Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การผลิตสื่อมัลติมีเดียสำหรับธุรกิจดิจิทัล.

การผลิตสื่อมัลติมีเดียสำหรับธุรกิจดิจิทัล.

Published by puk19053, 2021-02-11 09:16:56

Description: การผลิตสื่อมัลติมีเดียสำหรับธุรกิจดิจิทัล.

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ท่ี 1 ความรเู้ บ้อื งตน้ เกี่ยวกบั การตดั ต่อวิดีโอ ในปัจจุบันงานวดิ ีโอได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตของเรามากขนึ้ ดว้ ยความสามารถของงานทางด้าน มัลติมเี ดียที่ทาให้การนาเสนองานของเราน่าสนใจแลว้ ราคากล้องวิดีโอก็ราคาถูกลงมามากและหาซอ้ื ไดไ้ ม่ ยาก พรอ้ มกับโปรแกรมที่ใชใ้ นการตัดตอ่ วิดโี อกม็ ีให้เลือกใชม้ ากมายและก็ไม่ยากจนเกินไปที่จะเรยี นรู้ สาหรับส่ือนจ้ี ะขอนาเสนอการตดั ต่อด้วยโปรแกรม Ulead Video Studio เพอื่ เปน็ พื้นฐานในการตัดตอ่ เพือ่ นาไปใชป้ ระโยชน์ดังน้ี ประโยชนข์ องงานวดิ โี อ 1. แนะนาองค์กรและหนว่ ยงาน การสร้างงานวิดีโอเพอื่ แนะนาสถานทต่ี ่างๆ หรอื ในการ นาเสนอข้อมูลภายในหน่วยงานและองค์กร เพื่อสรา้ งความน่าสนใจใหก้ ับผู้ชมผูฟ้ งั และยงั ก่อใหเ้ กิดความ เข้าใจในตัวงานไดง้ า่ ยข้ึน 2. บนั ทึกภาพความทรงจา และเหตุการณ์สาคญั ต่างๆ เชน่ การเดินทางไปทอ่ งเท่ียวในสถานท่ี ตา่ งๆ งานวนั เกิดงานแตง่ งาน งานรับปรญิ ญางานเลี้ยงของหนว่ ยงานหรือองคก์ ร ซง่ึ เดมิ เราจะเกบ็ ไว้ใน รปู แบบภาพน่งิ 3. การทาส่อื การเรยี นการสอน คณุ ครูสามารถสร้างสื่อการสอนในรปู แบบวดิ ีโอไว้นาเสนอได้ หลายรูปแบบ เชน่ เป็นวิดโี อโดยตรง เปน็ ภาพวิดีโอประกอบในโปรแกรม POWER POINT เป็นภาพ วดิ โี อประกอบใน Homepage และอ่นื ๆ 4. การนาเสนอรายงาน วิทยานิพนธ์ และงานวจิ ัยต่างๆ ซ่ึงปรบั เปลย่ี นการนาเสนองานจากรูป แบบเดิม ทเี่ ปน็ เอกสารภาพประกอบ แผน่ ชาร์จแผน่ ใส ให้ทนั สมยั เหมาะสมกับสถานการณ์ปจั จบุ นั 5. วดิ ีโอสาหรบั บุคคลพเิ ศษ บคุ คลสาคัญในโอกาสพเิ ศษ อาจหมายถงึ วิทยากรทเี่ ชญิ มา บรรยาย ผู้จะเกษียณอายจุ ากการทางาน เจ้าของวนั เกิดค่บู า่ วสาว โอกาสของบุคคลทไี่ ด้รบั รางวลั ต่างๆ ที่กล่าวมานค้ี ือส่วนหนงึ่ ท่ีจะชว่ ยใหเ้ รามองเห็นความสาคญั ของงานวิดโี อมากขึ้น และได้ร้วู า่ การ ทาวิดีโอไม่ไดล้ งทุนมากและยงุ่ ยากอย่างท่ีคิดจากประสบการณ์ ในการทางานวดิ ีโอ สรปุ ได้ว่าวิดีโอทีด่ ี ไม่ไดข้ นึ้ อยู่กับจานวนเงินลงทนุ ทีใ่ ช้ แต่ขึ้นอยู่กบั ความประณีต และความคิดสร้างสรรค์ แนวคดิ ในการสรา้ งวิดีโอ กอ่ นท่ลี งมอื สร้างผลงานวิดีโอสักเรือ่ ง จะตอ้ งผ่านกระบวนการคิด วางแผนมาอย่างรอบครอบ ไมใ่ ชไ่ ปถ่ายวิดีโอแล้วกน็ ามาตดั ต่อเลย โดยไมม่ กี ารคิดใหด้ ีกอ่ นทจี่ ะถ่ายทา เพราะปัญหาที่มกั เกิดขึน้ เสมอกค็ ือการที่ไมไ่ ดภ้ าพตามที่ต้องการ เนอ้ื หาที่ถ่ายมาไมส่ อดคล้องกบั ส่งิ ทีต่ ้องการนาเสนอ ในทน่ี ขี้ อ แนะนาแนวคดิ ในการทางานวิดีโออย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการ จะไม่ต้องมาเสียเวลา แกไ้ ขภายหลงั โดยมีลาดับแนวคดิ ของงานสร้างวดิ โี อเบ้ืองตน้ ดงั นี้ 1. เขียน Storyboard สงิ่ แรกทีเ่ ราควรเรยี นรกู้ อ่ นสร้างงานวิดีโอ กค็ ือ การเขียนStoryboard คือ การจนิ ตนาการ ฉากต่างๆ กอ่ นทีจ่ ะถ่ายทาจริงในการเขียน Storyboard อาจวิธงี า่ ยๆ ไมถ่ ึงขนาดวาดภาพปรกอบกไ็ ด้ เพยี งเขียนวัตถปุ ระสงคข์ องงานให้ชดั เจนวา่ ต้องการสื่ออะไรหรืองานประเภทไหน จากน้นั ดูว่าเรา ต้องการภาพอะไรบ้าง เขียนออกมาเป็นฉาก เรียงลาดับ 1, 2, 3,.......(ดูรายละเอียดการเขยี น Storyboard ทา้ ยใบความรู้ที่ 1) 2. เตรียมองค์ประกอบตา่ งๆ ท่ีตอ้ งใช้ ในการทางานวดิ โี อ เราจะต้องเตรียมองคป์ ระกอบต่างๆ ใหค้ รบถ้วน ไม่ว่าจะเปน็ ไฟลว์ ิดีโอ ไฟล์ ภาพนง่ิ ไฟลเ์ สยี ง หรอื ไฟล์ดนตรี

3. ตดั ตอ่ งานวิดโี อ การตัดตอ่ คือการนาองค์ประกอบต่างๆ ท่เี ตรียมไว้มาตัดตอ่ เปน็ งานวดิ โี อ งานวดิ ีโอจะออกมาดี น่าสนใจเพียงใดขึ้นอยู่กบั การตัดต่อเปน็ สาคัญ ซึ่งเราจะต้องเรียนรู้การตัดต่อในบทต่อไปกอ่ น 4. ใส่เอ็ฟเฟ็กต์/ตัดต่อใส่เสียง ในข้นั ตอนการตัดต่อ เราจะตอ้ งตกแต่งงานวดิ โี อดว้ ยเทคนคิ พิเศษต่างๆ ไมว่ ่าจะเป็นการเล่นสี การใส่ขอ้ ความ หรือเสยี งดนตรี ซ่ึงจะชว่ ยใหง้ านของเรามสี ีสนั และน่าสนใจมากยิ่งขนึ้ 5. แปลงวิดีโอ เพื่อนาไปใชง้ านจริง ข้นั ตอนการแปลงวดิ ีโอเป็นข้ันตอนสุดทา้ ย ในการทางานวิดโี อท่ีเราไดท้ าเรียบรอ้ ยแล้วน้ันไปใช้ งาน โปรแกรม Ulead Video Studio สามารถทาไดห้ ลายรปู แบบ เช่น ทาเปน็ VCD, DVD หรอื เปน็ ไฟล์ WMV สาหรบั นาเสนอทางอินเทอร์เนต็ อปุ กรณ์ในการตดั ตอ่ วิดีโอ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เปน็ อปุ กรณ์ชิน้ แรกท่ีจาเป็นต้องมี ปัจจบุ ันเทคโนโลยีก้าวหนา้ ไปไกล ทาให้เราสามารถมีเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพสงู ในราคาประหยัด สาหรับ เคร่ืองคอมพวิ เตอรส์ าหรบั การตดั ต่อควรมสี เปค็ เครือ่ งขั้น ตา่ ดังนี้ * ซีพยี ู แนะนา Pentium 4 ความเร็ว 1 GHz ขึ้น ไป * แรมหรอื หนว่ ยความจา ขนาด 512 MB ขึน้ ไป * ฮาร์ดดิสก์ 80 GB ซงึ่ ปัจจบุ นั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ มคี วามจุ ฮาร์ดดิสกม์ ากพออยู่แล้ว * ระบบปฏิบัตกิ าร แนะนาใหใ้ ช้ Windows XP/2000 2. กล้องถ่ายวดิ ีโอ กล้องถ่ายวิดีโอ มีหลายประเภท หลายรปู แบบ แต่ในท่ีจะ กลา่ วถึงการใช้งานเฉพาะกล้องถา่ ยวิดโี อแบบดิจติ อล หรอื กลอ้ งดิจิตอลแบบ MiniDV

3. Capture Card (การด์ จับภาพวิดีโอ) เน่อื งจากเราไม่สามารถนาภาพวิดีโอที่อยู่ ในกลอ้ งวดิ ีโอมา ใช้กับเครือ่ งคอมพิวเตอรโ์ ดยตรง ดังนนั้ เราจาเปน็ ต้องมี อุปกรณ์ ทเ่ี รียกว่าการ์ดแคปเจอร์ หรอื การด์ จับภาพวิดีโอ ชว่ ยเปลยี่ นเสมอื นเปน็ สื่อกลางในการสง่ ถา่ ยข้อมูล จาก กล้องมายังเครื่องคอมพวิ เตอรน์ น้ั เอง และแคปเจอร์ หรือ การ์ดจบั ภาพวิดโี อ กม็ ีหลายรปู แบบเช่นกัน 4. ไดรวส์ าหรับเขยี นแผ่น CD หรอื DVD อปุ กรณ์นี้จาเป็นต้องมีหากเราตอ้ งการสร้างงานใหอ้ ยู่ใน รปู แบบ VCD หรือ DVD ซ่ึงในปัจจบุ นั ก็หาซื้อไดไ้ ม่ยาก ราคาก็ไม่แพง 5. แผ่น CD สาหรบั บนั ทกึ ขอ้ มลู แผ่น CD-R (CD-ReWrite หรอื CD Record) ใช้สาหรบั บนั ทึกข้อมูลทวั่ ไป เช่น ข้อมูลตา่ งๆ โปรแกรมเพลง รปู ภาพ และภาพยนตร์ สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลได้เพียงครัง้ เดียวจนกว่าจะเต็มแผ่น

รูปแบบของแผ่นดวี ีดี แผน่ CD-RW (CD-Write) แผ่น CD-RW (CD-Write) ใชส้ าหรบั บนั ทึก ขอ้ มลู ทว่ั ไปเช่นเดยี วกับแผ่น CD-R แต่มคี วามพเิ ศษ กว่าตรงท่ีสามารถทีจ่ ะเขียนหรอื บนั ทึกซ้า และลบ ข้อมลู ท่ีเขยี นไปแลว้ ได้ ดวี ดี ีอารด์ บั บลวิ ไดรว์ ดวี ีดีดีอาร์ดับบลวิ ไดรว์ (DVD+-RW drive) ก็ คลา้ ยกบั ซดี ีอารด์ บั บลวิ ไดรวน์ ่ันเอง คอื สามารถอา่ น และขียนแผน่ ดีวีดีแบบพิเศษ คือแผ่น DVD+-R และ แผน่ DVD+-RW ได้ แผ่นดวี ีดอี าร์ ดีวดี ีอาร์ (DVD+R : Digital Versatile Disc- Recordable) เปน็ แผ่นดีวีดีที่ผใู้ ช้สามารถบันทึก หรือ เขียนข้อมูลลงไปไดค้ รง้ั เดยี ว จนกว่าจะเต็มแผ่น มีให้ เลอื กแบบด้านเดยี ว และ 2 ด้าน ในความจุด้านละ 4.7 GB แผ่น ประเภทน้ยี ังแบง่ ออกเป็น 2 มาตรฐาน (จาก 2 คา่ ย) คือ แผน่ DVD- R DVD+R แผ่นดวี ีดีอาร์ดบั บลวิ ดวี ีดีอาร์ดับบลิว (DVD+RW : Digital Versatile Disc-Re-recordable) เป็นแผ่นดีวีดีที่ใช้ เขียน และลบขอ้ มูลได้หลายครง้ั มคี วามจุ 4.7 GB

รปู แบบไฟลภ์ าพ BMP (Bitmap) ไฟล์ภาพประเภททเ่ี กบ็ จุดของภาพแบบจดุ ต่อจุด ตรงๆ เรียกวา่ ไฟลแ์ บบ บติ แมพ( Bitmap ) ไฟล์ ประเภทนจ้ี ะมีขนาดใหญ่แต่สามารถเกบ็ รายละเอียด ของภาพไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ แต่เนื่องจากการเก็บแบบ Bitmap ใชเ้ นื้อท่ีในการเกบ็ จานวนมาก จึงไดม้ ีการ คิดค้นวธิ ีการเก็บ ภาพใหม้ ขี นาดเลก็ ลงโดยยังคงสามารถเกบ็ ภาพได้ เชน่ เดิม ข้ึนมาหลายวิธกี าร เช่น JPEG และ GIF JPEG ( Joint Graphics Expert Group ) เปน็ การเก็บไฟลภ์ าพแบบทบ่ี ีบอัด สามารถทา ภาพ ให้มีขนาดของไฟล์ภาพเล็กกว่าแบบ Bitmap หลายสบิ เท่า แตเ่ หมาะจะใช้กับภาพท่ถี ่ายจาก ธรรมชาตเิ ท่านนั้ ไมเ่ หมาะกับการเกบ็ ภาพเหมือนจรงิ เชน่ ภาพการ์ตูน เป็นต้น GIF ( Graphics Interchange Format ) เป็นวิธกี ารเกบ็ ไฟลภ์ าพแบบบีบอดั คล้ายกบั JPEG โดยทั่วไปแล้วไม่สามารถเกบ็ ภาพที่ถ่ายจาก ธรรมชาติได้มีขนาดเลก็ เท่ากับแบบ JPEG แต่ สามารถเกบ็ ภาพทไ่ี มใ่ ชภ่ าพถา่ ยจากธรรมชาติเช่น ภาพการ์ตูน ไดเ้ ปน็ อย่างดี นากจากนี้ GIF ยัง สามารถเกบ็ ภาพไวไ้ ดห้ ลายๆภาพ ในไฟล์เดียว จงึ ถกู นาไปใชส้ ร้างภาพเคลื่อนไหวงา่ ยๆ เช่น ในอินเตอร์เน็ต TIFF ( Tagged Image File Format ) คือการเกบ็ ไฟลภ์ าพในลกั ษณะเดยี วกบั ไฟล์แบบ BMP แต่ในไฟลม์ ี Tagged File ซงึ่ เปน็ สัญลักษณ์ที่ช่วยโปรแกรมควบคมุ การแสดงภาพ เช่น การแสดงหรอื ไม่แสดงภาพบางสว่ นได้ ภาพท่ีเกบ็ ไว้ในลักษณะของ TIFF จงึ มีความพเิ ศษกว่าการเก็บแบบอ่ืนท่ีกล่าวมา นอกจากน้ียังมไี ฟลภ์ าพแบบต่างๆ อกี หลายแบบ โดยแต่ละแบบจะมีจดุ เด่นแตกตา่ งกันไป มกั นิยมใช่ในงานกราฟกิ การพิมพ์

รปู แบบของไฟล์วิดีโอ ไฟลว์ ดิ ีโอท่ีนามาใชง้ านกบั นั้นมหี ลายรปู แบบ โดยเราจะมาทาความรู้จักกับไฟล์วิดโี อแบบต่าง เพอื่ เปน็ แนวทางในการเลอื กใช้ได้อย่างถูกต้องและตรงตามประเภทของงาน ไฟล์ MPEG MPEG ( Motion Picture Exports Group ) เปน็ มาตรฐานสาหรบั การบบี อัดวิดีโอ และเสียงแบบดจิ ิตอล ซึ่งเป็นรูปแบบของวดิ ีโอท่ีมคี ณุ ภาพสูงและนิยมใชก้ บั งานทุกประเภทโดยไฟล์ MPEGนี้ กย็ ังแยกประเภทออกไปตามคณุ สมบัติต่าง ๆ อกี ด้วย ดงั น้ี MPEG -1 ถอื กาเนิดขึน้ มาในปี 2535 ซ่ึงเป็นรูปแบบของไฟล์ท่ีเข้ารหัสมาด้วยการบบี อัดใหไ้ ดไ้ ฟล์ท่ี มี ขนาดเล็ก เพอ่ื สาหรับการสร้างวดิ โี อแบบ VCD โดยจะมีการบีบอดั ข้อมลู สงู มีคา่ บติ เร ตอยทู่ ี่ 1.5 Mb/s ซึ่งมีคณุ ภาพใกล้เคยี งกับเทปวิดีโอ MPEG - ถือกาเนิดขน้ึ ในปี 2538 ซง่ึ เป็นรูปแบบของไฟล์ท่เี ข้ารหัสมาเพื่อการสร้างภาพยนตร์ 2 โดยเฉพาะ โดยสามารถสร้างเป็น SVCD หรือ DVD ก็ได้ ซง่ึ อัตราการบบี อัดข้อมลู จะน้อยกว่า MPEG-1 ไฟล์ที่ได้จงึ มีขนาดใหญก่ ว่าและได้คุณภาพสูงกว่าด้วย อีกทั้งค่าบิต เรตกไ็ ม่ตายตัว ทาให้สามารถกาหนดอตั ราการบบี อดั ข้อมูลไดเ้ อง MPEG - เป็นรปู แบบของไฟล์แบบใหม่ท่ถี ือกาเนดิ ขึ้นในเดอื นตลุ าคม 2541 จากความร่วมมือกนั 4 ของ วศิ วกรทั่วโลกและไดเ้ ป็นมาตรฐานของนานาชาตเิ ม่อื ปี 2542 ซง่ึ ถือเป็นการปฏิวัตวิ งการ ดจิ ิตอลวิดีโอ เพราะมีรปู แบบการบีบอดั ท่ีดกี ว่า MPEG-1 และ MPEG-2 โดย ไฟลป์ ระเภทนจี้ ะมีคุณภาพของวดิ โี อสูง สามารถสร้างรหัสภาพวิดีโอไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยมีจุดประสงคเ์ พอื่ การใช้งานอยู่ 3 ประเภท คือ ระบบโทรทศั นแ์ บบดจิ ิตอล งาน ดา้ นแอพพลเิ คชันกราฟิกและมัลติมเี ดียต่างๆ แตป่ ัจจุบันยงั มีสอื่ ทีร่ องรบั ไฟลป์ ระเภทนอ้ี ยู่ นอ้ ย จึงไม่คอ่ ยไดร้ บั ความนยิ มมากนัก ระบบการสง่ สัญญาณโทรทัศน์ ในปัจจบุ ันนม้ี ีระบบการสง่ สญั ญาณโทรทัศน์ท่ีนิยมใชใ้ นแถบภูมิภาคต่างๆ คือ 1. ระบบ NTSC (National Televion Standards Committee) เป็นระบบโทรทัศนส์ ีระบบแรก ท่ใี ชง้ านในประเทศสหรัฐอเมริกา ตัง้ แต่ปีค.ศ.1953 ประเทศทีใ่ ช้ระบบนีต้ อ่ ๆ มาได้แก่ ญีป่ ุ่น แคนาดา เปอเตอรโิ ก้ และเมก็ ซโิ ก เปน็ ต้น 2.ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เปน็ ระบบโทรทศั น์ท่ีพฒั นามาจากระบบ NTSC ทา ให้มกี ารเพ้ียนของสีนอ้ ยลง เร่มิ ใช้งานมาตงั้ แตป่ คี .ศ.1967 ในประเทศทางแถบยุโรป คอื เยอรมัน ตะวันตก อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเย่ยี ม บราซลิ เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวเี ดน สวิตเซอร์แลนด์ และมี หลายประเทศในแถบเอเซียท่ีใชก้ นั คือ สิงคโปร์ มาเลเซีย รวมไปถงึ ประเทศไทยกใ็ ช้ระบบน้ี 3. ระบบ SECAM (SEQuentiel A Memoire(\"memory sequential\") เป็นระบบโทรทัศนอ์ ีก ระบบหนงึ่ คิดคน้ ข้ึนโดย Dr.Henry D.France เร่มิ ใชม้ าตัง้ แต่ปีค.ศ.1967 นยิ มใช้กันอยูห่ ลายประเทศ แถบยโุ รปตะวันออก ได้แก่ ฝรั่งเศส อัลจีเรีย เยอรมันตะวนั ออก ฮงั การี ตูนีเซีย รูมาเนยี และรสั เซีย เป็นตน้ รายละเอยี ดของเทคโนโลยี MPEG

มาตรฐานวดิ โี อ MPEG-1 MPEG-2 MPEG-4 ความละเอยี ดสูงสุด 352 x 288 1920 x 1152 720 x 576 มาตรฐานในระบบ PAL 352 x 288 720 x 576 720 x 576 มาตรฐานในระบบ NTSC 352 x 288 640 x 480 640 x 480 ความถข่ี องคลนื่ เสยี งสูงสุด 48 kHz 96 kHz 96 kHz ชอ่ งสัญญาณเสยี งสงู สดุ 288 จานวนเฟรมตอ่ วินาทใี นระบบ PAL 25 25 25 จานวนเฟรมต่อวนิ าทีในระบบ NTSC 30 30 30 คุณภาพของวดิ โี อ พอใช้ ดีถึงดมี าก ดมี าก ประสิทธิภาพของระบบ ต่า สูง สงู มาก ไฟลป์ ระเภทอืน่ ๆ เป็นไฟล์สาหรบั โปรแกรม QuickTime จากบริษัท Apple ซึ่งนิยม MOV ใช้สาหรับเคร่ืองแมคอินทอช แต่เคร่ืองพีซีก็สามารถใช้ได้ โดย ( Quick Time Movie ) จะตอ้ งมโี ปรแกรม QuickTime เพื่อใชเ้ ปดิ ไฟล์ โดยไฟลป์ ระเภทนี้ จะมคี ณุ ภาพสูงและประกอบดว้ ยรายละเอยี ดต่างๆ มากมาย เปน็ รปู แบบของไฟล์ประเภท DVD – Video ทม่ี ีคุณภาพสูงท้งั ด้าน VOB ภาพและเสียง สามารถเล่นได้กับเครื่องเล่นดีวีดีหรือไดรฟ์ดวี ีดจี าก เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นรปู แบบของไฟลป์ ระเภท Video CD ท่มี ีความละเอยี ดต่ากว่า DAT ไฟลป์ ระเภทดีวีดี โดยไดร้ บั การเข้ารหัสมาจากเทคโนโลยี ของ MPEG-1 คณุ ภาพของวดิ โี อก็พอ ๆ กบั เทป VHS สามารถ เลน่ ได้กับเครื่องเล่นวซี ดี โี ดยท่วั ไป หรอื เล่นไดจ้ ากคอมพิวเตอร์ AVI เป็นมาตรฐานไฟล์วดิ ีโอท่ีเรม่ิ มมี าพร้อมกบั Windows 3.11 พัฒนา ( Audio – Video โดย ไมโครซอฟต์ ซ่ึงมคี วามละเอยี ดสงู เหมาะกับการใช้งานในการ ตดั ต่อวิดโี อ แต่ไม่นยิ มใช้ในการส่งสญั ญาณหรือโอนย้ายไปยัง Interleave ) ปลายทางอนื่ ๆ เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่ เปน็ ไฟล์วิดโี อของไมโครซอฟต์อีกเช่นกัน ถือกาเนิดข้ึนมาจาก WMV เทคโนโลยีของ Microsoft Windows Media ซึ่งสามารถสร้าง ( ขึ้นมาไดจ้ ากโปรแกรม Microsoft Movie Maker โดยไฟล์ Windows Media Video ประเภทนี้กาลังได้รับความนิยมทางอินเตอร์เน็ต เชน่ การชมวิดโี อ ) แบบ Movie on Demand เพราะด้วยขนาดไฟล์ทีเ่ ล็กและมีคุณภาพ ดี ทาให้สามารถโอนถา่ ยข้อมูลไดร้ วดเร็ว มาตรฐานของวดิ โี อแบบต่าง ๆ มาตรฐานของวิดโี อมีอยูด่ ้วยกนั 3 รปู แบบ คือ VCD , SVCD และ DVD ซ่ึงคุณภาพของวิดีโอกม็ ีความแตกต่างกันไปตามแตล่ ะประเภท โดยแต่ละรปู แบบก็มีคณุ สมบตั ดิ ังนี้ VCD (Video Compact Disc) VCD เปน็ รปู แบบของวิดโี อทไ่ี ด้รบั ความนยิ มกนั โดยท่ัวไปประกอบด้วยภาพและเสียงแบบ ดจิ ิตอล ความจขุ องแผน่ VCD โดยปกติจะอยูท่ ่ี 74/80 นาทหี รอื ประมาณ 650/700 เมกกะไบต์ โดยได้รับการเข้ารหัสมาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 1 มคี วาม

ละเอยี ดของภาพอยู่ท่ี 352 x 288 พิกเซลในระบบ PAL และ 352 x 240 พิกเซลใน ระบบ NTSC คุณภาพของวดิ ีโอใกล้เคียงกบั เทป VHS ซงึ่ สามารถเลน่ ได้กับเครือ่ งเล่นวซี ีดี โดยทัว่ ไปหรอื จากไดรฟ์ซดี ีรอมของเครื่องคอมพิวเตอร์ และแผ่นซีดีทีใ่ ช้เขยี น VCD ได้ก็จะมีอยู่ 2 แบบคือแผน่ CD-R ซ่งึ เป็นชนิดท่เี ขียนขอ้ มูลได้คร้ังเดยี ว และแผ่น CD-RW ทีส่ ามารถเขียนและ ลบเพ่อื เขยี นข้อมลู ลงไปใหมไ่ ด้ แตแ่ ผน่ CD-RW มกั จะอา่ นไม่ได้จากจากเครื่อง เลน่ VCD หลายๆ รนุ่ SVCD ( Super Video Compact Disc ) SVCD เปน็ รูปแบบของวิดโี อที่คลา้ ยกบั VCD แต่จะใหค้ ณุ ภาพของวิดีโอท้ังในดา้ นภาพและ เสยี งที่ดีกว่า โดยเข้ารหัสมาจากเทคโนโลยีของ MPEG – 2 จะมคี วามละเอยี ดของภาพอย่ทู ่ี 482 x 576 พกิ เซลในระบบ PAL และ 480 x 480 พกิ เซลในระบบ NTSC ซ่งึ แผ่นประเภท นี้ยังมีเครอ่ื งเล่น VCD หลาย ๆ รุน่ ทอี่ ่านไมไ่ ด้ โดยจาเปน็ ต้องอ่านจากเครอื่ ง เล่น DVD หรือ VCD บางรุน่ ทีส่ นบั สนุนหรือเล่นจาก CD – ROM จากเครื่องคอมพวิ เตอรเ์ ท่าน้นั DVD ( Digital Versatile Disc ) DVD เป็นรปู แบบการเกบ็ ขอ้ มลู แบบใหมท่ ใี่ หค้ ณุ ภาพของวดิ โี อสูงทงั้ ด้านภาพและเสียงซึ่งมากกวา่ รูปแบบของ VCD หลายเทา่ ตวั โดยให้ความละเอยี ดของภาพอยทู่ ่ี 720 x 480 พกิ เซลในระบบ PAL และ 720 x 576 พิกเซลในระบบ NTSC โดยมาตรฐานของแผ่น DVD ก็มีหลาย ประเภท เช่น DVD + R/RW , DVD – R/RW , DVD + RDL และ DVD + RAM ซึ่งความ จุของแผ่น DVD กม็ ใี หเ้ ลือกใช้ตามชนดิ ของแผ่น โดยมตี ง้ั แต่ 4.7 กกิ ะไบตไ์ ป จนถึง 17 กกิ ะไบต์ ทาให้สามารถบันทกึ ภาพยนตร์ทั้งเรอื่ งไดอ้ ย่างสบาย ซง่ึ คาดการณก์ ันว่าสื่อ ประเภท DVD คงจะเขา้ มาแทนที่ VCD ได้ในไม่ชา้ รปู แบบของไฟลเ์ สียงชนิดตา่ ง ๆ ในการบนั ทึกเสยี งในระบบ Hard disk Recording จะมีรปู แบบของการเก็บขอ้ มูลเสยี ง มากมาย และแต่ละรปู แบบก็สามารถเปลีย่ นไปมากนั ได้ บางรปู แบบทีม่ ีการบบี อัด เมื่อเปลย่ี นกับมาเปน็ รปู แบบทไี่ มม่ ีการบีบอดั กจ็ ะไดค้ ณุ ภาพเสียงเหมือนทบ่ี บี อัดไปแลว้ เพราะมกี ารสูญเสียคณุ ภาพสญั ญาณ ไปในขนั้ ตอนของการบบี อัดไปแลว้ ไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้โปรแกรมดนตรีมักจะเก็บขอ้ มลู เสียงดังน้ี AIFF ยอ่ มาจาก Audio Interchange File Format เป็นรูปแบบที่ใช้กนั มากกบั โปรแกรมบน Mac เพราะ Apple เป็นผูร้ เิ ร่ิม เป็นได้ทัง้ Mono และ Stereo ความละเอียดเริ่มต้นท่ี 8 Bit/22 kHz ไป จนถึง 24 bit/ 96 kHz และมากกว่านัน้ MP3 เป็นรูปแบบทร่ี จู้ ักกันดใี นปัจจบุ ัน ในฐานะทคี่ ณุ ภาพเสยี งท่ีดีในขณะท่ีขอ้ มูลนอ้ ยมาก ประมาณ 1 MB ตอ่ เพลงความยาว 1 นาทีแบบ Stereo ซงึ่ เป็นการบบี อัดโดยลดความซ้าซ้อนของขอ้ มูลเสียง และ ตัดเสียงท่ีหูของมนษุ ย์ไม่สามารถได้ยนิ โดยอ้างอิงจากงานวิจยั Psychoacoustic แต่ไมส่ ามารถให้ คุณภาพเสียงที่ดกี ว่าเสยี งแบบ Full Bandwidth หรอื Hi-fi ได้ เพราะมันเปน็ การบีบอดั ที่สูญเสยี หรือ เรียกว่า “Lossy Technology” ถงึ แม้ว่าเจา้ ของค่ายเพลงในเมอื งไทยหรือท่วั โลกไม่ชอบมัน แต่ในเม่ือมัน คุ้มค่าสาหรบั เกบ็ ไว้ฟังหรอื สง่ ตอ่ งานให้เพือ่ น โปรแกรมดนตรีส่วนใหญ่กใ็ ห้เราสามารถ import /export งานเป็น MP3 ได้ QuickTime

แม้ไมไ่ ด้เป็นรูปแบบของการเก็บขอ้ มลู เสยี งโดยเปน็ โปรแกรมเลน่ media ทพี่ ฒั นาโดย Apple แต่โปรแกรมดนตรีบางตวั ก็สามารถ Save หรือ Load ข้อมลู เสยี ง , Video , MIDI เป็น File ของ QuickTime ได้ สิ่งสาคญั ทคี่ วรรู้อีกอย่างกค็ ือขอ้ มูลเสียงท่ี save มาจาก QuickTime หรอื โปรแกรมท่ี Compatible กบั QT อยา่ ง TC Works Spark อาจจะเป็นไฟล์ Extension อยา่ ง .mov , .aif หรือ .WAV กไ็ ด้ แต่ไมต่ ้องเปน็ หว่ งเรื่องนี้ เนอ่ื งจากโปรแกรมดนตรีส่วนใหญ่จะ สามารถเลน่ ไฟล์ QT โดยไมส่ นใจว่าจะเปน็ ไฟล์ Extension แบบไหนก็ตาม RealAudio คนชอบฟงั เพลงบน Internet คงรู้จกั กันดี ไฟล์ RealAudio จะแสดง Extension เปน็ .ra หรือ .rm ซ่งึ เปน็ ส่วน หน่งึ ของระบบ RealSystem G2 ไวส้ าหรบั การเลน่ multimedia จาก RealNetworks ซง่ึ จะมี Tools ในการเล่น, encode รวมไปถงึ tools ในการทา server ใหใ้ ชฟ้ รี ๆ ในการสง่ Audio, Video, Animation ผา่ นเวป แต่แม้ว่าโปรแกรมดนตรีส่วนใหญ่จะไมใ่ ช้ RealAudio ในการบนั ทึก แตก่ บั บาง โปรแกรม เราสามารถเก็บงานของเราเป็น RealAudio เพ่อื ใชบ้ นเวป็ ซงึ่ แน่นอน วา่ RealAudio กเ็ ป็น Lossy Format เหมอื นกับ MP3REX เป็นไฟลเ์ สียงของโปรแกรม Propellerhead Recycle ซ่ึงเปน็ โปรแกรมท่ีแบง่ ไฟล์เสยี งประเภท Loop (เป็นวลีดนตรีหรอื จงั หวะท่ีสามารถเล่นซา้ ไปเรอ่ื ย ๆ ต่อเนือ่ งกนั ได)้ ออกเปน็ ชน้ิ ๆ เชน่ เสียงกระเด่ือง กลองสแนร์ หรอื ไฮ-แฮท ซ่ึงไฟลท์ ี่ถกู แบง่ เหล่าน้ีสามารถนาไปใช้ กับ Sampler แลว้ Trigger โดย MIDI Sequence ที่สรา้ งขนึ้ มาโดย Recycle เชน่ กนั ทาให้เรา สามารถท่ีจะเร่งหรือลดความเร็วโดยท่ี pitch ของเสยี งไม่มีการเปลี่ยนเลย ซ่ึงเป็นหลกั การเดยี วกันกับ Technology Groove Control จาก Spectrasonics และ ILIO แต่ต่างกันตรงที่ Groove Control นั้นมี การเตรียมไฟล์ท่ีห่นั ไว้แลว้ กับ MIDI โดยทาง Spectrasonics เอง ไมร่ วู้ า่ ทาง Spectrasonics จะใช้ Recycle ทารเึ ปล่านะครบั ไฟล์ REX เองมี Extension อยู่หลายอนั เลยอย่าง .rx2 (Recycle 2.0 หรอื สงู กว่า).ryc และ .rex ซึ่งสร้างมาจากเวอรช์ ันแรก Sound Designer II โด่งดังมาจาก โปรแกรม Sound Designer Stereo Editing จาก Digidesign และใช้กับ Pro Tools ดว้ ย Sound Designer II หรือ SD II สนับสนุนไฟล์เสยี งท่ีความละเอียด ต่าง ๆ เหมอื นกบั WAV และ AIFF โปรแกรมดนตรีส่วนใหญ่ก็จะมีคณุ สมบตั ใิ นการแปลงไฟล์ WAV หรอื AIFF มาเป็น SD IIWAV ถกู สรา้ งขนึ้ จากการรวมตัวกันของ Microsoft กบั IBM WAV format สามารถใช้ได้กับ bit depths และ sample rate ในระดบั ตา่ งกัน ในขณะที่ AIFF เปน็ ที่นิยมในหมู่ผ้ใู ช้ PC ด้วย ในเรว็ ๆ นี้ Acidized WAV files ไดร้ ับความนยิ มเพ่มิ ข้ึนอกี นค่ี อื ชนดิ ของ WAV files ท่ีรวมขอ้ มลู ของ pitch กบั tempo เข้าไวด้ ้วยกนั Acidized WAV สามารถถกู อ่านได้โดย Sonic Foundry Acid และ โปรแกรมอืน่ ๆท่ีสามารถให้ samples ทจี่ ัด pitch and tempo ได้โดยอัตโนมัติ

เคา้ โครงวีดีโอ 1. ช่อื เร่ือง .......................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 2. ผจู้ ัดทา........................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 3. แนวความคดิ ................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 4. วัตถปุ ระสงค์ ................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 5. กลุ่มเปา้ หมาย ................................................................................................................. .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 6. หมายเหตุ ....................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................

Subject Storyboard Multimedia filename Title sound Pageno: Filename: File out to : image File in VDO form: note : Narration Script : Subject : คาอธิบายวธิ ีการกรอกข้อมลู storyboard Title : ชอื่ เร่ืองผลงานที่ทา เช่น MV เพลงรกั มากมาย ละครส้ันฟา้ มีตา โฆษณางด เหล้าเข้าพรรษา ชื่อหัวข้อยอ่ ยภายใตช้ อ่ื เรื่องท่ีทา ในท่นี ้ีหมายถึง ช่อื ของฉากนี้ เชน่ ฉากซ้อน ทา้ ยจักรยาน ฉากมอบแหวน ฉากนางเอกเล่นไวโอลิน เปน็ ตน้ ในผลงานช้ิน

หนงึ่ อาจประกอบดว้ ยฉากไดห้ ลายร้อยฉาก แต่ละฉากจาเปน็ ต้องใช้ storyboard 1 ใบ Filename : ชอื่ แฟ้มข้อมลู (ในการเก็บแบบดจิ ติ อล) เชน่ movie_section1.swf Pageno. : หนา้ ที่ ในฉากหนง่ึ ๆ อาจมีได้หลาย page เชน่ ฉากซอ้ นท้ายจักรยาน มี page 1 แสดงใหเ้ ห็นระยะไกล page 2 คอื การซมู เขา้ ไปท่ีใบหนา้ พระเอกและนางเอก เป็นต้น File in form : หน้ากอ่ น ให้ระบุชือ่ แฟ้มข้อมูล เชน่ movie_section2.swf ขนึ้ อยู่กบั วา่ ผลิต ผลงานด้วยโปรแกรมอะไรเป็นหลกั File out to : หน้าถดั ไป ให้ระบชุ ่อื แฟ้มขอ้ มลู Sound เพลงที่ใชป้ ระกอบในฉากน้ี ใหร้ ะบชุ อ่ื แฟม้ ข้อมลู ประเภทเสยี ง เช่น piano.mp3 รวมทั้งถ้ามเี สยี งบรรยายกใ็ ห้ระบไุ วท้ ี่น่เี ช่นกัน Image ภาพน่ิงที่ใชป้ ระกอบในฉากนี้ เช่น doSomething.jpg chicken.gif เป็นต้น VDO วิดโี อทใ่ี ช้ประกอบในฉากน้ี note : เป็นการใหร้ ายละเอียดปลีกยอ่ ยเพ่มิ เติม เพื่ออธบิ ายใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั เช่น “ มี เด็กผชู้ ายวิ่งออกมาจากด้านขวาของฉาก และรอ้ งตะโกนเรียก” Narration Script : ใสบ่ ทพูดทั้งหมดท่ีเกดิ ขึน้ ในฉากนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook