุดประกายความคิดทางด้านวิทยาศาสตร์ ใหก้ ับผู้รบั บรกิ าร โดยผ้รู ับบรกิ ารสามารถแลกเปล่ียนเรยี นรู้ร่วมกนั ดว้ ยวธิ ีการทดลองกับส่ือการเรียนรู้จริง ทา ให้ผู้รบั บรกิ ารเห็นความสาคัญของการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกบั ชวี ิตประจาวนั วตั ถปุ ระสงค์ เมอื่ สน้ิ สดุ แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้นี้แล้ว ผู้รับบรกิ ารสามารถ แลกเปล่ียนเรียนรู้และทดลองเก่ียวกับดาวเทียมสารวจทรัพยากร การสารวจข้อมูลระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบนาทางด้วยดาวเทียม วงโคจรดาวเทียมไทยโชต แผนที่แสดงช้ันความสูง และขอ้ มลู เก่ยี วกบั จสิ ด้า(Gistda) เน้อื หา 1. ดาวเทียมสารวจทรพั ยากร 2. การสารวจข้อมูลระยะไกล 3. ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ 4. ระบบนาทางดว้ ยดาวเทยี ม 5. วงโคจรดาวเทียมไทยโชต 6. แผนท่แี สดงชน้ั ความสงู 7. ข้อมลู เกยี่ วกับจิสดา้ (Gistda) ขั้นตอนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ ตอนที่ 1 กจิ กรรมการเรยี นรูป้ ระสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ (S : Science Experience Activity) 1. ผู้จัดกิจกรรมทักทายผู้เข้ารับบริการและแนะนาตนเองกับผู้รับบริการ และชี้แจง วัตถปุ ระสงคข์ องฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ เร่ือง เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศชุนชน ซึ่งฐานการการเรียนรู้ ผ่านนิทรรศการน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับบริการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทดลองเกี่ยวกับดาวเทียมสารวจ ทรัพยากร การสารวจข้อมูลระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบนาทางด้วยดาวเทียม วงโคจรดาวเทยี มไทยโชต แผนที่แสดงช้นั ความสงู และขอ้ มลู เกย่ี วกับจสิ ด้า (Gistda)

2. ผู้จัดกจิ กรรมแจกเอกสารประกอบการชมนทิ รรศการ 3. ผู้จัดกิจกรรมแนะนารายละเอียดภาพรวมของเนื้อหาในฐานการเรียนรู้ผ่านนิทรรศการ เร่ือง เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศชุนชน ตามใบความรู้สาหรับผู้จัดกิจกรรม “แนะนารายละเอียดภาพรวมของ เนอื้ หาในฐานการเรยี นรูผ้ ่านนทิ รรศการ เรือ่ ง เทคโนโลยภี ูมิสารสนเทศชนุ ชน” ขน้ั ตอนท่ี 2 กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ทที่ ้าทาย (C : Challenge Learning Activity) 1.ผู้จัดกิจกรรมบรรยายให้ความรู้ และอธิบายวิธีการใช้เคร่ืองมือผ่านนิทรรศการ เรื่อง ดาวเทยี มสารวจทรพั ยากร การสารวจข้อมลู ระยะไกล ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ ระบบนาทางด้วยดาวเทียม วงโคจรดาวเทียมไทยโชต แผนท่แี สดงช้นั ความสงู และขอ้ มลู เกย่ี วกับจิสด้า (Gistda) 2. เปิดโอกาสให้ผ้รู ับบรกิ ารพูดคุย ซกั ถาม ทดลอง และแลกเปลย่ี นเรยี นร้รู ว่ มกัน 3. ผจู้ ัดกิจกรรมและผู้รบั บริการสรุปส่ิงทีเ่ รียนร่วมกนั ข้ันตอนท่ี 3 กิจกรรมการสรุปผลการนาวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน (I : Implementation Conclusion Activity) 1. ผ้จู ัดกิจกรรมสมุ ผู้รับบริการจานวน 1-2 คน ทส่ี มคั รใจ ให้ตอบคาถามในประเด็นที่ท่านได้รับรู้ อะไรบา้ งผ่านนิทรรศการในฐานการเรียนรู้ เรื่อง เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศชุนชน และท่านคิดว่าจะนาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รบั 2. ผู้จัดกจิ กรรมและผู้รบั บรกิ ารสรุปสิ่งที่เรยี นรว่ มกัน 3. ผู้จัดกิจกรรมให้ผู้รับบริการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อฐานกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านส่ือ นิทรรศการ เร่ือง เทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศชุนชน สื่อ วสั ดอุ ปุ กรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. เอกสารประกอบการชมนิทรรศการ 2. ฐานการเรียนรู้ เรอื่ ง เทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศชุนชน การวดั และประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤติกรรมการส่วนรว่ ม ความต้ังใจ ความสนใจของผูร้ บั บริการ 2. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ เรือ่ ง เทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศชุนชน

บนั ทกึ ผลหลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการใชแ้ ผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. จานวนเนือ้ หากับจานวนเวลา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบุเหตผุ ล ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. การเรยี งลาดบั เนื้อหากับความเขา้ ใจของผู้รับบรกิ าร  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบเุ หตผุ ล ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 3. การนาเข้าสู่บทเรียนกบั เนือ้ หาแต่ละหวั ข้อ  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม ระบุเหตุผล ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 4. วิธีการจดั กิจกรรมการเรียนร้กู บั เนอ้ื หาในแต่ละข้อ  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบุเหตผุ ล ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 5. การประเมินผลกับวัตถปุ ระสงค์ในแต่ละเนื้อหา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม ระบุเหตุผล ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ผลการเรยี นรูข้ องผู้รับบรกิ าร ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผูจ้ ัดกจิ กรรม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................

ใบความรผู้ จู้ ดั กจิ กรรม เรอ่ื ง เทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศชนุ ชน 1. ชดุ นทิ รรศการดาวเทยี มสารวจทรพั ยากร ดาวเทยี มสารวจทรพั ยากรดวงแรกของไทย ดาวเทียมไทยโชต (Thaichote) หรือดาวเทียมธีออส (THEOS) เป็นดาวเทียมสารวจทรัพยากรดวง แรกของไทย ไดท้ ะยานขึน้ สูอ่ วกาศในวนั พธุ ที่ 1 ตุลาคม 2551 โดยจรวดนาสง่ “เนปเปอร์” (Dnepr) จากฐาน ส่งจรวดเมืองยาสนี (Yasny) ประเทศรัสเซีย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชือ่ ดาวเทยี มธีออส (THEOS) ว่า “ดาวเทียมไทยโชต” “ดาวเทียมไทยโชต” ช่ือภาษาอังกฤษว่า “Thaichote” ซ่ึงแปลว่า ดาวเทียมที่ทาให้ประเทศไทย รุ่งเรือง ดาวเทียมไทยโชต ถูกออกแบบให้เป็นดาวเทียมขนาดเล็ก มีน้าหนักประมาณ 750 กิโลกรัม วงโคจร สัมพันธก์ บั ดวงอาทติ ย์อยู่สงู จากพืน้ โลกประมาณ 820 กิโลเมตร จะโคจรกลับมาที่จุดเดิมทุกๆ 26 วัน ทางาน โดยอาศยั แหล่งพลังงานจากดวงอาทิตย์ สามารถบันทึกภาพได้ครอบคลุมพื้นที่ท่ัวโลก มีอายุการใช้งานอย่าง นอ้ ย 5 ปี

2. ชดุ นทิ รรศการการสารวจขอ้ มูลระยะไกล (Remote Sensing : RS) การสารวจขอ้ มลู ระยะไกล Remote Sensing : RS เป็นการสารวจข้อมูลด้วยหลักการทางานอาศัยการสะท้อนแสง หรือพลังงานคลื่น แม่เหลก็ ไฟฟา้ ทต่ี กกระทบกบั วตั ถุหรอื พ้นื ผวิ โลก แล้วสะท้อนกลับเข้าสู่เครื่องรับสัญญาณ จะบันทึกพลังงาน คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า ในช่วงคล่ืนที่แตกต่างกัน ในเวลาเดียวกันเพื่อบ่งบอก จาแนกหรือวิเคราะห์ว่าวัตถุน้ันคือ อะไร โดยปราศจากการสัมผสั วัตถุเปา้ หมาย 3. ชุดนทิ รรศการระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (Geographic Information System ; GIS)

ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ Geographic Information System ; GIS เปน็ ระบบทางคอมพิวเตอร์ทีใ่ ช้ในการนาเข้าจัดเกบ็ ขอ้ มลู ท่อี า้ งองิ ตาแหนง่ ทางภูมิศาสตร์และสามารถ วเิ คราะห์ขอ้ มูลซงึ้ จะแสดงออกมาในรปู ของแผนทรี่ ปู ภาพ และรายงานได้ 4. ชดุ นทิ รรศการระบบนาทางดว้ ยดาวเทยี ม (Global Navigation Satellite System : GNSS) ระบบนาทางดว้ ยดาวเทยี ม Global Navigation Satellite System เป็นระบบดาวเทียมที่ใช้ในการระบุตาแหน่ง หรือพิกัดบนผิวโลก โดยใช้อุปกรณ์ อิเล็กทรอนกิ ส์เปน็ ตวั รับสัญญาณคล่ืนวิทยุท่ีส่งมาจากดาวเทียม เพ่ือคานวณและแสดงพิกัดตาแหน่ง ณ จุดท่ี ตัวรับสัญญาณตั้งอยู่ นอกจากข้อมูลตาแหน่งแล้วยังรับข้อมูลเวลาที่มีความแม่นยา และสามารถนาไป ประยกุ ต์ใช้กับงานดา้ นต่างๆ เช่น การนาทาง การติดตาม 5. วงโคจรดาวเทยี มไทยโชต

ดาวเทยี มไทยโชตเป็นดาวเทยี มสารวจทรพั ยากรธรรมชาติ การโคจรจะเคลื่อนท่ีไปในแนวดง่ิ จากเหนือไปใต้… ถ้าทกุ ทา่ นทราบแลว้ เรามาชว่ ยพาดาวเทยี มไทยโชต โคจรรอบโลกกันเลย 6. ชดุ นทิ รรศการขอ้ มลู เกยี่ วกบั จสิ ดา้ GISTDA (จิสด้า) Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization) หรือ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) สังกัด กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี “นาคณุ คา่ จากอวกาศเพ่อื พฒั นาประเทศชาตแิ ละสงั คม” GISTDA เปน็ หน่วยงานเดยี วในประเทศไทยที่ให้บรกิ ารข้อมูลจากดาวเทยี มแบบครบวงจร  มีสถานีควบคุมและรับสัญญาณดาวเทียมสารวจโลกดวงแรกของประเทศไทย ณ อุทยานรังสรรค์ นวัตกรรมอวกาศ (SKP) อาเภอศรรี าชา จังหวดั ชลบรุ ี  มีคลังข้อมูลจากดาวเทียมทั้งรายละเอียดสูง ปานกลาง และต่า ซึ่งบันทึกไว้ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2524  มีการวิเคราะห์ข้อมูลและผลิตเป็นแผนที่เฉพาะกิจ รวมทั้งจัดทาข้อมูลในลักษณะสารสนเทศ ภมู ิศาสตร์ (GIS)  มีศูนย์บริการข้อมูลซ่ึงทาหน้าท่ีจัดหาและให้บริการข้อมูลจากดาวเทียมสารวจทรัพยากรแก่ หน่วยงานต่างๆทงั้ ภาครฐั และเอกชนภายในและภายนอกประเทศทวั่ โลก  มีการจัดฝกึ อบรมสนบั สนนุ ทนุ วจิ ยั ดูงาน ประชุม สัมมนาทัง้ ในระดับประเทศและนานาชาติ

7. ชุดนทิ รรศการแผนท่แี สดงชนั้ ความสงู (Topography) แผนทีแ่ สดงชั้นความสงู (Topography Mapping) เป็นการจาลองระดับความสงู ตา่ ของภูมิประเทศแบบโต้ตอบกับผู้ใช้ โดยจะแสดงความต่างของระดับ ความสงู ดว้ ยสีตา่ งกัน ซ่ึงจะมีเส้นแสดงในแต่ละระดับความสูง โดยระยะห่างระหวา่ งเสน้ จะแสดงถงึ ความสูงชัน ของภูมปิ ระเทศ หากเสน้ อยู่ใกล้ชดิ กัน บ่งบอกถงึ ความชนั ในบริเวณพน้ื ท่ีนน้ั มมี าก วิธกี ารเล่น ทุกท่านสามารถปรับพื้นท่ีให้สูง-ต่าได้ตามความต้องการ เช่น ขุดทรายเป็นแม่น้าหรือทะเล ทาพ้ืนท่ี ราบ หรือกอ่ ทรายเป็นภเู ขาได้ตามจนิ ตนาการ

กจิ กรรม/เกม เรอ่ื ง เทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศชนุ ชน 1. ดวงตาทแี่ ตกตา่ ง วตั ถปุ ระสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ เข้าใจ และมีจินตนาการทางด้านการมองเห็นโดยเมือนการ จาลอง ตวั เองว่าเปน็ ดาวเทียมสารวจทรัพยากรท่ีจะโคจรถา่ ยภาพบนพน้ื โลก ซง่ึ ประกอบด้วยการมองเห็นเพื่อ แยกแยะสงิ่ ที่เห็นบนภาพถ่ายจากดาวเทียม เปน็ สิง่ ท่เี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ หรือเป็นสงิ่ ทม่ี นุษย์สร้างขึ้น โดย ใช้ภาพถา่ ยจากดาวเทียมในการบง่ บอกถงึ ความแตกต่างของภาพถา่ ยจากดาวเทียม อปุ กรณ์ 1. ชดุ เกมส์ 1 ชุด 2. แผน่ แสดงภาพ จานวน 40 ภาพ วธิ ีการเล่น 1. วทิ ยากรระบุช่อื ตาแหนง่ หรือสถานทที่ ่ีสาคัญ ได้แก่ สง่ิ ท่ธี รรมชาติสร้างขนึ้ และสิง่ ท่ีมนุษย์ สร้างข้ึน 2. ให้ผู้เล่นนาภาพถ่ายจากดาวเทียมทม่ี ี จับค่พู รอ้ มนาไปวางตามลักษณะการเกิด ได้แก่ ส่ิงท่ี เกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ และส่งิ ที่มนุษยส์ ร้างขึ้น 3. วิทยากร เฉลยภาพถ่ายจากดาวเทียม จากการวิเคราะห์ตามลักษณะของสิ่งที่เกิดข้ึนเอง ตามธรรมชาติ หรอื สิ่งทีม่ นษุ ยส์ ร้างขึ้น 4. ผเู้ ล่นไดท้ ราบถึงลกั ษณะภาพท่แี ตกต่างกันของภาพจากดาวเทียม

ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั ผ้เู รยี นเข้าใจและสามารถเปรียบเทียบความแตกตา่ งของภาพถ่ายจากดาวเทียม ตามลักษณะ ท่เี กิดขน้ึ จรงิ ท้งั สงิ่ ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ หรอื สิ่งทีม่ นุษย์สรา้ งขึ้นท้ังยังเป็นการฝึกสมาธิ และฝึกทักษะทาง ประสาทดา้ นการสงั เกตและการจดจา 2. ร้จู กั ชนั้ ขอ้ มลู กบั GIS วตั ถปุ ระสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้เรยี นรู้ และเข้าใจ ถึงลาดับชั้นของขอ้ มลู ในระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) ผ่านแบบจาลองลักษณะช้นั ข้อมลู ซ่งึ นามาใชซ้ อ้ นกัน วธิ กี ารเลน่ 1. วทิ ยากรถา่ ยทอดองค์ความร้เู บื้องตน้ เก่ยี วกบั ระบบสารสนเทศภิมศาสตร์ (GIS) ได้แก่ องค์ประกอบของ GIS และลักษณะของชน้ั ขอ้ มลู ในงานดา้ น GIS อีกทัง้ ความสาคญั ของการซ้อนทบั ของชดุ จาลองชน้ั ขอ้ มลู GIS จานวน 3 ชนั้ ไดแ้ ก่ - ขอ้ มูลจดุ (Point) ได้แก่ บา้ นเรือน ทีต่ ั้งอาคาร ท่ตี งั้ สานกั งาน ท่ีตัง้ ศูนยบ์ ริการ - เส้น (Line) ได้แก่ ถนน แม่นา้ รางรถไฟ ทางดว่ น - พ้ืนท่รี ปู ปดิ (Polygon) ไดแ้ ก่ อ่างเกบ็ น้า หมู่บา้ น แปลงที่ดนิ พื้นทปี่ า่ ไม้ พน้ื ที่ขอบเขตการปกครอง 2. วทิ ยากรอธิบายถึงการวางซ้อนทบั ของชดุ จาลองชั้นขอ้ มลู GIS ทถ่ี กู ต้อง ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั ผเู้ รยี นเข้าใจถึงลาดับชั้นของขอ้ มูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ทถ่ี ูกตอ้ ง

3. สารวจโลกและอวกาศไปกบั ไทยโชต : Bingo Game วตั ถปุ ระสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ เข้าใจ และจดจา เร่ืองของเทคโนโลยีการสารวจจากระยะไกล (Remote Sensing) การได้มาของภาพจากดาวเทียม รู้จักและเข้าใจในรูปแบบสถานที่ต่างๆ ท้ังในประเทศ ไทยและต่างประเทศด้วยมุมมองภาพถ่ายจากดาวเทียม ลักษณะธรณีสัณฐาน ตลอดจนเข้าใจรูปร่างและ คณุ ลักษณะของดาวเทยี มสารวจทรัพยากร อปุ กรณ์ 1. กระดานแผ่นภาพถ่ายดาวเทียม 2. ตัวแผน่ วางโลโก้ GISTDA 3. รปู ภาพปริศนาจากภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม (วทิ ยากรสุม่ เลอื ก) วิธกี ารเล่น 1. แจกแผน่ กระดานเกมส์บิงโกภาพถ่ายดาวเทยี ม ใหก้ ลุ่มผเู้ ล่น กลมุ่ ละ 1 แผน่ 2. วิทยากรทาการจับสุ่มตวั ทายรูปภาพปริศนาจากภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม ข้นึ มาครั้งละ 1 แผ่น 3. ผ้เู ล่นวางแผน่ โลโก้ GISTDA บนกระดานบิงโกทีต่ รงกบั ภาพถ่ายจากดาวเทยี มที่ถกู จบั สุ่ม 4. เลน่ ซา้ วนกันไปเร่อื ยๆ 5. กลุ่มที่สามารถวางแผ่นโลโก้ GISTDA ได้ตามแนวที่กาหนด เช่น แนวต้ัง แนวนอน แนว ทแยง ได้รวดเร็วและถูกต้องทสี่ ุดถือว่าเป็น “ผู้ชนะ”

รูปแบบการชนะเกมส์บิงโก แบง่ เกมส/์ กลมุ่ ทีช่ นะจะต้องวางแผ่นโลโก้ GISTDA ได้ตามรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง ดังนี้ ป ระโย ชน์ทไ่ี ดร้ บั ผู้เรยี น เข้าใจเรือ่ งของเทคโนโลยกี ารสารวจจากระยะไกล (Remote Sensing) และทราบถึง การได้มาของภาพถา่ ยจากดาวเทียม รจู้ ักและเข้าใจในรูปแบบสถานทีต่ ่างๆทงั้ ในประเทศไทย และต่างประเทศ ด้วยมมุ มองภาพถา่ ยจากดาวเทียม ลักษณะธรณีสัณฐาน ตลอดจนเข้าใจรูปร่างและคุณลักษณะของดาวเทียม สารวจทรพั ยากร อกี ทงั้ ยังเปน็ การฝกึ สามธิ และฝกึ ทักษะทางประสาทดา้ นการมอง การฟงั และการจดจา 4. มหัศจรรยส์ ารวจโลก

วตั ถปุ ระสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ เข้าใจ ลักษณะของพื้นท่ีต่างๆบนภาพถ่ายจากดาวเทียมใน จงั หวัดทีศ่ ูนยเ์ รียนรู้ภมู ิสารสนเทศชุมชนตง้ั อยู่ และได้เรยี นรกู้ ารวิเคราะห์ภาพถา่ ยจากดาวเทียม ตลอดจนการ แปลภาพด้วยสายตาเบอื้ งต้น อปุ กรณ์ 1. ชุดแผ่นแสดงภาพถ่ายจากดาวเทียม LANDSAT-8 (บริเวณพื้นที่จังหวัดที่ศูนย์เรียนรู้ภูมิ สารสนเทศชุมชนต้งั อย)ู่ 1.1 แผน่ ภาพแสดงคาถาม 1.2 แผน่ ภาพเฉลยคาตอบ 2. ชดุ กระดาษคาตอบ วธิ กี ารเล่น 1. วิทยากรจะเป็นผู้ต้ังคาถามเก่ียวกับช่ือสถานที่สาคัญต่างๆที่ระบุไว้ตามหมายเลขบนแผ่น แสดงภาพถ่ายจากดาวเทยี ม 2. แจกกระดาษคาตอบให้แกผ่ ู้เรยี น 3. ให้ผเู้ รียนตอบคาถามในกระดาษคาตอบเป็นช่อื สถานท่ตี ่างๆ 4. วิทยากรเฉลย และอธิบายรายละเอียดของสถานที่บนแผ่นแสดงภาพข้อมูลภาพถ่ายจาก ดาวเทยี ม และคุณลักษณะของดาวเทียมที่ถ่ายภาพตลอดจนสอดแทรกองค์ความรู้ของการแปลภาพถ่ายจาก ดาวเทยี มโดยใช้สายตา

ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั ผเู้ รียนเขา้ ใจ ลกั ษณะของสถานท่ี หรือพื้นที่ต่างๆบนภาพถ่ายจากดาวเทียมในจังหวัดท่ีศูนย์ เรียนรู้ภูมิสารสนเทศชุมชนตั้งอยู่ และสามารถวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียม ตลอดจนการแปลภาพด้วย สายตาในเบอ้ื งตน้ ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook